SlideShare une entreprise Scribd logo
1  sur  46
Télécharger pour lire hors ligne
แผนการจัดการเรียนรูคณิตศาสตรพื้นฐาน ม.2 ภาคเรียนที่ 2                          121

                                        หนวยการเรียนรูที่ 4 เรื่อง
                                              เสนขนาน

รายวิชาที่นํามาบูรณาการ
   ภาษาไทย ศิลปะ การงานพื้นฐานอาชีพ
1. มาตรฐานการเรียนรู
   มฐ.ค 3.2
2. ตัวชี้วัดชั้นปที่เกี่ยวของ
   ค 3.2 ม.2/1
3. สาระการเรียนรูประจําหนวย
   3.1 เสนขนาน
   3.2 เสนตัด
   3.3 สมบัติเกี่ยวกับเสนขนาน
   3.4 เสนขนานและมุมแยงภายใน
   3.5 เสนขนานและมุมภายนอก กับมุมภายใน
   3.6 เสนขนานและมุมแยงภายนอก
   3.7 รูปสามเหลี่ยมและเสนขนาน
4. รองรอยการเรียนรู
   4.1 ผลงาน / ชิ้นงาน ไดแก
         1) การทํากิจกรรมตรวจสอบความเขาใจ 1- 13 ในหนังสือเรียนแม็ค
         2) การทําแบบฝกหัด 1 -4 ในหนังสือเรียนแม็ค
         3) การทําแบบทดสอบ
   4.2 ผลการปฏิบัติงานไดแก
         1) การปฏิบัติกิจกรรมในชั้นเรียนและการใชบริการของโรงเรียนอยางเหมาะสม
         2) การมีสวนรวมในการปฏิบัตกิจกรรมกลุม
                                       ิ
   4.3 การทดสอบวัดผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนหลังเรียนจบหนวยการเรียนรู
แผนการจัดการเรียนรูคณิตศาสตรพื้นฐาน ม.2 ภาคเรียนที่ 2                                                          122

5. แนวทางการจัดกิจกรรมในภาพรวม
                                                                  แนวทางการจัดการเรียนรู
            รองรอยการเรียนรู
                                                         บทบาทครู                    บทบาทนักเรียน
 5.1 ผลงาน / ชิ้นงาน ไดแก
 1) การทํ ากิ จกรรมตรวจสอบความเขา - อธิบายเนื้อหาในแตละเรื่อง                     - ฝกคิดตามและรวมทํากิจกรรมใน
 ใจ 1- 13 ในหนังสือเรียนแม็ค                                                        ชั้นเรียน
 2) การทํ าแบบฝ ก หั ด 1 -4 ในหนั ง สื อ
 เรียนแม็ค                                - แนะการทําแบบฝกหัดและ                   -ทํากิจกรรมตรวจสอบความเขาใจ
 3) การทําแบบทดสอบ                        กิจกรรมตรวจสอบความเขาใจ                  และแบบฝกหัด
                                          - อธิ บ ายสรุ ป ความคิ ด รวบยอด           - ทําแบบทดสอบหนวยยอยเปนราย
                                          ในแตละเรื่อง                             กลุม
 5.2 ผลการปฏิบัติงาน ไดแก
      1) การปฏิบัติกิจกรรมในชั้นเรียน - แนะนําวิธีการเขียนแผนผังสรุป                - ใหนักเรียนเขียนแผนผังความคิด
 และการใช บ ริ ก ารของโรงเรี ย นอย า ง ความคิดรวบยอดเพื่อสรุปเนื้อหา              ประจําหนวย
 เหมาะสม                                  ประจําหนวย
                                                                            - ให นั ก เรี ย นไปค น คว า โจทย ใ น
                                          - แนะนํ า ให นั ก เรี ย นใช บ ริ ก าร
                                          ห องส มุ ดของโรงเรี ย น อย า ง  ห อ งสมุ ด โรงเรี ย นและห อ งสมุ ด
                                          เหมาะสม                           กลุมสาระการเรียนรูคณิตศาสตร
                                                                            - ใหนักเรียนจัดกลุมตามที่ครูมอบ
     2) การมีสวนรวมในการปฏิบัติ            - แนะนํ าวิธีการจัดกลุมและการ หมายและชวยกันทํากิจกรรมในชั้น
 กิจกรรมกลุม                                ทํากิจกรรมกลุม                เรียน

 5.3 การทดสอบวัดผลสัมฤทธิ์ทางการ - สรุปเนื้อหาที่สําคัญตามแผนผัง - ทําแบบทดสอบหลังเรียนจบ
 เรียน                           ความคิดรวบยอดประจําหนวยอีก
                                 ครั้ง
แผนการจัดการเรียนรูคณิตศาสตรพื้นฐาน ม.2 ภาคเรียนที่ 2                                                   123


                                         แผนการจัดการเรียนรูที่ 1
                                               เรื่อง เสนขนาน
                                               เวลา 8 ชั่วโมง

1. เปาหมายการเรียนรู
    1.1 ผลการเรียนรู
          1) สามารถบอกสมบัติของเสนขนานและเงื่อนไขที่ทําใหเสนตรงสองเสนขนานกันได
          2) ตระหนักถึงความสมเหตุสมผลของคําตอบที่ไดในสถานการณตางๆ
    1.2 จุดประสงคการเรียนรู
          1) อธิบายไดวาเสนตรงสองเสนจะขนานกันเมื่อใด
          2) สามารถบอกสมบัติของเสนขนานไดอยางถูกตอง
          3) ตระหนักถึงความสมเหตุสมผลของคําตอบที่ได
2. สาระสําคัญ
    2.1 สาระการเรียนรู
          1) เสนตรงสองเสนเปนเสนขนาน ก็ตอเมื่อเสนตรงคูนั้นเปนเสนตรงรวมระนาบเดียวกันและไมตดกัน
                                                                                                   ั
          2) เสนตรงสองเสนนั้นไมสามารถอยูในระนาบเดียวกันได จะเรียกวาเสนไขวขาม
          3) สวนของเสนตรงหรือรังสีเสนหนึ่งขนานกับสวนของเสนตรงอีกเสนหนึ่ง ก็ตอเมื่อคูของเสนตรงที่บรรจุ
สวนของเสนตรงหรือรังสีคน้นขนานกัน
                            ู ั
          4) กําหนดเสนตรงเสนหนึ่งและจุดจุดหนึ่งที่ไมอยูบนเสนตรงจะลากผานจุดที่กําหนดใหและขนานกับเสน
ตรงที่กาหนดใหไดเพียงเสนเดียว
       ํ
    2.2 ทักษะ / กระบวนการ
          การคิดคํานวณ
    2.3 ทักษะการคิด
          ทักษะการคิดจัดลําดับความ ทักษะการสังเกต ทักษะการคิดสรุปความ ทักษะการคิดวิเคราะห ทักษะการคิด
เปรียบเทียบ ทักษะการคิดสํารวจ ทักษะการคิดคํานวณ
3. รองรอยการเรียนรู
   3.1 ผลงาน / ชิ้นงาน
         1) พฤติกรรมการเรียน
         2) พฤติกรรมการทํางานกลุม
         3) การทํากิจกรรมตรวจสอบความเขาใจ 1-4 และแบบฝกหัด 1 , 2
แผนการจัดการเรียนรูคณิตศาสตรพื้นฐาน ม.2 ภาคเรียนที่ 2                                               124

   3.2 กระบวนการขั้นตอนการปฏิบัติงาน
        1) จัดกลุม กลุมละ 3 คน
        2) เลือกหัวหนากลุม
        3) หัวหนากลุมแบงงาน
       4) รวมกันจัดทําบัตรกิจกรรม
       5) นําเสนอผลงานหนาชั้นเรียน
       6) รวมกันทํากิจกรรมตรวจสอบความเขาใจ
       7) สงงาน
   3.3 พฤติกรรมตามคุณลักษณะพึงประสงค
       1) ใหความรวมมือในการทํางานกลุม
       2) มีความละเอียดรอบคอบและรับผิดชอบในการทํางาน
   3.4 ความรูความเขาใจ
       นักเรียนเขาใจความหมายสมบัติของเสนขนานและเงื่อนไขที่ทําใหเสนตรงสองเสนขนานกัน

4. แนวทางการวัดและประเมินผล
      เกณฑขั้นต่ํา
      4.1 ไดระดับ “ พอใช ” ขึ้นไป
      4.2 ไดระดับ “ ดี ” ขึ้นไป
      4.3 ทําได 80 % ขึ้นไป
      การสรุปผลการประเมิน
      ตองผานเกณฑข้นต่ําทั้ง 3 รายการ
                     ั

5. กิจกรรมการเรียนการสอน
    5.1 ขั้นนํา
        ชั่วโมงที่ 1 เสนขนาน
        ครูสนทนากับนักเรียนเกี่ยวกับลักษณะของที่ขนานกันวามีลักษณะเปนอยางไร ทําไมนักเรียนถึงเรียกวาขนาน
กัน จะสังเกตจากอะไร
        ชั่วโมงที่ 2 เสนตรงที่เปนเสนขนาน
        ครูทบทวนบทนิยามของเสนขนานที่เรียนในชั่วโมงที่ 1 โดยการถามตอบ
        ชั่วโมงที่ 3 เสนตัด
        ใหนกเรียนอธิบายลักษณะของการตัดกันของเสนตรงสองเสน
              ั
แผนการจัดการเรียนรูคณิตศาสตรพื้นฐาน ม.2 ภาคเรียนที่ 2                                         125

       ชั่วโมงที่ 4
       ครูทบทวนเรื่องที่เรียนมาในชั่วโมงที่แลวโดยวาดภาพบนกระดาน แลวใหนักเรียนชวยกันตอบคําถาม
       ชั่วโมงที่ 5
       ครูทบทวนสัจพจนที่เรียนมาแลวโดยการสนทนาซักถาม
       ชั่วโมงที่ 6
       ครูทบทวนการหาคําตอบของมุมที่กําหนดใหจากที่เรียนมาแลว โดยการวาดรูปบนกระดานใหนักเรียนชวยกัน
หาคําตอบ
       ชั่วโมงที่ 7
       นักเรียนและครูรวมกันสนทนาและซักถามเกี่ยวกับเรื่องที่เรียนมาในชั่วโมงที่แลว
       ชั่วโมงที่ 8
       ครูทบทวนเกี่ยวกับเรื่องของเสนขนานที่เรียนมาแลวโดยการถามตอบ
แผนการจัดการเรียนรูคณิตศาสตรพื้นฐาน ม.2 ภาคเรียนที่ 2                                               126

   5.2 ขั้นสอน
                                  กิจกรรมการเรียนการสอน                             ฝกการคิดแบบ
 ชั่วโมงที่ 1 เสนขนาน
 1. ครูสนทนากับนักเรียนเกี่ยวกับลักษณะของที่ขนานกันวามีลักษณะเปนอยางไร ทักษะการคิดจัดลําดับความ
     ทําไมนักเรียนถึงเรียกวาขนานกัน จะสังเกตจากอะไร
 2. ครูวาดรูปลูกบาศก ABCDEFGH บนกระดาน ใหนักเรียนชวยกันพิจารณาโดย ทักษะการสังเกต
                                       E        F
     ครูเปนผูซักถาม เชน
                                    H        G

                                         D            C
                                     A        B


   - ลูกบาศก ABCDEFGH มีจุดใดเปนจุดยอดบาง
   - มีเสนตรงคูใดตัดกันบาง
   - มีเสนตรงตัดกันกี่คู
   - มีเสนตรงคูใดรวมระนาบเดียวกันแตไมตัดกัน
   - มีเสนตรงคูใดไมรวมระนาบเดียวกันแตไมตัดกัน
   - มีเสนตรงคูใดบางที่ขนานกัน
 3. ครูแนะนํานักเรียนเกี่ยวกับเสนตรงที่อยูในระนาบเดียวกันและไมตัดกันจะเรียก
                                                                               ทักษะการคิดจัดลําดับความ
    ลักษณะของเสนตรงนั้นวาเสนตรงสองเสนนั้นขนานกัน
 4. นักเรียนและครูรวมกันสรุปจากการพิจารณาขางตน จนไดเปนบทนิยามของเสน
    ขนานดังนี้                                                                 ทักษะการคิดสํารวจ

       บทนิยาม เสนตรงสองเสนเปนเสนขนาน ก็ตอเมื่อ เสนตรงคูนั้นเปน
                เสนตรงรวมระนาบเดียวกันและไมตัดกัน

 5. ครูวาดรูปเสนขนานบนกระดาน 2-3 รูป ใหนักเรียนพิจารณาวาเปนเสนขนาน ทักษะการคิดสรุปความ
    หรือไม เพราะเหตุใด โดยพิจารณาตามบทนิยาม
                              m      n

                                              s
                                                  t

                   รูปที่ 1                               รูปที่ 2
แผนการจัดการเรียนรูคณิตศาสตรพื้นฐาน ม.2 ภาคเรียนที่ 2                                            127

                           กิจกรรมการเรียนการสอน                                  ฝกการคิดแบบ
 6. ครูซักถามกับนักเรียนจนสามารถตอบไดวา รูปที่ 1 คือเสนตรง m ขนานกับเสน ทักษะการสังเกต
    ตรง n เพราะเสนตรง m และเสนตรง n ไมตัดกัน และมีความยาวไมจํากัด เมื่อ
    ลากเสนตอไป อยางไรเสนตรงก็ไมตัดกัน และรูปที่ 2 คือเสนตรง s ไมขนาน
    กับเสนตรง t เนื่องจากถึงแมวาภาพที่เห็นเสนตรงจะยังไมตัดกันแตเสนตรง s
    เสนตรง t สามารถลากตอไปอีกไดและจะเห็นวาเมื่อลากตอไปแลวเสนตรงสอง
    เสนนั้นตัดกัน
  7. ครูแนะนําสัญลักษณในการเขียนเสนขนาน ดังนี้ เสนตรง m ขนานกับเสนตรง
     n เขียนแทนดวย m // n
  8. ครูใหนักเรียนพิจารณารูปเสนตรง XY และเสนตรง ZW วาขนานกันหรือไม
                                                                            ทักษะการคิดวิเคราะห
                               Y            W


                              X         Z



  9. ครูสนทนาซักถามนักเรียนเกี่ยวกับการพิจารณารูปเสนตรง XY และเสนตรง ทักษะการคิดจัดลําดับความ
      ZW
      วาขนานกันหรือไม อยางไร แลวใชสัญลักษณแทนไดวาอยางไร จนนักเรียน
                            ↔            ↔                ↔       ↔
      สามารถเขียนไดดังนี้ XY ขนานกับ ZW เขียนแทนดวย XY // ZW                     ทักษะการสังเกต
10. ใหนักเรียนสรางเสนตรงที่ขนานลงในสมุดตัวเอง 3 คู โดยครูเดินตรวจสอบ
       ความถูกตอง
11. ใหนกเรียนทํากิจกรรมตรวจสอบความเขาใจ 1 โดยครูกําหนดวันและเวลาสง
           ั
 ชั่วโมงที่ 2 เสนตรงที่เปนเสนขนาน
 1. ครูทบทวนบทนิยามของเสนขนานที่เรียนในชั่วโมงที่ 1 โดยการถามตอบ
 2. ครูใหนกเรียนเฉลยคําตอบของกิจกรรมตรวจสอบความเขาใจ 1
              ั
 3. ครูใหนกเรียนสังเกตคําตอบของกิจกรรมตรวจสอบความเขาใจ 1 ขอ 2(1), 2(2)
                ั
     หรือ 2(3) วาตางจากคําตอบในขออื่นๆ อยางไรบาง
 4. ครูแนะนําเกี่ยวกับลักษณะของคําตอบกิจกรรมตรวจสอบความเขาใจ 1 ขอ 2(1),
     2(2) หรือ 2(3) หลังจากที่ นั กเรียนบอกขอแตกตางแลว เป น เสนไขวขาม แล ว
     เขียนเปนบทนิยามใหนักเรียนเขียนลงสมุดดังนี้
             บทนิยาม เสนตรงสองเสนเปนเสนไขวขาม ก็ตอเมื่อเสนตรง
                       นั้นไมสามารถอยูในระนาบเดียวกันได
แผนการจัดการเรียนรูคณิตศาสตรพื้นฐาน ม.2 ภาคเรียนที่ 2                                                   128

                         กิจกรรมการเรียนการสอน                                         ฝกการคิดแบบ
 5. ครูวาดรูปลูกบาศก ABCDEFGH บนกระดาน                                          ทักษะการสังเกต
                                             E           F
                                 H               G

                                             D           C
                                 A               B

 6. ใหนักเรียนชวยกันตรวจสอบวามีเสนตรงใดเปนเสนไขวขามกับเสนใดบาง โดย
                                                        
    ครูอาจกําหนดเสนตรงอันหนึ่ง แลวถามวามีเสนตรงใดเปนเสนไขวขามกับ
    เสนตรงที่กําหนดให เชน
    - จงบอกชื่อเสนตรงอื่นๆ ที่เปนเสนไขวขามกับ AB
    - จงบอกชื่อเสนตรงอื่นๆ ที่เปนเสนไขวขามกับ CF
                        ↔     ↔
 7. ครูใหนกเรียนวาดรูป MN // PQ
           ั
                                     N               Q


                                 M               P


 8. ใหนกเรียนชวยกันตอบคําถามตอไปนี้
        ั
     ↔       ↔
    MN ตัด PQ หรือไม
     ↔       ↔
    PQ ตัด MN หรือไม
 9. ครูและนักเรียนรวมกันสรุปเปนบทนิยามเกี่ยวกับสวนของเสนตรงหรือรังสี
                                                                                    ทักษะการคิดสรุปความ
    ขนานกัน
 บทนิยาม สวนของเสนตรงหรือรังสีหนึ่งขนานกับสวนของเสนตรงหรือรังสีอีก
            เสนหนึ่งก็ตอเมื่อ คูของเสนตรงที่บรรจุสวนของเสนตรงหรือรังสีคูนั้น
            ขนานกัน

10. ครูใหนักเรียนทําแบบฝกหัด 1 เพื่อตรวจสอบความเขาใจในเรื่องของเสนขนาน
   และเสนไขวขาม
11. นักเรียนและครูชวยกันสรุปบทนิยามของเสนขนานและเสนไขวขาม
 ชั่วโมงที่ 3 เสนตัด
                                 l
 1. ครูวาดรูปนี้บนกระดาน                 O
                             m
แผนการจัดการเรียนรูคณิตศาสตรพื้นฐาน ม.2 ภาคเรียนที่ 2                                                  129

                              กิจกรรมการเรียนการสอน                                      ฝกการคิดแบบ
 2. ครูสนทนาซักถามเกี่ยวกับรูปที่วาดบนกระดาน เชน                                  ทักษะการสังเกต
   - มีเสนตรงกี่เสน
   - ลักษณะของเสนตรง 2 เสนเปนอยางไรบาง
   - เสนตรงสองเสนตัดกันที่จุดใด
 3. ครูใหนักเรียนวาดรูปตามบนกระดานลงในสมุดของตัวเองแลวใหนักเรียนสราง
    เสนตรงเพิ่มอีกหนึ่งเสน โดยมีขอแมวาเสนตรงที่สรางขึ้นนั้น ตัดและรวมระนาบ
    กับเสนตรง l และ m
 4. ครูสังเกตการวาดรูปของนักเรียนแลวใหออกมาสาธิตการเขียนบนกระดาน
 5. ครูและนักเรียนสรุปวิธีการสรางโดยครูวาดรูปแสดงใหดูบนกระดาน                    ทักษะการคิดสรุปความ
    1) เสนตรงที่สามจะตัด l และ m ที่จุดเดียวกัน
                                             l                    n
                                                              O
                                                 m


    2) เสนตรงที่สามจะตัด l และ m ที่จุดตางกัน
                                             l            n
                                                         xO

                                         m
                                                     y

 6. จากรูปขางตน ครูใหนักเรียนชวยกันอภิปรายจนไดเปนบทนิยามของเสนตัด
    ดังนี้
     บทนิยาม กําหนด m, n และ l เปนสัญลักษณแทนเสนตรง ถา n ตัด l และ m
                 ที่จุดแตกตางกัน จะเรียก n วาเปนเสนตัดของ m และ l


 7. ครูวาดรูปเสนตัดตอไปนี้แลวใหนักเรียนชวยกันพิจารณา
                                                         E
                                     G
                         A                1 2                         B
                                         4 3
                        C         5 6                                 D
                                 87
                             F           H
                                                                                ทักษะการคิดสรุปความ
 8. ครูใหนกเรียนบอกเสนตัดจากภาพที่สังเกตขางตน โดยการซักถามทีละเสน จน
              ั
    ไดดังนี้
แผนการจัดการเรียนรูคณิตศาสตรพื้นฐาน ม.2 ภาคเรียนที่ 2                                                   130

                                กิจกรรมการเรียนการสอน                                    ฝกการคิดแบบ
    ↔      ↔         ↔
    EF ตัด AB และ CD ที่จุด G และ H
 9. ครูกลาวกับนักเรียนวา ในการเรียกชื่อมุมนั้นเพื่อความสะดวกเราอาจเรียกชื่อมุม   ทักษะการสังเกต
    เปนตัวเลขและมีสัญลักษณแทนมุมดานบนของตัวเลขนั้น
                   ∧          ∧                ∧         ∧
    เชน แทน AGE ดวย 1                แทน CHG ดวย 5
                  ∧          ∧                ∧          ∧
           แทน BGE ดวย 2             แทน CHG ดวย 6
                  ∧           ∧                ∧         ∧
           แทน BGH ดวย 3              แทน CHG ดวย 7
                   ∧          ∧                ∧         ∧
           แทน AGH ดวย 4              แทน CHG ดวย 8
10. ครูใหนักเรียนชวยกันสรางเสนตรงเสนหนึ่งตัดเสนตรงสองเสนในระนาบที่จุด       ทักษะการสังเกต
    สองจุด จากการสรางใหนักเรียนพิจารณาวาจะไดมุมเกิดขึ้นทั้งหมดกี่มุม (8 มุม)
11. ครูอธิบายความหมายและลักษณะของมุมแยงภายใน มุมแยงภายนอก มุมภาย
    นอกและมุมภายในที่อยูตรงขามบนขางเดียวกันของเสนตัด
12. ครูใหนักเรียนชวยกันตอบคําถามตอไปนี้ แลวครูเขียนคําตอบไวบนกระดานดัง        ทักษะการคิดวิเคราะห
    นี้
                                                        ∧ ∧ ∧       ∧
    - จงบอกชื่อมุมภายในของเสนตัด (มุมภายใน ไดแก 3, 4, 5 และ 6 )
                                                               ∧        ∧
    - จงบอกวามุมใดบางเปนมุมแยงภายในพรอมทั้งใหเหตุผล ( 4 และ 6 เปน
        มุมภายใน
        ∧       ∧
        3 และ 5 เปนมุมแยงภายใน เพราะเปนมุมภายในบนขางเดียวกันที่เกิดจาก
        เสนตรงเสนหนึ่งตัดเสนตรงสองเสนของเสนตัด)
                                                                          ∧
     - จงบอกชื่อมุมภายนอกของเสนตัด (มุมภายนอก ไดแก ∧ , ∧ , ∧ และ 8 )
                                                           1 2 7
                                   ∧      ∧                  ∧     ∧
     - จงบอกชื่อมุมแยงภายนอก ( 1 และ 7 เปนมุมภายนอก 2 และ 8 เปน
         มุมแยงภายนอก)
13. ครูสนทนากับนักเรียนเกี่ยวกับเรื่องของมุมภายนอกและมุมภายในที่อยูตรงขาม        ทักษะการคิดสรุปความ
      บนขางเดียวกันของเสนตัดที่เกิดจากเสนตรงเสนหนึ่งตัดเสนตรงสองเสนที่จดุ
      สองจุด และในบางครั้งจะเรียกวามุมที่สมนัยกัน ครูอธิบายความหมายของคําวา
      สมนัยกันตอ
14. ครูใหนักเรียนชวยกันบอกมุมที่สมนัยกันจากรูปที่สรางขึ้นในขางตน ดังนี้
    ∧        ∧
     1 และ 5 เปนมุมที่สมนัยกัน
    ∧        ∧
     4 และ 8 เปนมุมที่สมนัยกัน
    ∧         ∧
     2 และ 6 เปนมุมที่สมนัยกัน
    ∧        ∧
     3 และ 7 เปนมุมที่สมนัยกัน
แผนการจัดการเรียนรูคณิตศาสตรพื้นฐาน ม.2 ภาคเรียนที่ 2                                           131

                            กิจกรรมการเรียนการสอน                                 ฝกการคิดแบบ
 15. ครูใหนักเรียนชวยกันสรุปกิจกรรมขางตนและความหมายของมุมตางๆ อีกครั้ง ทักษะการคิดสรุปความ
    โดยครูเปนผูซักถาม
 16. ใหนักเรียนทํากิจกรรมตรวจสอบความเขาใจ 2 เปนการบานโดยครูกาหนดวัน ทักษะการคํานวณ
                                                                ํ
      และเวลาสง
 ชั่วโมงที่ 4
 1. ครูทบทวนเรื่องที่เรียนมาในชั่วโมงที่แลว โดยการวาดภาพกระดานแลวให
     นักเรียนชวยกันตอบคําถาม
 2. ครูวาดรูปตอไปนี้บนกระดาน ใหนกเรียนพิจารณารูปและชวยกันตอบคําถาม
                                     ั
                                    •P

                                                  B


                           A

                                            ↔
   - P เปนจุดภายในหรือภายนอกเสนตรง AB (ภายนอก)
                                                    ↔
   - จะสามารถลากเสนตรงใหผานจุด P และขนานกับ AB ไดกี่เสน (1 เสน)
                                
 3. ครูแนะนํานักเรียนเกี่ยวกับการนํารูปที่ครูวาดบนกระดาน แลวชวยกันสรุปเปน
    สัจพจน โดยครูเปนผูซักถามและเขียนบนกระดานใหนกเรียนจดลงในสมุด ดังนี้
                                                      ั

   สัจพจน 1 กําหนดเสนตรงเสนหนึ่ง และจุดจุดหนึ่งที่ไมอยูบนเสนตรง จะลาก
              เสนผานจุดที่กําหนดใหและขนานกับเสนตรงที่กําหนดใหได
              เสนเดียว

 4. ครูและนักเรียนรวมกันสรุปจากสัจพจนอีกครั้ง
 5. ครูใหนักเรียนแบงกลุม 4-5 คน ใหนกเรียนทํากิจกรรมภาคปฏิบัติ 1 พรอมสรุป
                                       ั
     ผลที่ไดจากการทํากิจกรรมภาคปฏิบัติ 1


    กิจกรรมภาคปฏิบัติ 1
              ↔     ↔     ↔      ↔      ↔
    1) กําหนด AB // CD และ EF ตัด AB และ CD ที่ G และ H ตามลําดับ
แผนการจัดการเรียนรูคณิตศาสตรพื้นฐาน ม.2 ภาคเรียนที่ 2                                               132

                              กิจกรรมการเรียนการสอน                                    ฝกการคิดแบบ
                                      G
                          A                 1 2           B
                                           4 3
                          C         5 6                   D
                                   87
                               F          H
                                   ∧ ∧ ∧ ∧ ∧ ∧ ∧              ∧
    2) ใหนกเรียนวัดขนาดของมุม 1, 2, 3, 4, 5, 6, 7 และ 8
            ั
    3) ใหนกเรียนชวยกันตอบคําถามตอไปนี้
              ั
         ∧
       - 3 มีขนาดกี่องศา
                             ∧
       - มุมใดมีขนาดเทากับมุม 3 บาง
          ∧
       - 6 มีขนาดกี่องศา
                             ∧
       - มุมใดมีขนาดเทากับมุม 6 บาง
                   ∧               ∧
       - ขนาดของ 3 และขนาดของ 6 รวมกันไดกี่องศา
                ↔    ↔        ↔       ↔      ↔
    4) กําหนด PQ // RS และ MN ตัด PQ และ RS ที่ X และ Y ตามลําดับ
                                                      N
                                          X
                          P                     1 4           Q
                                              2 3
                                               Y
                          R          5 8                      S
                                   6 7
                               M
                                    ∧ ∧ ∧ ∧ ∧ ∧ ∧             ∧
    5) ใหนกเรียนวัดขนาดของมุม 1, 2, 3, 4, 5, 6, 7 และ 8
             ั
    6) ใหนกเรียนชวยกันตอบคําถามตอไปนี้
               ั
           ∧
        - 1 มีขนาดกี่องศา
           ∧
        - 2 มีขนาดกี่องศา
             ∧      ∧
        - m(3) + m(8) เทากับเทาไร
                 ∧  ∧
        - m(2) + m(5) เทากับเทาไร
 6. ใหนกเรียนแตละกลุมสงตัวแทนออกมานําเสนอคําตอบของกลุมตัวเองและ
         ั
    เปรียบเทียบคําตอบของกลุมตัวเองกับเพื่อนกลุมอื่น
 7. ครูใหนักเรียนแตละกลุมสรางเสนขนานคูใหม และเสนตัดเสนคูขนานของมุม
    ภายนอกและมุ ม ภายในแต ล ะมุ ม ให นั ก เรีย นคาดเดาคํ าตอบที่ ไ ด ก อ นลงมื อ
    ปฏิบัติแลวเปรียบเทียบขอคาดเดากับเพื่อน จากนั้นจึงลงมือทําการพิสูจน แลว
    ชวยกันหาคําตอบ ดังนี้
     - เปรียบเทียบมุมแตละมุมวามุมใดมีขนาดเทากันบาง
แผนการจัดการเรียนรูคณิตศาสตรพื้นฐาน ม.2 ภาคเรียนที่ 2                                             133

                                       กิจกรรมการเรียนการสอน                         ฝกการคิดแบบ
  - หาผลบวกขนาดของมุมภายในที่อยูขางเดียวกันของเสนตัด
  8. ครูสนทนากับนักเรียนเกี่ยวกับผลที่ไดจากการทํากิจกรรมนักเรียนพบขอสังเกตอะไร
     หรือไม ใหนักเรียนแขงกันตอบโดยครูใชคําถามชี้นําแนวทางในการปฏิบัติ
  9. ครูแนะนําขอสังเกตที่ไดจากการทํากิจกรรมใหนักเรียน แลวเขียนบนกระดานใหนัก
     เรียนจดลงในสมุดดังนี้ ผลบวกขนาดของมุมภายในบนขางเดียวกันของเสนตรงรวม
     กันได 180 องศา ครูสนทนากับนักเรียนตอไปวานักคณิตศาสตรไดนําความรูตรงนี้มา
     เขียนเปน
      สัจพจนและใชบทนิยามเพื่อนําไปพิสูจน ดังนี้
         สัจพจนที่ 2 ถาเสนตรงสองเสนขนานกันและมีเสนตัดแลวขนาด
                        ของมุมภายในที่อยูขางเดียวกันของเสนตัดรวมกัน
                        เปน 180 องศา

10. ครูใหนักเรียนไปศึกษาคนควาตอที่บาน
 ชั่วโมงที่ 5
 1. ครูทบทวนสัจพจนที่เรียนมาแลวโดยการสนทนาซักถาม
 2. ใหนักเรียนเสนอแนะวิธีการหาคําตอบของมุมที่ตองการโดยการที่ครูยกตัวอยางเกี่ยว
     กับเสนขนาน
     ตัวอยาง กําหนดเสนตรงแตละคูขนานกัน จงหาคา x
     1)                      E
             A                G              B
                               x
             C          42º                  D
                 F    H




    2)
                                   T
            P                 V          Q
                               y
            R           x                S
                  U W
แผนการจัดการเรียนรูคณิตศาสตรพื้นฐาน ม.2 ภาคเรียนที่ 2                                              134

                                    กิจกรรมการเรียนการสอน                             ฝกการคิดแบบ
    3)
                            S
             M            P x           N

                      64º
            O         Q                 R
                  T

                          ↔         ↔
    วิธีทํา 1) เนื่องจาก AB // CD ดังนั้น∧ x + 42º = 180º
                                                     = 180º− 42º
                                                            = 138º
                          ↔     ↔
         2) เนื่องจาก PQ // RS ดังนั้น x + y = 180º
                                                 x = 180º − y
                      ↔    ↔              ∧
         3) เนื่องจาก MN // OR ดังนั้น m (NPQ) + 64º = 180º
                                               ∧
                                            m (NPQ) = 180º − 64º
                                                            = 116º
                                ∧
            แต     x + m (NPQ) + 64º = 180º (ผลบวกของมุมเปนมุมตรง)
            นั่นคือ          x + 116º = 180º
                                   x = 180º − 116º
                                     = 64º
 3. ใหนักเรียนชวยกันสรุปวิธีการหาคาของมุมที่ตองการจากการสังเกตขางตน
 4. ใหนกเรียนทํากิจกรรมตรวจสอบความเขาใจ 3 โดยครูตอบใหคําแนะนําและถา
         ั
     นักเรียนทําไมไดโดยครูชวยอธิบายใหมเปนรายบุคคล
 ชั่วโมงที่ 6
 1. ครูทบทวนการหาคําตอบของมุมที่กําหนดใหจากที่เรียนมาแลว โดยการวาดรูปบน
     กระดานแลวใหนักเรียนชวยกันหาคําตอบ
 2. ครูกลาวถึงสัจพจนที่ 3 ใหนักเรียนไดศึกษา ดังนี้
 สัจพจนที่ 3 ถาเสนตรงเสนหนึ่งตัดเสนตรงคูหนึ่งทําใหขนาดของมุมภายในที่อยูขาง
                เดียวกันของเสนตัดรวมเปน 180 องศาแลว เสนตรงคูนั้นจะขนานกัน
 3. ใหนักเรียนชวยกันสรุปวิธีการหาคาของมุมที่ตองการจากการสังเกตขางตน
  4. ใหนักเรียนทํากิจกรรมตรวจสอบความเขาใจ 3 โดยครูตอบใหคําแนะนําและถา
แผนการจัดการเรียนรูคณิตศาสตรพื้นฐาน ม.2 ภาคเรียนที่ 2                                             135

                              กิจกรรมการเรียนการสอน                                  ฝกการคิดแบบ
    นักเรียนทําไมไดโดยครูชวยอธิบายใหมเปนรายบุคคล
                            
 5. นักเรียนและครูรวมกันสรุปผลที่จากการทํากิจกรรมขางตน
 6. ใหนักเรียนทํากิจกรรมตรวจสอบความเขาใจ 4 เปนการบาน โดยครูกําหนดวันและ
   เวลาสง
 7. ครูควรติดตามผลการเรียนของนักเรียนวามีความเขาใจมากนอยเพียงใด ถานักเรียนยัง
    ไมเขาใจครูควรอธิบายเพิ่มเติม
 ชั่วโมงที่ 7
 1. ครูใหนักเรียนทํากิจกรรมภาคปฏิบัติ 2 โดยการใหนักเรียนแบงกลุม กลุมละ 4-5 คน
     แลวชวยกันทํากิจกรรมดังนี้
                    ↔      ↔                             ↔                    ↔
     1) กําหนดให AB และ CD เปนเสนตรงสองเสน EF ⊥ AB ที่ E และ GH ⊥ AB ที่
     G
                                                       G           D
                               C           F

                                               E           H       B
                               A


    2) ใหนกเรียนชวยกันตอบคําถามตอไปนี้
            ั
                          ∧        ∧       ∧     ∧
       (1) วัดขนาดของมุม EFH และ GHD m (GEF) + m (EFH) มีขนาดเทาไร
           ↔           ↔
       (2) AB ขนานกับ CD หรือไม เพราะเหตุใด
       (3) วัดความยาว EF และความยาวของ GH EF ยาวเทากับ GH หรือไม
              ↔     ↔                        ↔                 ↔
 2. กําหนด AB และ CD เปนเสนตรงสองเสน EF ⊥ AB ที่ E และ GH ⊥ AB ที่ G
                           C           F               H               D




                           A       E                   G               B
                      ∧            ∧               ∧           ∧
   1) จงวัดขนาดของ EFH และ GHD m (GEF) + m (EFH) มีขนาดเทาไร
       ↔             ↔
   2) AB ขนานกับ CD หรือไม เพราะเหตุใด
   3) วัดความยาวของ EF และความยาวของ GH EF ยาวเทากับ GH หรือไม
 3. ครูใหนกเรียนแตละกลุมสรุปของตัวเอง
            ั
 4. นักเรียนออกมานําเสนอผลงานของกลุมตัวเอง
 5. นักเรียนและครูรวมกันสรุปกิจกรรมพรอมกัน ดังนี้
                   
        ↔              ↔          ↔                     ↔
 1) ถา AB ไมขนานกับ CD และ EF⊥AB แลว EF จะไมตั้งฉากกับ CD และ EF ≠ GH
แผนการจัดการเรียนรูคณิตศาสตรพื้นฐาน ม.2 ภาคเรียนที่ 2                                                        136

                              กิจกรรมการเรียนการสอน                                        ฝกการคิดแบบ
        ↔ ↔                 ↔            ↔
 2) ถา AB // CD และ EF ⊥ AB แลว EF ⊥ CD ดวย และ EF = GH
 6. ใหนักเรียนทําแบบฝกหัด 2 โดยครูคอยใหคําแนะนํา และกําหนดวันเวลาในการสง
 ชั่วโมงที่ 8
 1. ครูทบทวนเกี่ยวกับเรื่องของเสนขนานที่เรียนมาแลว โดยการถามตอบ
 2. ครูสุมใหนักเรียนออกมาเฉลยคําตอบของแบบฝกหัด 2 บนกระดาน
 3. ใหนักเรียนแบงกลุมออกเปน 4 กลุม
 4. ใหนักเรียนไปชวยกันคนควาเรื่องของเสนขนานเพิ่มเติม แลวอธิบายใหเพื่อนในกลุม
     ฟงจนทุกคนเขาใจ
 5. ใหนกเรียนออกมารายงานเรื่องของกลุมตัวเองที่ไดไปคนความา
          ั
 6. นักเรียนและครูรวมกันสรุปเกี่ยวกับเสนขนานอีกครั้ง กอนจบชั่วโมงครูใหคําชมเชย
                      
 กับนักเรียนทุกคนที่ตั้งใจศึกษาคนควา



     5.3 ขั้นสรุป
           ครูใหนักเรียนรวมกันสรุป บทนิยามของเสนขนาน บทนิยามของเสนไขวขาม บทนิยามของเสนตรงและ
รังสีที่ขนานกัน ลักษณะของมุมภายนอกและมุมภายใน ลักษณะของมุมแยงภายในและมุมแยงภายนอก ดังนี้
            บทนิยาม เสนตรงสองเสนเปนเสนขนาน ก็ตอเมื่อ เสนตรงคูนั้นเปนเสนตรงรวมระนาบเดียวกันและไม
                        ตัดกัน
          บทนิยาม เสนตรงสองเสนเปนเสนไขวขาม ก็ตอเมื่อเสนตรงสองเสนนั้นไมสามารถอยูในระนาบเดียวกันได
          บทนิยามเกี่ยวกับสวนของเสนตรงหรือรังสีขนานกัน
           บทนิยาม สวนของเสนตรงหรือรังสีหนึ่งขนานกับสวนของเสนตรงหรือรังสีอีกเสนหนึ่งก็ตอเมื่อ คูของเสน
ตรงที่บรรจุสวนของเสนตรงหรือรังสีคูนั้นขนานกัน
         สัจพจนที่ 1 กําหนดเสนตรงเสนหนึ่ง และจุดจุดหนึ่งที่ไมอยูบนเสนตรง จะลากเสนผานจุดที่กําหนดใหและ
                        ขนานกับเสนตรงที่กําหนดใหไดเสนเดียว
         สัจพจนที่ 2 ถาเสนตรงสองเสนขนานกันและมีเสนตัดแลวขนาดของมุมภายในที่อยูขางเดียวกันของเสนตัด
                         รวมกันเปน 180 องศา
        สัจพจนที่ 3 ถาเสนตรงเสนหนึ่งตัดเสนตรงคูหนึ่งทําใหขนาดของมุมภายในที่อยูขางเดียวกันของเสนตัดรวมเปน
                     180 องศาแลว เสนตรงคูนั้นจะขนานกัน
แผนการจัดการเรียนรูคณิตศาสตรพื้นฐาน ม.2 ภาคเรียนที่ 2                                                   137

6. สื่อการเรียนรู / แหลงการเรียนรู
    6.1 สื่อการเรียนรู
        - หนังสือเรียนแม็ค
        - กระดาษ A4 ไมบรรทัด กรรไกร
    6.2 แหลงการเรียนรู
        - หองสมุดโรงเรียนหองสมุดกลุมสาระการเรียนรูคณิตศาสตร
        - หนังสือเรียนแม็ค
7. กิจกรรมเสนอแนะ
    7.1 กิจกรรมสงเสริมการคิดเชิงวิเคราะห
                 -
    7.2 กิจกรรมบูรณาการ
        ครู ส ามารถบู ร ณาการการเรี ย นกั บ กลุ ม สาระการเรี ย นรู ภ าษาไทย ศิ ล ปะ โดยการกํ า หนดภาระงานให
นักเรียนชวยกันแตงกลอนเกี่ยวกับเรื่องเสนขนานเปนการประกวด

                                         ภาระงาน “เขียนกลอนเรื่องเสนขนาน”
ผลการเรียนรูที่คาดหวัง ใชกระบวนการเขียนกลอนสื่อความหมายของความหมายเสนขนาน
ผลงานที่ตองการ         กลอนเรื่องเสนขนาน
ขั้นตอนการทํางาน        1. ศึกษาลักษณะของการเขียนกลอนตาง ๆ
                        2. ศึกษาบทนิยามของเสนขนาน
                        3. แตงกลอนเรื่องเสนขนาน
                        4. ใหนักเรียนแลกเปลี่ยนกลอนกับเพื่อนเพื่อนําขอคิดเห็นมาปรับปรุง
                        5. นําผลงานที่ไดไปสงครูครูและนําไปขยายผลสรางความรูใหกบเพื่อนๆ และนองๆ
                                                                                    ั
เกณฑการประเมิน         1. ความถูกตองของบทนิยามเสนขนาน
                        2. ความไพเราะเหมาะสม
                        3. ความเรียบรอยและความประณีต
                        4. เนื้อหาถูกตองครบถวน
                        5. ความเหมาะสมของภาษาและความสละสลวย
แผนการจัดการเรียนรูคณิตศาสตรพื้นฐาน ม.2 ภาคเรียนที่ 2                                                                                                                              138

8. บันทึกหลังสอน

                                                                   บันทึกหลังสอน
                                                     (บันทึกเฉพาะประเด็นที่มขอมูลสารสนเทศชัดเจน)
                                                                            ี

          ประเด็นการบันทึก                                                       จุดเดน                       จุดที่ควรปรับปรุง
1. การจัดกิจกรรมการเรียนรู

2. การใชสื่อการเรียนรู

3. การประเมินผลการเรียนรู

4. การบรรลุผลการเรียนรูของผูเรียน

บันทึกเพิ่มเติม
.......................................................................................................................................................................................
......................................................................................................................................................................................
......................................................................................................................................................................................
......................................................................................................................................................................................



                                                                                                          ลงชื่อ ............................................................ ผูสอน



บันทึกความเห็นของผูตรวจสอบแผนการจัดการเรียนรู
........................................................................................................................................................................................
.......................................................................................................................................................................................
.......................................................................................................................................................................................
.......................................................................................................................................................................................

                                                                                                          ลงชื่อ .......................................................................
                                                                                                          ตําแหนง ..................................................................
แผนการจัดการเรียนรูคณิตศาสตรพื้นฐาน ม.2 ภาคเรียนที่ 2                                                                                                                 139

9. ใบความรู ใบงาน และเครื่องมือวัดผล
   กิจกรรมตรวจสอบความเขาใจและแบบฝกหัดในหนังสือเรียน
                                                                                                                           แบบสังเกตพฤติกรรมการเรียน
                                  แบบบันทึกการสังเกตพฤติกรรมการเรียนรายบุคคลวิชาคณิตศาสตร
             ชื่อนักเรียน .................................. ชั้น ........... วันที่ ................ เดือน ............................. ป ....................
         ครั้งที่ .................................................................. ผูสังเกต ......................................................................
                                                                                                   ระดับการประเมิน
          หัวขอการประเมิน
                                                                    ดีมาก                       ดี                        พอใช                    ควรปรับปรุง
 ความสนใจ
 การตอบคําถาม
 การทํากิจกรรมหนาชั้นเรียน
 การใชความรูทักษะ/กระบวนการทาง
 คณิตศาสตรในการแกปญหาในสถาน
 การณตางๆ
 ความสามารถในการใชภาษาและสื่อ
 ลักษณทางคณิตศาสตรในการสื่อสาร
 สื่อความหมาย
แผนการจัดการเรียนรูคณิตศาสตรพื้นฐาน ม.2 ภาคเรียนที่ 2                                                                                                                 140

   แบบประเมินพฤติกรรมการทํางาน

                                                       แบบประเมินพฤติกรรมการทํางาน
        ชื่อนักเรียน .................................. ชั้น ........... วันที่ ................ เดือน ............................. ป ....................
         ครั้งที่ .................................................................. ผูสังเกต ......................................................................

                                                                                            ระดับการประเมิน
                หัวขอการประเมิน
                                                            ดีมาก                    ดี              ปานกลาง                   นอย            นอยมาก
         การวงแผน
         การกําหนดการปฏิบัติงาน
         มีขั้นตอนชัดเจน
         การปฏิบัติตามขั้นตอนที่
         กําหนด
         ความคิดสรางสรรค
         ผลการทํางาน
แผนการจัดการเรียนรูคณิตศาสตรพื้นฐาน ม.2 ภาคเรียนที่ 2                                       141

                                        แผนการจัดการเรียนรูที่ 2
                                        เรื่อง สมบัติของเสนขนาน
                                               เวลา 6 ชั่วโมง

1. เปาหมายการเรียนรู
     1.1 ผลการเรียนรู
          1) สามารถบอกสมบัตของเสนขนานและเงื่อนไขที่ทําใหเสนตรงขนานกันได
                                ิ
          2) ตระหนักถึงความสมเหตุสมผลของคําตอบที่ได
     1.2 จุดประสงคการเรียนรู
          1) บอกสมบัตของเสนขนานและเงื่อนไขที่ทําใหเสนตรงขนานกันได
                         ิ
          2) ตระหนักถึงความสมเหตุสมผลของคําตอบที่ได
2. สาระสําคัญ
     2.1 สาระการเรียนรู
          สมบัติของเสนขนาน
     2.2 ทักษะ / กระบวนการ
          การคิดคํานวณ
     2.3 ทักษะการคิด
          ทักษะการคิดจัดลําดับความ ทักษะการแปลความ ทักษะการคิดสํารวจ ทักษะการคิดตีความ ทักษะการคิด
คํานวณ ทักษะการสังเกต ทักษะการคิดเปรียบเทียบ
3. รองรอยการเรียนรู
    3.1 ผลงาน / ชิ้นงาน
        1) พฤติกรรมการเรียน
        2) พฤติกรรมการทํางานกลุม
        3) การทํากิจกรรมตรวจสอบความเขาใจ 5 - 10 และแบบฝกหัด 3
    3.2 กระบวนการขั้นตอนการปฏิบัติงาน
         1) จัดกลุม กลุมละ 3 คน
          2) เลือกหัวหนากลุม
         3) หัวหนากลุมแบงงาน
         4) รวมกันจัดทําบัตรกิจกรรม
         5) นําเสนอผลงานหนาชั้นเรียน
        6) รวมกันทํากิจกรรมตรวจสอบความเขาใจ
         7) สงงาน
แผนการจัดการเรียนรูคณิตศาสตรพื้นฐาน ม.2 ภาคเรียนที่ 2                                    142

   3.3 พฤติกรรมตามคุณลักษณะพึงประสงค
        1) ใหความรวมมือในการทํางานกลุม
          2) มีความละเอียดรอบคอบและรับผิดชอบในการทํางาน
   3.4 ความรูความเขาใจ
        นักเรียนเขาใจความหมายสมบัติของเสนขนานและเงื่อนไขที่ทําใหเสนตรงสองเสนขนานกัน
    4. แนวทางการวัดและประเมินผล
        เกณฑขั้นต่ํา
        4.4 ไดระดับ “ พอใช ” ขึ้นไป
        4.5 ไดระดับ “ ดี ” ขึ้นไป
        4.6 ทําได 80 % ขึ้นไป
        การสรุปผลการประเมิน
        ตองผานเกณฑขั้นต่ําทั้ง 3 รายการ
5. กิจกรรมการเรียนการสอน
    5.1 ขั้นนํา
        ชั่วโมงที่ 1 สมบัติของเสนขนาน
        นักเรียนและครูสนทนาถึงเรื่องเสนขนานที่เรียนมาในชั่วโมงที่แลว
        ชั่วโมงที่ 2 สมบัติของเสนขนาน (ตอ)
        ครูทบทวนทฤษฎีบท 1 เพื่อนําเขาสูทฤษฎีบท 2 โดยการสนทนาถามตอบ
        ชั่วโมงที่ 3 เสนขนานและมุมภายในกับมุมภายนอก
        ครูใหนักเรียนพิจารณารูปบนกระดานวาขนานกันหรือไม อยางไร
        ชั่วโมงที่ 4 สนขนานและมุมแยงภายนอก
        ครูทบทวนเรื่องของเสนขนานที่เรียนมาแลว
        ชั่วโมงที่ 5 การสรางเสนใหขนานกับเสนตรงที่กําหนดให
        ครูสนทนาทบทวนเรื่องของเสนขนานที่เรียนมาในชั่วโมงที่ 1-4
แผนการจัดการเรียนรูคณิตศาสตรพื้นฐาน ม.2 ภาคเรียนที่ 2                                                143

   5.2 ขั้นสอน
                              กิจกรรมการเรียนการสอน                                   ฝกการคิดแบบ
 ชั่วโมงที่ 1 สมบัติของเสนขนาน
 1. ครูกําหนดให AB // CD และ EF ตัดกับ AB และ CD ที่ X และ Y ตามลําดับ ทักษะการสังเกต
                    ↔ ↔          ↔          ↔         ↔


     ใหนักเรียนพิจารณาและชวยกันสรางรูปตามที่กําหนดให
 2. นักเรียนชวยกันตอบคําถามวามุมใดเปนมุมแยงภายใน และอยูบนขางเดียวกันของเสน
     ตัดทุกมุม                                                                    ทักษะการคิดสํารวจ

                         A             X E         B
                                       12
                                      34
                         C             Y               D
                                  F
      ∧       ∧
    มี 1 และ 3 เปนมุมภายในบนขางเดียวกันของเสนตัด
       ∧       ∧
       2 และ 4 เปนมุมภายในบนขางเดียวกันของเสนตัด
       ∧       ∧
       1 และ 4 เปนมุมแยงภายใน
       ∧      ∧
       2 และ 3 เปนมุมแยงภายใน
                           ∧ ∧ ∧        ∧
 3. ใหนักเรียนวัดขนาดของ 1 , 2 , 3 และ 4 และใหสังเกตขนาดของมุมวามีลักษณะ        ทักษะการคิดเปรียบ
    เปนอยางไร                                                                    เทียบ
 4. ใหนกเรียนสรางเสนขนานคูใหมและลากเสนตัด แลววัดขนาดของมุมภายในทั้งสี่มุม
         ั                                                                         ทักษะการสังเกต
 5. ครูสนทนากับนักเรียนเกี่ยวกับขนาดของมุมที่วัดได
 6. ใหนกเรียนเปรียบเทียบขอสังเกตของตนเองกับของเพื่อนๆ วาเหมือนกันหรือตางกัน
           ั
    อยางไร
 7. ครูนําเสนอทฤษฎีบท 1 ใหนักเรียนชวยกันพิจารณาดังนี้
 ทฤษฎีบท 1 ถาเสนตรงสองเสนขนานกันและมีเสนตัดแลว มุมแยงภายในจะมี
              ขนาดเทากัน

 8. ใหนักเรียนวาดรูปประกอบการพิสจน
                                 ู

                                               E
                             A                         B
                                           X
                             C                             D
                                           Y
                                       F
แผนการจัดการเรียนรูคณิตศาสตรพื้นฐาน ม.2 ภาคเรียนที่ 2                                             144

                                กิจกรรมการเรียนการสอน                                ฝกการคิดแบบ
            ↔       ↔   ↔        ↔             ↔
   กําหนด AB // CD , EF ตัด AB และ CD ที่ X และ Y ตามลําดับ
                     ∧     ∧
   จะตองพิสูจนวา AXY = DYX
               ∧      ∧                ↔ ↔          ↔
   พิสูจน 1. AXY + CYX = 180º (เพราะ AB // CD และ EF เปนเสนตัด มี AXY
                              ∧         ∧
                             และ CYX เปนมุมภายในบนขางเดียวกันของเสนตัด)
               ∧      ∧
          2. DYX + CYX = 180º (มุมตรง)
                ∧       ∧        ∧         ∧
          3. AXY + CYX = DYX + CYX (จากขอ1, 2 สมบัติการเทากัน)
               ∧              ∧
          4. AXY           = DYX (จากขอ 3 สมบัติการเทากัน)
 9. ใหนักเรียนทํากิจกรรมตรวจสอบความเขาใจ 5 ครูกําหนดวันเวลาในการสง             ทักษะการคิดคํานวณ

 ชั่วโมงที่ 2 สมบัติเสนขนาน (ตอ)
 1. ครูทบทวนทฤษฎีบท 1 เพื่อนําเขาสูทฤษฎีบท 2
 2. ครูเขียนทฤษฎีบท 2 บนกระดาน ดังนี้                                             ทักษะการสังเกต
      ทฤษฎีบท 2 เสนตรงเสนหนึ่งตัดเสนตรงคูหนึ่ง ถามุมแยงภายในที่เกิดขึ้นมี
                     ขนาดเทากันแลว เสนตรงคูนั้นจะขนานกัน

 3. ครูสนทนาซักถามกับนักเรียนเกี่ยวกับทฤษฎีบท 2 วามีความสัมพันธกันอยางไรกับ
    ทฤษฎีบท 1 (บทกลับของทฤษฎีบท 1)                                             ทักษะการคิดตีความ
 4. นักเรียนและครูวาดรูปบนกระดานเพื่อพิสูจนทฤษฎีบท 2 จะไดดังนี้
                                                   E
                            A                  G             B

                            C                            D
                                     F H

              ↔         ↔        ↔                                  ∧      ∧
   กําหนดให EF ตัด AB และ CD ที่ G และ H ตามลําดับ ให AGH = DHG
                    ↔ ↔
   จะตองพิสูจนวา AB // CD
               ∧               ∧
   พิสูจน 1. AGH           = DHG (โจทยกําหนดให)
               ∧      ∧
          2. DHG + GHC = 180º (เปนมุมตรง)
               ∧       ∧                                                  ∧
           3. AGH + GHC = 180º (จากขอ 1 และขอ 2 สมบัติการแทนที่คือ แทน DHG
           ∧
    ดวย AGH)
              ↔     ↔
           4. AB // CD (จากขอ 3 และสัจพจน 3)
 5. ใหนกเรียนทํากิจกรรมตรวจสอบความเขาใจ 6 บนกระดาน โดยครูเปนผูซักถาม ครู ทักษะการคิดคํานวณ
         ั
    ตรวจสอบความถูกตอง แลวใหนักเรียนจดลงในสมุด
แผนการจัดการเรียนรูคณิตศาสตรพื้นฐาน ม.2 ภาคเรียนที่ 2                                              145

                                กิจกรรมการเรียนการสอน                               ฝกการคิดแบบ
 6. ใหนักเรียนไปศึกษาตอเพิ่มเติมจากหองสมุด
 ชั่วโมงที่ 3 เสนขนานและมุมภายในกับมุมภายนอก
 1. ใหนักเรียนพิจารณารูปของเสนขนานตอไปนี้บนกระดาน                            ทักษะการสังเกต
                                       E
                           A           1 3                       B
                                         G

                           C                       2 4           D
                                                    H
                                                             F
       ↔     ↔        ↔            ↔           ↔
    ให AB // CD และ EF ตัด AB และ CD ที่ G และ H ตามลําดับ
                 ∧ ∧ ∧ ∧
 2. ครูซักถามวา 1 , 2, 3 , 4 เรียกวาอะไร จะไดวา                                 ทักษะการคิดแปล
    ∧       ∧
    1 และ 2 เรียกวา มุมภายนอกและมุมภายในที่อยูตรงขามบนขางเดียวกันของเสนตัด ความ
   ∧        ∧
   3 และ 4 เรียกวา มุมภายนอกและมุมภายในที่อยูตรงขามบนขางเดียวกันของเสนตัด
                           ∧      ∧
 3. ครูใหนกเรียนพิสูจนวา 1 และ 2 มีขนาดเทากันหรือไม เพราะเหตุใด
            ั
 4. ครูยกตัวอยางเสนขนานให นักเรียนชวยกันเสนอแนะวิธีการพิสูจนบนกระดาน ครู ทักษะการคิดสํารวจ
    ตรวจสอบความถูกตองแลวจึงใหนักเรียนจดลงในสมุด
    ตัวอยาง จงพิสูจนขอความตอไปนี้ ถาเสนตรงสองเสนขนานกัน และมีเสนตัดแลว มุม
    ภายนอกและมุมภายในที่อยูตรงขามบนขางเดียวกันของเสนตัดจะมีขนาดเทากัน

                                                         E
                            A                       G            B

                               C           H                     D
                                       F

               ↔    ↔          ↔       ↔                ↔
   กําหนดให AB // CD และ EF ตัด AB และ CD ที่ G และ H ตามลําดับ
                     ∧     ∧
   จะตองพิสูจนวา BGE = DHG
               ∧       ∧                 ↔ ↔          ↔
   พิสจน 1. DHG + BGH = 180º (เนื่องจาก AB // CD และ EF เปนเสนตัด และ
      ู
   สัจพจน 2)
              ∧       ∧
         2. EGB + BGH = 180º (มุมตรง)
              ∧      ∧             ∧       ∧
         3. EGB + BGH = DHG + BGH (จากขอ 2 และขอ 1 สมบัติการเทากัน)
             ∧             ∧
         4. EGB         = DHG (จากขอ 3 สมบัติการเทากัน)
   ในทํานองเดียวกัน สามารถพิสูจนไดวา
             ∧      ∧
          1. AGE = CHG
แผนการจัดการเรียนรูคณิตศาสตรพื้นฐาน ม.2 ภาคเรียนที่ 2                                                146

                                 กิจกรรมการเรียนการสอน                                ฝกการคิดแบบ
              ∧         ∧
            2. BGH = DHF
                 ∧      ∧
            3. AGH = CHF
 5. ใหนักเรียนทํากิจกรรมตรวจสอบความเขาใจ 7 บนกระดาน โดยครูตรวจสอบความ
                                                                                     ทักษะการคิดคํานวณ
      ถูกตอง และใหคําแนะนําในกรณีที่นักเรียนทําไมได จากนั้นใหนักเรียนจดลงในสมุด
 ชั่วโมงที่ 4 เสนขนานและมุมแยงภายนอก                                               ทักษะการสังเกต
 1. ครูวาดรูปตอไปนี้บนกระดาน
                                                      E
                             A                      3 1       B
                                                     G
                             C             H                  D
                                          2 4
                                      F
                                 ↔        ↔               ↔       ↔   ↔
                                                                                   ทักษะการคิดตีความ
2. ครูกลาววา จากรูปกําหนดให AB // CD และ EF ตัด AB และ CD ที่ G และ H
   ตามลําดับ
                      ∧ ∧ ∧         ∧
3. ใหนกเรียนบอกวา 1 , 2 , 3 และ 4 เรียกวาอะไร โดยครูคอยซักถาม จนนักเรียน
         ั
    สามารถบอกไดวา
              ∧      ∧
    เรียก 1 และ 2 วา มุมแยงภายนอก
              ∧      ∧
    และเรียก 3 และ 4 วา มุมแยงภายนอก
                           ∧      ∧                                         ∧    ทักษะการสังเกต
4. นักเรียนรวมกันอภิปราย 1 และ 2 จะมีขนาดเทากันหรือไม เพราะเหตุใด และ 3 และ
   ∧
   4 มีขนาดเทากันหรือไมเพราะเหตุใด
5. ครูยกตัวอยางขอความใหนักเรียนพิจารณาและเสนอแนะวิธการพิสูจน
                                                           ี
   ตัวอยาง จงพิสูจนขอความตอไปนี้วา ถาเสนตรงสองเสนขนานกันและมีเสนตัดแลว
           มุมแยงภายนอกจะมีขนาดเทากัน
                                                        E
                                 A                  G         B

                                  C                           D
                                          F     H
              ↔     ↔        ↔            ↔             ↔
   กําหนดให AB // CD และ EF ตัด AB และ CD ที่ G และ H ตามลําดับจะตอง
     ∧         ∧        ∧
   พิสูจนวา AGE = DHF
                        ↔ ↔               ∧      ∧
   พิสูจน 1. เนื่องจาก AB // CD ดังนั้น BGH = CHG (ทฤษฎีบท 1)
                    ∧       ∧           ∧      ∧
          2. แต BGH = AGE และ CHG = DHF (เสนตรงสองเสนตัดกัน มุมตรงขาม
                                              มีขนาดเทากัน)
               ∧        ∧                           ∧        ∧       ∧
          3. AGE = DHF (จากขอ 1 และขอ 2 แทน BGH ดวย AGE และแทน CHG
                                ∧
                          ดวย DHF)
                                         ∧     ∧
 ในทํานองเดียวกันสามารถพิสูจนไดวา EGB = FHC
แผนการจัดการเรียนรูคณิตศาสตรพื้นฐาน ม.2 ภาคเรียนที่ 2                                     147

                             กิจกรรมการเรียนการสอน                              ฝกการคิดแบบ
 6. ใหนักเรียนทํากิจกรรมตรวจสอบความเขาใจ 8 เปนการบาน โดยครูกําหนดวันและ ทักษะการคิดคํานวณ
   เวลาในการสง
 ชั่วโมงที่ 5 การสรางเสนตรงใหขนานกับเสนตรงที่กําหนดให
                 ↔                          ↔              ↔
 1. ครูกําหนด AB และ M เปนจุดภายนอก AB ตองการสราง CD ใหผานจุด M
                   ↔
     และ ขนานกับ AB           A                        B

                                           M


2. ใหนกเรียนรวมกันอภิปรายรวมกันกับเพื่อนๆ ในหอง ในการหาวิธีสราง แลวสรุปวิธี
          ั
   การทําเปนขั้นตอน โดยครูแจกกระดาษและวงเวียนใหนกเรียนสําหรับสราง
                                                     ั
3. นักเรียนและครูสรุปวิธีการสรางดังนี้
                 ↔       ↔
   ขั้นที่ 1 ลาก MN ตัด AB ที่ X
                                                           N
                                A                  X               B


                                               M
                            ∧                              ∧
   ขั้นที่ 2 ที่จุด M สราง XMD ใหมีขนาดเทากับ AXM
                                                       N
                            A                  X               B


                                       M                                   D

                ↔
   ขั้นที่ 3 ลาก CD ผานจุด M
                                                       N
                                A              X               B


                            C           M                              D

          ↔             ↔
    จะได CD ขนานกับ AB ตามตองการ
 4. ใหนกเรียนทํากิจกรรมตรวจสอบความเขาใจ 9 โดยครูคอยใหคําแนะนําและเดินตรวจ
        ั
    สอบความถูกตองทั้งหองเรียน
 5. ใหนกเรียนทําโจทยเพิ่มเติมโดยครูเขียนโจทยบนกระดาน 1-3 ขอ เปนการบาน
          ั
Unit4
Unit4
Unit4
Unit4
Unit4
Unit4
Unit4
Unit4
Unit4
Unit4
Unit4
Unit4
Unit4
Unit4
Unit4
Unit4
Unit4
Unit4
Unit4

Contenu connexe

Tendances

Tendances (20)

Unit4
Unit4Unit4
Unit4
 
Unit3
Unit3Unit3
Unit3
 
Unit5
Unit5Unit5
Unit5
 
Unit3
Unit3Unit3
Unit3
 
Unit4
Unit4Unit4
Unit4
 
Unit3
Unit3Unit3
Unit3
 
Unit2
Unit2Unit2
Unit2
 
Unit3
Unit3Unit3
Unit3
 
Unit1
Unit1Unit1
Unit1
 
Unit3
Unit3Unit3
Unit3
 
Unit1
Unit1Unit1
Unit1
 
Unit4
Unit4Unit4
Unit4
 
Unit2
Unit2Unit2
Unit2
 
Unit4
Unit4Unit4
Unit4
 
Unit3
Unit3Unit3
Unit3
 
Unit4
Unit4Unit4
Unit4
 
Unit2
Unit2Unit2
Unit2
 
Unit1
Unit1Unit1
Unit1
 
Unit1
Unit1Unit1
Unit1
 
Unit1
Unit1Unit1
Unit1
 

En vedette

En vedette (13)

Pancom m3
Pancom m3Pancom m3
Pancom m3
 
Unit1
Unit1Unit1
Unit1
 
Pancom m2
Pancom m2Pancom m2
Pancom m2
 
Pancom m1
Pancom m1Pancom m1
Pancom m1
 
Unit2
Unit2Unit2
Unit2
 
Unit1
Unit1Unit1
Unit1
 
Unit5
Unit5Unit5
Unit5
 
Unit4
Unit4Unit4
Unit4
 
Unit3
Unit3Unit3
Unit3
 
Unit3
Unit3Unit3
Unit3
 
Unit2
Unit2Unit2
Unit2
 
Unit1
Unit1Unit1
Unit1
 
Unit1
Unit1Unit1
Unit1
 

Similaire à Unit4 (9)

Unit1
Unit1Unit1
Unit1
 
Unit1
Unit1Unit1
Unit1
 
Unit1
Unit1Unit1
Unit1
 
Unit1
Unit1Unit1
Unit1
 
Unit1
Unit1Unit1
Unit1
 
Unit1
Unit1Unit1
Unit1
 
Unit3
Unit3Unit3
Unit3
 
Unit4
Unit4Unit4
Unit4
 
Unit2
Unit2Unit2
Unit2
 

Plus de โรงเรียนบ้านสร้างมิ่ง สพปยโสธรเขตสอง

Plus de โรงเรียนบ้านสร้างมิ่ง สพปยโสธรเขตสอง (20)

แนะนำตนเองก่อนนะครับ
แนะนำตนเองก่อนนะครับแนะนำตนเองก่อนนะครับ
แนะนำตนเองก่อนนะครับ
 
6dfaf58369dcbcd321e94220ab97d3a5
6dfaf58369dcbcd321e94220ab97d3a56dfaf58369dcbcd321e94220ab97d3a5
6dfaf58369dcbcd321e94220ab97d3a5
 
806bcf9d9ff478aecbb8b8ab566b3685
806bcf9d9ff478aecbb8b8ab566b3685806bcf9d9ff478aecbb8b8ab566b3685
806bcf9d9ff478aecbb8b8ab566b3685
 
58ed6fed2c11a1c6821662303118cde4
58ed6fed2c11a1c6821662303118cde458ed6fed2c11a1c6821662303118cde4
58ed6fed2c11a1c6821662303118cde4
 
Cfef45eb7b5a2dae0f4b140ec545173b
Cfef45eb7b5a2dae0f4b140ec545173bCfef45eb7b5a2dae0f4b140ec545173b
Cfef45eb7b5a2dae0f4b140ec545173b
 
เว็ปช่วยสอน
เว็ปช่วยสอนเว็ปช่วยสอน
เว็ปช่วยสอน
 
กิจกรรมคณิตศาสตร์
กิจกรรมคณิตศาสตร์กิจกรรมคณิตศาสตร์
กิจกรรมคณิตศาสตร์
 
คณิตคิดสนุก เล่ม 2 ผลบวกมหัศจรรย์
คณิตคิดสนุก เล่ม 2 ผลบวกมหัศจรรย์คณิตคิดสนุก เล่ม 2 ผลบวกมหัศจรรย์
คณิตคิดสนุก เล่ม 2 ผลบวกมหัศจรรย์
 
คณิตคิดสนุก เล่ม 1 นักทายใจ
คณิตคิดสนุก เล่ม 1 นักทายใจคณิตคิดสนุก เล่ม 1 นักทายใจ
คณิตคิดสนุก เล่ม 1 นักทายใจ
 
Pancom m2
Pancom m2Pancom m2
Pancom m2
 
Pancom m1
Pancom m1Pancom m1
Pancom m1
 
Unit4
Unit4Unit4
Unit4
 
Unit3
Unit3Unit3
Unit3
 
Unit2
Unit2Unit2
Unit2
 
Unit1
Unit1Unit1
Unit1
 
Unit5
Unit5Unit5
Unit5
 
Unit4
Unit4Unit4
Unit4
 
Unit3
Unit3Unit3
Unit3
 
Unit2
Unit2Unit2
Unit2
 
Unit1
Unit1Unit1
Unit1
 

Unit4

  • 1. แผนการจัดการเรียนรูคณิตศาสตรพื้นฐาน ม.2 ภาคเรียนที่ 2 121 หนวยการเรียนรูที่ 4 เรื่อง เสนขนาน รายวิชาที่นํามาบูรณาการ ภาษาไทย ศิลปะ การงานพื้นฐานอาชีพ 1. มาตรฐานการเรียนรู มฐ.ค 3.2 2. ตัวชี้วัดชั้นปที่เกี่ยวของ ค 3.2 ม.2/1 3. สาระการเรียนรูประจําหนวย 3.1 เสนขนาน 3.2 เสนตัด 3.3 สมบัติเกี่ยวกับเสนขนาน 3.4 เสนขนานและมุมแยงภายใน 3.5 เสนขนานและมุมภายนอก กับมุมภายใน 3.6 เสนขนานและมุมแยงภายนอก 3.7 รูปสามเหลี่ยมและเสนขนาน 4. รองรอยการเรียนรู 4.1 ผลงาน / ชิ้นงาน ไดแก 1) การทํากิจกรรมตรวจสอบความเขาใจ 1- 13 ในหนังสือเรียนแม็ค 2) การทําแบบฝกหัด 1 -4 ในหนังสือเรียนแม็ค 3) การทําแบบทดสอบ 4.2 ผลการปฏิบัติงานไดแก 1) การปฏิบัติกิจกรรมในชั้นเรียนและการใชบริการของโรงเรียนอยางเหมาะสม 2) การมีสวนรวมในการปฏิบัตกิจกรรมกลุม ิ 4.3 การทดสอบวัดผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนหลังเรียนจบหนวยการเรียนรู
  • 2. แผนการจัดการเรียนรูคณิตศาสตรพื้นฐาน ม.2 ภาคเรียนที่ 2 122 5. แนวทางการจัดกิจกรรมในภาพรวม แนวทางการจัดการเรียนรู รองรอยการเรียนรู บทบาทครู บทบาทนักเรียน 5.1 ผลงาน / ชิ้นงาน ไดแก 1) การทํ ากิ จกรรมตรวจสอบความเขา - อธิบายเนื้อหาในแตละเรื่อง - ฝกคิดตามและรวมทํากิจกรรมใน ใจ 1- 13 ในหนังสือเรียนแม็ค ชั้นเรียน 2) การทํ าแบบฝ ก หั ด 1 -4 ในหนั ง สื อ เรียนแม็ค - แนะการทําแบบฝกหัดและ -ทํากิจกรรมตรวจสอบความเขาใจ 3) การทําแบบทดสอบ กิจกรรมตรวจสอบความเขาใจ และแบบฝกหัด - อธิ บ ายสรุ ป ความคิ ด รวบยอด - ทําแบบทดสอบหนวยยอยเปนราย ในแตละเรื่อง กลุม 5.2 ผลการปฏิบัติงาน ไดแก 1) การปฏิบัติกิจกรรมในชั้นเรียน - แนะนําวิธีการเขียนแผนผังสรุป - ใหนักเรียนเขียนแผนผังความคิด และการใช บ ริ ก ารของโรงเรี ย นอย า ง ความคิดรวบยอดเพื่อสรุปเนื้อหา ประจําหนวย เหมาะสม ประจําหนวย - ให นั ก เรี ย นไปค น คว า โจทย ใ น - แนะนํ า ให นั ก เรี ย นใช บ ริ ก าร ห องส มุ ดของโรงเรี ย น อย า ง ห อ งสมุ ด โรงเรี ย นและห อ งสมุ ด เหมาะสม กลุมสาระการเรียนรูคณิตศาสตร - ใหนักเรียนจัดกลุมตามที่ครูมอบ 2) การมีสวนรวมในการปฏิบัติ - แนะนํ าวิธีการจัดกลุมและการ หมายและชวยกันทํากิจกรรมในชั้น กิจกรรมกลุม ทํากิจกรรมกลุม เรียน 5.3 การทดสอบวัดผลสัมฤทธิ์ทางการ - สรุปเนื้อหาที่สําคัญตามแผนผัง - ทําแบบทดสอบหลังเรียนจบ เรียน ความคิดรวบยอดประจําหนวยอีก ครั้ง
  • 3. แผนการจัดการเรียนรูคณิตศาสตรพื้นฐาน ม.2 ภาคเรียนที่ 2 123 แผนการจัดการเรียนรูที่ 1 เรื่อง เสนขนาน เวลา 8 ชั่วโมง 1. เปาหมายการเรียนรู 1.1 ผลการเรียนรู 1) สามารถบอกสมบัติของเสนขนานและเงื่อนไขที่ทําใหเสนตรงสองเสนขนานกันได 2) ตระหนักถึงความสมเหตุสมผลของคําตอบที่ไดในสถานการณตางๆ 1.2 จุดประสงคการเรียนรู 1) อธิบายไดวาเสนตรงสองเสนจะขนานกันเมื่อใด 2) สามารถบอกสมบัติของเสนขนานไดอยางถูกตอง 3) ตระหนักถึงความสมเหตุสมผลของคําตอบที่ได 2. สาระสําคัญ 2.1 สาระการเรียนรู 1) เสนตรงสองเสนเปนเสนขนาน ก็ตอเมื่อเสนตรงคูนั้นเปนเสนตรงรวมระนาบเดียวกันและไมตดกัน ั 2) เสนตรงสองเสนนั้นไมสามารถอยูในระนาบเดียวกันได จะเรียกวาเสนไขวขาม 3) สวนของเสนตรงหรือรังสีเสนหนึ่งขนานกับสวนของเสนตรงอีกเสนหนึ่ง ก็ตอเมื่อคูของเสนตรงที่บรรจุ สวนของเสนตรงหรือรังสีคน้นขนานกัน ู ั 4) กําหนดเสนตรงเสนหนึ่งและจุดจุดหนึ่งที่ไมอยูบนเสนตรงจะลากผานจุดที่กําหนดใหและขนานกับเสน ตรงที่กาหนดใหไดเพียงเสนเดียว ํ 2.2 ทักษะ / กระบวนการ การคิดคํานวณ 2.3 ทักษะการคิด ทักษะการคิดจัดลําดับความ ทักษะการสังเกต ทักษะการคิดสรุปความ ทักษะการคิดวิเคราะห ทักษะการคิด เปรียบเทียบ ทักษะการคิดสํารวจ ทักษะการคิดคํานวณ 3. รองรอยการเรียนรู 3.1 ผลงาน / ชิ้นงาน 1) พฤติกรรมการเรียน 2) พฤติกรรมการทํางานกลุม 3) การทํากิจกรรมตรวจสอบความเขาใจ 1-4 และแบบฝกหัด 1 , 2
  • 4. แผนการจัดการเรียนรูคณิตศาสตรพื้นฐาน ม.2 ภาคเรียนที่ 2 124 3.2 กระบวนการขั้นตอนการปฏิบัติงาน 1) จัดกลุม กลุมละ 3 คน 2) เลือกหัวหนากลุม 3) หัวหนากลุมแบงงาน 4) รวมกันจัดทําบัตรกิจกรรม 5) นําเสนอผลงานหนาชั้นเรียน 6) รวมกันทํากิจกรรมตรวจสอบความเขาใจ 7) สงงาน 3.3 พฤติกรรมตามคุณลักษณะพึงประสงค 1) ใหความรวมมือในการทํางานกลุม 2) มีความละเอียดรอบคอบและรับผิดชอบในการทํางาน 3.4 ความรูความเขาใจ นักเรียนเขาใจความหมายสมบัติของเสนขนานและเงื่อนไขที่ทําใหเสนตรงสองเสนขนานกัน 4. แนวทางการวัดและประเมินผล เกณฑขั้นต่ํา 4.1 ไดระดับ “ พอใช ” ขึ้นไป 4.2 ไดระดับ “ ดี ” ขึ้นไป 4.3 ทําได 80 % ขึ้นไป การสรุปผลการประเมิน ตองผานเกณฑข้นต่ําทั้ง 3 รายการ ั 5. กิจกรรมการเรียนการสอน 5.1 ขั้นนํา ชั่วโมงที่ 1 เสนขนาน ครูสนทนากับนักเรียนเกี่ยวกับลักษณะของที่ขนานกันวามีลักษณะเปนอยางไร ทําไมนักเรียนถึงเรียกวาขนาน กัน จะสังเกตจากอะไร ชั่วโมงที่ 2 เสนตรงที่เปนเสนขนาน ครูทบทวนบทนิยามของเสนขนานที่เรียนในชั่วโมงที่ 1 โดยการถามตอบ ชั่วโมงที่ 3 เสนตัด ใหนกเรียนอธิบายลักษณะของการตัดกันของเสนตรงสองเสน ั
  • 5. แผนการจัดการเรียนรูคณิตศาสตรพื้นฐาน ม.2 ภาคเรียนที่ 2 125 ชั่วโมงที่ 4 ครูทบทวนเรื่องที่เรียนมาในชั่วโมงที่แลวโดยวาดภาพบนกระดาน แลวใหนักเรียนชวยกันตอบคําถาม ชั่วโมงที่ 5 ครูทบทวนสัจพจนที่เรียนมาแลวโดยการสนทนาซักถาม ชั่วโมงที่ 6 ครูทบทวนการหาคําตอบของมุมที่กําหนดใหจากที่เรียนมาแลว โดยการวาดรูปบนกระดานใหนักเรียนชวยกัน หาคําตอบ ชั่วโมงที่ 7 นักเรียนและครูรวมกันสนทนาและซักถามเกี่ยวกับเรื่องที่เรียนมาในชั่วโมงที่แลว ชั่วโมงที่ 8 ครูทบทวนเกี่ยวกับเรื่องของเสนขนานที่เรียนมาแลวโดยการถามตอบ
  • 6. แผนการจัดการเรียนรูคณิตศาสตรพื้นฐาน ม.2 ภาคเรียนที่ 2 126 5.2 ขั้นสอน กิจกรรมการเรียนการสอน ฝกการคิดแบบ ชั่วโมงที่ 1 เสนขนาน 1. ครูสนทนากับนักเรียนเกี่ยวกับลักษณะของที่ขนานกันวามีลักษณะเปนอยางไร ทักษะการคิดจัดลําดับความ ทําไมนักเรียนถึงเรียกวาขนานกัน จะสังเกตจากอะไร 2. ครูวาดรูปลูกบาศก ABCDEFGH บนกระดาน ใหนักเรียนชวยกันพิจารณาโดย ทักษะการสังเกต E F ครูเปนผูซักถาม เชน H G D C A B - ลูกบาศก ABCDEFGH มีจุดใดเปนจุดยอดบาง - มีเสนตรงคูใดตัดกันบาง - มีเสนตรงตัดกันกี่คู - มีเสนตรงคูใดรวมระนาบเดียวกันแตไมตัดกัน - มีเสนตรงคูใดไมรวมระนาบเดียวกันแตไมตัดกัน - มีเสนตรงคูใดบางที่ขนานกัน 3. ครูแนะนํานักเรียนเกี่ยวกับเสนตรงที่อยูในระนาบเดียวกันและไมตัดกันจะเรียก ทักษะการคิดจัดลําดับความ ลักษณะของเสนตรงนั้นวาเสนตรงสองเสนนั้นขนานกัน 4. นักเรียนและครูรวมกันสรุปจากการพิจารณาขางตน จนไดเปนบทนิยามของเสน ขนานดังนี้ ทักษะการคิดสํารวจ บทนิยาม เสนตรงสองเสนเปนเสนขนาน ก็ตอเมื่อ เสนตรงคูนั้นเปน เสนตรงรวมระนาบเดียวกันและไมตัดกัน 5. ครูวาดรูปเสนขนานบนกระดาน 2-3 รูป ใหนักเรียนพิจารณาวาเปนเสนขนาน ทักษะการคิดสรุปความ หรือไม เพราะเหตุใด โดยพิจารณาตามบทนิยาม m n s t รูปที่ 1 รูปที่ 2
  • 7. แผนการจัดการเรียนรูคณิตศาสตรพื้นฐาน ม.2 ภาคเรียนที่ 2 127 กิจกรรมการเรียนการสอน ฝกการคิดแบบ 6. ครูซักถามกับนักเรียนจนสามารถตอบไดวา รูปที่ 1 คือเสนตรง m ขนานกับเสน ทักษะการสังเกต ตรง n เพราะเสนตรง m และเสนตรง n ไมตัดกัน และมีความยาวไมจํากัด เมื่อ ลากเสนตอไป อยางไรเสนตรงก็ไมตัดกัน และรูปที่ 2 คือเสนตรง s ไมขนาน กับเสนตรง t เนื่องจากถึงแมวาภาพที่เห็นเสนตรงจะยังไมตัดกันแตเสนตรง s เสนตรง t สามารถลากตอไปอีกไดและจะเห็นวาเมื่อลากตอไปแลวเสนตรงสอง เสนนั้นตัดกัน 7. ครูแนะนําสัญลักษณในการเขียนเสนขนาน ดังนี้ เสนตรง m ขนานกับเสนตรง n เขียนแทนดวย m // n 8. ครูใหนักเรียนพิจารณารูปเสนตรง XY และเสนตรง ZW วาขนานกันหรือไม ทักษะการคิดวิเคราะห Y W X Z 9. ครูสนทนาซักถามนักเรียนเกี่ยวกับการพิจารณารูปเสนตรง XY และเสนตรง ทักษะการคิดจัดลําดับความ ZW วาขนานกันหรือไม อยางไร แลวใชสัญลักษณแทนไดวาอยางไร จนนักเรียน ↔ ↔ ↔ ↔ สามารถเขียนไดดังนี้ XY ขนานกับ ZW เขียนแทนดวย XY // ZW ทักษะการสังเกต 10. ใหนักเรียนสรางเสนตรงที่ขนานลงในสมุดตัวเอง 3 คู โดยครูเดินตรวจสอบ ความถูกตอง 11. ใหนกเรียนทํากิจกรรมตรวจสอบความเขาใจ 1 โดยครูกําหนดวันและเวลาสง ั ชั่วโมงที่ 2 เสนตรงที่เปนเสนขนาน 1. ครูทบทวนบทนิยามของเสนขนานที่เรียนในชั่วโมงที่ 1 โดยการถามตอบ 2. ครูใหนกเรียนเฉลยคําตอบของกิจกรรมตรวจสอบความเขาใจ 1 ั 3. ครูใหนกเรียนสังเกตคําตอบของกิจกรรมตรวจสอบความเขาใจ 1 ขอ 2(1), 2(2) ั หรือ 2(3) วาตางจากคําตอบในขออื่นๆ อยางไรบาง 4. ครูแนะนําเกี่ยวกับลักษณะของคําตอบกิจกรรมตรวจสอบความเขาใจ 1 ขอ 2(1), 2(2) หรือ 2(3) หลังจากที่ นั กเรียนบอกขอแตกตางแลว เป น เสนไขวขาม แล ว เขียนเปนบทนิยามใหนักเรียนเขียนลงสมุดดังนี้ บทนิยาม เสนตรงสองเสนเปนเสนไขวขาม ก็ตอเมื่อเสนตรง นั้นไมสามารถอยูในระนาบเดียวกันได
  • 8. แผนการจัดการเรียนรูคณิตศาสตรพื้นฐาน ม.2 ภาคเรียนที่ 2 128 กิจกรรมการเรียนการสอน ฝกการคิดแบบ 5. ครูวาดรูปลูกบาศก ABCDEFGH บนกระดาน ทักษะการสังเกต E F H G D C A B 6. ใหนักเรียนชวยกันตรวจสอบวามีเสนตรงใดเปนเสนไขวขามกับเสนใดบาง โดย  ครูอาจกําหนดเสนตรงอันหนึ่ง แลวถามวามีเสนตรงใดเปนเสนไขวขามกับ เสนตรงที่กําหนดให เชน - จงบอกชื่อเสนตรงอื่นๆ ที่เปนเสนไขวขามกับ AB - จงบอกชื่อเสนตรงอื่นๆ ที่เปนเสนไขวขามกับ CF ↔ ↔ 7. ครูใหนกเรียนวาดรูป MN // PQ ั N Q M P 8. ใหนกเรียนชวยกันตอบคําถามตอไปนี้ ั ↔ ↔ MN ตัด PQ หรือไม ↔ ↔ PQ ตัด MN หรือไม 9. ครูและนักเรียนรวมกันสรุปเปนบทนิยามเกี่ยวกับสวนของเสนตรงหรือรังสี ทักษะการคิดสรุปความ ขนานกัน บทนิยาม สวนของเสนตรงหรือรังสีหนึ่งขนานกับสวนของเสนตรงหรือรังสีอีก เสนหนึ่งก็ตอเมื่อ คูของเสนตรงที่บรรจุสวนของเสนตรงหรือรังสีคูนั้น ขนานกัน 10. ครูใหนักเรียนทําแบบฝกหัด 1 เพื่อตรวจสอบความเขาใจในเรื่องของเสนขนาน และเสนไขวขาม 11. นักเรียนและครูชวยกันสรุปบทนิยามของเสนขนานและเสนไขวขาม ชั่วโมงที่ 3 เสนตัด l 1. ครูวาดรูปนี้บนกระดาน O m
  • 9. แผนการจัดการเรียนรูคณิตศาสตรพื้นฐาน ม.2 ภาคเรียนที่ 2 129 กิจกรรมการเรียนการสอน ฝกการคิดแบบ 2. ครูสนทนาซักถามเกี่ยวกับรูปที่วาดบนกระดาน เชน ทักษะการสังเกต - มีเสนตรงกี่เสน - ลักษณะของเสนตรง 2 เสนเปนอยางไรบาง - เสนตรงสองเสนตัดกันที่จุดใด 3. ครูใหนักเรียนวาดรูปตามบนกระดานลงในสมุดของตัวเองแลวใหนักเรียนสราง เสนตรงเพิ่มอีกหนึ่งเสน โดยมีขอแมวาเสนตรงที่สรางขึ้นนั้น ตัดและรวมระนาบ กับเสนตรง l และ m 4. ครูสังเกตการวาดรูปของนักเรียนแลวใหออกมาสาธิตการเขียนบนกระดาน 5. ครูและนักเรียนสรุปวิธีการสรางโดยครูวาดรูปแสดงใหดูบนกระดาน ทักษะการคิดสรุปความ 1) เสนตรงที่สามจะตัด l และ m ที่จุดเดียวกัน l n O m 2) เสนตรงที่สามจะตัด l และ m ที่จุดตางกัน l n xO m y 6. จากรูปขางตน ครูใหนักเรียนชวยกันอภิปรายจนไดเปนบทนิยามของเสนตัด ดังนี้ บทนิยาม กําหนด m, n และ l เปนสัญลักษณแทนเสนตรง ถา n ตัด l และ m ที่จุดแตกตางกัน จะเรียก n วาเปนเสนตัดของ m และ l 7. ครูวาดรูปเสนตัดตอไปนี้แลวใหนักเรียนชวยกันพิจารณา E G A 1 2 B 4 3 C 5 6 D 87 F H ทักษะการคิดสรุปความ 8. ครูใหนกเรียนบอกเสนตัดจากภาพที่สังเกตขางตน โดยการซักถามทีละเสน จน ั ไดดังนี้
  • 10. แผนการจัดการเรียนรูคณิตศาสตรพื้นฐาน ม.2 ภาคเรียนที่ 2 130 กิจกรรมการเรียนการสอน ฝกการคิดแบบ ↔ ↔ ↔ EF ตัด AB และ CD ที่จุด G และ H 9. ครูกลาวกับนักเรียนวา ในการเรียกชื่อมุมนั้นเพื่อความสะดวกเราอาจเรียกชื่อมุม ทักษะการสังเกต เปนตัวเลขและมีสัญลักษณแทนมุมดานบนของตัวเลขนั้น ∧ ∧ ∧ ∧ เชน แทน AGE ดวย 1 แทน CHG ดวย 5 ∧ ∧ ∧ ∧ แทน BGE ดวย 2 แทน CHG ดวย 6 ∧ ∧ ∧ ∧ แทน BGH ดวย 3 แทน CHG ดวย 7 ∧ ∧ ∧ ∧ แทน AGH ดวย 4 แทน CHG ดวย 8 10. ครูใหนักเรียนชวยกันสรางเสนตรงเสนหนึ่งตัดเสนตรงสองเสนในระนาบที่จุด ทักษะการสังเกต สองจุด จากการสรางใหนักเรียนพิจารณาวาจะไดมุมเกิดขึ้นทั้งหมดกี่มุม (8 มุม) 11. ครูอธิบายความหมายและลักษณะของมุมแยงภายใน มุมแยงภายนอก มุมภาย นอกและมุมภายในที่อยูตรงขามบนขางเดียวกันของเสนตัด 12. ครูใหนักเรียนชวยกันตอบคําถามตอไปนี้ แลวครูเขียนคําตอบไวบนกระดานดัง ทักษะการคิดวิเคราะห นี้ ∧ ∧ ∧ ∧ - จงบอกชื่อมุมภายในของเสนตัด (มุมภายใน ไดแก 3, 4, 5 และ 6 ) ∧ ∧ - จงบอกวามุมใดบางเปนมุมแยงภายในพรอมทั้งใหเหตุผล ( 4 และ 6 เปน มุมภายใน ∧ ∧ 3 และ 5 เปนมุมแยงภายใน เพราะเปนมุมภายในบนขางเดียวกันที่เกิดจาก เสนตรงเสนหนึ่งตัดเสนตรงสองเสนของเสนตัด) ∧ - จงบอกชื่อมุมภายนอกของเสนตัด (มุมภายนอก ไดแก ∧ , ∧ , ∧ และ 8 ) 1 2 7 ∧ ∧ ∧ ∧ - จงบอกชื่อมุมแยงภายนอก ( 1 และ 7 เปนมุมภายนอก 2 และ 8 เปน มุมแยงภายนอก) 13. ครูสนทนากับนักเรียนเกี่ยวกับเรื่องของมุมภายนอกและมุมภายในที่อยูตรงขาม ทักษะการคิดสรุปความ บนขางเดียวกันของเสนตัดที่เกิดจากเสนตรงเสนหนึ่งตัดเสนตรงสองเสนที่จดุ สองจุด และในบางครั้งจะเรียกวามุมที่สมนัยกัน ครูอธิบายความหมายของคําวา สมนัยกันตอ 14. ครูใหนักเรียนชวยกันบอกมุมที่สมนัยกันจากรูปที่สรางขึ้นในขางตน ดังนี้ ∧ ∧ 1 และ 5 เปนมุมที่สมนัยกัน ∧ ∧ 4 และ 8 เปนมุมที่สมนัยกัน ∧ ∧ 2 และ 6 เปนมุมที่สมนัยกัน ∧ ∧ 3 และ 7 เปนมุมที่สมนัยกัน
  • 11. แผนการจัดการเรียนรูคณิตศาสตรพื้นฐาน ม.2 ภาคเรียนที่ 2 131 กิจกรรมการเรียนการสอน ฝกการคิดแบบ 15. ครูใหนักเรียนชวยกันสรุปกิจกรรมขางตนและความหมายของมุมตางๆ อีกครั้ง ทักษะการคิดสรุปความ โดยครูเปนผูซักถาม 16. ใหนักเรียนทํากิจกรรมตรวจสอบความเขาใจ 2 เปนการบานโดยครูกาหนดวัน ทักษะการคํานวณ ํ และเวลาสง ชั่วโมงที่ 4 1. ครูทบทวนเรื่องที่เรียนมาในชั่วโมงที่แลว โดยการวาดภาพกระดานแลวให นักเรียนชวยกันตอบคําถาม 2. ครูวาดรูปตอไปนี้บนกระดาน ใหนกเรียนพิจารณารูปและชวยกันตอบคําถาม ั •P B A ↔ - P เปนจุดภายในหรือภายนอกเสนตรง AB (ภายนอก) ↔ - จะสามารถลากเสนตรงใหผานจุด P และขนานกับ AB ไดกี่เสน (1 เสน)  3. ครูแนะนํานักเรียนเกี่ยวกับการนํารูปที่ครูวาดบนกระดาน แลวชวยกันสรุปเปน สัจพจน โดยครูเปนผูซักถามและเขียนบนกระดานใหนกเรียนจดลงในสมุด ดังนี้ ั สัจพจน 1 กําหนดเสนตรงเสนหนึ่ง และจุดจุดหนึ่งที่ไมอยูบนเสนตรง จะลาก เสนผานจุดที่กําหนดใหและขนานกับเสนตรงที่กําหนดใหได เสนเดียว 4. ครูและนักเรียนรวมกันสรุปจากสัจพจนอีกครั้ง 5. ครูใหนักเรียนแบงกลุม 4-5 คน ใหนกเรียนทํากิจกรรมภาคปฏิบัติ 1 พรอมสรุป ั ผลที่ไดจากการทํากิจกรรมภาคปฏิบัติ 1 กิจกรรมภาคปฏิบัติ 1 ↔ ↔ ↔ ↔ ↔ 1) กําหนด AB // CD และ EF ตัด AB และ CD ที่ G และ H ตามลําดับ
  • 12. แผนการจัดการเรียนรูคณิตศาสตรพื้นฐาน ม.2 ภาคเรียนที่ 2 132 กิจกรรมการเรียนการสอน ฝกการคิดแบบ G A 1 2 B 4 3 C 5 6 D 87 F H ∧ ∧ ∧ ∧ ∧ ∧ ∧ ∧ 2) ใหนกเรียนวัดขนาดของมุม 1, 2, 3, 4, 5, 6, 7 และ 8 ั 3) ใหนกเรียนชวยกันตอบคําถามตอไปนี้ ั ∧ - 3 มีขนาดกี่องศา ∧ - มุมใดมีขนาดเทากับมุม 3 บาง ∧ - 6 มีขนาดกี่องศา ∧ - มุมใดมีขนาดเทากับมุม 6 บาง ∧ ∧ - ขนาดของ 3 และขนาดของ 6 รวมกันไดกี่องศา ↔ ↔ ↔ ↔ ↔ 4) กําหนด PQ // RS และ MN ตัด PQ และ RS ที่ X และ Y ตามลําดับ N X P 1 4 Q 2 3 Y R 5 8 S 6 7 M ∧ ∧ ∧ ∧ ∧ ∧ ∧ ∧ 5) ใหนกเรียนวัดขนาดของมุม 1, 2, 3, 4, 5, 6, 7 และ 8 ั 6) ใหนกเรียนชวยกันตอบคําถามตอไปนี้ ั ∧ - 1 มีขนาดกี่องศา ∧ - 2 มีขนาดกี่องศา ∧ ∧ - m(3) + m(8) เทากับเทาไร ∧ ∧ - m(2) + m(5) เทากับเทาไร 6. ใหนกเรียนแตละกลุมสงตัวแทนออกมานําเสนอคําตอบของกลุมตัวเองและ ั เปรียบเทียบคําตอบของกลุมตัวเองกับเพื่อนกลุมอื่น 7. ครูใหนักเรียนแตละกลุมสรางเสนขนานคูใหม และเสนตัดเสนคูขนานของมุม ภายนอกและมุ ม ภายในแต ล ะมุ ม ให นั ก เรีย นคาดเดาคํ าตอบที่ ไ ด ก อ นลงมื อ ปฏิบัติแลวเปรียบเทียบขอคาดเดากับเพื่อน จากนั้นจึงลงมือทําการพิสูจน แลว ชวยกันหาคําตอบ ดังนี้ - เปรียบเทียบมุมแตละมุมวามุมใดมีขนาดเทากันบาง
  • 13. แผนการจัดการเรียนรูคณิตศาสตรพื้นฐาน ม.2 ภาคเรียนที่ 2 133 กิจกรรมการเรียนการสอน ฝกการคิดแบบ - หาผลบวกขนาดของมุมภายในที่อยูขางเดียวกันของเสนตัด 8. ครูสนทนากับนักเรียนเกี่ยวกับผลที่ไดจากการทํากิจกรรมนักเรียนพบขอสังเกตอะไร หรือไม ใหนักเรียนแขงกันตอบโดยครูใชคําถามชี้นําแนวทางในการปฏิบัติ 9. ครูแนะนําขอสังเกตที่ไดจากการทํากิจกรรมใหนักเรียน แลวเขียนบนกระดานใหนัก เรียนจดลงในสมุดดังนี้ ผลบวกขนาดของมุมภายในบนขางเดียวกันของเสนตรงรวม กันได 180 องศา ครูสนทนากับนักเรียนตอไปวานักคณิตศาสตรไดนําความรูตรงนี้มา เขียนเปน สัจพจนและใชบทนิยามเพื่อนําไปพิสูจน ดังนี้ สัจพจนที่ 2 ถาเสนตรงสองเสนขนานกันและมีเสนตัดแลวขนาด ของมุมภายในที่อยูขางเดียวกันของเสนตัดรวมกัน เปน 180 องศา 10. ครูใหนักเรียนไปศึกษาคนควาตอที่บาน ชั่วโมงที่ 5 1. ครูทบทวนสัจพจนที่เรียนมาแลวโดยการสนทนาซักถาม 2. ใหนักเรียนเสนอแนะวิธีการหาคําตอบของมุมที่ตองการโดยการที่ครูยกตัวอยางเกี่ยว กับเสนขนาน ตัวอยาง กําหนดเสนตรงแตละคูขนานกัน จงหาคา x 1) E A G B x C 42º D F H 2) T P V Q y R x S U W
  • 14. แผนการจัดการเรียนรูคณิตศาสตรพื้นฐาน ม.2 ภาคเรียนที่ 2 134 กิจกรรมการเรียนการสอน ฝกการคิดแบบ 3) S M P x N 64º O Q R T ↔ ↔ วิธีทํา 1) เนื่องจาก AB // CD ดังนั้น∧ x + 42º = 180º = 180º− 42º = 138º ↔ ↔ 2) เนื่องจาก PQ // RS ดังนั้น x + y = 180º x = 180º − y ↔ ↔ ∧ 3) เนื่องจาก MN // OR ดังนั้น m (NPQ) + 64º = 180º ∧ m (NPQ) = 180º − 64º = 116º ∧ แต x + m (NPQ) + 64º = 180º (ผลบวกของมุมเปนมุมตรง) นั่นคือ x + 116º = 180º x = 180º − 116º = 64º 3. ใหนักเรียนชวยกันสรุปวิธีการหาคาของมุมที่ตองการจากการสังเกตขางตน 4. ใหนกเรียนทํากิจกรรมตรวจสอบความเขาใจ 3 โดยครูตอบใหคําแนะนําและถา ั นักเรียนทําไมไดโดยครูชวยอธิบายใหมเปนรายบุคคล ชั่วโมงที่ 6 1. ครูทบทวนการหาคําตอบของมุมที่กําหนดใหจากที่เรียนมาแลว โดยการวาดรูปบน กระดานแลวใหนักเรียนชวยกันหาคําตอบ 2. ครูกลาวถึงสัจพจนที่ 3 ใหนักเรียนไดศึกษา ดังนี้ สัจพจนที่ 3 ถาเสนตรงเสนหนึ่งตัดเสนตรงคูหนึ่งทําใหขนาดของมุมภายในที่อยูขาง เดียวกันของเสนตัดรวมเปน 180 องศาแลว เสนตรงคูนั้นจะขนานกัน 3. ใหนักเรียนชวยกันสรุปวิธีการหาคาของมุมที่ตองการจากการสังเกตขางตน 4. ใหนักเรียนทํากิจกรรมตรวจสอบความเขาใจ 3 โดยครูตอบใหคําแนะนําและถา
  • 15. แผนการจัดการเรียนรูคณิตศาสตรพื้นฐาน ม.2 ภาคเรียนที่ 2 135 กิจกรรมการเรียนการสอน ฝกการคิดแบบ นักเรียนทําไมไดโดยครูชวยอธิบายใหมเปนรายบุคคล  5. นักเรียนและครูรวมกันสรุปผลที่จากการทํากิจกรรมขางตน 6. ใหนักเรียนทํากิจกรรมตรวจสอบความเขาใจ 4 เปนการบาน โดยครูกําหนดวันและ เวลาสง 7. ครูควรติดตามผลการเรียนของนักเรียนวามีความเขาใจมากนอยเพียงใด ถานักเรียนยัง ไมเขาใจครูควรอธิบายเพิ่มเติม ชั่วโมงที่ 7 1. ครูใหนักเรียนทํากิจกรรมภาคปฏิบัติ 2 โดยการใหนักเรียนแบงกลุม กลุมละ 4-5 คน แลวชวยกันทํากิจกรรมดังนี้ ↔ ↔ ↔ ↔ 1) กําหนดให AB และ CD เปนเสนตรงสองเสน EF ⊥ AB ที่ E และ GH ⊥ AB ที่ G G D C F E H B A 2) ใหนกเรียนชวยกันตอบคําถามตอไปนี้ ั ∧ ∧ ∧ ∧ (1) วัดขนาดของมุม EFH และ GHD m (GEF) + m (EFH) มีขนาดเทาไร ↔ ↔ (2) AB ขนานกับ CD หรือไม เพราะเหตุใด (3) วัดความยาว EF และความยาวของ GH EF ยาวเทากับ GH หรือไม ↔ ↔ ↔ ↔ 2. กําหนด AB และ CD เปนเสนตรงสองเสน EF ⊥ AB ที่ E และ GH ⊥ AB ที่ G C F H D A E G B ∧ ∧ ∧ ∧ 1) จงวัดขนาดของ EFH และ GHD m (GEF) + m (EFH) มีขนาดเทาไร ↔ ↔ 2) AB ขนานกับ CD หรือไม เพราะเหตุใด 3) วัดความยาวของ EF และความยาวของ GH EF ยาวเทากับ GH หรือไม 3. ครูใหนกเรียนแตละกลุมสรุปของตัวเอง ั 4. นักเรียนออกมานําเสนอผลงานของกลุมตัวเอง 5. นักเรียนและครูรวมกันสรุปกิจกรรมพรอมกัน ดังนี้  ↔ ↔ ↔ ↔ 1) ถา AB ไมขนานกับ CD และ EF⊥AB แลว EF จะไมตั้งฉากกับ CD และ EF ≠ GH
  • 16. แผนการจัดการเรียนรูคณิตศาสตรพื้นฐาน ม.2 ภาคเรียนที่ 2 136 กิจกรรมการเรียนการสอน ฝกการคิดแบบ ↔ ↔ ↔ ↔ 2) ถา AB // CD และ EF ⊥ AB แลว EF ⊥ CD ดวย และ EF = GH 6. ใหนักเรียนทําแบบฝกหัด 2 โดยครูคอยใหคําแนะนํา และกําหนดวันเวลาในการสง ชั่วโมงที่ 8 1. ครูทบทวนเกี่ยวกับเรื่องของเสนขนานที่เรียนมาแลว โดยการถามตอบ 2. ครูสุมใหนักเรียนออกมาเฉลยคําตอบของแบบฝกหัด 2 บนกระดาน 3. ใหนักเรียนแบงกลุมออกเปน 4 กลุม 4. ใหนักเรียนไปชวยกันคนควาเรื่องของเสนขนานเพิ่มเติม แลวอธิบายใหเพื่อนในกลุม ฟงจนทุกคนเขาใจ 5. ใหนกเรียนออกมารายงานเรื่องของกลุมตัวเองที่ไดไปคนความา ั 6. นักเรียนและครูรวมกันสรุปเกี่ยวกับเสนขนานอีกครั้ง กอนจบชั่วโมงครูใหคําชมเชย  กับนักเรียนทุกคนที่ตั้งใจศึกษาคนควา 5.3 ขั้นสรุป ครูใหนักเรียนรวมกันสรุป บทนิยามของเสนขนาน บทนิยามของเสนไขวขาม บทนิยามของเสนตรงและ รังสีที่ขนานกัน ลักษณะของมุมภายนอกและมุมภายใน ลักษณะของมุมแยงภายในและมุมแยงภายนอก ดังนี้ บทนิยาม เสนตรงสองเสนเปนเสนขนาน ก็ตอเมื่อ เสนตรงคูนั้นเปนเสนตรงรวมระนาบเดียวกันและไม ตัดกัน บทนิยาม เสนตรงสองเสนเปนเสนไขวขาม ก็ตอเมื่อเสนตรงสองเสนนั้นไมสามารถอยูในระนาบเดียวกันได บทนิยามเกี่ยวกับสวนของเสนตรงหรือรังสีขนานกัน บทนิยาม สวนของเสนตรงหรือรังสีหนึ่งขนานกับสวนของเสนตรงหรือรังสีอีกเสนหนึ่งก็ตอเมื่อ คูของเสน ตรงที่บรรจุสวนของเสนตรงหรือรังสีคูนั้นขนานกัน สัจพจนที่ 1 กําหนดเสนตรงเสนหนึ่ง และจุดจุดหนึ่งที่ไมอยูบนเสนตรง จะลากเสนผานจุดที่กําหนดใหและ ขนานกับเสนตรงที่กําหนดใหไดเสนเดียว สัจพจนที่ 2 ถาเสนตรงสองเสนขนานกันและมีเสนตัดแลวขนาดของมุมภายในที่อยูขางเดียวกันของเสนตัด รวมกันเปน 180 องศา สัจพจนที่ 3 ถาเสนตรงเสนหนึ่งตัดเสนตรงคูหนึ่งทําใหขนาดของมุมภายในที่อยูขางเดียวกันของเสนตัดรวมเปน 180 องศาแลว เสนตรงคูนั้นจะขนานกัน
  • 17. แผนการจัดการเรียนรูคณิตศาสตรพื้นฐาน ม.2 ภาคเรียนที่ 2 137 6. สื่อการเรียนรู / แหลงการเรียนรู 6.1 สื่อการเรียนรู - หนังสือเรียนแม็ค - กระดาษ A4 ไมบรรทัด กรรไกร 6.2 แหลงการเรียนรู - หองสมุดโรงเรียนหองสมุดกลุมสาระการเรียนรูคณิตศาสตร - หนังสือเรียนแม็ค 7. กิจกรรมเสนอแนะ 7.1 กิจกรรมสงเสริมการคิดเชิงวิเคราะห - 7.2 กิจกรรมบูรณาการ ครู ส ามารถบู ร ณาการการเรี ย นกั บ กลุ ม สาระการเรี ย นรู ภ าษาไทย ศิ ล ปะ โดยการกํ า หนดภาระงานให นักเรียนชวยกันแตงกลอนเกี่ยวกับเรื่องเสนขนานเปนการประกวด ภาระงาน “เขียนกลอนเรื่องเสนขนาน” ผลการเรียนรูที่คาดหวัง ใชกระบวนการเขียนกลอนสื่อความหมายของความหมายเสนขนาน ผลงานที่ตองการ กลอนเรื่องเสนขนาน ขั้นตอนการทํางาน 1. ศึกษาลักษณะของการเขียนกลอนตาง ๆ 2. ศึกษาบทนิยามของเสนขนาน 3. แตงกลอนเรื่องเสนขนาน 4. ใหนักเรียนแลกเปลี่ยนกลอนกับเพื่อนเพื่อนําขอคิดเห็นมาปรับปรุง 5. นําผลงานที่ไดไปสงครูครูและนําไปขยายผลสรางความรูใหกบเพื่อนๆ และนองๆ ั เกณฑการประเมิน 1. ความถูกตองของบทนิยามเสนขนาน 2. ความไพเราะเหมาะสม 3. ความเรียบรอยและความประณีต 4. เนื้อหาถูกตองครบถวน 5. ความเหมาะสมของภาษาและความสละสลวย
  • 18. แผนการจัดการเรียนรูคณิตศาสตรพื้นฐาน ม.2 ภาคเรียนที่ 2 138 8. บันทึกหลังสอน บันทึกหลังสอน (บันทึกเฉพาะประเด็นที่มขอมูลสารสนเทศชัดเจน) ี ประเด็นการบันทึก จุดเดน จุดที่ควรปรับปรุง 1. การจัดกิจกรรมการเรียนรู 2. การใชสื่อการเรียนรู 3. การประเมินผลการเรียนรู 4. การบรรลุผลการเรียนรูของผูเรียน บันทึกเพิ่มเติม ....................................................................................................................................................................................... ...................................................................................................................................................................................... ...................................................................................................................................................................................... ...................................................................................................................................................................................... ลงชื่อ ............................................................ ผูสอน บันทึกความเห็นของผูตรวจสอบแผนการจัดการเรียนรู ........................................................................................................................................................................................ ....................................................................................................................................................................................... ....................................................................................................................................................................................... ....................................................................................................................................................................................... ลงชื่อ ....................................................................... ตําแหนง ..................................................................
  • 19. แผนการจัดการเรียนรูคณิตศาสตรพื้นฐาน ม.2 ภาคเรียนที่ 2 139 9. ใบความรู ใบงาน และเครื่องมือวัดผล กิจกรรมตรวจสอบความเขาใจและแบบฝกหัดในหนังสือเรียน แบบสังเกตพฤติกรรมการเรียน แบบบันทึกการสังเกตพฤติกรรมการเรียนรายบุคคลวิชาคณิตศาสตร ชื่อนักเรียน .................................. ชั้น ........... วันที่ ................ เดือน ............................. ป .................... ครั้งที่ .................................................................. ผูสังเกต ...................................................................... ระดับการประเมิน หัวขอการประเมิน ดีมาก ดี พอใช ควรปรับปรุง ความสนใจ การตอบคําถาม การทํากิจกรรมหนาชั้นเรียน การใชความรูทักษะ/กระบวนการทาง คณิตศาสตรในการแกปญหาในสถาน การณตางๆ ความสามารถในการใชภาษาและสื่อ ลักษณทางคณิตศาสตรในการสื่อสาร สื่อความหมาย
  • 20. แผนการจัดการเรียนรูคณิตศาสตรพื้นฐาน ม.2 ภาคเรียนที่ 2 140 แบบประเมินพฤติกรรมการทํางาน แบบประเมินพฤติกรรมการทํางาน ชื่อนักเรียน .................................. ชั้น ........... วันที่ ................ เดือน ............................. ป .................... ครั้งที่ .................................................................. ผูสังเกต ...................................................................... ระดับการประเมิน หัวขอการประเมิน ดีมาก ดี ปานกลาง นอย นอยมาก การวงแผน การกําหนดการปฏิบัติงาน มีขั้นตอนชัดเจน การปฏิบัติตามขั้นตอนที่ กําหนด ความคิดสรางสรรค ผลการทํางาน
  • 21. แผนการจัดการเรียนรูคณิตศาสตรพื้นฐาน ม.2 ภาคเรียนที่ 2 141 แผนการจัดการเรียนรูที่ 2 เรื่อง สมบัติของเสนขนาน เวลา 6 ชั่วโมง 1. เปาหมายการเรียนรู 1.1 ผลการเรียนรู 1) สามารถบอกสมบัตของเสนขนานและเงื่อนไขที่ทําใหเสนตรงขนานกันได ิ 2) ตระหนักถึงความสมเหตุสมผลของคําตอบที่ได 1.2 จุดประสงคการเรียนรู 1) บอกสมบัตของเสนขนานและเงื่อนไขที่ทําใหเสนตรงขนานกันได ิ 2) ตระหนักถึงความสมเหตุสมผลของคําตอบที่ได 2. สาระสําคัญ 2.1 สาระการเรียนรู สมบัติของเสนขนาน 2.2 ทักษะ / กระบวนการ การคิดคํานวณ 2.3 ทักษะการคิด ทักษะการคิดจัดลําดับความ ทักษะการแปลความ ทักษะการคิดสํารวจ ทักษะการคิดตีความ ทักษะการคิด คํานวณ ทักษะการสังเกต ทักษะการคิดเปรียบเทียบ 3. รองรอยการเรียนรู 3.1 ผลงาน / ชิ้นงาน 1) พฤติกรรมการเรียน 2) พฤติกรรมการทํางานกลุม 3) การทํากิจกรรมตรวจสอบความเขาใจ 5 - 10 และแบบฝกหัด 3 3.2 กระบวนการขั้นตอนการปฏิบัติงาน 1) จัดกลุม กลุมละ 3 คน 2) เลือกหัวหนากลุม 3) หัวหนากลุมแบงงาน 4) รวมกันจัดทําบัตรกิจกรรม 5) นําเสนอผลงานหนาชั้นเรียน 6) รวมกันทํากิจกรรมตรวจสอบความเขาใจ 7) สงงาน
  • 22. แผนการจัดการเรียนรูคณิตศาสตรพื้นฐาน ม.2 ภาคเรียนที่ 2 142 3.3 พฤติกรรมตามคุณลักษณะพึงประสงค 1) ใหความรวมมือในการทํางานกลุม 2) มีความละเอียดรอบคอบและรับผิดชอบในการทํางาน 3.4 ความรูความเขาใจ นักเรียนเขาใจความหมายสมบัติของเสนขนานและเงื่อนไขที่ทําใหเสนตรงสองเสนขนานกัน 4. แนวทางการวัดและประเมินผล เกณฑขั้นต่ํา 4.4 ไดระดับ “ พอใช ” ขึ้นไป 4.5 ไดระดับ “ ดี ” ขึ้นไป 4.6 ทําได 80 % ขึ้นไป การสรุปผลการประเมิน ตองผานเกณฑขั้นต่ําทั้ง 3 รายการ 5. กิจกรรมการเรียนการสอน 5.1 ขั้นนํา ชั่วโมงที่ 1 สมบัติของเสนขนาน นักเรียนและครูสนทนาถึงเรื่องเสนขนานที่เรียนมาในชั่วโมงที่แลว ชั่วโมงที่ 2 สมบัติของเสนขนาน (ตอ) ครูทบทวนทฤษฎีบท 1 เพื่อนําเขาสูทฤษฎีบท 2 โดยการสนทนาถามตอบ ชั่วโมงที่ 3 เสนขนานและมุมภายในกับมุมภายนอก ครูใหนักเรียนพิจารณารูปบนกระดานวาขนานกันหรือไม อยางไร ชั่วโมงที่ 4 สนขนานและมุมแยงภายนอก ครูทบทวนเรื่องของเสนขนานที่เรียนมาแลว ชั่วโมงที่ 5 การสรางเสนใหขนานกับเสนตรงที่กําหนดให ครูสนทนาทบทวนเรื่องของเสนขนานที่เรียนมาในชั่วโมงที่ 1-4
  • 23. แผนการจัดการเรียนรูคณิตศาสตรพื้นฐาน ม.2 ภาคเรียนที่ 2 143 5.2 ขั้นสอน กิจกรรมการเรียนการสอน ฝกการคิดแบบ ชั่วโมงที่ 1 สมบัติของเสนขนาน 1. ครูกําหนดให AB // CD และ EF ตัดกับ AB และ CD ที่ X และ Y ตามลําดับ ทักษะการสังเกต ↔ ↔ ↔ ↔ ↔ ใหนักเรียนพิจารณาและชวยกันสรางรูปตามที่กําหนดให 2. นักเรียนชวยกันตอบคําถามวามุมใดเปนมุมแยงภายใน และอยูบนขางเดียวกันของเสน ตัดทุกมุม ทักษะการคิดสํารวจ A X E B 12 34 C Y D F ∧ ∧ มี 1 และ 3 เปนมุมภายในบนขางเดียวกันของเสนตัด ∧ ∧ 2 และ 4 เปนมุมภายในบนขางเดียวกันของเสนตัด ∧ ∧ 1 และ 4 เปนมุมแยงภายใน ∧ ∧ 2 และ 3 เปนมุมแยงภายใน ∧ ∧ ∧ ∧ 3. ใหนักเรียนวัดขนาดของ 1 , 2 , 3 และ 4 และใหสังเกตขนาดของมุมวามีลักษณะ ทักษะการคิดเปรียบ เปนอยางไร เทียบ 4. ใหนกเรียนสรางเสนขนานคูใหมและลากเสนตัด แลววัดขนาดของมุมภายในทั้งสี่มุม ั ทักษะการสังเกต 5. ครูสนทนากับนักเรียนเกี่ยวกับขนาดของมุมที่วัดได 6. ใหนกเรียนเปรียบเทียบขอสังเกตของตนเองกับของเพื่อนๆ วาเหมือนกันหรือตางกัน ั อยางไร 7. ครูนําเสนอทฤษฎีบท 1 ใหนักเรียนชวยกันพิจารณาดังนี้ ทฤษฎีบท 1 ถาเสนตรงสองเสนขนานกันและมีเสนตัดแลว มุมแยงภายในจะมี ขนาดเทากัน 8. ใหนักเรียนวาดรูปประกอบการพิสจน ู E A B X C D Y F
  • 24. แผนการจัดการเรียนรูคณิตศาสตรพื้นฐาน ม.2 ภาคเรียนที่ 2 144 กิจกรรมการเรียนการสอน ฝกการคิดแบบ ↔ ↔ ↔ ↔ ↔ กําหนด AB // CD , EF ตัด AB และ CD ที่ X และ Y ตามลําดับ ∧ ∧ จะตองพิสูจนวา AXY = DYX ∧ ∧ ↔ ↔ ↔ พิสูจน 1. AXY + CYX = 180º (เพราะ AB // CD และ EF เปนเสนตัด มี AXY ∧ ∧ และ CYX เปนมุมภายในบนขางเดียวกันของเสนตัด) ∧ ∧ 2. DYX + CYX = 180º (มุมตรง) ∧ ∧ ∧ ∧ 3. AXY + CYX = DYX + CYX (จากขอ1, 2 สมบัติการเทากัน) ∧ ∧ 4. AXY = DYX (จากขอ 3 สมบัติการเทากัน) 9. ใหนักเรียนทํากิจกรรมตรวจสอบความเขาใจ 5 ครูกําหนดวันเวลาในการสง ทักษะการคิดคํานวณ ชั่วโมงที่ 2 สมบัติเสนขนาน (ตอ) 1. ครูทบทวนทฤษฎีบท 1 เพื่อนําเขาสูทฤษฎีบท 2 2. ครูเขียนทฤษฎีบท 2 บนกระดาน ดังนี้ ทักษะการสังเกต ทฤษฎีบท 2 เสนตรงเสนหนึ่งตัดเสนตรงคูหนึ่ง ถามุมแยงภายในที่เกิดขึ้นมี ขนาดเทากันแลว เสนตรงคูนั้นจะขนานกัน 3. ครูสนทนาซักถามกับนักเรียนเกี่ยวกับทฤษฎีบท 2 วามีความสัมพันธกันอยางไรกับ ทฤษฎีบท 1 (บทกลับของทฤษฎีบท 1) ทักษะการคิดตีความ 4. นักเรียนและครูวาดรูปบนกระดานเพื่อพิสูจนทฤษฎีบท 2 จะไดดังนี้ E A G B C D F H ↔ ↔ ↔ ∧ ∧ กําหนดให EF ตัด AB และ CD ที่ G และ H ตามลําดับ ให AGH = DHG ↔ ↔ จะตองพิสูจนวา AB // CD ∧ ∧ พิสูจน 1. AGH = DHG (โจทยกําหนดให) ∧ ∧ 2. DHG + GHC = 180º (เปนมุมตรง) ∧ ∧ ∧ 3. AGH + GHC = 180º (จากขอ 1 และขอ 2 สมบัติการแทนที่คือ แทน DHG ∧ ดวย AGH) ↔ ↔ 4. AB // CD (จากขอ 3 และสัจพจน 3) 5. ใหนกเรียนทํากิจกรรมตรวจสอบความเขาใจ 6 บนกระดาน โดยครูเปนผูซักถาม ครู ทักษะการคิดคํานวณ ั ตรวจสอบความถูกตอง แลวใหนักเรียนจดลงในสมุด
  • 25. แผนการจัดการเรียนรูคณิตศาสตรพื้นฐาน ม.2 ภาคเรียนที่ 2 145 กิจกรรมการเรียนการสอน ฝกการคิดแบบ 6. ใหนักเรียนไปศึกษาตอเพิ่มเติมจากหองสมุด ชั่วโมงที่ 3 เสนขนานและมุมภายในกับมุมภายนอก 1. ใหนักเรียนพิจารณารูปของเสนขนานตอไปนี้บนกระดาน ทักษะการสังเกต E A 1 3 B G C 2 4 D H F ↔ ↔ ↔ ↔ ↔ ให AB // CD และ EF ตัด AB และ CD ที่ G และ H ตามลําดับ ∧ ∧ ∧ ∧ 2. ครูซักถามวา 1 , 2, 3 , 4 เรียกวาอะไร จะไดวา ทักษะการคิดแปล ∧ ∧ 1 และ 2 เรียกวา มุมภายนอกและมุมภายในที่อยูตรงขามบนขางเดียวกันของเสนตัด ความ ∧ ∧ 3 และ 4 เรียกวา มุมภายนอกและมุมภายในที่อยูตรงขามบนขางเดียวกันของเสนตัด ∧ ∧ 3. ครูใหนกเรียนพิสูจนวา 1 และ 2 มีขนาดเทากันหรือไม เพราะเหตุใด ั 4. ครูยกตัวอยางเสนขนานให นักเรียนชวยกันเสนอแนะวิธีการพิสูจนบนกระดาน ครู ทักษะการคิดสํารวจ ตรวจสอบความถูกตองแลวจึงใหนักเรียนจดลงในสมุด ตัวอยาง จงพิสูจนขอความตอไปนี้ ถาเสนตรงสองเสนขนานกัน และมีเสนตัดแลว มุม ภายนอกและมุมภายในที่อยูตรงขามบนขางเดียวกันของเสนตัดจะมีขนาดเทากัน E A G B C H D F ↔ ↔ ↔ ↔ ↔ กําหนดให AB // CD และ EF ตัด AB และ CD ที่ G และ H ตามลําดับ ∧ ∧ จะตองพิสูจนวา BGE = DHG ∧ ∧ ↔ ↔ ↔ พิสจน 1. DHG + BGH = 180º (เนื่องจาก AB // CD และ EF เปนเสนตัด และ ู สัจพจน 2) ∧ ∧ 2. EGB + BGH = 180º (มุมตรง) ∧ ∧ ∧ ∧ 3. EGB + BGH = DHG + BGH (จากขอ 2 และขอ 1 สมบัติการเทากัน) ∧ ∧ 4. EGB = DHG (จากขอ 3 สมบัติการเทากัน) ในทํานองเดียวกัน สามารถพิสูจนไดวา ∧ ∧ 1. AGE = CHG
  • 26. แผนการจัดการเรียนรูคณิตศาสตรพื้นฐาน ม.2 ภาคเรียนที่ 2 146 กิจกรรมการเรียนการสอน ฝกการคิดแบบ ∧ ∧ 2. BGH = DHF ∧ ∧ 3. AGH = CHF 5. ใหนักเรียนทํากิจกรรมตรวจสอบความเขาใจ 7 บนกระดาน โดยครูตรวจสอบความ ทักษะการคิดคํานวณ ถูกตอง และใหคําแนะนําในกรณีที่นักเรียนทําไมได จากนั้นใหนักเรียนจดลงในสมุด ชั่วโมงที่ 4 เสนขนานและมุมแยงภายนอก ทักษะการสังเกต 1. ครูวาดรูปตอไปนี้บนกระดาน E A 3 1 B G C H D 2 4 F ↔ ↔ ↔ ↔ ↔ ทักษะการคิดตีความ 2. ครูกลาววา จากรูปกําหนดให AB // CD และ EF ตัด AB และ CD ที่ G และ H ตามลําดับ ∧ ∧ ∧ ∧ 3. ใหนกเรียนบอกวา 1 , 2 , 3 และ 4 เรียกวาอะไร โดยครูคอยซักถาม จนนักเรียน ั สามารถบอกไดวา ∧ ∧ เรียก 1 และ 2 วา มุมแยงภายนอก ∧ ∧ และเรียก 3 และ 4 วา มุมแยงภายนอก ∧ ∧ ∧ ทักษะการสังเกต 4. นักเรียนรวมกันอภิปราย 1 และ 2 จะมีขนาดเทากันหรือไม เพราะเหตุใด และ 3 และ ∧ 4 มีขนาดเทากันหรือไมเพราะเหตุใด 5. ครูยกตัวอยางขอความใหนักเรียนพิจารณาและเสนอแนะวิธการพิสูจน ี ตัวอยาง จงพิสูจนขอความตอไปนี้วา ถาเสนตรงสองเสนขนานกันและมีเสนตัดแลว มุมแยงภายนอกจะมีขนาดเทากัน E A G B C D F H ↔ ↔ ↔ ↔ ↔ กําหนดให AB // CD และ EF ตัด AB และ CD ที่ G และ H ตามลําดับจะตอง ∧ ∧ ∧ พิสูจนวา AGE = DHF ↔ ↔ ∧ ∧ พิสูจน 1. เนื่องจาก AB // CD ดังนั้น BGH = CHG (ทฤษฎีบท 1) ∧ ∧ ∧ ∧ 2. แต BGH = AGE และ CHG = DHF (เสนตรงสองเสนตัดกัน มุมตรงขาม มีขนาดเทากัน) ∧ ∧ ∧ ∧ ∧ 3. AGE = DHF (จากขอ 1 และขอ 2 แทน BGH ดวย AGE และแทน CHG ∧ ดวย DHF) ∧ ∧ ในทํานองเดียวกันสามารถพิสูจนไดวา EGB = FHC
  • 27. แผนการจัดการเรียนรูคณิตศาสตรพื้นฐาน ม.2 ภาคเรียนที่ 2 147 กิจกรรมการเรียนการสอน ฝกการคิดแบบ 6. ใหนักเรียนทํากิจกรรมตรวจสอบความเขาใจ 8 เปนการบาน โดยครูกําหนดวันและ ทักษะการคิดคํานวณ เวลาในการสง ชั่วโมงที่ 5 การสรางเสนตรงใหขนานกับเสนตรงที่กําหนดให ↔ ↔ ↔ 1. ครูกําหนด AB และ M เปนจุดภายนอก AB ตองการสราง CD ใหผานจุด M ↔ และ ขนานกับ AB A B M 2. ใหนกเรียนรวมกันอภิปรายรวมกันกับเพื่อนๆ ในหอง ในการหาวิธีสราง แลวสรุปวิธี ั การทําเปนขั้นตอน โดยครูแจกกระดาษและวงเวียนใหนกเรียนสําหรับสราง ั 3. นักเรียนและครูสรุปวิธีการสรางดังนี้ ↔ ↔ ขั้นที่ 1 ลาก MN ตัด AB ที่ X N A X B M ∧ ∧ ขั้นที่ 2 ที่จุด M สราง XMD ใหมีขนาดเทากับ AXM N A X B M D ↔ ขั้นที่ 3 ลาก CD ผานจุด M N A X B C M D ↔ ↔ จะได CD ขนานกับ AB ตามตองการ 4. ใหนกเรียนทํากิจกรรมตรวจสอบความเขาใจ 9 โดยครูคอยใหคําแนะนําและเดินตรวจ ั สอบความถูกตองทั้งหองเรียน 5. ใหนกเรียนทําโจทยเพิ่มเติมโดยครูเขียนโจทยบนกระดาน 1-3 ขอ เปนการบาน ั