SlideShare une entreprise Scribd logo
1  sur  23
Télécharger pour lire hors ligne
หนวยการเรียนรูที่ 2
                                       เรื่อง การประมาณคา
รายวิชาที่นํามาบูรณาการ
          วิทยาศาสตร ศิลปะ
1. มาตรฐานการเรียนรู
          มฐ. ค 1.3 มฐ. ค 6.1
2. ตัวชี้วัดชั้นปที่เกี่ยวของ
          ค 1.3 ม.1/1 ค 6.1 ม.1/1, 2
3. สาระการเรียนรูประจําหนวย
   3.1 การวัดและการประมาณคา
   3.2 แนวคิดการประมาณคา
4. รองรอยการเรียนรู
   4.1 ผลงาน/ชิ้นงาน ไดแก
          1) ผลงานจากการทํากิจกรรมตรวจสอบความเขาใจ 1-5 และแบบฝกหัด 1-3
          2) ผลงานจากการทํากิจกรรมกลุม
          3) ผลงานจากการทํากิจกรรมบูรณาการ
   4.2 ผลการปฏิบัติงาน ไดแก
          1) การปฏิบัติกิจกรรมในชั้นเรียน
          2) การมีสวนรวมในการปฏิบัตกิจกรรมกลุม
                                        ิ
   4.3 การทดสอบวัดผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนหลังเรียนจบหนวยการเรียนรู
แผนการจัดการเรียนรูคณิตศาสตรพื้นฐาน ม.1 ภาคเรียนที่ 2                                                     98

 5. แนวทางการจัดการเรียนรูในภาพรวม

                                                               แนวทางการจัดการเรียนรู
        รองรอยการเรียนรู
                                                      บทบาทครู                     บทบาทนักเรียน
5.1 ผลงาน/ชิ้นงาน ไดแก
     1) การทํากิจกรรมตรวจสอบ            - อธิบายเนื้อหาในแตละเรื่อง       - ฝกคิดตามและรวมทํากิจกรรมในชั้น
        ความเขาใจ 1-5 และแบบ           - แนะการทําแบบฝกหัดและกิจ           เรียน
        ฝกหัด 1-3                        กรรมตรวจสอบความเขาใจ            - ทํากิจกรรมตรวจสอบความเขาใจและ
     2) การทํากิจกรรมกลุม              - อธิบายสรุปความคิดรวบยอดใน          แบบฝกหัด
     3) การทํากิจกรรมบูรณาการ             แตละเรื่อง                      - ทําแบบทดสอบหนวยยอยเปนรายกลุม
5.2 ผลการปฏิบัติงานไดแก
    1) การปฏิบติกิจกรรมในชั้น
                ั                       - แนะนําวิธีการเขียนแผนผังสรุป     - ใหนักเรียนเขียนแผนผังความคิด
       เรียนและการใชบริการหอง           ความคิดรวบยอดเพื่อสรุปเนื้อหา      ประจําหนวย
       สมุดของโรงเรียนอยาง               ประจําหนวย                      - ใหนักเรียนไปคนควาโจทยในหอง
       เหมาะสม                          - แนะนําใหนักเรียนใชบริการหอง     สมุดโรงเรียนและหองสมุดกลุมสาระ
    2) การมีสวนรวมในการปฏิบัติ          สมุดของโรงเรียนอยางเหมาะสม        การเรียนรูคณิตศาสตร
       กิจกรรมกลุม                     - แนะนําวิธีการจัดกลุมและการทํา   - ใหนักเรียนจัดกลุมตามที่ครูมอบหมาย
                                          กิจกรรมกลุม                       และชวยกันทํากิจกรรมในชั้นเรียน

5.3 การทดสอบวัดผลสัมฤทธิ์ทาง            - สรุปเนื้อหาที่สําคัญตามแผนผัง    - ทําแบบทดสอบหลังเรียนจบ
    การเรียน                              ความคิดรวบยอดประจําหนวยอีก
                                          ครั้ง
แผนการจัดการเรียนรูคณิตศาสตรพื้นฐาน ม.1 ภาคเรียนที่ 2                                     99

                                               แผนการจัดการเรียนรูที่ 1
                                          เรื่อง การวัดและการประมาณคา
                                                   เวลา 4 ชั่วโมง

1. เปาหมายการเรียนรู
   1.1 ผลการเรียนรู
        1) ใชการประมาณคาในสถานการณตางๆ ไดอยางเหมาะสม
        2) บอกวิธีการประมาณคาที่เหมาะสมในการคํานวณได
        3) อธิบายถึงความสมเหตุสมผลของคําตอบที่ไดจากการคํานวณเมื่อเทียบกับการประมาณคาได
   1.2 จุดประสงคการเรียนรู
        1) ใชการประมาณคาในสถานการณตาง ๆ ไดอยางเหมาะสม
        2) บอกวิธีการประมาณคาที่เหมาะสมในการคํานวณได
        3) อธิบายถึงความสมเหตุสมผลของคําตอบที่ไดจากการคํานวณเมื่อเทียบกับการประมาณคาได

2. สาระสําคัญ
   2.1 สาระการเรียนรู
       1) การวัด
       2) การวัดความยาวและการหาคาประมาณจากการวัด
       3) การหาคาประมาณโดยการปดเศษ
       4) การประมาณคาและนําคาประมาณไปใช
   2.2 ทักษะ/กระบวนการ
       1) ทักษะการใหเหตุผล
       2) ทักษะการสื่อสาร สื่อความหมาย
       3) ทักษะการแกปญหา
   2.3 ทักษะการคิด
       การคิดแปลความ การคิดวิเคราะห การคิดคํานวณ การคิดสรุปความ

3. รองรอยการเรียนรู
   3.1 ผลงาน/ชิ้นงาน
        1) ผลงานจากการทํากิจกรรมตรวจสอบความเขาใจ 1-4 และแบบฝกหัด 1
        2) ผลงานจากการทํากิจกรรมกลุม
        3) ผลงานจากการทํากิจกรรมบูรณาการ “สํารวจบานของเรา”
แผนการจัดการเรียนรูคณิตศาสตรพื้นฐาน ม.1 ภาคเรียนที่ 2                                                  100

    3.2 กระบวนการขั้นตอนการปฏิบัติงาน
        1) จัดกลุม กลุมละ 3 คน
        2) เลือกหัวหนากลุม
        3) หัวหนากลุมแบงงาน
        4) รวมกันทํากิจกรรมตรวจสอบความเขาใจและแบบฝกหัด
        5) นําเสนอผลงานหนาชั้นเรียน
        6) สงงาน
    3.3 พฤติกรรมตามคุณลักษณะพึงประสงค
        1) ใหความรวมมือในการทํางานกลุม
        2) มีความละเอียดรอบคอบและรับผิดชอบในการทํางาน
    3.4 ความรูความเขาใจ
        นักเรียนเขาใจความหมายของคําวา “คาประมาณ” และ “การประมาณคา”

4. แนวทางการวัดผลและประเมินผล
   เกณฑผานขั้นต่ํา
      1) ไดระดับ “พอใช” ขึ้นไป
      2) ไดระดับ “ดี” ขึ้นไป
      3) ทําไดถูกตอง 80% ขึ้นไป
   การสรุปผลการประเมิน
      ตองผานเกณฑขั้นต่ําทั้ง 3 รายการ

  5. กิจกรรมการเรียนการสอนเพื่อการเรียนรู
     5.1 ขั้นนํา
         ชั่วโมงที่ 1 (การวัดความยาวและการประมาณคาจากการวัด)
         สนทนากับนักเรียนในเรื่องของการวัดแบบตางๆ ที่นักเรียนรูจัก ใหนักเรียนชวยกันยกตัวอยางหรือสมมติ
เหตุการณเกี่ยวกับการวัดที่นักเรียนเคยพบเห็นเลาใหเพื่อนๆ ฟง จากนั้นครูสรุปวา เมื่อเราพูดถึงการวัดนอกจากจะ
หมายถึงการหาระยะทางระหวางจุดสองจุดแลว การชั่ง การตวง การจับเวลา การวัดอุณหภูมิ การหาปริมาณของ
กระแสไฟฟาที่ใช การหาความเขมของแสงสวาง การหาความเขมขนของสารละลาย ลวนเปนเรื่องของการวัดทั้งสิ้น
นอกจากนี้การเลือกหนวยการวัดจะตองใหเหมาะสมกับสิ่งที่จะใชวัด เชน การวัดความกวางของสมุดควรใชหนวย
เซนติเมตร การวัดระยะทางจากกรุงเทพฯ ถึงเชียงใหมควรใชหนวยกิโลเมตร
แผนการจัดการเรียนรูคณิตศาสตรพื้นฐาน ม.1 ภาคเรียนที่ 2                                                 101

           ชั่วโมงที่ 2 (การวัดความยาวและการประมาณคาจากการวัด (ตอ))
           ครูทบทวนการวัดความยาวและการประมาณคาของการวัดที่มีหนวยเปนมิลลิเมตรกับเซนติเมตร โดยใช
หลักเกณฑวา ความยาวที่วัดไดใกลเคียงจํานวนเต็มใดมากกวาก็ใหประมาณใกลเคียงจํานวนเต็มนั้น แตถาวัดไดยาว
ถึงจุดกึ่งกลางระหวางจํานวนเต็มสองจํานวนพอดี ใหถือเปนขอตกลงวาประมาณใกลเคียงจํานวนเต็มที่มคามากกวา
                                                                                                 ี
การประมาณใหถึงทศนิยมตําแหนงที่หนึ่งก็ใชหลักการในทํานองเดียวกัน
           ชั่วโมงที่ 3 (การวัดความยาวและการประมาณคาจากการวัด (ตอ))
           ครูใหนักเรียนศึกษาตารางความสัมพันธของหนวยในระบบเมตริกในหนังสือเรียนหนา 91
           ชั่วโมงที่ 4 (การหาคาประมาณโดยการปดเศษ)
           นักเรียนและครูทบทวนเรื่องที่เรียนในชั่วโมงที่ผานมาโดยรวมกันเฉลยแบบฝกหัด 1
    5.2 ขั้นสอน
                                  กิจกรรมการเรียนการสอน                                   ฝกการคิดแบบ
ชั่วโมงที่ 1 (การวัดความยาวและการประมาณคาจากการวัด)
1. ครูแนะนําหนวยการวัดตามระบบหนวยระหวางประเทศ มีชื่อเรียกโดยยอวา หนวย SI
ซึ่งมีหนวยมาตรฐานอยู 7 หนวย คือ
    เมตร              เปนหนวยวัดความยาว
    กิโลกรัม          เปนหนวยวัดมวล (น้ําหนัก)
    วินาที            เปนหนวยวัดเวลา
    แอมแปร           เปนหนวยวัดกระแสไฟฟา
    เคลวิน            เปนหนวยวัดอุณหภูมิ
    แคนเดลา เปนหนวยวัดความเขมของแสงสวาง
    โมล               เปนหนวยวัดความเขมขนของสารละลาย
2. ครูสนทนากับนักเรียนในเรื่องหนวยการวัดความยาวในระบบเมตริกวามีอะไรบาง             ทักษะการคิดวิเคราะห
(มิลลิเมตร เซนติเมตร เมตร กิโลเมตร)
3. ครูซักถามนักเรียนเกี่ยวกับการเปรียบเทียบหนวยมิลลิเมตรกับเซนติเมตร ดังนี้          ทักษะการคิดวิเคราะห
    - กี่มิลลิเมตร เทากับ 1 เซนติเมตร
    - 1 เซนติเมตร มีกี่มิลลิเมตร
    ถานักเรียนตอบไมไดครูใชคําถามถามนําเพื่อเปนการกระตุน เชน แตละ 1 หนวย
เซนติเมตร แบงเปน 10 สวนยอยๆ แตละสวนเปน 1 มิลลิเมตร

         นั่นคือ         10 มิลลิเมตร เปน 1 เซนติเมตร

4. ครูใหนักเรียนใชไมบรรทัดวัดความยาวของดินสอหรือปากกาของตนเอง แลวครูใหนก
                                                                            ั
เรียนตอบโดยใหมีหนวยเปนเซนติเมตรกอน แลวจึงตอบหนวยเปนมิลลิเมตร
แผนการจัดการเรียนรูคณิตศาสตรพื้นฐาน ม.1 ภาคเรียนที่ 2                                            102

                                กิจกรรมการเรียนการสอน                                 ฝกการคิดแบบ
     เชน ดินสอยาว 6 เซนติเมตร
             หาความยาวเปนมิลลิเมตรได 60 มิลลิเมตร
5. ครูซักถามวิธีการเปลี่ยนหนวยความยาวจากเซนติเมตรเปนมิลลิเมตร และรวมกัน ทักษะการคิดสรุปความ
สรุปดังนี้
   จากความยาวเปนเซนติเมตร จะหาความยาวเปนมิลลิเมตรทําไดโดยการนํา 10 ไปคูณ
นั่นเอง
6. ครูใหนักเรียนฝกเปลี่ยนหนวยจากเซนติเมตรเปนมิลลิเมตร เชน
    5 เซนติเมตร         เทากับ 50 มิลลิเมตร
    13 เซนติเมตร เทากับ 130 มิลลิเมตร
    42 เซนติเมตร เทากับ 420 มิลลิเมตร
7. ใหนักเรียนชวยกันเปลี่ยนหนวยจากมิลลิเมตรเปนเซนติเมตร วามีวิธีการทําอยางไร ทักษะการคิดวิเคราะห
โดยครูยกตัวอยางโจทยบนกระดานดําใหนักเรียนชวยกันคิด
    เชน 80 มิลลิเมตร คิดเปนกี่เซนติเมตร
           80 มิลลิเมตร คิดเปน 8 เซนติเมตร
    นั่นคือ นํา 10 ไปหารนั่นเอง
    จากนั้นครูใหนักเรียนฝกเปลี่ยนหนวยจากมิลลิเมตรเปนเซนติเมตร เชน
    20 มิลลิเมตร        เทากับ 2 เซนติเมตร
    50 มิลลิเมตร        เทากับ 5 เซนติเมตร
    150 มิลลิเมตร เทากับ 15 เซนติเมตร
8. ครูอธิบายหลักเกณฑการประมาณความยาวเปนมิลลิเมตรและเซนติเมตร และการวัด ทักษะการคิดแปลความ
โดยประมาณใหถึงทศนิยมตําแหนงที่หนึ่ง (รายละเอียดอยูในหนังสือเรียนหนา 87-89)
จากนั้นยกตัวอยางเพิ่มเติมใหนักเรียนรวมกันอภิปราย เชน
    ถาเชือกเสนหนึ่งยาวประมาณ 7.5 เมตร แสดงวา เชือกมีความยาวไมต่ํากวา 7.45 เมตร
แตไมถึง 7.55 เมตร
    นองนัทหนักประมาณ 37.2 กิโลกรัม แสดงวา นองนัทหนักไมต่ํากวา 37.15 กิโลกรัม
แตไมถึง 37.25 กิโลกรัม
9. ใหนักเรียนทํากิจกรรมตรวจสอบความเขาใจ 1 ในชั่วโมงเรียน แลวเฉลยคําตอบรวม
กัน
ชั่วโมงที่ 2 (การวัดความยาวและการประมาณคาจากการวัด (ตอ))
1. ครูใหนักเรียนนํากระดาษมาตัดใหมีความยาว 10 เซนติเมตร จากนั้นใหนักเรียน 10
คน นํากระดาษของตัวเองมาตอบนกระดานเปนแถวเดียวกัน
แผนการจัดการเรียนรูคณิตศาสตรพื้นฐาน ม.1 ภาคเรียนที่ 2                                           103

                              กิจกรรมการเรียนการสอน                                 ฝกการคิดแบบ
2. ครูสนทนาและซักถามกับนักเรียนถึงความยาวที่ไดวาเปนเทาไร (100 เซนติเมตร)    ทักษะการคิดวิเคราะห
3. ครูสนทนากับนักเรียนวา ถา 100 เซนติเมตร เทียบกับหนวยเปนเมตรจะไดความยาว   ทักษะการคิดวิเคราะห
เปนเทาไร ใหนกเรียนชวยกันหาคําตอบ (1 เมตร) และรวมกันสรุปผลที่ได
               ั                                                                ทักษะการคิดสรุปความ

               นั่นคือ            100 เซนติเมตร เปน 1 เมตร
    ครูใหนักเรียนวัดความยาวของสิ่งตางๆ ที่อยูในหองเรียนโดยการใชแถบกระดาษยาว
1 เมตร วัดความยาวเปนจํานวนเต็มเมตรที่ใกลเคียงที่สุด เชน โตะเรียน ความสูงของ
ประตูและอื่นๆ ในเวลาที่กําหนด เปรียบเทียบผลการวัดกับเพื่อนคนอื่นๆ
4. ครูตั้งคําถามกับนักเรียนแลวชวยกันพิจารณาหาคําตอบวา ถานํากระดาษที่ยาว 100  ทักษะการคิดวิเคราะห
เมตร มาตอกัน 10 แผน จะมีความยาวเปนเทาไร (1,000 เมตร) ความยาวใหมนี้จะเปน 1
กิโลเมตร
                      นั่นคือ   1,000 เมตร เปน 1 กิโลเมตร
5. ครูและนักเรียนรวมกันอภิปรายเรื่องการเลือกหนวยการวัดความยาวที่เหมาะสม โดย ทักษะการคิดแปลความ
ใหนักเรียนชวยกันยกตัวอยางการวัดที่มีหนวยเปนมิลลิเมตร เซนติเมตร เมตร และ
กิโลเมตร จากนั้นใหนักเรียนตอบคําถามขอที่ 1-7 ในหนังสือเรียนหนา 90-91
6. ใหนักเรียนทํากิจกรรมตรวจสอบความเขาใจ 2 ในชั่วโมงเรียน แลวเฉลยคําตอบรวม
กัน
ชั่วโมงที่ 3 (การวัดความยาวและการประมาณคาจากการวัด (ตอ))
1. ครูซักถามนักเรียนเกี่ยวกับความสัมพันธของหนวยในระบบเมตริกตางๆ เชน          ทักษะการคิดวิเคราะห
   - 1 กิโลเมตร เปนกี่เมตร
   - 1 เดซิเมตร เปนกี่เมตร
2. ครูใหนกเรียนชวยกันตอบคําถามตอไปนี้พรอมทั้งแสดงวิธีการคิดหาคําตอบ
            ั                                                                    ทักษะการคิดคํานวณ
    1) 5.7 กิโลเมตร เทากับกี่เมตร
    2) 302 เดซิเมตร เทากับกี่เมตร
    3) 575.4 เซนติเมตร เทากับกี่เมตร
    4) 6,548 มิลลิเมตร เทากับกี่เมตร
    วิธีทา 1) 5.7 กิโลเมตร = 5.7×1,000 เมตร
         ํ
                                  = 5,700 เมตร
              2) 302 เดซิเมตร = 0.1× 302 เมตร
                                  = 1 ×302 เมตร
                                    10
                                  = 30.2 เมตร
แผนการจัดการเรียนรูคณิตศาสตรพื้นฐาน ม.1 ภาคเรียนที่ 2                                            104

                                 กิจกรรมการเรียนการสอน                              ฝกการคิดแบบ
               3) 575.4 เซนติเมตร = 0.01×575.4 เมตร
                                  = 1 ×575.4 เมตร
                                     100
                                  = 5.754 เมตร
               4) 6,548 มิลลิเมตร = 0.001×6,548 เมตร
                                  = 1 × 6,548 เมตร
                                     1000
                                  = 6.548 เมตร
   ครูใหนักเรียนศึกษาตัวอยางที่ 1 ในหนังสือเรียน
3. ครูถามคําถามยอนกลับเกี่ยวกับการหาคําตอบขางตน เชน ถาตองการเปลี่ยนหนวย   ทักษะการคิดแปลความ
จากมิลลิเมตรเปนเมตร จากมิลลิเมตรเปนเซนติเมตร จากเดซิเมตรเปนเมตร เราจะมีวิธี   ทักษะการคิดวิเคราะห
การหาคําตอบไดอยางไรบาง ใหนักเรียนชวยกันอธิบาย
4. ใหนักเรียนศึกษาการหาคําตอบจากตัวอยางที่ 2 ในหนังสือเรียนหนา 92-93
5. ใหนักเรียนทํากิจกรรมตรวจสอบความเขาใจ 3 ภายในชั่วโมงเรียน แลวเฉลยคําตอบ
รวมกัน
6. ครูใหนกเรียนทําแบบฝกหัด 1 เปนการบาน
           ั
ชั่วโมงที่ 4 (การหาคาประมาณโดยการปดเศษ)
1. ครูและนักเรียนรวมกันสนทนาเกี่ยวกับการประมาณคาและการปดเศษเมื่อปริมาณเปน    ทักษะการคิดแปลความ
จํานวนเต็มวามีหลักการอยางไรโดยการใหนักเรียนแสดงความคิดเห็น แลวนํามาอภิปราย
รวมกันจนไดขอสรุปเปนหลักเกณฑในการปดเศษ (รายละเอียดอยูในหนังสือเรียนหนา
96-97)
2. ครูใหนกเรียนศึกษาตัวอยางที่ 3 ในหนังสือเรียนหนา 97-98
             ั                                                                   ทักษะการคิดวิเคราะห
    จากนั้น ใหนกเรียนแบงกลุมชวยกันเติมจํานวนในตารางตอไปนี้
                    ั

                                ปดเศษใหเปนจํานวนเต็มที่ใกลเคียงที่สุด
           จํานวน
                           จํานวนเต็มสิบ จํานวนเต็มรอย จํานวนเต็มพัน
             39,513
              4,182
             62,177
             15,316
            921,318
แผนการจัดการเรียนรูคณิตศาสตรพื้นฐาน ม.1 ภาคเรียนที่ 2                                                       105

                                 กิจกรรมการเรียนการสอน                                         ฝกการคิดแบบ
  เฉลย
                                   ปดเศษใหเปนจํานวนเต็มที่ใกลเคียงที่สุด
              จํานวน
                             จํานวนเต็มสิบ จํานวนเต็มรอย จํานวนเต็มพัน
              39,513              39,510            39,500             40,000
               4,182               4,180             4,200                4,000
              62,177              62,180            62,200             62,000
              15,316              15,320            15,300             15,000
             921,318             921,320           921,300            921,000

3. ครูอธิบายเรื่องการปดเศษเมื่อปริมาณเปนทศนิยม (รายละเอียดอยูในหนังสือเรียนหนา
98) โดยครูสรางแผนภาพตอไปนี้บนกระดาน เพื่อใหนักเรียนเขาใจมากยิ่งขึ้น

                  ปดเศษเปนจํานวนเต็ม
             .
                     หลักที่นํามาพิจารณา          เลขโดดนอยกวา 5 ตัดทิ้ง
                                                  เลขโดดมากกวาหรือเทากับ 5 ปดขึ้น



                         ปดเศษเปนทศนิยมหนึ่งตําแหนง
              .
                        หลักที่นํามาพิจารณา          เลขโดดนอยกวา 5 ตัดทิ้ง
                                                     เลขโดดมากกวาหรือเทากับ 5 ปดขึ้น



                         ปดเศษเปนทศนิยมสองตําแหนง
              .
                           หลักที่นํามาพิจารณา            เลขโดดนอยกวา 5 ตัดทิ้ง
                                                          เลขโดดมากกวาหรือเทากับ 5 ปดขึ้น
แผนการจัดการเรียนรูคณิตศาสตรพื้นฐาน ม.1 ภาคเรียนที่ 2                                            106

                              กิจกรรมการเรียนการสอน                                  ฝกการคิดแบบ
4. ครูใหนักเรียนศึกษาตัวอยางที่ 4 ในหนังสือเรียนหนา 98-99                     ทักษะการคิดวิเคราะห
   จากนั้นใหนักเรียนแบงกลุมชวยกันเติมจํานวนในตารางตอไปนี้

                                   ปดเศษใหเปนจํานวนที่ใกลเคียงที่สุด
                จํานวน                                    ทศนิยม
                               จํานวนเต็ม
                                                1 ตําแหนง       2 ตําแหนง
                 3.5712
                 4.9816
                 19.451
                131.189
               473.1002

  เฉลย
                                    ปดเศษใหเปนจํานวนที่ใกลเคียงที่สุด
                จํานวน                                    ทศนิยม
                               จํานวนเต็ม
                                                1 ตําแหนง       2 ตําแหนง
                 3.5712               4               3.6             3.57
                 4.9816               5               5.0             4.98
                 19.451              19              19.5           19.45
                131.189             131             131.2          131.19
               473.1002             473             473.1          473.10
5. ครูใหขอสังเกตเพิ่มเติมในการหาคาประมาณดังนี้
   1. ในการประมาณคาจํานวน 5 และ 5.0 มีความแตกตางกัน คือ
       5 เปนการประมาณคาเปนจํานวนเต็ม
       5.0 เปนการประมาณคาเปนทศนิยมหนึ่งตําแหนง
    2. ในการประมาณคาจะนิยมใชกับตัวเลขที่แสดงปริมาณเทานั้น สวนตัวเลขที่เปน
หมายเลขโทรศัพท บานเลขที่ ไมใชการประมาณคา
6. ครูใหนักเรียนทํากิจกรรมตรวจสอบความเขาใจ 4 เปนการบาน
แผนการจัดการเรียนรูคณิตศาสตรพื้นฐาน ม.1 ภาคเรียนที่ 2                                                 107

  5.3 ขั้นสรุป
      ครูและนักเรียนรวมกันทบทวนความสัมพันธของหนวยในระบบเมตริก และการหาคาประมาณโดยการ
ปดเศษ

6. สื่อการเรียนรู/แหลงการเรียนรู
   6.1 สื่อการเรียนรู
        - หนังสือเรียนรายวิชาพื้นฐาน คณิตศาสตร ม.1 ภาคเรียนที่ 2
        - ปายคําถาม
        - ดินสอ ไมบรรทัด
        - กระดาษแข็ง
        - อุปกรณที่นําไปวัดตางๆ เชน โตะ เกาอี้ ประตู เปนตน
   6.2 แหลงการเรียนรู
        - หองสมุดโรงเรียน
        - หองสมุดกลุมสาระการเรียนรูคณิตศาสตร

7. กิจกรรมเสนอแนะ
   กิจกรรมบูรณาการ
         ครูสามารถบูรณาการการเรียนกับกลุมสาระการเรียนรูศิลปะ และวิทยาศาสตร โดยการกําหนดภาระงาน
ใหนักเรียนไปวัดความยาวของสิ่งตางๆ ในบานนักเรียนแตละคน วาดภาพสิ่งของที่สารวจ พรอมกับประมาณคา
                                                                           ํ
แลวสรุปเปนตาราง

                                            ภาระงาน “สํารวจบานของเรา”

      ผลการเรียนรู                 ใชกระบวนการวัดความยาวสิ่งของตางๆ รอบตัวนักเรียน อธิบายเรื่องการ
                                    ประมาณคา
      ผลงานที่ตองการ               ตารางการสํารวจขอมูลเกี่ยวกับความยาวและการประมาณคา
      ขั้นตอนการทํางาน              1. ออกแบบตารางที่จะใชบนทึกขอมูล
                                                              ั
                                    2. ลงมือสํารวจสิ่งของในบาน วัดความยาว และจดบันทึก
                                    3. ประมาณคาความยาวโดยใชหลักการปดเศษ
                                    4. วาดภาพสิ่งของที่สํารวจ ระบายสีใหสวยงาม
                                    5. จัดทําเปนรายงานสงครู
      เกณฑการประเมิน               1. ความสวยงามของภาพประกอบ
                                    2. ความเรียบรอยและประณีต
                                    3. ความคิดสรางสรรคในการออกแบบตารางและการวัดสิ่งของตางๆ
แผนการจัดการเรียนรูคณิตศาสตรพื้นฐาน ม.1 ภาคเรียนที่ 2                                                                                                                          108

8. บันทึกหลังการสอน

                                                               บันทึกหลังการสอน
                                                  (บันทึกเฉพาะประเด็นที่มีขอมูลสารสนเทศชัดเจน)

                   ประเด็นการบันทึก                                                           จุดเดน                                         จุดที่ควรปรับปรุง

 1. การจัดกิจกรรมการเรียนรู

 2. การใชสื่อการเรียนรู

 3. การประเมินผลการเรียนรู

 4. การบรรลุผลการเรียนรูของผูเรียน

 บันทึกเพิ่มเติม
 ....................................................................................................................................................................................
 ....................................................................................................................................................................................
 ....................................................................................................................................................................................
 ....................................................................................................................................................................................
 ....................................................................................................................................................................................

                                                                                                     ลงชื่อ ............................................................ ผูสอน


บันทึกความเห็นของผูตรวจสอบแผนการจัดการเรียนรู
 ....................................................................................................................................................................................
 ....................................................................................................................................................................................
 ....................................................................................................................................................................................
 ....................................................................................................................................................................................
....................................................................................................................................................................................

                                                                                                     ลงชื่อ .......................................................................
                                                                                                     ตําแหนง ..................................................................
แผนการจัดการเรียนรูคณิตศาสตรพื้นฐาน ม.1 ภาคเรียนที่ 2                                                                                                                     109

9. ใบความรู ใบงาน และเครื่องมือวัดผล
     แบบสังเกตพฤติกรรมการเรียน
                               แบบบันทึกการสังเกตพฤติกรรมการเรียนรายบุคคลวิชาคณิตศาสตร
 ชื่อนักเรียน ...................................................... ชั้น ........... วันที่ ................ เดือน ............................ ป ....................
 ครั้งที่ ............................................................... ผูสังเกต ............................................................................................

                                                                                                                   ระดับการประเมิน
                            หัวขอการประเมิน
                                                                                         ดีมาก                  ดี         พอใช                      ควรปรับปรุง
   ความสนใจ
   การตอบคําถาม
   การทํากิจกรรมหนาชั้นเรียน
   การใชความรูทักษะ/กระบวนการทางคณิตศาสตร
   ในการแกปญหาในสถานการณตางๆ
   ความสามารถในการใชภาษาและสัญลักษณทาง
   คณิตศาสตรในการสื่อสารสื่อความหมาย


    แบบประเมินพฤติกรรมการทํางานกลุม

                                                          แบบประเมินพฤติกรรมการทํางานกลุม
ระดับชั้น.................................................. ประจําวันที่ ............................................................... กลุมที่ .......................

                                                                                                                ระดับการประเมิน
                         หัวขอการประเมิน
                                                                                  ดีมาก               ดี         ปานกลาง                 นอย               นอยมาก
    การวางแผนการทํางาน
    การกําหนดการปฏิบัติงานมีขั้นตอนชัดเจน
    การปฏิบัติตามขั้นตอนที่กําหนด
    ความคิดสรางสรรค
    ผลการทํางาน
แผนการจัดการเรียนรูคณิตศาสตรพื้นฐาน ม.1 ภาคเรียนที่ 2                                     110

                                          แผนการจัดการเรียนรูที่ 2
                             เรื่อง 1) การประมาณคาและการนําคาประมาณไปใช
                                    2) แนวคิดการประมาณคา
                                               เวลา 2 ชั่วโมง

1. เปาหมายการเรียนรู
   1.1 ผลการเรียนรู
        1) ใชการประมาณคาในสถานการณตางๆ ไดอยางเหมาะสม
        2) บอกวิธีการประมาณคาที่เหมาะสมกับการคํานวณได
        3) อธิบายถึงความสมเหตุสมผลของคําตอบที่ไดจากการคํานวณเมื่อเทียบกับการประมาณคาได
  1.2 จุดประสงคการเรียนรู
        1) ใชการประมาณคาในสถานการณตางๆ ไดอยางเหมาะสม
        2) บอกวิธีการประมาณคาที่เหมาะสมกับการคํานวณได
        3) อธิบายถึงความสมเหตุสมผลของคําตอบที่ไดจากการคํานวณเมื่อเทียบกับการประมาณคาได

2. สาระสําคัญ
   2.1 สาระการเรียนรู
       1) การประมาณคาและการนําคาประมาณไปใช
       2) แนวคิดการประมาณคา
   2.2 ทักษะ/กระบวนการ
       1) ทักษะการใหเหตุผล
       2) ทักษะการสื่อสาร สื่อความหมาย
       3) ทักษะการแกปญหา
   2.3 ทักษะการคิด
       การคิดแปลความ การคิดคํานวณ

3. รองรอยการเรียนรู
   3.1 ผลงาน/ชิ้นงาน
        1) ผลงานจากการทํากิจกรรมตรวจสอบความเขาใจ 5 และแบบฝกหัด 2-3
        2) ผลงานจากการทํากิจกรรมกลุม
แผนการจัดการเรียนรูคณิตศาสตรพื้นฐาน ม.1 ภาคเรียนที่ 2                                   111

    3.2 กระบวนการขั้นตอนการปฏิบัตงานิ
        1) จัดกลุม กลุมละ 3 คน
        2) เลือกหัวหนากลุม
        3) หัวหนากลุมแบงงาน
        4) รวมกันทํากิจกรรมตรวจสอบความเขาใจและแบบฝกหัด
        5) นําเสนอผลงานหนาชั้นเรียน
        6) สงงาน
    3.3 พฤติกรรมตามคุณลักษณะพึงประสงค
        1) ใหความรวมมือในการทํางานกลุม
        2) มีความละเอียดรอบคอบและรับผิดชอบในการทํางาน
    3.4 ความรูความเขาใจ
        นักเรียนรูแนวคิดในการประมาณคาและการนําคาประมาณไปใช

4. แนวทางการวัดผลและประเมินผล
   เกณฑผานขั้นต่ํา
      1) ไดระดับ “พอใช” ขึ้นไป
      2) ไดระดับ “ดี” ขึ้นไป
      3) ทําไดถูกตอง 80% ขึ้นไป
   การสรุปผลการประเมิน
      ตองผานเกณฑขั้นต่ําทั้ง 3 รายการ

5. กิจกรรมการเรียนการสอนเพื่อการเรียนรู
   5.1 ขั้นนํา
       ชั่วโมงที่ 1 (การประมาณคาและการนําคาประมาณไปใช)
       ครูนําสถานการณปญหาในหนังสือเรียนหนา 100-101 มาอภิปรายรวมกันในชั้นเรียน
       ชั่วโมงที่ 2 (แนวคิดการประมาณคา)
       ครูและนักเรียนรวมกันเฉลยแบบฝกหัด 2 โดยครูเลือกโจทยขอยากมาแสดงวิธีทําบนกระดาน
แผนการจัดการเรียนรูคณิตศาสตรพื้นฐาน ม.1 ภาคเรียนที่ 2                                            112

       5.2 ขั้นสอน
                                   กิจกรรมการเรียนการสอน                                  ฝกการคิดแบบ
ชั่วโมงที่ 1 (การประมาณคาและการนําคาประมาณไปใช)
1. ครูใหขอสรุปวาการประมาณคาไมมีหลักเกณฑแนนอน สวนมากจะทําตามความเหมาะ
สม เพื่อใหไดคาประมาณที่ใกลเคียงคาจริง และรวดเร็วในการคํานวณ เชน นักเรียนชั้น ม.
1 ของโรงเรียนแหงหนึ่งจํานวน 4 หอง มีนักเรียน 52, 41, 38 และ 39 คน ตามลําดับ นัก
เรียนชั้น ม.1 ของโรงเรียนแหงนี้มีประมาณกี่คน
    ในการแกปญหาโจทยการประมาณคา เราจะประมาณคาจากสิ่งที่โจทยกําหนดมาให
กอนแลวจึงหาผลลัพธ จะได
         นักเรียนหองที่ 1 จํานวน 52 คน ประมาณเปน 50 คน
         นักเรียนหองที่ 2 จํานวน 41 คน ประมาณเปน 40 คน
         นักเรียนหองที่ 3 จํานวน 38 คน ประมาณเปน 40 คน
         นักเรียนหองที่ 4 จํานวน 39 คน ประมาณเปน 40 คน
   ดังนั้น นักเรียนชั้น ม.1 ของโรงเรียนแหงนี้มีประมาณ 50+40+40+40 = 170 คน
2. ครูและนักเรียนรวมกันอภิปรายตัวอยางที่ 5-8 ในหนังสือเรียนหนา 102-104             ทักษะการคิดแปลความ
3. ครูเขียนโจทยตอไปนี้บนกระดานใหนักเรียนแบงกลุมชวยกันหาคําตอบภายในเวลาที่ ทักษะการคิดคํานวณ
กําหนด
     1) ไมโครเวฟเครื่องหนึ่งติดราคาไว 5,320 บาท ลดราคาให 9% ไมโครเวฟเครื่องนี้
ราคาประมาณเทาไร
       วิธีทา ไมโครเวฟราคา 5,320 บาท ประมาณเปน 5,000 บาท
             ํ
                 ลดราคาให 9% ประมาณเปน 10%
                 นั่นคือ ติดราคา 100 บาท ขายจริง 90 บาท
                           ติดราคา 5,000 บาท ขายจริง 90 × 5,000 = 4,500 บาท
                                                     100
                 ดังนั้น ไมโครเวฟเครื่องนี้ราคาประมาณ 4,500 บาท
     2) วินัยเดินทางไดระยะทาง 448 กิโลเมตร ดวยความเร็ว 92 กิโลเมตรตอชั่วโมง เขา
ใชเวลาในการเดินทางประมาณกี่ชั่วโมง
       วิธีทา วินัยเดินทางได 448 กิโลเมตร ประมาณเปน 450 กิโลเมตร
               ํ
                 ใชความเร็ว 92 กิโลเมตรตอชั่วโมง ประมาณเปน 90 กิโลเมตรตอชั่วโมง
                 ระยะทาง 90 กิโลเมตร ใชเวลาในการเดินทาง 1 ชั่วโมง
                 ระยะทาง 450 กิโลเมตร ใชเวลาในการเดินทาง 450 = 5 ชั่วโมง
                                                              90
                 ดังนั้น เขาใชเวลาในการเดินทางประมาณ 5 ชั่วโมง
แผนการจัดการเรียนรูคณิตศาสตรพื้นฐาน ม.1 ภาคเรียนที่ 2                                        113

                                      กิจกรรมการเรียนการสอน                             ฝกการคิดแบบ
       3) โดยปกติชีพจรของคนปกติเตนประมาณนาทีละ 72 ครั้ง จงหาวาใน 1 ชั่วโมง
ชีพจรของคนปกติเตนประมาณกี่ครั้ง
           วิธีทํา ชีพจรเตนนาทีละ 72 ครั้ง ประมาณเปน 70 ครั้ง
                   เวลา 1 ชั่วโมง มี 60 นาที
                   ดังนั้น ในเวลา 60 นาที ชีพจรของคนปกติเตนไดประมาณ
                           70×60 = 4,200 ครั้ง
       4) บริษัทขายรถยนตแหงหนึ่งขายรถยนตในราคา 625,300 บาท ถาซื้อเงินสดจะลด
ให 11.75% จงหาวาผูซื้อเงินสดตองจายเงินประมาณเทาไร
           วิธีทํา รถยนตราคา 625,300 บาท ประมาณเปน 600,000 บาท
                   ลดราคาให 11.75% ประมาณเปน 10%
                   ∴ ลดราคาให
                                       10 × 600,000 = 60,000 บาท
                                      100
                   ดังนั้น ผูซื้อเงินสดตองจายเงินประมาณ 600,000–60,000 = 540,000 บาท
4. ครูใหนักเรียนทํากิจกรรมตรวจสอบความเขาใจ 5 ในชั่วโมงเรียน แลวเฉลยคําตอบรวม
กัน
5. ครูใหนักเรียนทําแบบฝกหัด 2 เปนการบาน
ชั่วโมงที่ 2 (แนวคิดการประมาณคา)
1. นักเรียนและครูรวมกันสนทนาในเรื่องของการประมาณคาในเรื่องตางๆ ครูกลาววา ถา ทักษะการคิดแปลความ
ผูที่ประมาณเคยผานประสบการณในเรื่องนั้นๆ มามากเพียงพอและมีเกณฑในการอางอิง
จะทําใหการประมาณคานั้นสมเหตุสมผลมากยิ่งขึ้น
2. ครูแนะนําใหนักเรียนเห็นวา การประมาณคามักเกิดขึ้นกับชีวิตประจําวันของเรา
เสมอ ดังนั้นถาเราเรียนรูและมีความเขาใจ มีความชํานาญในการทํา ก็จะสามารถใชชีวิต
ไดอยางดี มีการตัดสินใจที่ถูกตอง
3. ครูนําเสนอตัวอยางที่ 1-3 ในหนังสือเรียนหนา 108
4. ครูใหนักเรียนแบงกลุมทําแบบฝกหัด 3 โดยการจับฉลากกลุมละ 2 ขอ เมื่อทําเสร็จแลว
นําคําตอบมาอภิปรายรวมกัน

       5.3 ขั้นสรุป
           นักเรียนและครูรวมกันสรุปดังนี้
           1) วิธีการประมาณคาแบบตางๆ
           2) แนวคิดในการประมาณคา
           3) การประมาณคามีประโยชนในการดําเนินชีวิตอยางไร
แผนการจัดการเรียนรูคณิตศาสตรพื้นฐาน ม.1 ภาคเรียนที่ 2           114

6. สื่อการเรียนรู/แหลงการเรียนรู
   6.1 สื่อการเรียนรู
        หนังสือเรียนรายวิชาพื้นฐาน คณิตศาสตร ม.1 ภาคเรียนที่ 2
   6.2 แหลงการเรียนรู
        - หองสมุดโรงเรียน
        - หองสมุดกลุมสาระการเรียนรูคณิตศาสตร

7. กิจกรรมเสนอแนะ
    -
แผนการจัดการเรียนรูคณิตศาสตรพื้นฐาน ม.1 ภาคเรียนที่ 2                                                                                                                          115

8. บันทึกหลังการสอน

                                                               บันทึกหลังการสอน
                                                  (บันทึกเฉพาะประเด็นที่มีขอมูลสารสนเทศชัดเจน)

                   ประเด็นการบันทึก                                                           จุดเดน                                         จุดที่ควรปรับปรุง

 1. การจัดกิจกรรมการเรียนรู

 2. การใชสื่อการเรียนรู

 3. การประเมินผลการเรียนรู

 4. การบรรลุผลการเรียนรูของผูเรียน

 บันทึกเพิ่มเติม
 ....................................................................................................................................................................................
 ....................................................................................................................................................................................
 ....................................................................................................................................................................................
 ....................................................................................................................................................................................
 ....................................................................................................................................................................................

                                                                                                     ลงชื่อ ............................................................ ผูสอน


บันทึกความเห็นของผูตรวจสอบแผนการจัดการเรียนรู
 ....................................................................................................................................................................................
 ....................................................................................................................................................................................
 ....................................................................................................................................................................................
 ....................................................................................................................................................................................
....................................................................................................................................................................................

                                                                                                     ลงชื่อ .......................................................................
                                                                                                     ตําแหนง ..................................................................
แผนการจัดการเรียนรูคณิตศาสตรพื้นฐาน ม.1 ภาคเรียนที่ 2                                                                                                                     116

9. ใบความรู ใบงาน และเครื่องมือวัดผล
     แบบสังเกตพฤติกรรมการเรียน
                               แบบบันทึกการสังเกตพฤติกรรมการเรียนรายบุคคลวิชาคณิตศาสตร
 ชื่อนักเรียน ...................................................... ชั้น ........... วันที่ ................ เดือน ............................ ป ....................
 ครั้งที่ ............................................................... ผูสังเกต ............................................................................................

                                                                                                                   ระดับการประเมิน
                            หัวขอการประเมิน
                                                                                         ดีมาก                  ดี         พอใช                      ควรปรับปรุง
   ความสนใจ
   การตอบคําถาม
   การทํากิจกรรมหนาชั้นเรียน
   การใชความรูทักษะ/กระบวนการทางคณิตศาสตร
   ในการแกปญหาในสถานการณตางๆ
   ความสามารถในการใชภาษาและสัญลักษณทาง
   คณิตศาสตรในการสื่อสารสื่อความหมาย


    แบบประเมินพฤติกรรมการทํางานกลุม

                                                          แบบประเมินพฤติกรรมการทํางานกลุม
ระดับชั้น.................................................. ประจําวันที่ ............................................................... กลุมที่ .......................

                                                                                                                ระดับการประเมิน
                         หัวขอการประเมิน
                                                                                  ดีมาก               ดี         ปานกลาง                 นอย               นอยมาก
    การวางแผนการทํางาน
    การกําหนดการปฏิบัติงานมีขั้นตอนชัดเจน
    การปฏิบัติตามขั้นตอนที่กําหนด
    ความคิดสรางสรรค
    ผลการทํางาน
แผนการจัดการเรียนรูคณิตศาสตรพื้นฐาน ม.1 ภาคเรียนที่ 2                                                                                                                      117

                              การประเมินและสะทอนตนเองหลังเสร็จสิ้นการเรียนในหนวยการเรียนรูที่ 2
                                                     (Self Reflection)

1. การประเมินตนเองของนักเรียน ใหดําเนินการดังนี้
   1.1 ครูทบทวนผลการเรียนรูประจําบททุกขอ ใหนักเรียนไดทราบ โดยอาจเขียนไวบนกระดาน พรอมทั้งทบ
ทวนถึงหัวขอกิจกรรมการเรียนวาไดเรียนอะไรบาง
   1.2 ใหนักเรียนเขียนบันทึกการประเมินตนเองไวในสมุดงานดานหลังตามหัวขอ ดังนี้
                       บันทึกการประเมินและสะทอนตนเองประจําหนวยการเรียนรูที่ 2
                            วัน/เดือน/ป ที่บันทึก ............... / ............... / ...............

รายการบันทึก
1. จากการเรียนที่ผานมาไดมีความรูอะไรบาง
   ...............................................................................................................................................................................
   ...............................................................................................................................................................................
2. ปจจุบันนี้มีความสามารถปฏิบัติสิ่งใดไดแลวบาง
   ...............................................................................................................................................................................
   ...............................................................................................................................................................................
3. สิ่งที่ยังไมรู ไมกระจาง ไมเขาใจ มีอะไรบาง
   ...............................................................................................................................................................................
   ...............................................................................................................................................................................
4. ผลงานหรือชิ้นงานที่เนนความภาคภูมใจจากการเรียนในบทนี้คออะไร ทําไมจึงภาคภูมิใจ
                                                               ิ                                       ื
   ...............................................................................................................................................................................
   ...............................................................................................................................................................................

2. การพัฒนาการเรียนการสอนโดยใชกระบวนการวิจัยในชั้นเรียนของครู
                                         ชื่อเรื่องที่วิจัย.......................................................................
1. ความเปนมาของปญหา
   สิ่งที่คาดหวัง..........................................................................................................................................................
   ...............................................................................................................................................................................
   สิ่งที่เปนจริง...........................................................................................................................................................
   ...............................................................................................................................................................................
   ปญหาที่พบคือ.......................................................................................................................................................
   ...............................................................................................................................................................................
แผนการจัดการเรียนรูคณิตศาสตรพื้นฐาน ม.1 ภาคเรียนที่ 2                                                                                                                      118

   สาเหตุของปญหาคือ..............................................................................................................................................
   ...............................................................................................................................................................................
   แนวทางการแกปญหาคือ.......................................................................................................................................
   ...............................................................................................................................................................................
2. วัตถุประสงคในการแกปญหา
   2.1 เพื่อแกปญหาเรื่อง...........................................................................................................................................
          ของนักเรียนชั้น..................... หอง........................... จํานวน............................ คน โดยใช............................
          ........................................................................................................................................................................
   2.2 เพื่อศึกษาผลการแกปญหาเกี่ยวกับ..................................................................................................................
          หลังจากที่ไดทดลองใชวิธีแกปญหาโดย.........................................................................................................
3. ขอบเขตของการแกปญหา
   3.1 กลุมเปาหมายในการแกปญหาคือ นักเรียนชั้น.......................... หอง................. จํานวน...........................คน
          ในภาคเรียนที่...................... ปการศึกษา................................... ที่มีปญหาเกี่ยวกับ........................................
   3.2 เนื้อหาที่ใชในการศึกษาคือ เรื่อง........................................................... หนวยการเรียนรู...............................
          วิชา...................................................................................
   3.3 ระยะเวลาในการศึกษา ประมาณ.......... สัปดาห/เดือน ตั้งแตวันที่....... เดือน.......................... พ.ศ. ..............
          ถึงวันที่................. เดือน..................................... พ.ศ. .........................
4. วิธีดําเนินการในการแกปญหา
   4.1 เครื่องมือที่ใชในการแกปญหา คือ..................................................................................................................
          ........................................................................................................................................................................
          ซึ่งมีขั้นตอนในการสรางและพัฒนาดังนี้
          ........................................................................................................................................................................
          ........................................................................................................................................................................
          ........................................................................................................................................................................
   4.2 เครื่องมือที่ใชในการเก็บรวบรวมขอมูลคือ.....................................................................................................
          ........................................................................................................................................................................
          ซึ่งมีขั้นตอนในการสรางและตรวจสอบคุณภาพดังนี้
          ........................................................................................................................................................................
          ........................................................................................................................................................................
          ........................................................................................................................................................................
แผนการจัดการเรียนรูคณิตศาสตรพื้นฐาน ม.1 ภาคเรียนที่ 2                                                                                                                      119

   4.3 การเก็บรวบรวมขอมูล ไดดําเนินการเก็บรวบรวมขอมูลตามวิธีการดังนี้
          1) นําเครื่องมือที่ใชในการแกปญหาไปทดลองใชกับนักเรียนในเวลา............................................................
               โดย............................................................................................................................................................
               ...................................................................................................................................................................
               ...................................................................................................................................................................
               ...................................................................................................................................................................
          2) นําเครื่องมือเก็บรวบรวมขอมูลไปเก็บขอมูลเกี่ยวกับ.................................................................................
               โดย............................................................................................................................................................
               ...................................................................................................................................................................
               ...................................................................................................................................................................
               ...................................................................................................................................................................
   4.4 การวิเคราะหขอมูลและการสรุปผล ไดดําเนินการวิเคราะหขอมูลและสรุปผลดังนี้
          ........................................................................................................................................................................
          ........................................................................................................................................................................
          ........................................................................................................................................................................
          ........................................................................................................................................................................
5. ผลการแกปญหา
   ผลการแกปญหาเกี่ยวกับ........................................................................................................................................
                      
   ของนักเรียนกลุมเปาหมาย ปรากฏผลดังนี้
   ...............................................................................................................................................................................
   ...............................................................................................................................................................................
   ...............................................................................................................................................................................
   ...............................................................................................................................................................................
   ...............................................................................................................................................................................
   ...............................................................................................................................................................................
   ...............................................................................................................................................................................

Contenu connexe

Tendances

Tendances (20)

Unit4
Unit4Unit4
Unit4
 
Unit3
Unit3Unit3
Unit3
 
Unit4
Unit4Unit4
Unit4
 
Unit1
Unit1Unit1
Unit1
 
Unit5
Unit5Unit5
Unit5
 
Unit2
Unit2Unit2
Unit2
 
Unit3
Unit3Unit3
Unit3
 
Unit2
Unit2Unit2
Unit2
 
Unit3
Unit3Unit3
Unit3
 
Unit2
Unit2Unit2
Unit2
 
Unit1
Unit1Unit1
Unit1
 
Unit4
Unit4Unit4
Unit4
 
Unit1
Unit1Unit1
Unit1
 
Unit1
Unit1Unit1
Unit1
 
Unit4
Unit4Unit4
Unit4
 
Unit4
Unit4Unit4
Unit4
 
Unit4
Unit4Unit4
Unit4
 
Unit1
Unit1Unit1
Unit1
 
Unit4
Unit4Unit4
Unit4
 
Unit3
Unit3Unit3
Unit3
 

En vedette

En vedette (17)

Unit2
Unit2Unit2
Unit2
 
Unit1
Unit1Unit1
Unit1
 
Unit2
Unit2Unit2
Unit2
 
Unit3
Unit3Unit3
Unit3
 
Unit1
Unit1Unit1
Unit1
 
Unit3
Unit3Unit3
Unit3
 
Unit4
Unit4Unit4
Unit4
 
Unit3
Unit3Unit3
Unit3
 
Unit1
Unit1Unit1
Unit1
 
Unit2
Unit2Unit2
Unit2
 
Unit1
Unit1Unit1
Unit1
 
Unit2
Unit2Unit2
Unit2
 
Unit3
Unit3Unit3
Unit3
 
Unit2
Unit2Unit2
Unit2
 
Unit6
Unit6Unit6
Unit6
 
Unit4
Unit4Unit4
Unit4
 
Unit1
Unit1Unit1
Unit1
 

Similaire à Unit2 (12)

Unit1
Unit1Unit1
Unit1
 
Unit1
Unit1Unit1
Unit1
 
Unit1
Unit1Unit1
Unit1
 
Unit3
Unit3Unit3
Unit3
 
Unit3
Unit3Unit3
Unit3
 
Unit1
Unit1Unit1
Unit1
 
Unit1
Unit1Unit1
Unit1
 
Unit3
Unit3Unit3
Unit3
 
Unit3
Unit3Unit3
Unit3
 
แผนการสอนเรื่องสมบัติของจำนวนนับ
แผนการสอนเรื่องสมบัติของจำนวนนับแผนการสอนเรื่องสมบัติของจำนวนนับ
แผนการสอนเรื่องสมบัติของจำนวนนับ
 
แผน 4 ชีวิต
แผน 4 ชีวิตแผน 4 ชีวิต
แผน 4 ชีวิต
 
Unit3
Unit3Unit3
Unit3
 

Plus de โรงเรียนบ้านสร้างมิ่ง สพปยโสธรเขตสอง

Plus de โรงเรียนบ้านสร้างมิ่ง สพปยโสธรเขตสอง (16)

แนะนำตนเองก่อนนะครับ
แนะนำตนเองก่อนนะครับแนะนำตนเองก่อนนะครับ
แนะนำตนเองก่อนนะครับ
 
6dfaf58369dcbcd321e94220ab97d3a5
6dfaf58369dcbcd321e94220ab97d3a56dfaf58369dcbcd321e94220ab97d3a5
6dfaf58369dcbcd321e94220ab97d3a5
 
806bcf9d9ff478aecbb8b8ab566b3685
806bcf9d9ff478aecbb8b8ab566b3685806bcf9d9ff478aecbb8b8ab566b3685
806bcf9d9ff478aecbb8b8ab566b3685
 
58ed6fed2c11a1c6821662303118cde4
58ed6fed2c11a1c6821662303118cde458ed6fed2c11a1c6821662303118cde4
58ed6fed2c11a1c6821662303118cde4
 
Cfef45eb7b5a2dae0f4b140ec545173b
Cfef45eb7b5a2dae0f4b140ec545173bCfef45eb7b5a2dae0f4b140ec545173b
Cfef45eb7b5a2dae0f4b140ec545173b
 
เว็ปช่วยสอน
เว็ปช่วยสอนเว็ปช่วยสอน
เว็ปช่วยสอน
 
กิจกรรมคณิตศาสตร์
กิจกรรมคณิตศาสตร์กิจกรรมคณิตศาสตร์
กิจกรรมคณิตศาสตร์
 
คณิตคิดสนุก เล่ม 2 ผลบวกมหัศจรรย์
คณิตคิดสนุก เล่ม 2 ผลบวกมหัศจรรย์คณิตคิดสนุก เล่ม 2 ผลบวกมหัศจรรย์
คณิตคิดสนุก เล่ม 2 ผลบวกมหัศจรรย์
 
คณิตคิดสนุก เล่ม 1 นักทายใจ
คณิตคิดสนุก เล่ม 1 นักทายใจคณิตคิดสนุก เล่ม 1 นักทายใจ
คณิตคิดสนุก เล่ม 1 นักทายใจ
 
Pancom m3
Pancom m3Pancom m3
Pancom m3
 
Pancom m1
Pancom m1Pancom m1
Pancom m1
 
Pancom m2
Pancom m2Pancom m2
Pancom m2
 
Pancom m2
Pancom m2Pancom m2
Pancom m2
 
Pancom m1
Pancom m1Pancom m1
Pancom m1
 
Unit4
Unit4Unit4
Unit4
 
Unit5
Unit5Unit5
Unit5
 

Unit2

  • 1. หนวยการเรียนรูที่ 2 เรื่อง การประมาณคา รายวิชาที่นํามาบูรณาการ วิทยาศาสตร ศิลปะ 1. มาตรฐานการเรียนรู มฐ. ค 1.3 มฐ. ค 6.1 2. ตัวชี้วัดชั้นปที่เกี่ยวของ ค 1.3 ม.1/1 ค 6.1 ม.1/1, 2 3. สาระการเรียนรูประจําหนวย 3.1 การวัดและการประมาณคา 3.2 แนวคิดการประมาณคา 4. รองรอยการเรียนรู 4.1 ผลงาน/ชิ้นงาน ไดแก 1) ผลงานจากการทํากิจกรรมตรวจสอบความเขาใจ 1-5 และแบบฝกหัด 1-3 2) ผลงานจากการทํากิจกรรมกลุม 3) ผลงานจากการทํากิจกรรมบูรณาการ 4.2 ผลการปฏิบัติงาน ไดแก 1) การปฏิบัติกิจกรรมในชั้นเรียน 2) การมีสวนรวมในการปฏิบัตกิจกรรมกลุม ิ 4.3 การทดสอบวัดผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนหลังเรียนจบหนวยการเรียนรู
  • 2. แผนการจัดการเรียนรูคณิตศาสตรพื้นฐาน ม.1 ภาคเรียนที่ 2 98 5. แนวทางการจัดการเรียนรูในภาพรวม แนวทางการจัดการเรียนรู รองรอยการเรียนรู บทบาทครู บทบาทนักเรียน 5.1 ผลงาน/ชิ้นงาน ไดแก 1) การทํากิจกรรมตรวจสอบ - อธิบายเนื้อหาในแตละเรื่อง - ฝกคิดตามและรวมทํากิจกรรมในชั้น ความเขาใจ 1-5 และแบบ - แนะการทําแบบฝกหัดและกิจ เรียน ฝกหัด 1-3 กรรมตรวจสอบความเขาใจ - ทํากิจกรรมตรวจสอบความเขาใจและ 2) การทํากิจกรรมกลุม - อธิบายสรุปความคิดรวบยอดใน แบบฝกหัด 3) การทํากิจกรรมบูรณาการ แตละเรื่อง - ทําแบบทดสอบหนวยยอยเปนรายกลุม 5.2 ผลการปฏิบัติงานไดแก 1) การปฏิบติกิจกรรมในชั้น ั - แนะนําวิธีการเขียนแผนผังสรุป - ใหนักเรียนเขียนแผนผังความคิด เรียนและการใชบริการหอง ความคิดรวบยอดเพื่อสรุปเนื้อหา ประจําหนวย สมุดของโรงเรียนอยาง ประจําหนวย - ใหนักเรียนไปคนควาโจทยในหอง เหมาะสม - แนะนําใหนักเรียนใชบริการหอง สมุดโรงเรียนและหองสมุดกลุมสาระ 2) การมีสวนรวมในการปฏิบัติ สมุดของโรงเรียนอยางเหมาะสม การเรียนรูคณิตศาสตร กิจกรรมกลุม - แนะนําวิธีการจัดกลุมและการทํา - ใหนักเรียนจัดกลุมตามที่ครูมอบหมาย กิจกรรมกลุม และชวยกันทํากิจกรรมในชั้นเรียน 5.3 การทดสอบวัดผลสัมฤทธิ์ทาง - สรุปเนื้อหาที่สําคัญตามแผนผัง - ทําแบบทดสอบหลังเรียนจบ การเรียน ความคิดรวบยอดประจําหนวยอีก ครั้ง
  • 3. แผนการจัดการเรียนรูคณิตศาสตรพื้นฐาน ม.1 ภาคเรียนที่ 2 99 แผนการจัดการเรียนรูที่ 1 เรื่อง การวัดและการประมาณคา เวลา 4 ชั่วโมง 1. เปาหมายการเรียนรู 1.1 ผลการเรียนรู 1) ใชการประมาณคาในสถานการณตางๆ ไดอยางเหมาะสม 2) บอกวิธีการประมาณคาที่เหมาะสมในการคํานวณได 3) อธิบายถึงความสมเหตุสมผลของคําตอบที่ไดจากการคํานวณเมื่อเทียบกับการประมาณคาได 1.2 จุดประสงคการเรียนรู 1) ใชการประมาณคาในสถานการณตาง ๆ ไดอยางเหมาะสม 2) บอกวิธีการประมาณคาที่เหมาะสมในการคํานวณได 3) อธิบายถึงความสมเหตุสมผลของคําตอบที่ไดจากการคํานวณเมื่อเทียบกับการประมาณคาได 2. สาระสําคัญ 2.1 สาระการเรียนรู 1) การวัด 2) การวัดความยาวและการหาคาประมาณจากการวัด 3) การหาคาประมาณโดยการปดเศษ 4) การประมาณคาและนําคาประมาณไปใช 2.2 ทักษะ/กระบวนการ 1) ทักษะการใหเหตุผล 2) ทักษะการสื่อสาร สื่อความหมาย 3) ทักษะการแกปญหา 2.3 ทักษะการคิด การคิดแปลความ การคิดวิเคราะห การคิดคํานวณ การคิดสรุปความ 3. รองรอยการเรียนรู 3.1 ผลงาน/ชิ้นงาน 1) ผลงานจากการทํากิจกรรมตรวจสอบความเขาใจ 1-4 และแบบฝกหัด 1 2) ผลงานจากการทํากิจกรรมกลุม 3) ผลงานจากการทํากิจกรรมบูรณาการ “สํารวจบานของเรา”
  • 4. แผนการจัดการเรียนรูคณิตศาสตรพื้นฐาน ม.1 ภาคเรียนที่ 2 100 3.2 กระบวนการขั้นตอนการปฏิบัติงาน 1) จัดกลุม กลุมละ 3 คน 2) เลือกหัวหนากลุม 3) หัวหนากลุมแบงงาน 4) รวมกันทํากิจกรรมตรวจสอบความเขาใจและแบบฝกหัด 5) นําเสนอผลงานหนาชั้นเรียน 6) สงงาน 3.3 พฤติกรรมตามคุณลักษณะพึงประสงค 1) ใหความรวมมือในการทํางานกลุม 2) มีความละเอียดรอบคอบและรับผิดชอบในการทํางาน 3.4 ความรูความเขาใจ นักเรียนเขาใจความหมายของคําวา “คาประมาณ” และ “การประมาณคา” 4. แนวทางการวัดผลและประเมินผล เกณฑผานขั้นต่ํา 1) ไดระดับ “พอใช” ขึ้นไป 2) ไดระดับ “ดี” ขึ้นไป 3) ทําไดถูกตอง 80% ขึ้นไป การสรุปผลการประเมิน ตองผานเกณฑขั้นต่ําทั้ง 3 รายการ 5. กิจกรรมการเรียนการสอนเพื่อการเรียนรู 5.1 ขั้นนํา ชั่วโมงที่ 1 (การวัดความยาวและการประมาณคาจากการวัด) สนทนากับนักเรียนในเรื่องของการวัดแบบตางๆ ที่นักเรียนรูจัก ใหนักเรียนชวยกันยกตัวอยางหรือสมมติ เหตุการณเกี่ยวกับการวัดที่นักเรียนเคยพบเห็นเลาใหเพื่อนๆ ฟง จากนั้นครูสรุปวา เมื่อเราพูดถึงการวัดนอกจากจะ หมายถึงการหาระยะทางระหวางจุดสองจุดแลว การชั่ง การตวง การจับเวลา การวัดอุณหภูมิ การหาปริมาณของ กระแสไฟฟาที่ใช การหาความเขมของแสงสวาง การหาความเขมขนของสารละลาย ลวนเปนเรื่องของการวัดทั้งสิ้น นอกจากนี้การเลือกหนวยการวัดจะตองใหเหมาะสมกับสิ่งที่จะใชวัด เชน การวัดความกวางของสมุดควรใชหนวย เซนติเมตร การวัดระยะทางจากกรุงเทพฯ ถึงเชียงใหมควรใชหนวยกิโลเมตร
  • 5. แผนการจัดการเรียนรูคณิตศาสตรพื้นฐาน ม.1 ภาคเรียนที่ 2 101 ชั่วโมงที่ 2 (การวัดความยาวและการประมาณคาจากการวัด (ตอ)) ครูทบทวนการวัดความยาวและการประมาณคาของการวัดที่มีหนวยเปนมิลลิเมตรกับเซนติเมตร โดยใช หลักเกณฑวา ความยาวที่วัดไดใกลเคียงจํานวนเต็มใดมากกวาก็ใหประมาณใกลเคียงจํานวนเต็มนั้น แตถาวัดไดยาว ถึงจุดกึ่งกลางระหวางจํานวนเต็มสองจํานวนพอดี ใหถือเปนขอตกลงวาประมาณใกลเคียงจํานวนเต็มที่มคามากกวา ี การประมาณใหถึงทศนิยมตําแหนงที่หนึ่งก็ใชหลักการในทํานองเดียวกัน ชั่วโมงที่ 3 (การวัดความยาวและการประมาณคาจากการวัด (ตอ)) ครูใหนักเรียนศึกษาตารางความสัมพันธของหนวยในระบบเมตริกในหนังสือเรียนหนา 91 ชั่วโมงที่ 4 (การหาคาประมาณโดยการปดเศษ) นักเรียนและครูทบทวนเรื่องที่เรียนในชั่วโมงที่ผานมาโดยรวมกันเฉลยแบบฝกหัด 1 5.2 ขั้นสอน กิจกรรมการเรียนการสอน ฝกการคิดแบบ ชั่วโมงที่ 1 (การวัดความยาวและการประมาณคาจากการวัด) 1. ครูแนะนําหนวยการวัดตามระบบหนวยระหวางประเทศ มีชื่อเรียกโดยยอวา หนวย SI ซึ่งมีหนวยมาตรฐานอยู 7 หนวย คือ เมตร เปนหนวยวัดความยาว กิโลกรัม เปนหนวยวัดมวล (น้ําหนัก) วินาที เปนหนวยวัดเวลา แอมแปร เปนหนวยวัดกระแสไฟฟา เคลวิน เปนหนวยวัดอุณหภูมิ แคนเดลา เปนหนวยวัดความเขมของแสงสวาง โมล เปนหนวยวัดความเขมขนของสารละลาย 2. ครูสนทนากับนักเรียนในเรื่องหนวยการวัดความยาวในระบบเมตริกวามีอะไรบาง ทักษะการคิดวิเคราะห (มิลลิเมตร เซนติเมตร เมตร กิโลเมตร) 3. ครูซักถามนักเรียนเกี่ยวกับการเปรียบเทียบหนวยมิลลิเมตรกับเซนติเมตร ดังนี้ ทักษะการคิดวิเคราะห - กี่มิลลิเมตร เทากับ 1 เซนติเมตร - 1 เซนติเมตร มีกี่มิลลิเมตร ถานักเรียนตอบไมไดครูใชคําถามถามนําเพื่อเปนการกระตุน เชน แตละ 1 หนวย เซนติเมตร แบงเปน 10 สวนยอยๆ แตละสวนเปน 1 มิลลิเมตร นั่นคือ 10 มิลลิเมตร เปน 1 เซนติเมตร 4. ครูใหนักเรียนใชไมบรรทัดวัดความยาวของดินสอหรือปากกาของตนเอง แลวครูใหนก ั เรียนตอบโดยใหมีหนวยเปนเซนติเมตรกอน แลวจึงตอบหนวยเปนมิลลิเมตร
  • 6. แผนการจัดการเรียนรูคณิตศาสตรพื้นฐาน ม.1 ภาคเรียนที่ 2 102 กิจกรรมการเรียนการสอน ฝกการคิดแบบ เชน ดินสอยาว 6 เซนติเมตร หาความยาวเปนมิลลิเมตรได 60 มิลลิเมตร 5. ครูซักถามวิธีการเปลี่ยนหนวยความยาวจากเซนติเมตรเปนมิลลิเมตร และรวมกัน ทักษะการคิดสรุปความ สรุปดังนี้ จากความยาวเปนเซนติเมตร จะหาความยาวเปนมิลลิเมตรทําไดโดยการนํา 10 ไปคูณ นั่นเอง 6. ครูใหนักเรียนฝกเปลี่ยนหนวยจากเซนติเมตรเปนมิลลิเมตร เชน 5 เซนติเมตร เทากับ 50 มิลลิเมตร 13 เซนติเมตร เทากับ 130 มิลลิเมตร 42 เซนติเมตร เทากับ 420 มิลลิเมตร 7. ใหนักเรียนชวยกันเปลี่ยนหนวยจากมิลลิเมตรเปนเซนติเมตร วามีวิธีการทําอยางไร ทักษะการคิดวิเคราะห โดยครูยกตัวอยางโจทยบนกระดานดําใหนักเรียนชวยกันคิด เชน 80 มิลลิเมตร คิดเปนกี่เซนติเมตร 80 มิลลิเมตร คิดเปน 8 เซนติเมตร นั่นคือ นํา 10 ไปหารนั่นเอง จากนั้นครูใหนักเรียนฝกเปลี่ยนหนวยจากมิลลิเมตรเปนเซนติเมตร เชน 20 มิลลิเมตร เทากับ 2 เซนติเมตร 50 มิลลิเมตร เทากับ 5 เซนติเมตร 150 มิลลิเมตร เทากับ 15 เซนติเมตร 8. ครูอธิบายหลักเกณฑการประมาณความยาวเปนมิลลิเมตรและเซนติเมตร และการวัด ทักษะการคิดแปลความ โดยประมาณใหถึงทศนิยมตําแหนงที่หนึ่ง (รายละเอียดอยูในหนังสือเรียนหนา 87-89) จากนั้นยกตัวอยางเพิ่มเติมใหนักเรียนรวมกันอภิปราย เชน ถาเชือกเสนหนึ่งยาวประมาณ 7.5 เมตร แสดงวา เชือกมีความยาวไมต่ํากวา 7.45 เมตร แตไมถึง 7.55 เมตร นองนัทหนักประมาณ 37.2 กิโลกรัม แสดงวา นองนัทหนักไมต่ํากวา 37.15 กิโลกรัม แตไมถึง 37.25 กิโลกรัม 9. ใหนักเรียนทํากิจกรรมตรวจสอบความเขาใจ 1 ในชั่วโมงเรียน แลวเฉลยคําตอบรวม กัน ชั่วโมงที่ 2 (การวัดความยาวและการประมาณคาจากการวัด (ตอ)) 1. ครูใหนักเรียนนํากระดาษมาตัดใหมีความยาว 10 เซนติเมตร จากนั้นใหนักเรียน 10 คน นํากระดาษของตัวเองมาตอบนกระดานเปนแถวเดียวกัน
  • 7. แผนการจัดการเรียนรูคณิตศาสตรพื้นฐาน ม.1 ภาคเรียนที่ 2 103 กิจกรรมการเรียนการสอน ฝกการคิดแบบ 2. ครูสนทนาและซักถามกับนักเรียนถึงความยาวที่ไดวาเปนเทาไร (100 เซนติเมตร) ทักษะการคิดวิเคราะห 3. ครูสนทนากับนักเรียนวา ถา 100 เซนติเมตร เทียบกับหนวยเปนเมตรจะไดความยาว ทักษะการคิดวิเคราะห เปนเทาไร ใหนกเรียนชวยกันหาคําตอบ (1 เมตร) และรวมกันสรุปผลที่ได ั ทักษะการคิดสรุปความ นั่นคือ 100 เซนติเมตร เปน 1 เมตร ครูใหนักเรียนวัดความยาวของสิ่งตางๆ ที่อยูในหองเรียนโดยการใชแถบกระดาษยาว 1 เมตร วัดความยาวเปนจํานวนเต็มเมตรที่ใกลเคียงที่สุด เชน โตะเรียน ความสูงของ ประตูและอื่นๆ ในเวลาที่กําหนด เปรียบเทียบผลการวัดกับเพื่อนคนอื่นๆ 4. ครูตั้งคําถามกับนักเรียนแลวชวยกันพิจารณาหาคําตอบวา ถานํากระดาษที่ยาว 100 ทักษะการคิดวิเคราะห เมตร มาตอกัน 10 แผน จะมีความยาวเปนเทาไร (1,000 เมตร) ความยาวใหมนี้จะเปน 1 กิโลเมตร นั่นคือ 1,000 เมตร เปน 1 กิโลเมตร 5. ครูและนักเรียนรวมกันอภิปรายเรื่องการเลือกหนวยการวัดความยาวที่เหมาะสม โดย ทักษะการคิดแปลความ ใหนักเรียนชวยกันยกตัวอยางการวัดที่มีหนวยเปนมิลลิเมตร เซนติเมตร เมตร และ กิโลเมตร จากนั้นใหนักเรียนตอบคําถามขอที่ 1-7 ในหนังสือเรียนหนา 90-91 6. ใหนักเรียนทํากิจกรรมตรวจสอบความเขาใจ 2 ในชั่วโมงเรียน แลวเฉลยคําตอบรวม กัน ชั่วโมงที่ 3 (การวัดความยาวและการประมาณคาจากการวัด (ตอ)) 1. ครูซักถามนักเรียนเกี่ยวกับความสัมพันธของหนวยในระบบเมตริกตางๆ เชน ทักษะการคิดวิเคราะห - 1 กิโลเมตร เปนกี่เมตร - 1 เดซิเมตร เปนกี่เมตร 2. ครูใหนกเรียนชวยกันตอบคําถามตอไปนี้พรอมทั้งแสดงวิธีการคิดหาคําตอบ ั ทักษะการคิดคํานวณ 1) 5.7 กิโลเมตร เทากับกี่เมตร 2) 302 เดซิเมตร เทากับกี่เมตร 3) 575.4 เซนติเมตร เทากับกี่เมตร 4) 6,548 มิลลิเมตร เทากับกี่เมตร วิธีทา 1) 5.7 กิโลเมตร = 5.7×1,000 เมตร ํ = 5,700 เมตร 2) 302 เดซิเมตร = 0.1× 302 เมตร = 1 ×302 เมตร 10 = 30.2 เมตร
  • 8. แผนการจัดการเรียนรูคณิตศาสตรพื้นฐาน ม.1 ภาคเรียนที่ 2 104 กิจกรรมการเรียนการสอน ฝกการคิดแบบ 3) 575.4 เซนติเมตร = 0.01×575.4 เมตร = 1 ×575.4 เมตร 100 = 5.754 เมตร 4) 6,548 มิลลิเมตร = 0.001×6,548 เมตร = 1 × 6,548 เมตร 1000 = 6.548 เมตร ครูใหนักเรียนศึกษาตัวอยางที่ 1 ในหนังสือเรียน 3. ครูถามคําถามยอนกลับเกี่ยวกับการหาคําตอบขางตน เชน ถาตองการเปลี่ยนหนวย ทักษะการคิดแปลความ จากมิลลิเมตรเปนเมตร จากมิลลิเมตรเปนเซนติเมตร จากเดซิเมตรเปนเมตร เราจะมีวิธี ทักษะการคิดวิเคราะห การหาคําตอบไดอยางไรบาง ใหนักเรียนชวยกันอธิบาย 4. ใหนักเรียนศึกษาการหาคําตอบจากตัวอยางที่ 2 ในหนังสือเรียนหนา 92-93 5. ใหนักเรียนทํากิจกรรมตรวจสอบความเขาใจ 3 ภายในชั่วโมงเรียน แลวเฉลยคําตอบ รวมกัน 6. ครูใหนกเรียนทําแบบฝกหัด 1 เปนการบาน ั ชั่วโมงที่ 4 (การหาคาประมาณโดยการปดเศษ) 1. ครูและนักเรียนรวมกันสนทนาเกี่ยวกับการประมาณคาและการปดเศษเมื่อปริมาณเปน ทักษะการคิดแปลความ จํานวนเต็มวามีหลักการอยางไรโดยการใหนักเรียนแสดงความคิดเห็น แลวนํามาอภิปราย รวมกันจนไดขอสรุปเปนหลักเกณฑในการปดเศษ (รายละเอียดอยูในหนังสือเรียนหนา 96-97) 2. ครูใหนกเรียนศึกษาตัวอยางที่ 3 ในหนังสือเรียนหนา 97-98 ั ทักษะการคิดวิเคราะห จากนั้น ใหนกเรียนแบงกลุมชวยกันเติมจํานวนในตารางตอไปนี้ ั ปดเศษใหเปนจํานวนเต็มที่ใกลเคียงที่สุด จํานวน จํานวนเต็มสิบ จํานวนเต็มรอย จํานวนเต็มพัน 39,513 4,182 62,177 15,316 921,318
  • 9. แผนการจัดการเรียนรูคณิตศาสตรพื้นฐาน ม.1 ภาคเรียนที่ 2 105 กิจกรรมการเรียนการสอน ฝกการคิดแบบ เฉลย ปดเศษใหเปนจํานวนเต็มที่ใกลเคียงที่สุด จํานวน จํานวนเต็มสิบ จํานวนเต็มรอย จํานวนเต็มพัน 39,513 39,510 39,500 40,000 4,182 4,180 4,200 4,000 62,177 62,180 62,200 62,000 15,316 15,320 15,300 15,000 921,318 921,320 921,300 921,000 3. ครูอธิบายเรื่องการปดเศษเมื่อปริมาณเปนทศนิยม (รายละเอียดอยูในหนังสือเรียนหนา 98) โดยครูสรางแผนภาพตอไปนี้บนกระดาน เพื่อใหนักเรียนเขาใจมากยิ่งขึ้น ปดเศษเปนจํานวนเต็ม . หลักที่นํามาพิจารณา เลขโดดนอยกวา 5 ตัดทิ้ง เลขโดดมากกวาหรือเทากับ 5 ปดขึ้น ปดเศษเปนทศนิยมหนึ่งตําแหนง . หลักที่นํามาพิจารณา เลขโดดนอยกวา 5 ตัดทิ้ง เลขโดดมากกวาหรือเทากับ 5 ปดขึ้น ปดเศษเปนทศนิยมสองตําแหนง . หลักที่นํามาพิจารณา เลขโดดนอยกวา 5 ตัดทิ้ง เลขโดดมากกวาหรือเทากับ 5 ปดขึ้น
  • 10. แผนการจัดการเรียนรูคณิตศาสตรพื้นฐาน ม.1 ภาคเรียนที่ 2 106 กิจกรรมการเรียนการสอน ฝกการคิดแบบ 4. ครูใหนักเรียนศึกษาตัวอยางที่ 4 ในหนังสือเรียนหนา 98-99 ทักษะการคิดวิเคราะห จากนั้นใหนักเรียนแบงกลุมชวยกันเติมจํานวนในตารางตอไปนี้ ปดเศษใหเปนจํานวนที่ใกลเคียงที่สุด จํานวน ทศนิยม จํานวนเต็ม 1 ตําแหนง 2 ตําแหนง 3.5712 4.9816 19.451 131.189 473.1002 เฉลย ปดเศษใหเปนจํานวนที่ใกลเคียงที่สุด จํานวน ทศนิยม จํานวนเต็ม 1 ตําแหนง 2 ตําแหนง 3.5712 4 3.6 3.57 4.9816 5 5.0 4.98 19.451 19 19.5 19.45 131.189 131 131.2 131.19 473.1002 473 473.1 473.10 5. ครูใหขอสังเกตเพิ่มเติมในการหาคาประมาณดังนี้ 1. ในการประมาณคาจํานวน 5 และ 5.0 มีความแตกตางกัน คือ 5 เปนการประมาณคาเปนจํานวนเต็ม 5.0 เปนการประมาณคาเปนทศนิยมหนึ่งตําแหนง 2. ในการประมาณคาจะนิยมใชกับตัวเลขที่แสดงปริมาณเทานั้น สวนตัวเลขที่เปน หมายเลขโทรศัพท บานเลขที่ ไมใชการประมาณคา 6. ครูใหนักเรียนทํากิจกรรมตรวจสอบความเขาใจ 4 เปนการบาน
  • 11. แผนการจัดการเรียนรูคณิตศาสตรพื้นฐาน ม.1 ภาคเรียนที่ 2 107 5.3 ขั้นสรุป ครูและนักเรียนรวมกันทบทวนความสัมพันธของหนวยในระบบเมตริก และการหาคาประมาณโดยการ ปดเศษ 6. สื่อการเรียนรู/แหลงการเรียนรู 6.1 สื่อการเรียนรู - หนังสือเรียนรายวิชาพื้นฐาน คณิตศาสตร ม.1 ภาคเรียนที่ 2 - ปายคําถาม - ดินสอ ไมบรรทัด - กระดาษแข็ง - อุปกรณที่นําไปวัดตางๆ เชน โตะ เกาอี้ ประตู เปนตน 6.2 แหลงการเรียนรู - หองสมุดโรงเรียน - หองสมุดกลุมสาระการเรียนรูคณิตศาสตร 7. กิจกรรมเสนอแนะ กิจกรรมบูรณาการ ครูสามารถบูรณาการการเรียนกับกลุมสาระการเรียนรูศิลปะ และวิทยาศาสตร โดยการกําหนดภาระงาน ใหนักเรียนไปวัดความยาวของสิ่งตางๆ ในบานนักเรียนแตละคน วาดภาพสิ่งของที่สารวจ พรอมกับประมาณคา ํ แลวสรุปเปนตาราง ภาระงาน “สํารวจบานของเรา” ผลการเรียนรู ใชกระบวนการวัดความยาวสิ่งของตางๆ รอบตัวนักเรียน อธิบายเรื่องการ ประมาณคา ผลงานที่ตองการ ตารางการสํารวจขอมูลเกี่ยวกับความยาวและการประมาณคา ขั้นตอนการทํางาน 1. ออกแบบตารางที่จะใชบนทึกขอมูล ั 2. ลงมือสํารวจสิ่งของในบาน วัดความยาว และจดบันทึก 3. ประมาณคาความยาวโดยใชหลักการปดเศษ 4. วาดภาพสิ่งของที่สํารวจ ระบายสีใหสวยงาม 5. จัดทําเปนรายงานสงครู เกณฑการประเมิน 1. ความสวยงามของภาพประกอบ 2. ความเรียบรอยและประณีต 3. ความคิดสรางสรรคในการออกแบบตารางและการวัดสิ่งของตางๆ
  • 12. แผนการจัดการเรียนรูคณิตศาสตรพื้นฐาน ม.1 ภาคเรียนที่ 2 108 8. บันทึกหลังการสอน บันทึกหลังการสอน (บันทึกเฉพาะประเด็นที่มีขอมูลสารสนเทศชัดเจน) ประเด็นการบันทึก จุดเดน จุดที่ควรปรับปรุง 1. การจัดกิจกรรมการเรียนรู 2. การใชสื่อการเรียนรู 3. การประเมินผลการเรียนรู 4. การบรรลุผลการเรียนรูของผูเรียน บันทึกเพิ่มเติม .................................................................................................................................................................................... .................................................................................................................................................................................... .................................................................................................................................................................................... .................................................................................................................................................................................... .................................................................................................................................................................................... ลงชื่อ ............................................................ ผูสอน บันทึกความเห็นของผูตรวจสอบแผนการจัดการเรียนรู .................................................................................................................................................................................... .................................................................................................................................................................................... .................................................................................................................................................................................... .................................................................................................................................................................................... .................................................................................................................................................................................... ลงชื่อ ....................................................................... ตําแหนง ..................................................................
  • 13. แผนการจัดการเรียนรูคณิตศาสตรพื้นฐาน ม.1 ภาคเรียนที่ 2 109 9. ใบความรู ใบงาน และเครื่องมือวัดผล แบบสังเกตพฤติกรรมการเรียน แบบบันทึกการสังเกตพฤติกรรมการเรียนรายบุคคลวิชาคณิตศาสตร ชื่อนักเรียน ...................................................... ชั้น ........... วันที่ ................ เดือน ............................ ป .................... ครั้งที่ ............................................................... ผูสังเกต ............................................................................................ ระดับการประเมิน หัวขอการประเมิน ดีมาก ดี พอใช ควรปรับปรุง ความสนใจ การตอบคําถาม การทํากิจกรรมหนาชั้นเรียน การใชความรูทักษะ/กระบวนการทางคณิตศาสตร ในการแกปญหาในสถานการณตางๆ ความสามารถในการใชภาษาและสัญลักษณทาง คณิตศาสตรในการสื่อสารสื่อความหมาย แบบประเมินพฤติกรรมการทํางานกลุม แบบประเมินพฤติกรรมการทํางานกลุม ระดับชั้น.................................................. ประจําวันที่ ............................................................... กลุมที่ ....................... ระดับการประเมิน หัวขอการประเมิน ดีมาก ดี ปานกลาง นอย นอยมาก การวางแผนการทํางาน การกําหนดการปฏิบัติงานมีขั้นตอนชัดเจน การปฏิบัติตามขั้นตอนที่กําหนด ความคิดสรางสรรค ผลการทํางาน
  • 14. แผนการจัดการเรียนรูคณิตศาสตรพื้นฐาน ม.1 ภาคเรียนที่ 2 110 แผนการจัดการเรียนรูที่ 2 เรื่อง 1) การประมาณคาและการนําคาประมาณไปใช 2) แนวคิดการประมาณคา เวลา 2 ชั่วโมง 1. เปาหมายการเรียนรู 1.1 ผลการเรียนรู 1) ใชการประมาณคาในสถานการณตางๆ ไดอยางเหมาะสม 2) บอกวิธีการประมาณคาที่เหมาะสมกับการคํานวณได 3) อธิบายถึงความสมเหตุสมผลของคําตอบที่ไดจากการคํานวณเมื่อเทียบกับการประมาณคาได 1.2 จุดประสงคการเรียนรู 1) ใชการประมาณคาในสถานการณตางๆ ไดอยางเหมาะสม 2) บอกวิธีการประมาณคาที่เหมาะสมกับการคํานวณได 3) อธิบายถึงความสมเหตุสมผลของคําตอบที่ไดจากการคํานวณเมื่อเทียบกับการประมาณคาได 2. สาระสําคัญ 2.1 สาระการเรียนรู 1) การประมาณคาและการนําคาประมาณไปใช 2) แนวคิดการประมาณคา 2.2 ทักษะ/กระบวนการ 1) ทักษะการใหเหตุผล 2) ทักษะการสื่อสาร สื่อความหมาย 3) ทักษะการแกปญหา 2.3 ทักษะการคิด การคิดแปลความ การคิดคํานวณ 3. รองรอยการเรียนรู 3.1 ผลงาน/ชิ้นงาน 1) ผลงานจากการทํากิจกรรมตรวจสอบความเขาใจ 5 และแบบฝกหัด 2-3 2) ผลงานจากการทํากิจกรรมกลุม
  • 15. แผนการจัดการเรียนรูคณิตศาสตรพื้นฐาน ม.1 ภาคเรียนที่ 2 111 3.2 กระบวนการขั้นตอนการปฏิบัตงานิ 1) จัดกลุม กลุมละ 3 คน 2) เลือกหัวหนากลุม 3) หัวหนากลุมแบงงาน 4) รวมกันทํากิจกรรมตรวจสอบความเขาใจและแบบฝกหัด 5) นําเสนอผลงานหนาชั้นเรียน 6) สงงาน 3.3 พฤติกรรมตามคุณลักษณะพึงประสงค 1) ใหความรวมมือในการทํางานกลุม 2) มีความละเอียดรอบคอบและรับผิดชอบในการทํางาน 3.4 ความรูความเขาใจ นักเรียนรูแนวคิดในการประมาณคาและการนําคาประมาณไปใช 4. แนวทางการวัดผลและประเมินผล เกณฑผานขั้นต่ํา 1) ไดระดับ “พอใช” ขึ้นไป 2) ไดระดับ “ดี” ขึ้นไป 3) ทําไดถูกตอง 80% ขึ้นไป การสรุปผลการประเมิน ตองผานเกณฑขั้นต่ําทั้ง 3 รายการ 5. กิจกรรมการเรียนการสอนเพื่อการเรียนรู 5.1 ขั้นนํา ชั่วโมงที่ 1 (การประมาณคาและการนําคาประมาณไปใช) ครูนําสถานการณปญหาในหนังสือเรียนหนา 100-101 มาอภิปรายรวมกันในชั้นเรียน ชั่วโมงที่ 2 (แนวคิดการประมาณคา) ครูและนักเรียนรวมกันเฉลยแบบฝกหัด 2 โดยครูเลือกโจทยขอยากมาแสดงวิธีทําบนกระดาน
  • 16. แผนการจัดการเรียนรูคณิตศาสตรพื้นฐาน ม.1 ภาคเรียนที่ 2 112 5.2 ขั้นสอน กิจกรรมการเรียนการสอน ฝกการคิดแบบ ชั่วโมงที่ 1 (การประมาณคาและการนําคาประมาณไปใช) 1. ครูใหขอสรุปวาการประมาณคาไมมีหลักเกณฑแนนอน สวนมากจะทําตามความเหมาะ สม เพื่อใหไดคาประมาณที่ใกลเคียงคาจริง และรวดเร็วในการคํานวณ เชน นักเรียนชั้น ม. 1 ของโรงเรียนแหงหนึ่งจํานวน 4 หอง มีนักเรียน 52, 41, 38 และ 39 คน ตามลําดับ นัก เรียนชั้น ม.1 ของโรงเรียนแหงนี้มีประมาณกี่คน ในการแกปญหาโจทยการประมาณคา เราจะประมาณคาจากสิ่งที่โจทยกําหนดมาให กอนแลวจึงหาผลลัพธ จะได นักเรียนหองที่ 1 จํานวน 52 คน ประมาณเปน 50 คน นักเรียนหองที่ 2 จํานวน 41 คน ประมาณเปน 40 คน นักเรียนหองที่ 3 จํานวน 38 คน ประมาณเปน 40 คน นักเรียนหองที่ 4 จํานวน 39 คน ประมาณเปน 40 คน ดังนั้น นักเรียนชั้น ม.1 ของโรงเรียนแหงนี้มีประมาณ 50+40+40+40 = 170 คน 2. ครูและนักเรียนรวมกันอภิปรายตัวอยางที่ 5-8 ในหนังสือเรียนหนา 102-104 ทักษะการคิดแปลความ 3. ครูเขียนโจทยตอไปนี้บนกระดานใหนักเรียนแบงกลุมชวยกันหาคําตอบภายในเวลาที่ ทักษะการคิดคํานวณ กําหนด 1) ไมโครเวฟเครื่องหนึ่งติดราคาไว 5,320 บาท ลดราคาให 9% ไมโครเวฟเครื่องนี้ ราคาประมาณเทาไร วิธีทา ไมโครเวฟราคา 5,320 บาท ประมาณเปน 5,000 บาท ํ ลดราคาให 9% ประมาณเปน 10% นั่นคือ ติดราคา 100 บาท ขายจริง 90 บาท ติดราคา 5,000 บาท ขายจริง 90 × 5,000 = 4,500 บาท 100 ดังนั้น ไมโครเวฟเครื่องนี้ราคาประมาณ 4,500 บาท 2) วินัยเดินทางไดระยะทาง 448 กิโลเมตร ดวยความเร็ว 92 กิโลเมตรตอชั่วโมง เขา ใชเวลาในการเดินทางประมาณกี่ชั่วโมง วิธีทา วินัยเดินทางได 448 กิโลเมตร ประมาณเปน 450 กิโลเมตร ํ ใชความเร็ว 92 กิโลเมตรตอชั่วโมง ประมาณเปน 90 กิโลเมตรตอชั่วโมง ระยะทาง 90 กิโลเมตร ใชเวลาในการเดินทาง 1 ชั่วโมง ระยะทาง 450 กิโลเมตร ใชเวลาในการเดินทาง 450 = 5 ชั่วโมง 90 ดังนั้น เขาใชเวลาในการเดินทางประมาณ 5 ชั่วโมง
  • 17. แผนการจัดการเรียนรูคณิตศาสตรพื้นฐาน ม.1 ภาคเรียนที่ 2 113 กิจกรรมการเรียนการสอน ฝกการคิดแบบ 3) โดยปกติชีพจรของคนปกติเตนประมาณนาทีละ 72 ครั้ง จงหาวาใน 1 ชั่วโมง ชีพจรของคนปกติเตนประมาณกี่ครั้ง วิธีทํา ชีพจรเตนนาทีละ 72 ครั้ง ประมาณเปน 70 ครั้ง เวลา 1 ชั่วโมง มี 60 นาที ดังนั้น ในเวลา 60 นาที ชีพจรของคนปกติเตนไดประมาณ 70×60 = 4,200 ครั้ง 4) บริษัทขายรถยนตแหงหนึ่งขายรถยนตในราคา 625,300 บาท ถาซื้อเงินสดจะลด ให 11.75% จงหาวาผูซื้อเงินสดตองจายเงินประมาณเทาไร วิธีทํา รถยนตราคา 625,300 บาท ประมาณเปน 600,000 บาท ลดราคาให 11.75% ประมาณเปน 10% ∴ ลดราคาให 10 × 600,000 = 60,000 บาท 100 ดังนั้น ผูซื้อเงินสดตองจายเงินประมาณ 600,000–60,000 = 540,000 บาท 4. ครูใหนักเรียนทํากิจกรรมตรวจสอบความเขาใจ 5 ในชั่วโมงเรียน แลวเฉลยคําตอบรวม กัน 5. ครูใหนักเรียนทําแบบฝกหัด 2 เปนการบาน ชั่วโมงที่ 2 (แนวคิดการประมาณคา) 1. นักเรียนและครูรวมกันสนทนาในเรื่องของการประมาณคาในเรื่องตางๆ ครูกลาววา ถา ทักษะการคิดแปลความ ผูที่ประมาณเคยผานประสบการณในเรื่องนั้นๆ มามากเพียงพอและมีเกณฑในการอางอิง จะทําใหการประมาณคานั้นสมเหตุสมผลมากยิ่งขึ้น 2. ครูแนะนําใหนักเรียนเห็นวา การประมาณคามักเกิดขึ้นกับชีวิตประจําวันของเรา เสมอ ดังนั้นถาเราเรียนรูและมีความเขาใจ มีความชํานาญในการทํา ก็จะสามารถใชชีวิต ไดอยางดี มีการตัดสินใจที่ถูกตอง 3. ครูนําเสนอตัวอยางที่ 1-3 ในหนังสือเรียนหนา 108 4. ครูใหนักเรียนแบงกลุมทําแบบฝกหัด 3 โดยการจับฉลากกลุมละ 2 ขอ เมื่อทําเสร็จแลว นําคําตอบมาอภิปรายรวมกัน 5.3 ขั้นสรุป นักเรียนและครูรวมกันสรุปดังนี้ 1) วิธีการประมาณคาแบบตางๆ 2) แนวคิดในการประมาณคา 3) การประมาณคามีประโยชนในการดําเนินชีวิตอยางไร
  • 18. แผนการจัดการเรียนรูคณิตศาสตรพื้นฐาน ม.1 ภาคเรียนที่ 2 114 6. สื่อการเรียนรู/แหลงการเรียนรู 6.1 สื่อการเรียนรู หนังสือเรียนรายวิชาพื้นฐาน คณิตศาสตร ม.1 ภาคเรียนที่ 2 6.2 แหลงการเรียนรู - หองสมุดโรงเรียน - หองสมุดกลุมสาระการเรียนรูคณิตศาสตร 7. กิจกรรมเสนอแนะ -
  • 19. แผนการจัดการเรียนรูคณิตศาสตรพื้นฐาน ม.1 ภาคเรียนที่ 2 115 8. บันทึกหลังการสอน บันทึกหลังการสอน (บันทึกเฉพาะประเด็นที่มีขอมูลสารสนเทศชัดเจน) ประเด็นการบันทึก จุดเดน จุดที่ควรปรับปรุง 1. การจัดกิจกรรมการเรียนรู 2. การใชสื่อการเรียนรู 3. การประเมินผลการเรียนรู 4. การบรรลุผลการเรียนรูของผูเรียน บันทึกเพิ่มเติม .................................................................................................................................................................................... .................................................................................................................................................................................... .................................................................................................................................................................................... .................................................................................................................................................................................... .................................................................................................................................................................................... ลงชื่อ ............................................................ ผูสอน บันทึกความเห็นของผูตรวจสอบแผนการจัดการเรียนรู .................................................................................................................................................................................... .................................................................................................................................................................................... .................................................................................................................................................................................... .................................................................................................................................................................................... .................................................................................................................................................................................... ลงชื่อ ....................................................................... ตําแหนง ..................................................................
  • 20. แผนการจัดการเรียนรูคณิตศาสตรพื้นฐาน ม.1 ภาคเรียนที่ 2 116 9. ใบความรู ใบงาน และเครื่องมือวัดผล แบบสังเกตพฤติกรรมการเรียน แบบบันทึกการสังเกตพฤติกรรมการเรียนรายบุคคลวิชาคณิตศาสตร ชื่อนักเรียน ...................................................... ชั้น ........... วันที่ ................ เดือน ............................ ป .................... ครั้งที่ ............................................................... ผูสังเกต ............................................................................................ ระดับการประเมิน หัวขอการประเมิน ดีมาก ดี พอใช ควรปรับปรุง ความสนใจ การตอบคําถาม การทํากิจกรรมหนาชั้นเรียน การใชความรูทักษะ/กระบวนการทางคณิตศาสตร ในการแกปญหาในสถานการณตางๆ ความสามารถในการใชภาษาและสัญลักษณทาง คณิตศาสตรในการสื่อสารสื่อความหมาย แบบประเมินพฤติกรรมการทํางานกลุม แบบประเมินพฤติกรรมการทํางานกลุม ระดับชั้น.................................................. ประจําวันที่ ............................................................... กลุมที่ ....................... ระดับการประเมิน หัวขอการประเมิน ดีมาก ดี ปานกลาง นอย นอยมาก การวางแผนการทํางาน การกําหนดการปฏิบัติงานมีขั้นตอนชัดเจน การปฏิบัติตามขั้นตอนที่กําหนด ความคิดสรางสรรค ผลการทํางาน
  • 21. แผนการจัดการเรียนรูคณิตศาสตรพื้นฐาน ม.1 ภาคเรียนที่ 2 117 การประเมินและสะทอนตนเองหลังเสร็จสิ้นการเรียนในหนวยการเรียนรูที่ 2 (Self Reflection) 1. การประเมินตนเองของนักเรียน ใหดําเนินการดังนี้ 1.1 ครูทบทวนผลการเรียนรูประจําบททุกขอ ใหนักเรียนไดทราบ โดยอาจเขียนไวบนกระดาน พรอมทั้งทบ ทวนถึงหัวขอกิจกรรมการเรียนวาไดเรียนอะไรบาง 1.2 ใหนักเรียนเขียนบันทึกการประเมินตนเองไวในสมุดงานดานหลังตามหัวขอ ดังนี้ บันทึกการประเมินและสะทอนตนเองประจําหนวยการเรียนรูที่ 2 วัน/เดือน/ป ที่บันทึก ............... / ............... / ............... รายการบันทึก 1. จากการเรียนที่ผานมาไดมีความรูอะไรบาง ............................................................................................................................................................................... ............................................................................................................................................................................... 2. ปจจุบันนี้มีความสามารถปฏิบัติสิ่งใดไดแลวบาง ............................................................................................................................................................................... ............................................................................................................................................................................... 3. สิ่งที่ยังไมรู ไมกระจาง ไมเขาใจ มีอะไรบาง ............................................................................................................................................................................... ............................................................................................................................................................................... 4. ผลงานหรือชิ้นงานที่เนนความภาคภูมใจจากการเรียนในบทนี้คออะไร ทําไมจึงภาคภูมิใจ ิ ื ............................................................................................................................................................................... ............................................................................................................................................................................... 2. การพัฒนาการเรียนการสอนโดยใชกระบวนการวิจัยในชั้นเรียนของครู ชื่อเรื่องที่วิจัย....................................................................... 1. ความเปนมาของปญหา สิ่งที่คาดหวัง.......................................................................................................................................................... ............................................................................................................................................................................... สิ่งที่เปนจริง........................................................................................................................................................... ............................................................................................................................................................................... ปญหาที่พบคือ....................................................................................................................................................... ...............................................................................................................................................................................
  • 22. แผนการจัดการเรียนรูคณิตศาสตรพื้นฐาน ม.1 ภาคเรียนที่ 2 118 สาเหตุของปญหาคือ.............................................................................................................................................. ............................................................................................................................................................................... แนวทางการแกปญหาคือ....................................................................................................................................... ............................................................................................................................................................................... 2. วัตถุประสงคในการแกปญหา 2.1 เพื่อแกปญหาเรื่อง........................................................................................................................................... ของนักเรียนชั้น..................... หอง........................... จํานวน............................ คน โดยใช............................ ........................................................................................................................................................................ 2.2 เพื่อศึกษาผลการแกปญหาเกี่ยวกับ.................................................................................................................. หลังจากที่ไดทดลองใชวิธีแกปญหาโดย......................................................................................................... 3. ขอบเขตของการแกปญหา 3.1 กลุมเปาหมายในการแกปญหาคือ นักเรียนชั้น.......................... หอง................. จํานวน...........................คน ในภาคเรียนที่...................... ปการศึกษา................................... ที่มีปญหาเกี่ยวกับ........................................ 3.2 เนื้อหาที่ใชในการศึกษาคือ เรื่อง........................................................... หนวยการเรียนรู............................... วิชา................................................................................... 3.3 ระยะเวลาในการศึกษา ประมาณ.......... สัปดาห/เดือน ตั้งแตวันที่....... เดือน.......................... พ.ศ. .............. ถึงวันที่................. เดือน..................................... พ.ศ. ......................... 4. วิธีดําเนินการในการแกปญหา 4.1 เครื่องมือที่ใชในการแกปญหา คือ.................................................................................................................. ........................................................................................................................................................................ ซึ่งมีขั้นตอนในการสรางและพัฒนาดังนี้ ........................................................................................................................................................................ ........................................................................................................................................................................ ........................................................................................................................................................................ 4.2 เครื่องมือที่ใชในการเก็บรวบรวมขอมูลคือ..................................................................................................... ........................................................................................................................................................................ ซึ่งมีขั้นตอนในการสรางและตรวจสอบคุณภาพดังนี้ ........................................................................................................................................................................ ........................................................................................................................................................................ ........................................................................................................................................................................
  • 23. แผนการจัดการเรียนรูคณิตศาสตรพื้นฐาน ม.1 ภาคเรียนที่ 2 119 4.3 การเก็บรวบรวมขอมูล ไดดําเนินการเก็บรวบรวมขอมูลตามวิธีการดังนี้ 1) นําเครื่องมือที่ใชในการแกปญหาไปทดลองใชกับนักเรียนในเวลา............................................................ โดย............................................................................................................................................................ ................................................................................................................................................................... ................................................................................................................................................................... ................................................................................................................................................................... 2) นําเครื่องมือเก็บรวบรวมขอมูลไปเก็บขอมูลเกี่ยวกับ................................................................................. โดย............................................................................................................................................................ ................................................................................................................................................................... ................................................................................................................................................................... ................................................................................................................................................................... 4.4 การวิเคราะหขอมูลและการสรุปผล ไดดําเนินการวิเคราะหขอมูลและสรุปผลดังนี้ ........................................................................................................................................................................ ........................................................................................................................................................................ ........................................................................................................................................................................ ........................................................................................................................................................................ 5. ผลการแกปญหา ผลการแกปญหาเกี่ยวกับ........................................................................................................................................  ของนักเรียนกลุมเปาหมาย ปรากฏผลดังนี้ ............................................................................................................................................................................... ............................................................................................................................................................................... ............................................................................................................................................................................... ............................................................................................................................................................................... ............................................................................................................................................................................... ............................................................................................................................................................................... ...............................................................................................................................................................................