SlideShare une entreprise Scribd logo
1  sur  47
Télécharger pour lire hors ligne
บทที่ ๓
                                      วิธีการดาเนินการ

          โรงเรียนไทยรัฐวิทยา ๕ (วัดตลิ่งต่่า) มีวิธีด่าเนินการตามรายละเอียด ดังนี้

กลุ่มตัวอย่าง
           นักเรียนระดับชั้นอนุบาลศึกษาปีที่ ๑ – ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ ๓ โรงเรียนไทยรัฐวิทยา
๕ (วัดตลิ่งต่่า ) ส่านักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษา อุตรดิตถ์ เขต ๑ ภาคเรียนที่ ๒
ปีการศึกษา ๒๕๕๓ จ่านวน ๒๓๘ คน
           นักเรียนระดับชั้นอนุบาลศึกษาปีที่ ๑ – ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ ๓ โรงเรียนไทยรัฐวิทยา
๕ (วัดตลิ่งต่่า ) ส่านักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษาอุตรดิตถ์ เขต           ๑ ภาคเรียนที่ ๒
ปีการศึกษา ๒๕๕๓ จ่านวน ๒๔๒ คน

กิจกรรมหลักของโครงการ
            โรงเรียนไทยรัฐวิทยา โรงเรียนไทยรัฐวิทยา ๕ (วัดตลิ่งต่่า ) ด่าเนินการโครงการตั้งแต่
วันที่ ๑ ตุลาคม พ.ศ.๒๕๕๓ – ๒๐ กันยายน พ.ศ.๒๕๕๔ โดยมีกิจกรรมหลัก ดังนี้
ลาดับ วัน เดือน ปี                                  กิจกรรม                        หมายเหตุ
   ๑        ตุลาคม ๒๕๕๒ รับทราบแนวทางในการจัดกิจกรรมส่งเสริมการอ่าน
                              ตามโครงการพัฒนาครูและนักเรียน เพื่อสร้างเสริม
                              นิสัยรักการอ่านทั้งระบบในโรงเรียนไทยรัฐวิทยา ๕
                              (วัดตลิ่งต่่า)
   ๒         ๒-๒ ธันวาคม ประชุม อบรม สัมมนา ครูแกนน่ารักการอ่าน
                ๒๕๕๒
   ๒        ๔-๒๐ ธันวาคม ครูแกนน่าขยายผลสู่คณะครูและนักเรียน
                ๒๕๕๒          ในโรงเรียน
   ๔         ๑ พฤษภาคม ๑) จัดกิจกรรมส่งเสริมการอ่านในระดับโรงเรียน
                ๒๕๕๔          ๒) คณะกรรมการบริหารโครงการและสมาคม
                   –             ผู้บริหารโรงเรียนไทยรัฐวิทยา นิเทศ ก่ากับ
             ๒๕ สิงหาคม          ติดตาม ดูแล ช่วยเหลือในระหว่างเดือนมกราคม-
                ๒๕๕๔             มีนาคม ๒๕๕๔
ลาดับ วัน เดือน ปี                    กิจกรรม                                     หมายเหตุ
  ๕ ๒๖-๒๘ สิงหาคม ส่วนกลางจัดกิจกรรมแลกเปลี่ยนเรียนรู้
         ๒๕๕๔      และการคัดเลือก Best Practice
  ๖ ๒๒-๒๔ กันยายน ประชุมสัมมนาสรุปบทเรียน
         ๒๕๕๔

         โรงเรียนไทยรัฐวิทยา ๕ (วัดตลิ่งต่่า )ได้รับเงินงบประมาณจากส่านักงานกองทุน
สนับสนุนการสร้างเสริมสุขภาพ (สสส.) ได้วางแผนและก่าหนดยุทธศาสตร์ให้มีกิจกรรมหลัก
ตามบริบทของโรงเรียนอย่างเป็นระบบและมีล่าดับขั้นตอน ดังนี้

          ๑. ขั้นเตรียมการ
                ๑.๑ แต่งตั้งคณะกรรมการด่าเนินโครงการตามรายละเอียด ดังนี้
            ชื่อ – สกุล                       ตาแหน่ง            ตาแหน่งคณะกรรมการ
                                                                         โครงการ
๑. นายเดชา          จารุชาต        ผู้อ่านวยการโรงเรียน          ประธานกรรมการ
๒. นางศจี          เพ็งวัน         ครู วิทยฐานะช่านาญการพิเศษ รองประธานกรรมการ
๓. นางสาวดุษณีย์ ทองเพ็ชร          ครู วิทยฐานะช่านาญการพิเศษ กรรมการ
๔. นางบานเที่ยง ยอดค่า             ครู วิทยฐานะช่านาญการพิเศษ กรรมการ
๕. นางริสรา        ปั้นคุ่ย        ครู วิทยฐานะช่านาญการ         กรรมการ
๖. นางพรธนา มุ้งทอง                ครู วิทยฐานะช่านาญการ         กรรมการ
๗. นางขนิษฐา จันทร์ดวงดี           ครู วิทยฐานะช่านาญการ         กรรมการ
๘. นางศรีเรือน ยิ้มศรีเจริญกิจ     ครู วิทยฐานะช่านาญการพิเศษ กรรมการ/เลขานุการ

               ๑.๒ กรอบแนวคิดของโครงการ
                     การสร้างนิสัยรักการอ่านให้กับเด็ก ๆ ไม่ควรบังคับ หรือบอกตรง ๆ จะท่าให้
เกิดการต่อต้าน ควรใช้เทคนิควิธีโดยอ้อม ที่ไม่ให้เด็กรู้ตัวว่าครูชวนเด็ก ๆ อ่าน  หนังสือ ควรมี
กิจกรรมที่หลากหลายและเหมาะสมกับวัย ปฏิบัติให้ต่อเนื่อง สม่่าเสมอ และมีรูปแบบที่แปลกใหม่
จะท่าให้เด็ก ๆ รู้สึกสนุก มีความสุข และชอบที่จะท่ากิจกรรมอีก และควร จัดให้ครอบคลุมทุกสาระ
การเรียนรู้
๑.๓ จัดประชุมชี้แจงคณะครู/ผู้ปกครองนักเรียน เพื่อสร้างควา มเข้าใจและแนวทาง
ในการปฏิบัติตามรายละเอียด ดังนี้
                 ๑) กิจกรรมส่งเสริมการอ่านโดยวิทยากรบุคคลภายนอก
                 ๒) กิจกรรมสร้างนิสัยรักการอ่านด้วยกิจกรรมที่หลากหลาย
                 ๒) กิจกรรมรวมเรื่องที่ชอบ
                 ๔) กิจกรรมหมอภาษา
                 ๕) กิจกรรมหนังสือเสี้ยวเดียว
                 ๖) กิจกรรมสร้างสรรค์นิทานสอนน้อง
                 ๗) กิจกรรมป้ายนิเทศสู่การอ่าน
                 ๘) กิจกรรมสรรค์สร้างผลงานจากการอ่าน การค้นคว้า
                 ๙) กิจกรรมห้องสมุดมีชีวิต

          ๒. ขั้นดาเนินการ
              โรงเรียนได้จัดกิจกรรมส่งเสริมการอ่าน จ่านวน ๙ กิจกรรม ดังนี้
              ๑. กิจกรรมส่งเสริมการอ่านโดยวิทยากรบุคคลภายนอก
                 ๑.๑ ลักษณะด่าเนินกิจกรรม
                        ผู้ด่าเนินกิจกรรม -ครูปฐมวัย
                                           - ครูประถมศึกษาปีที่ ๑ – ๓
                      เป้าหมายนักเรียน - ระดับชั้นปฐมวัย
                                           - ชั้นประถมศึกษาปีที่ ๑ – ๓
                        เป้าหมายผู้ปกครอง จ่านวน ๑๐๐ คน
                      วัน เดือน ปี ที่จัดกิจกรรม
                                            -อบรมผู้ปกครอง เดือนกันยายน ๒๕๕๓
    -                                        จัดกิจกรรม “หนูขอเวลา ๕ นาที” และ
                                             “(ลูก,พ่อแม่) อ่านให้ (พ่อแม่,ลูก) ฟัง”
                                            เดือน กันยายน ๒๕๕๓ - กันยายน ๒๕๕๔
                 ๑.๒ ขั้นตอนในการด่าเนินงาน
                      ๑) เชิญวิทยากรที่มีความรู้ความสามารถในการจัดกิจกรรมสร้างนิสัย
รักการอ่านให้ผู้ปกครองและเด็กจากกลุ่ม กิ่ง ก้าน ใบ โดยสร้างความตระหนัก และพาท่าหุ่น
เล่านิทานให้กับเด็กและผู้ปกครอง
๒) ให้ความรู้เกี่ยวกับความส่าคัญของหนังสือกับการอ่านที่เหมาะสม
กับระดับวัยของบุตรหลาน ด้วยการพาผู้ปกครองศึกษาหนังสือนิทาน และสร้างนิทานเพื่อลูกรัก
                        ๓) ให้ผู้ปกครองศึกษาหนังสือที่เหมาะสมกับวัย ของลูกรัก โดยน่าสิ่ง
ที่ลูกชอบ และไม่ชอบมาผูกเป็นเรื่องราวในสถานการณ์ที่เคยเกิดขึ้นในชีวิตประจ่าวันของบุตร
หลานของตัวเอง
                        ๔) จัดกิจกรรม “หนูขอเวลา ๕ นาที” และ “(ลูก,พ่อแม่) อ่านให้ (พ่อแม่,ลูก)
ฟัง” เป็นกิจกรรมส่งเสริมการอ่าน เพื่อจุดประสงค์ให้ผู้ปกครองอ่านหนังสือให้ลูกฟัง โดยใช้หนังสือ
ที่ตนเองสร้างขึ้น และจากการยืมหนังสือจากโรงเรียน แล้ วบันทึกการอ่าน การฟัง ของลูกทุกครั้ง
                        ๕) ประเมินผลความพึงพอใจในกิจกรรมที่โรงเรียนจัดขึ้น
              ๑.๓ ผลของการด่าเนินงาน
                      เชิงปริมาณ
                      ๑) ผู้ปกครองเข้าร่วมอบรมความรู้เกี่ยวกับกิจกรรมส่งเสริมการอ่านจ่านวน
๑๐๐ คน
                      ๒) มีหนังสือที่ผู้ปกครองสร้างขึ้น และส่าเร็จเป็นรูปเล่มเรียบร้อย ๖๘ เล่ม
                      ๓) ผู้ปกครองบันทึกผลการอ่านจากกิจกรรมที่จัดขึ้น ๘๖ คน
                     เชิงคุณภาพ
                      ๑) ผู้ปกครองยินดีเข้าร่วมกิจกรรมและผลิตหนังสือเพื่อลูกหลานคิดเป็น
ร้อยละ ๘๔.๐๐
                      ๒) ผู้ปกครองพึงพอใจและแบ่งเวลาให้กับการอ่านของบุตรหลานมากขึ้น
คิดเป็นร้อยละ ๘๔.๘

          ภาพประกอบการบรรยายกิจกรรมส่งเสริมการอ่านโดยวิทยากรบุคคลภายนอก
๒. กิจกรรมสร้างนิสัยรักการอ่านที่หลากหลาย
      ๒.๑ ลักษณะด่าเนินกิจกรรม
            ผู้ด่าเนินกิจกรรม -ครูประถมศึกษาปีที่ ๑ – ๓
           เป้าหมายนักเรียน -ชั้นประถมศึกษาปีที่ ๑ – ๓ จ่านวน ๖๖ คน
           วัน เดือน ปี ที่จัดกิจกรรม
-                                 กันยายน ๒๕๕๓ – กันยายน ๒๕๕๔
๒.๒ ขั้นตอนในการด่าเนินงาน
    กิจกรรมสร้างนิสัยรักการอ่านที่หลากหลาย จัดขึ้น ๓ กิจกรรม ได้แก่
    ๑. กิจกรรมอ่านชุดบัตรค่า น่าไปเขียน เพิ่มพูนค่าศัพท์
         จุดประสงค์
          ๑) เพื่อทบทวนค่าศัพท์ในบทเรียน
          ๒) เพื่อเพิ่มพูนค่าศัพท์จากแหล่งเรียนรู้ และสื่อสิ่งพิมพ์ต่าง ๆ
         กิจกรรม
          ๑) นักเรียนอ่านชุดบัตรค่าที่ครูก่าหนดไว้ ทีละชุด
          ๒) น่าบัตรค่ามาอ่านให้ครูฟัง
          ๓) เขียนบันทึกค่าศัพท์ในตารางค่าที่ครูจัดท่าไว้
          ๔) ครูตรวจสอบความถูกต้อง และนักเรียนแก้ไขค่าที่เขียนผิด
     ๒. กิจกรรมอ่านบัตรค่า น่าทาง สร้างประโยค
            จุดประสงค์
            เพื่อให้นักเรียนเรียงค่าเป็นประโยคเพื่อการสื่อสาร
            กิจกรรม
            ๑) นักเรียนอ่านชุดบัตรค่าที่ครูก่าหนดให้ ครั้งละ ๕ ชุด
            ๒) น่าชุดบัตรค่ามาเรียงเป็นประโยคที่สมบูรณ์
            ๓) อ่านประโยคให้ครูฟัง
            ๔) บันทึกประโยคลงในแบบที่ครูก่าหนดให้
       ๓. กิจกรรมประลองความสามารถในการอ่าน
           จุดประสงค์
           เพื่อพัฒนาการอ่านและสร้างนิสัยรักการอ่าน
            กิจกรรม
           ๑) ครูก่าหนด ค่า ข้อความ จ่านวน ๑๐ แบบฝึก
           ๒) นักเรียนอ่านค่า ข้อความให้ครูฟัง
           ๓) ครูแนะน่าค่า หรือข้อความที่อ่านผิด อ่านใหม่จนถูกต้อง
๒.๓ ผลของการด่าเนินงาน
       เชิงปริมาณ
       ๑) นักเรียนชั้นประถมศึกษาปีที่ ๑ – ๓ ทุกคนได้ปฏิบัติกิจกรรมที่ก่าหนดขึ้น
เชิงคุณภาพ
        ๑) นักเรียนมีทักษะในการอ่านหนังสือมากขึ้นร้อยละ ๗๗.๒๗
        ๒) นักเรียนสามารถเขียนและอ่านค่า ประโยคได้เก่งขึ้น ร้อยละ ๖๖.๖๗
        ๓) นักเรียนไปอ่านหนังสือที่ห้องสมุดในเวลาว่างทันทีร้อยละ ๗๑.๒๑

ภาพประกอบการบรรยายกิจกรรมสร้างนิสัยรักการอ่านที่หลากหลาย
๓) กิจกรรมรวมเรื่องที่ชอบ
                 ๓.๑ ลักษณะด่าเนินกิจกรรม
                        ผู้ด่าเนินกิจกรรม -ครูประถมศึกษาปีที่ ๔ – ๖
                       เป้าหมายนักเรียน - ชั้นประถมศึกษาปีที่ ๔ – ๖ จ่านวน ๖๕ คน
                       วัน เดือน ปี ที่จัดกิจกรรม
    -                                         กันยายน ๒๕๕๓ – กันยายน ๒๕๕๔
                ๓.๒ ขั้นตอนในการด่าเนินงาน
                      จุดประสงค์
                      ให้นักเรียนใช้เวลาว่างให้เกิดประโยชน์ และสร้างนิสัยรักการอ่าน
                      กิจกรรม
                     ๑) ครูชี้แจงการจัดกิจกรรมให้นักเรียนทราบวัตถุประสงค์
                     ๒) ครูและนักเรียนออกแบบการจัดกิจกรรมร่วมกัน
                     ๓) นักเรียนศึกษาค้นคว้าเรื่องราวที่สนใจจากสื่อสิ่งพิมพ์ในห้องสมุด
โรงเรียน หรือจากมุมหนังสือตามอาคารเรียนของตนเอง หรือค้นคว้าจากอินเทอร์เนต
                     ๔) เลือกเรื่องที่ชอบและสนใจ ตัดภาพปะลงในกระดาษที่ร่วมกันออกแบบ
และสรุปใจความ สั้น ๆ ให้ได้ใจความ
                    ๕) ตกแต่งชิ้นงานของตนเองให้สวยงาม
                     ๖) อ่านเรื่องให้ครูฟัง ครูบันทึกผลในแบบบันทึกการอ่าน
                     ๗) ครูน่าผลการอ่านไปประเมินการอ่าน คิดวิเคราะห์ และเขียนสื่อความ
                     ๘) ปฏิบัติกิจกรรมในเวลาว่าง
                     ๙) ประเมินความพึงพอใจการปฏิบัติกิจกรรม
               ๓.๓ ผลของการด่าเนินงาน
                     เชิงปริมาณ
                     ๑) นักเรียนชั้นประถมศึกษาปีที่ ๔ – ๖ ทุกคนได้ปฏิบัติกิจกรรมที่ก่าหนดขึ้น
                    เชิงคุณภาพ
                     ๑) นักเรียนชอบและสนุกกับการได้อ่านข่าว อ่านสื่อสิ่งพิมพ์มากขึ้นร้อยละ
๘๖.๑๕
                     ๒) นักเรียนมีความรู้และอ่านหนังสือนานขึ้น ร้อยละ ๗๖.๙๒
ภาพประกอบการบรรยายกิจกรรมรวมเรื่องที่ชอบ
๔. กิจกรรมหมอภาษา เป็นกิจกรรมช่วยเหลือนักเรียนที่อ่าน เขียน ไม่คล่อง
ทุกระดับชั้น
                 ๔.๑ ลักษณะด่าเนินกิจกรรม
                       ผู้ด่าเนินกิจกรรม -ครูประถมศึกษาปีที่ ๑ – มัธยมศึกษาปีที่ ๓
                       เป้าหมายนักเรียน -ชั้นประถมศึกษาปีที่ ๑ – มัธยมศึกษาปีที่ ๓
ภาคเรียนที่ ๒ ปีการศึกษา ๒๕๕๓ จ่านวน ๑๗๓ คน ภาคเรียนที่ ๑ ปีการศึกษา ๒๕๕๔ จ่านวน
๑๙๗ คน
                       วัน เดือน ปี ที่จัดกิจกรรม
    -                                         กันยายน ๒๕๕๓ – กันยายน ๒๕๕๔
                ๔.๒ ขั้นตอนในการด่าเนินงาน
                      จุดประสงค์
                     ๑) เพื่อช่วยเหลือนักเรียนอ่านหนังสือไม่คล่อง และอ่านไม่ได้
                      กิจกรรม
                      ๑) แต่งตั้งนักเรียนพี่เลี้ยงกิจกรรม
                      ๒) พี่เลี้ยงประสานครูประจ่าชั้น คัดเลือก คัดกรองนักเรียนที่อ่า นออกเสียง
ไม่คล่อง
                      ๓) สร้างแบบฝึกการอ่านออกเสียง
                      ๔) นักเรียนที่ได้รับการคัดกรองมาฝึกอ่านกับครูและพี่เลี้ยงที่ห้องสมุดทุกวัน
เวลาหลังรับประทานอาหารกลางวัน
                     ๕) บันทึกผลการพัฒนา
                     ๖) ประเมินผลการปฏิบัติกิจกรรม
                ๔.๓ ผลของการด่าเนินงาน
                    เชิงปริมาณ
                    ๑) นักเรียนชั้นประถมศึกษาปีที่ ๑ – มัธยมศึกษาปีที่ ๓ ที่ได้รับการคัดกรอง
จ่านวน ๔๖ คน ได้รับการพัฒนาทักษะการอ่านออกเสียงตามปัญหาที่พบ
                   เชิงคุณภาพ
                    ๑) นักเรียนออกเสียงค่าควบกล้่า ได้ดีขึ้น จ่านวน ๓๓ คน คิดเป็นร้อยละ
๗๑.๗๔
                    ๒) นักเรียนอ่านหนังสือได้เร็วและคล่อง จ่านวน ๓๗ คน คิดเป็นร้อยละ
๘๐.๙๒๔๓
ภาพประกอบการบรรยายกิจกรรมหมอภาษา




                นักเรียนที่ได้รับการคัดกรองฝึกอ่านกับครู และพี่เลี้ยงทุกวัน
เด็กชายสันติ คงจินดา เป็นนักเรียน ที่มีปัญหาด้าน
                                                            การอ่าน จึงต้องได้รับการช่วยเหลือเป็นพิเศษ โดยการ
                                                            ฝึกทักษะการอ่านจากการเขียนเรื่องราวใกล้ตัว
                                                            ของเด็กชายสันติเอง แล้วให้อ่านทุกวัน จนอ่านได้คล่องขึ้น
                                                            ครูใช้วิธีการเสริมแรง ให้รางวัล จนเกิดความมั่นใจ
                                                            กล้าแสดงออกกล้าพูดมากขึ้น




เด็กชายสันติ คงจินดา ได้รับการแก้ไขปัญหาการอ่านไม่ออก อ่านไม่คล่อง โดยใช้กิจกรรม “มหัศจรรย์วันละ ๒๐ นาที ของ
สันติ” โดยให้สันติเขียนเรื่องราวของตนเอง จากการซักถามของคุณครู แล้วให้สันติเขียน ถ้าเขียนค่าไหนไม่ได้ ครูบอกให้เขียน
แล้วให้สันติอ่าน เมื่ออ่านได้ครูให้รางวัล เป็นกระปุกออมสิน และหยอดเงินเหรียญให้ทุกวัน ท่าเช่นนี้วันละ ๒๐ นาที โดยใช้
เวลาหลังรับประทานอาหารกลางวันที่ห้องสมุดโรงเรียน ประมาณ ๑ เดือน สันติเริ่มอ่านหนังสือได้ดีขึ้น จนสามารถอ่าน
หนังสือภาพเป็นนิทานง่าย ๆ ได้ และได้สร้าง ความมั่นใจให้สันติ โดยให้เป็นประธานเปิดงานวันภาษาไทยแห่งชาติ
ของโรงเรียน โดยกล่าวถึงความรู้สึกของสันติก่อนและหลังได้รับการพัฒนาด้านการอ่านหนังสือของตนเอง
เด็กชายสันติ กล่าวเปิดงาน วันภาษาไทย
แห่งชาติ ที่ห้องประชุมโรงเรียนอนุบาล
ไทยรัฐวิทยา ๕ (วัดตลิ่งต่่า) เมื่อวันที่
๒๙ กรกฎาคม ๒๕๕๔ ที่ผ่านมา
๕. กิจกรรมหนังสือเสี้ยวเดียว
                 ๕.๑ ลักษณะด่าเนินกิจกรรม
                        ผู้ด่าเนินกิจกรรม -ครูมัธยมศึกษาปีที่ ๑ - ๓
                        เป้าหมายนักเรียน -ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ ๑ – ๓ จ่านวน ๖๖ คน
                        วัน เดือน ปี ที่จัดกิจกรรม (ใช้เวลาว่างหลังรับประทานอาหารกลางวัน )
     -                                         กันยายน ๒๕๕๓ – กันยายน ๒๕๕๔
                ๕.๒ ขันตอนในการด่าเนินงาน
                      ้
                    กิจกรรมหนังสือเสี้ยวเดียว จัดเพื่อเสริมทักษะการอ่าน คิดวิเคราะห์
และเขียนสื่อความในสาระการเรียนรู้ภาษาไทย มีทั้งหมด ๕ กิจกรรม คือ
                    ๑. กิจกรรมรักยาวให้บั่น รักสั้นให้ต่อ
                    ๒. กิจกรรมส่านวนภาษาน่ารู้
                    ๓. กิจกรรมมีอะไรในโคลงโลกนิติ
                    ๔. กิจกรรมไวพจน์น่ารู้
                    ๕. กิจกรรมค้นคว้ามาสรรค์สร้าง มิให้ห่างจากหนังสือ
                    มีขั้นตอนการจัดกิจกรรมดังนี้
                    ๑) ครูประจ่าสาระการเรียนรู้แจ้งวัตถุประสงค์ เกี่ยวกับความส่าคัญของ
การอ่าน และเสนอให้ปฏิบัติกิจกรรมนอกเวลาเรียน
                    ๒) นักเรียนและครูออกแบบกิจกรรมและหาข้อสรุปร่วมกัน
                    ๓) นักเรียนศึกษาค้นคว้าข้อมูลจากแหล่งเรียนรู้ สื่อต่าง ๆ
                    ๔) เขียนข้อมูลลงในแบบกิจกรรมที่ร่วมกันออกแบบไว้
                    ๕) ตกแต่งชิ้นงานของตนเองให้สวยงาม
                    ๖) อ่านออกเสียงกับครูผู้สอน
                    ๗) ครูผู้สอนน่าผลการอ่านไปประเมินการอ่าน คิดวิเคราะห์ และเขียน
สื่อความ
                    ๘) น่าผลงานจัดนิทรรศการที่ห้องสมุดโรงเรียน เพื่อเผยแพร่แก่น้อง ๆ
ในโรงเรียนได้อ่าน และศึกษาเรียนรู้
                    ๙) มอบรางวัลให้นักเรียนที่มีผลงานดีเด่น
                    ๑๐) ประเมินความพึงพอใจ
๕.๓ ผลของการด่าเนินงาน
                    เชิงปริมาณ
                    ๑) นักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ ๑ – มัธยมศึกษาปีที่ ๓ จ่านวน ๖๖ คน
มีผลงานจากการอ่าน การค้นคว้าทุกคน คนละอย่างน้อย ๔ ผลงาน
                   เชิงคุณภาพ
                    ๑) นักเรียนมีความกระตือรือร้นในการศึกษาค้นคว้าความรู้ โดยใช้เวลาว่าง
ใช้บริการห้องสมุดโรงเรียน จ่านวน ๔๒ คน คิดเป็นร้อยละ ๖๓.๖๓
                    ๒) นักเรียนอ่านหนังสือนานและมากขึ้น จ่านวน ๕๒ คน คิดเป็นร้อยละ
๗๘.๗๘

                       ภาพประกอบการบรรยายหนังสือเสี้ยวเดียว

   ๑. กิจกรรมรักยาวให้บั่น รักสั้นให้ต่อ
๑. ชิ้นส่วนที่ ๓ เขียนชนิดของค่า และความหมาย เช่น เงิน เป็นค่านาม
   หมายถึง เป็นธาตุชนิดหนึ่ง เป็นโลหะสีขาว หรือวัตถุที่มีตราของรัฐ สามารถ
๒. กิจกรรมส่านวนภาษาน่ารู้




๓. กิจกรรมมีอะไรในโคลงโลกนิติ
๓. กิจกรรมมีอะไรในโคลงโลกนิติ
๔. กิจกรรมไวพจน์น่ารู้
๕. กิจกรรมค้นคว้ามาสรรค์สร้าง มิให้ห่างจากหนังสือ
๖. กิจกรรมสร้างสรรค์นิทานสอนน้อง เป็นกิจกรรมเสริมทักษะการอ่าน
และการเขียน จากการเรียนรู้ในสาระการเรียนรู้ภาษาไทย
                   ๖.๑ ลักษณะด่าเนินกิจกรรม
                           ผู้ด่าเนินกิจกรรม -ครูมัธยมศึกษาปีที่ ๑ - ๓
                           เป้าหมายนักเรียน -ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ ๑ – ๓ จ่านวน ๖๖ คน
                           วัน เดือน ปี ที่จัดกิจกรรม
     -                                            กันยายน ๒๕๕๓ – กันยายน ๒๕๕๔
                   ๖.๒ ขั้นตอนในการด่าเนินงาน
                          จุดประสงค์
                         เพื่อให้นักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ ๒ และ ๓ ใช้เวลาว่างในการอ่าน
การศึกษาค้นคว้า และสรรค์สร้างผลงานเพื่อพัฒนาตนเอง
                        กิจกรรม
                        ๑) ครูแจ้งวัตถุประสงค์การปฏิบัติกิจกรรม
                        ๒) ครูเตรียมวัสดุอุปกรณ์ เช่น กระดาษ ๑๘๐ แกรม สีดินสอ กระดาษ
สติ๊กเกอร์ ให้เพียงพอกับนักเรียนที่เข้าร่วมกิจกรรม
                       ๓) ครูให้ความรู้นักเรียนเกี่ยวกับขั้นตอนการสร้างนิทาน โดยให้ตัวแทน
นักเรียนที่เข้าร่วมอบรม กับผู้ปกครองระดับปฐมวัย ในการผลิตหนังสือนิทานเพื่อลูก เป็นพี่เลี้ยง
                       ๔) เขียนโครงเรื่องเป็นแผนภาพความคิด
                       ๕) ท่าหนังสือฉบับร่าง โดยวาดภาพคร่าว ๆ และข้อความ ในกระดาษ A ๔
                       ๖) ท่าหนังสือฉบับจริง โดยใช้กระดาษ ๑๘๐ แกรม
                       ๗) อ่านนิทานให้ครูฟัง ครูบันทึกผลการอ่าน น่าไปประเมินการอ่าน
คิดวิเคราะห์ และเขียนสื่อความ
                      ๘) จัดประกวดและมอบรางวัล
                 ๖.๓ ผลของการด่าเนินงาน
                        เชิงปริมาณ
                        ๑) นักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ ๒ – มัธยมศึกษาปีที่ ๓ จ่านวน ๕๑ คน
สร้างนิทานได้ คนละ ๑ เล่ม
                       เชิงคุณภาพ
                        ๑) นักเรียนมีทักษะในการวางแผนการท่างาน มีการคิดอย่างเป็นระบบ
๒) นักเรียนมีทักษะในการใช้ภาษาด้านการอ่านและการเขียน จ่านวน ๕๑
   คน คิดเป็นร้อยละ ๑๐๐

ภาพประกอบการบรรยายสร้างสรรค์นิทานสอนน้อง
นิทานชั้นมัธยมศึกษาปีที่ ๓
นิทานชั้นมัธยมศึกษาปีที่ ๒

          ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ ๒ มีภาพเดียว ประกอบนิทาน ๑ เรื่อง ท่าเป็นรูปเล่มที่ออกแบบ
ตามจินตนาการ เล่มละ ๓ เรื่อง
๗. กิจกรรมป้ายนิเทศสู่การเรียนรู้ เป็นกิจกรรมเสริมทักษะทุกสาระการเรียนรู้
                 ๗.๑ ลักษณะด่าเนินกิจกรรม
                        ผู้ด่าเนินกิจกรรม -ครูผู้สอนทุกคน
                        เป้าหมายนักเรียน -ชั้นประถมศึกษาปีที่ ๑ – ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ ๓
จ่านวน ๑๙๗ คน
                        วัน เดือน ปี ที่จัดกิจกรรม
    -                                          กันยายน ๒๕๕๓ – กันยายน ๒๕๕๔
                ๗.๒ ขั้นตอนในการด่าเนินงาน
                    จุดประสงค์
                      เพื่อให้โรงเรียนมีแหล่งเรียนรู้ในโรงเรียนที่หลากหลายรูปแบบ หลายสาระ
การเรียนรู้
                    กิจกรรม
                     ๑) ผู้บริหารประชุมชี้แจงคณะครู และจัดครูแต่ละสาระการเรียนรู้รับผิดชอบ
จัดป้ายนิเทศตามโอกาสและเทศกาล
                     ๒) ครูแต่ละสาระการเรียนรู้เตรียมวัสดุอุปกรณ์ เช่น กระดาษชาร์ท
กระดาษโปสเตอร์ รูปภาพตามโอกาสต่าง ๆ
                     ๓) เมื่อจัดป้ายนิเทศตามโอกาสต่า ง ๆ แล้วให้คณะครู หรือ นักเรียน
ประชาสัมพันธ์นักเรียนเพื่อไปศึกษาเรียนรู้
                   ๔) ครูประจ่าสาระน่าผลการศึกษาเรียนรู้ประเมินผลในสาระของตนเอง
                   ๕) ประเมินผลความพึงพอใจของครูและนักเรียน
              ๗.๓ ผลของการด่าเนินงาน
                     เชิงปริมาณ
                     ๑) จัดป้ายนิเทศตามเทศกาล และโอกาสทุกสาระการเรียนรู้
                     ๒) นักเรียนทุกระดับชั้นได้ใช้ป้ายนิเทศเป็นแหล่งเรียนรู้
                    เชิงคุณภาพ
                     ๑) มีป้ายนิเทศเป็นแหล่งเรียนรู้ในโรงเรียนที่มีคุณภาพ นักเรียนสามารถ
น่าความรู้ไปใช้ในการเรียนรู้ของตนเองและในชีวิตประจ่าวัน
                     ๒) นักเรียนทุกคน ทุกระดับชั้นมีนิสั ยการสังเกต ใฝ่เรียนรู้และมีนิสัย
รักการอ่าน การค้นคว้า
ภาพประกอบการบรรยายกิจกรรมป้ายนิเทศสู่การเรียนรู้
๘. กิจกรรมสรรค์สร้างผลงานจากการอ่าน การค้นคว้า ได้จัดกิจกรรมทั้งหมดเป็น
๔ กิจกรรม คือ
                 ๑) กิจกรรม “น้องน้อยเขียนข่าว” ส่าหรับนักเรียนชั้นประถมศึกษาปีที่ ๑ – ๓
                 ๒) กิจกรรม “หนังสือพิมพ์เสมือน” ส่าหรับนักเรียนชั้นประถมศึกษาปีที่ ๔ – ๖
                 ๓) กิจกรรม “หนังสือพิมพ์ผนัง” ส่าหรับนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ ๑ – ๓
                 ๔) กิจกรรม “หนังสือพิมพ์โรงเรียน” ส่าหรับนักเรียนจิตอาสาที่มีทักษะ
ด้านการพูด การอ่าน คิดวิเคราะห์ และเขียนสื่อความ
                 ๘.๑ ลักษณะด่าเนินกิจกรรม
                        ผู้ด่าเนินกิจกรรม -ครูประถมศึกษาปีที่ ๑ – ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ ๓
                        เป้าหมายนักเรียน -ชั้นประถมศึกษาปีที่ ๑ – ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ ๓
จ่านวน ๑๙๗ คน
                       วัน เดือน ปี ที่จัดกิจกรรม
     -                                        กันยายน ๒๕๕๓ – กันยายน ๒๕๕๔
                 ๘.๒ ขั้นตอนในการด่าเนินงาน
                       ๑) ผู้บริหารประชุมชี้แจงรูปแบบกิจกรรมให้คณะครู ทราบ
                      ๒) คณะครูผู้รับผิดชอบออกแบบกิจกรรมให้เหมาะสมกับวัย
และหลากหลาย
                      ๓) เตรียมวัสดุ สื่อ เช่น กระดาษ A๔ สีไม้ สื่อสิ่งพิมพ์ และภาพข่าวต่าง ๆ
และเตรียมอุปกรณ์ส่าหรับหนังสือพิมพ์โรงเรียน เช่น กล้องถ่ายภาพ
                        ขั้นตอนการจัดกิจกรรม
                         ๑. กิจกรรม “น้องน้อยเขียนข่าว” ส่าหรับนักเรียนชั้นประถมศึกษาปีที่ ๑
ถึงชั้นประถมศึกษาปีที่ ๓
                         จุดประสงค์
                         เพื่อพัฒนาทักษะการสื่อสาร การค้นคว้า และสร้างนิสัยรักการอ่าน
                         กิจกรรม
                        ๑) ครูออกแบบบันทึกการเขียนข่าว ความยากง่ายตามระดับชั้น
ชั้นประถมศึกษาปีที่ ๑ ก่าหนดเป็นภาพจากสื่อสิ่งพิมพ์ ฝึกเขียนเรื่องราวจากภาพ โดยใช้ค่าถาม
ใคร ท่าอะไร ที่ไหน กับใคร เมื่อไร อย่างไร
                        ๒) เลือกตัดภาพจากสื่อสิ่งพิมพ์ ตอบค่าถามที่ครูก่าหนดให้
เรียบเรียงเป็นประโยคที่สมบูรณ์ แล้วอ่านออกเสียงให้ครูฟังครูตรวจและบันทึกผลการอ่าน
๓) ชั้นประถมศึกษาปีที่ ๒ และ ๓ เขียนข่าวโดยฝึกการสัมภาษณ์บุคคล
ในภาพข่าวที่ครูจัดท่าขึ้นภายในโรงเรียน เช่น ผู้อ่านวยการ ครู นักเรียน แม่ค้า เป็นต้น
                     ๒. กิจกรรม “หนังสือพิมพ์เสมือน”
                         ส่าหรับนักเรียนชั้นประถมศึกษาปีที่ ๔ ถึงชั้นประถมศึกษาปีที่ ๖
                         จุดประสงค์
                         เพื่อพัฒนาทักษะการสื่อสาร การค้นคว้า และสร้างนิสัยรักการอ่าน
                         กิจกรรม
                         ๑) นักเรียนศึกษาความรู้ลักษณะ รูปแบบ ส่วนประกอบ
ของหนังสือพิมพ์
                         ๒) นักเรียนออกแบบสัญลักษณ์ ตั้งชื่อหนังสือพิมพ์
                         ๓) จัดองค์ประกอบของหนังสือพิมพ์
                         ๔) หาข้อมูลเพิ่มเติมจากสื่อสิ่งพิมพ์ หนังสือในห้องสมุด สื่ออินเทอร์เน็ต
                         ๕) สร้างหนังสือพิมพ์โดยมีครูคอยแนะน่าอย่างใกล้ชิด
                         ๖) เผยแพร่ ประชาสัมพันธ์
                     ๓) กิจกรรม “หนังสือพิมพ์ผนัง” ส่าหรับนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ ๑
ถึงชั้นมัธยมศึกษาปีที่ ๓
                         จุดประสงค์
                          เพื่อพัฒนาทักษะการสื่อสาร การค้นคว้า และสร้างนิสัยรักการอ่าน
                         กิจกรรม
                          ๑) นักเรียนศึกษาความรู้ลักษณะ รูปแบบ ส่วนประกอบของ
หนังสือพิมพ์
                          ๒) นักเรียนออกแบบสัญลักษณ์ ตั้งชื่อหนังสือพิมพ์
                          ๓) จัดองค์ประกอบของหนังสือพิมพ์
                          ๔) หาข้อมูลเพิ่มเติมจากสื่อสิ่งพิมพ์ หนังสือในห้องสมุด สื่ออินเทอร์เน็ต
                          ๕) สร้างหนังสือพิมพ์โดยมีครูคอยแนะน่าอย่างใกล้ชิด
เผยแพร่ ประชาสัมพันธ์ โดยจัดป้ายนิเทศในโรงเรียน
                     ๔) กิจกรรม “หนังสือพิมพ์โรงเรียน” ส่าหรับนักเรียนอาสาสมัครจิตอาสา
                         จุดประสงค์
                          เพื่อพัฒนาทักษะการสื่อสาร การค้นคว้า และสร้างนิสัยรักการอ่าน
กิจกรรม
                        ๑) นักเรียนศึกษาความรู้ลักษณะ รูปแบบ ส่วนประกอบ
ของหนังสือพิมพ์
                         ๒) นักเรียนออกแบบสัญลักษณ์ ตั้งชื่อหนังสือพิมพ์
                         ๓) จัดองค์ประกอบของหนังสือพิมพ์
                         ๔) หาข้อมูลเพิ่มเติมจากสื่อสิ่งพิมพ์ หนังสือในห้องสมุด สื่ออินเทอร์เน็ต
                         ๕) สร้างหนังสือพิมพ์โดยมีครูคอยแนะน่าอย่างใกล้ชิด
                         ๖) เผยแพร่ ประชาสัมพันธ์ตามชุมชนและหน่วยงานต่าง ๆ เช่น ที่อ่าน
หนังสือพิมพ์หมู่บ้าน ร้านค้าในตลาด ส่านักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษาอุตรดิตถ์ เขต ๑
องค์การบริหารส่วนต่าบล เป็นต้น
                    ๘.๓ ผลของการด่าเนินงาน
                         เชิงปริมาณ
                         ๑) นักเรียนทุกคน ทุกระดับชั้น ได้ปฏิบัติกิจกรรม
                         ๒) ทุกชั้นเรียนมีหนังสือพิมพ์เป็นของตนเอง
                        เชิงคุณภาพ
                         ๑) นักเรียนทุกคนทุกชั้นได้รับการพัฒนาทักษะในการสื่อสาร
การค้นคว้า การอ่าน คิดวิเคราะห์และการเขียนสื่อความ
                         ๒) นักเรียนทุกระดับชั้นมีหนังสือพิมพ์ที่ผลิตด้วยตนเองอย่างสร้างสรรค์
สร้างความชื่นชมยินดีและภาคภูมิใจในตนเอง ท่าให้เกิดการเรีย นรู้อย่างมีคุณค่า

        ภาพประกอบการบรรยายกิจกรรมสรรค์สร้างผลงานจาการอ่าน การค้นคว้า
            ๑. กิจกรรม “น้องน้อยเขียนข่าว” ส่าหรับนักเรียนชั้นประถมศึกษาปีที่ ๑
ถึงชั้นประถมศึกษาปีที่ ๓
ชั้นประถมศึกษาปีที่ ๒ และ ๓ เขียนข่าวโดยฝึกการสัมภาษณ์บุคคลในภาพข่าวที่ครูจัดท่าขึ้น
ภายในโรงเรียน เช่น ผู้อ่านวยการ ครู นักเรียน แม่ค้า เป็นต้น
๒.กิจกรรม “หนังสือพิมพ์เสมือน”
  ส่าหรับนักเรียนชั้นประถมศึกษาปีที่ ๔ ถึงชั้นประถมศึกษาปีที่ ๖
๓. กิจกรรม “หนังสือพิมพ์ผนัง” ส่าหรับนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ ๑
ถึง ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ ๓
๔. กิจกรรม “หนังสือพิมพ์โรงเรียน” ส่าหรับนักเรียนอาสาสมัครจิตอาสา
๙. กิจกรรมห้องสมุดมีชีวิต
                   ๙.๑ ลักษณะด่าเนินกิจกรรม
                        ผู้ด่าเนินกิจกรรม -ครูบรรณารักษ์ และครูภาษาไทยทุกคน
                        เป้าหมายนักเรียน -ระดับชั้นปฐมวัย – ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ ๓
                        วัน เดือน ปี ที่จัดกิจกรรม
                                              -เดือน กันยายน ๒๕๕๓ - กันยายน ๒๕๕๔
                   ๙.๒ ขั้นตอนในการด่าเนินงาน
                        ๑) ผู้บริหารประชุมชี้แจงคณะครู และแต่งตั้งคณะครูด่าเนินกิจกรรม
                        ๒) ครูบรรณารักษ์จัดสภาพบรรยากาศห้องสมุดโรงเรียน และด่าเนินการ
จัดซื้อจัดหาหนังสือ สื่อสิ่งพิมพ์ สื่ออิเลคทรอนิกส์ให้ เหมาะสมและเพียงพอ
                        ๓) ครูบรรณารักษ์จัดตารางการใช้ห้องสมุดโรงเรียน
                        ๔) ครูบรรณารักษ์และคณะครูที่ได้รับแต่งตั้ง จัดกิจกรรมห้องสมุดดังนี้
                            -         กิจกรรมบริการยืมหนังสือ สื่อสิ่งพิมพ์
           -                          กิจกรรมค้นคว้าทางอินเทอร์ เน็ต
           -                          กิจกรรม “๓๐ วัน แห่งการค้นพบประสบการณ์ใหม่ ๆ”
           -                          กิจกรรม “มุมหนังสือตามอาคารเรียน”
           -                          กิจกรรม “เล่านิทานให้น้องน้อยฟัง”
           -                          กิจกรรม “บันทึก..โลกมหัศจรรย์..จากการอ่าน”
           -                          กิจกรรม “ตอบปัญหาสารานุกรมไทย”
                        ๕) มอบรางวัลผู้ร่วมกิจกรรมดีเด่นทุกกิจกรรม
                        ๕) ประเมินผลความพึงพอใจในกิจกรรมที่โรงเรียนจัดขึ้น
                   ๙.๓ ผลของการด่าเนินงาน
                        เชิงปริมาณ
                        ๑) ห้องสมุดมีหนังสือ สื่ออิเลคทรอนิกส์เพียงพอ
                        ๒) คณะครูน่านักเรียนใช้บริการห้องสมุดอย่างน้อย ๕ ครั้ง ต่อภาคเรียน
                        ๓) นักเรียนเข้าใช้บริการห้องสมุดอย่างสม่่าเสมอ
                        เชิงคุณภาพ
                        ๑) ห้องสมุดมีหนังสือ สื่อ ที่มีคุณภาพ และครบทุกสาระการเรียนรู้
                        ๒) มีห้องสมุดเป็นแหล่งเรียนรู้ที่มีคุณภาพ
                        ๓) ครูและนักเรียนมีนิสัยรักการอ่านและมีทักษะการอ่าน การค้นคว้า
ภาพประกอบการบรรยายการจัดกิจกรรมห้องสมุดมีชีวิต
ผลของการด่าเนินการโดยภาพรวมของโรงเรียนไทยรัฐวิทยา ๕ (วัดตลิ่งต่่า)
มีดังนี้
          ๑. โรงเรียนได้รับรับรางวัล ชนะเลิศ ในการจัดกิจกรรมส่งเสริมการอ่านระดับภาค เหนือ
ตามโครงการพัฒนาครูและนั กเรียน เพื่อสร้างเสริมนิสัย รักการอ่านทั้งระบบในโรงเรียนไทยรัฐ
วิทยา
          ๒. โรงเรียนมีครูแกนน่า การสร้างนิสัยรักการอ่าน สามารถขยายผลสู่ผู้สอนในโรงเรียน
ให้มีความรู้ความสามารถและร่วมจัดกิจกรรมสร้างนิสัยรักการอ่านได้อย่างมีประสิทธิภาพ
          ๓. โรงเรียนมีรูปแบบการจัดกิจกรรมสร้างนิสัยรักการอ่านที่เหมาะสมและหลากหลาย
และเกิดผลสัมฤทธิ์แก่ผู้เรียนอย่างแท้จริง
          ๔. ผู้ปกครอง คณะครู นักเรียน เห็นประโยชน์และความส่าคัญของการอ่ าน โดยให้การ
สนับสนุน และร่วมมือกับโรงเรียนด่าเนินกิจกรรมอย่างต่อเนื่อง สม่่าเสมอ

             ๓. ขั้นสรุป
                 ๑) การด่าเนินการโครงการ สร้างนิสัยรักการอ่านทั้งระบบโรงเรียนไทยรัฐวิทยา ๕
(วัดตลิ่งต่่า) ให้กับคณะครู นักเรียน และผู้ปกครองตามรายละเอียด ดังนี้
                     ๑.๑) คณะครู
                            ผลของการนิเทศ ติดตาม ครูผู้สอนในการด่าเนินงานโครงการ จ่านวน คน
ปรากฏผลตามตาราง ดังนี้
ตารางที่ ๓ แสดงผลการนิเทศ ติดตาม ครูผู้สอนตามโครงการพัฒนาครูและนักเรียน
               เพื่อสร้างเสริมนิสัยรักการอ่านทั้งระบบในโรงเรียนไทยรัฐวิทยา (N = ๑๗)
                                                                        ระดับคุณภาพ
     ประเด็น                          การดาเนินงาน                 (๑)       (๒)     (๒) หมายเหตุ
     การนิเทศ                                                     พอใช้       ดี    ดีมาก
๑. ครูผู้สอนมีแผน ๑. มีแผนการจัดการเรียนรู้ที่บูรณาการ
การใช้ห้องสมุด          การใช้ห้องสมุดในสาระการเรียนรู้
เพื่อการเรียน           ที่ตนเองรับผิดชอบ                                  ๕๒.๙๘ ๔๗.๐๒
การสอน                  ๒. มีส่วนร่วมในการเสนอหรือคัดเลือก
                                                                           ๒๑.๕๕ ๗๘.๔๕
                        ทรัพยากรสารสนเทศ
                        ๓. มีการจัดกิจกรรมการเรียนการสอน
                        ที่ใช้ห้องสมุดเป็นแหล่งเรียนรู้                     ๓.๔๕ ๙๖.๕๕
ระดับคุณภาพ            ระดับ
   ประเด็น
                               การดาเนินงาน                    (๑)      (๑)    (๑)       คุณภาพ
   การนิเทศ
                                                              พอใช้   พอใช้ พอใช้
                   ๔. มีส่วนร่วมในการประเมินผลการใช้                  ๑๒.๕๔ ๘๗.๔๖
                   ห้องสมุดเป็นแหล่งเรียนรู้
๒. ครูผู้สอน       ๑. มีการจัดกิจกรรมส่งเสริมนิสัย
มีการส่งเสริมนิสัย รักการอ่านในสาระการเรียนรู้ที่ตนเอง
รักการอ่าน         รับผิดชอบอย่างหลากหลาย                                     ๑๐๐
แก่นักเรียน        ๒. มีการจัดกิจรรมส่งเสริมนิสัยรักการอ่าน
                   ในสาระการเรียนรู้ที่ตนรับผิดชอบ
                                                                              ๑๐๐
                   อย่างสม่่าเสมอ
                   ๒. มีการประสานความร่วมมือกับครู
                   บรรณารักษ์ในการจัดกิจกรรมส่งเสริม                          ๑๐๐
                   นิสัยรักการอ่าน
                   ๔. มีการประเมินผลการจัดกิจกรรม
                   ส่งเสริมนิสัยรักการอ่าน                                    ๑๐๐
                   ๕. มีการประเมินผลงานที่เกิดจากการ
                   จัดกิจกรรมส่งเสริมนิสัยรักการอ่าน                          ๑๐๐
                   ๖. มีการรายงานผลการประเมิน
                   การจัดกิจกรรมส่งเสริมนิสัยรักการอ่าน
                                                                              ๑๐๐
                   ต่อผู้บริหารสถานศึกษา
                   ๗. มีการน่าผลการประเมินไปใช้ในการ                  ๑๓.๕๘ ๘๖.๔๒
                   พัฒนากิจกรรมส่งเสริมนิสัยรักการอ่าน
                   ๘. มีการสอนซ่อมเสริมนักเรียนที่มี                  ๒๐.๗๘ ๗๙.๒๒
                   ข้อบกพร่องด้านการอ่าน

         จากตาราง
         ประเด็นที่ ๑ ครูผู้สอนมีแผนการใช้ห้องสมุดเพื่อการเรียนการสอน พบว่า มีผลการ
ประเมินในระดับดีมาก ได้แก่ คณะครูมีส่วนร่วมในการเสนอหรือคัดเลือกทรัพยากรสารสนเทศ
ร้อยละ๗๘.๔๕ คณะครูมีการจัดกิจกรรมการเรียนการสอน ที่ใช้ห้องสมุดเป็นแหล่งเรียนรู้ ร้อยละ
๙๖.๕๕ และครูมีส่วนร่วมในการประเมินผลการใช้ห้องสมุดเป็นแหล่งเรียนรู้ ร้อยละ ๘๗.๔๖ ส่วน
ในระดับดี ได้แก่ ครูมีแผนการจัดการเรียนรู้ที่บูรณาการ ร้อยละ ๕๒.๙๘
           ประเด็นที่ ๒ ครูผู้สอน มีการส่งเสริมนิสัยรักการอ่านแก่นักเรียนการใช้ห้องสมุดในสาระ
การเรียนรู้ พบว่า ผลการประเมินในระดับดีมาก ได้แก่ ครูมีการจัดกิจกรรมส่งเสริมนิสัย
รักการอ่านในสาระการเรียนรู้ที่ตนเองรับผิดชอบอย่างหลากหลาย ครูทุกคนมีการจัดกิจรรม
ส่งเสริมนิสัยรักการอ่านในสาระการเรียนรู้ที่ตนรับผิดชอบอย่างสม่่าเสมอ ครูมีการประสาน
ความร่วมมือกับครูบรรณารักษ์ในการจัดกิจกรรมส่งเสริมนิสัยรักการอ่าน ครูมีการประเมินผล
การจัดกิจกรรมส่งเสริมนิสัยรักการอ่าน ครูมีการประเมินผลงานที่เกิดจากการจัดกิจกรรมส่งเสริม
นิสัยรักการอ่าน ครูมีการรายงานผลการประเมินการจัดกิจกรรมส่งเสริมนิสัยรักการอ่าน
ต่อผู้บริหารสถานศึกษา คิดเป็นร้อยละ ๑๐๐ และครูมีการน่าผลการประเมินไปใช้ในการพัฒนา
กิจกรรมส่งเสริมนิสัยรักการอ่าน ร้อยละ ๘๖.๔๒ กับครูมีการสอนซ่อมเสริมนักเรียนที่มี
ข้อบกพร่องด้านการอ่าน ร้อยละ ๗๙.๒๒

                ๑.๒) นักเรียน
                       ผลของการนิเทศ ติดตาม นักเรียนในการด่าเนินงานโครงการ จ่านวน
๑๙๗ คน ปรากฏผลตามตาราง ดังนี้
ตารางที่ ๔ แสดงผลการนิเทศ ติดตาม นักเรียนตามโครงการพัฒนาครูและนักเรียน
              เพื่อสร้างเสริมนิสัยรักการอ่านทั้งระบบในโรงเรียนไทยรัฐวิทยา (N = ๑๙๗)
                                                                       ระดับคุณภาพ
      ประเด็น                        การดาเนินงาน                 (๑)       (๒)     (๒)         หมาย
    การนิเทศ                                                     พอใช้       ดี   ดีมาก          เหตุ
๑. ผู้เรียนมี          ๑. ก่าหนดลักษณะของสารสนเทศ
ความสามารถ             ที่ต้องการได้                            ๑๔.๕๑ ๓๓.๓๑ ๕๒.๑๕
ในการรับรู้ เข้าถึง ๒. ค้นหาสารสนเทศที่ต้องการได้
                                                                 ๘.๔๖ ๒๘.๑๒ ๖๓.๔๑
และใช้ประโยชน์ อย่างมีประสิทธิภาพ
จากสารสนเทศ            ๒. ตัดสินใจเลือกสารสนเทศที่เข้า ถึงได้
                       อย่างถูกต้อง                             ๑๓.๑๕ ๑๙.๓๒ ๖๗.๕๓
                       ๔. สรุปเรียบเรียงแนวคิดจากสารสนเทศ
                       ที่ค้นพบได้                               ๗.๑๗ ๑๓.๔๗ ๗๙.๓๖
                       ๕. จัดเก็บ/เผยแพร่สารสนเทศได้             ๒.๐๔ ๓๔.๒๑ ๖๓.๖๕
ประเด็น                                                     ระดับคุณภาพ       หมาย
                              การดาเนินงาน              (๑)       (๒)     (๒)     เหตุ
   การนิเทศ
                                                       พอใช้       ดี    ดีมาก
                    ๖. สร้างองค์ความรู้จากการศึกษาค้นคว้า
                    ได้                                   ๘.๕๔ ๑๙.๐๒     ๗๒.๔๖
                    ๗. มีจิตส่านึกที่ดีในการใช้ทรัพยากร
                                                          ๑๑.๓๘ ๒๑.๐๕    ๖๗.๕๗
                    สารสนเทศ
                    ๘. มีคุณธรรม จริยธรรมในการใช้
                                                          ๘.๘๖ ๑๙.๓๐     ๗๑.๔๓
                    ทรัพยากรสารสนเทศ
๒. ผู้เรียนมีความ   ๑. เข้าใช้ห้องสมุดอย่างสม่่าเสมอ            ๑๘.๔๖    ๘๑.๕๒
ใฝ่รู้ใฝ่เรียน      ๒. ยืมหนังสืออย่างสม่่าเสมอ           ๗.๐๗ ๑๖.๔๕     ๗๖.๔๘
และมีนิสัย          ๒. เข้าร่วมกิจกรรมส่งเสริมการอ่าน
                                                                 ๑.๓๕    ๙๘.๖๕
รักการอ่าน          ที่โรงเรียนจัดให้อย่างสม่่าเสมอ
                    ๔. อ่านหนังสือเพิ่มเติมที่เหมาะสม
                    กับระดับชั้น
                        - ป.๑ อย่างน้อยคนละ ๑ เล่ม ต่อปี                 ๑๐๐     N = ๒๐
                        - ป.๒ อย่างน้อยคนละ ๒ เล่ม
                    ต่อภาคเรียน                                 ๒.๗๓     ๘๗.๒๗   N = ๒๒
                        - ป.๓ อย่างน้อยคนละ ๔ เล่ม
                                                                 ๖.๗๕    ๙๓.๒๑   N = ๒๔
                    ต่อภาคเรียน
                        - ป.๔ อย่างน้อยคนละ ๕ เล่ม
                                                                ๒๓.๕๒    ๗๖.๔๘   N = ๑๕
                    ต่อภาคเรียน
                        - ป.๕ อย่างน้อยคนละ ๕ เล่ม
                                                          ๑๒.๗ ๑๒.๙      ๗๔.๓๙   N = ๑๙
                    ต่อภาคเรียน
                        - ป.๖ อย่างน้อยคนละ ๕ เล่ม
                    ต่อภาคเรียน                           ๕.๖๔ ๓๑.๐๐     ๖๓.๗๖   N =๓๑
ระดับคุณภาพ
  ประเด็นการ                  การดาเนินงาน                   (๑)       (๒)      (๒) หมายเหตุ
    นิเทศ                                                   พอใช้       ดี     ดีมาก
                      - ม.๑ อย่างน้อยคนละ ๕ เล่ม
                   ต่อภาคเรียน                              ๑๒.๔๓ ๑๙.๓๒ ๖๘.๐๕ N = ๑๒
                      - ม.๒ อย่างน้อยคนละ ๖ เล่ม
                                                            ๖.๙๙     ๑๔.๖๗ ๗๘.๓๔ N = ๒๖
                   ต่อภาคเรียน
                      - ม.๓ อย่างน้อยคนละ ๗ เล่ม            ๑๔.๔๒ ๒๑.๓๒ ๖๔.๒๖ N = ๒๙
                   ต่อภาคเรียน


           จากตาราง
           ประเด็นที่ ๑ ผู้เรียนมีความสามารถในการรับรู้ เข้าถึงและใช้ประโยชน์จากสารสนเทศ
พบว่า ทั้ง ๘ กิจกรรมมีคุณภาพอยู่ในระดับดีมาก คือ นักเรียนก่าหนดลักษณะของสารสนเทศ
ที่ต้องการได้ ร้อยละ ๕๒.๑๕ นักเรียนค้นหาสารสนเทศที่ต้องการได้อย่างมีประสิทธิภาพ ร้อยละ
๖๓.๔๑ นักเรียน ตัดสินใจเลือกสารสนเทศที่เข้าถึงได้อย่างถูกต้องร้อยละ ๖๗.๕๓ นักเรียนสรุป
เรียบเรียงแนวคิดจากสารสนเทศที่ค้นพบได้ ร้อยละ ๗๙.๓๖ นักเรียนจัดเก็บ/เผยแพร่สารสนเทศได้
ร้อยละ ๖๓.๖๕ สร้างองค์ความรู้จากการศึกษาค้นคว้าได้ ร้อยละ ๗๒.๔๖ นักเรียนมีจิตส่านึกที่ดี
ในการใช้ทรัพยากรสารสนเทศ ร้อยละ ๖๗.๕ นักเรียนมีคุณธรรม จริยธรรมในการใช้ทรัพยากร
สารสนเทศร้อยละ ๗๑.๔๓
           ประเด็นที่ ๒ ผู้เรียนมีความใฝ่รู้ใฝ่เรียน และมีนิสัยรักการอ่าน พบว่า ทุกกิจกรรม
มีคุณภาพอยู่ในระดับดีมาก คือ นักเรียนเข้าใช้ห้องสมุดอย่างสม่่าเสมอ ร้อยละ ๘๑.๕๒ นักเรียน
ยืมหนังสืออย่างสม่่าเสมอ ร้อยละ ๗๖.๔๘ นักเรียนเข้าร่วมกิจกรรมส่งเสริมการอ่าน ที่โรงเรียน
จัดให้อย่างสม่่าเสมอร้อยละ ร้อยละ ๙๘.๖๕ นักเรียนอ่านหนังสือเพิ่มเติมที่เหมาะสมกับระดับชั้น
นักเรียน ป.๑ อย่างน้อยคนละ ๑ เล่ม ต่อปี ร้อยละ ๑๐๐ นักเรียน ป.๒ อย่างน้อยคนละ ๒ เล่ม
ต่อภาคเรียน ร้อยละ ๘๗.๒๗ นักเรียน ป.๓ อย่างน้อยคนละ ๔ เล่ม ต่อภาคเรียน ร้อยละ ๙๓.๒๑
 นักเรียน ป.๔ อย่างน้อยคนละ ๕ เล่ม ต่อภาคเรียน ร้อยละ ๗๖.๔๘ นักเรียน ป.๕ อย่างน้อยคน
ละ ๕ เล่ม ต่อภาคเรียน ร้อยละ ๗๔.๓๙ นักเรียน ป.๖ อย่างน้อยคนละ ๕ เล่ม ต่อภาคเรียน
ร้อยละ ๖๓.๗๖ นักเรียน ม.๑ อย่างน้อยคนละ ๕ เล่ม ต่อภาคเรียน ร้อยละ ๖๘.๐๕ นักเรียน ม.๒
อย่างน้อยคนละ ๖ เล่ม ต่อภาคเรียน ร้อยละ ๗๘.๓ และนักเรียน ม.๓ อย่างน้อยคนละ ๗ เล่ม
ต่อภาคเรียน ร้อยละ ๖๔.๒๖

                  ๑.๒) ผู้ปกครอง
                        ผลของการตอบแบบสอบถามความพึงพอใจของผู้ปกครอง จ่านวน
๑๐๐ คน ปรากฏผลตามตาราง ดังนี้
ตารางที่ ๕ แสดงผลความพึงพอใจของผู้ปกครองต่อโครงการพัฒนาครูและนักเรียน
            เพื่อสร้างเสริมนิสัยรักการอ่านทั้งระบบในโรงเรียนไทยรัฐวิทยา (N = ๑๐๐)

                                                               ระดับความพึงพอใจ
ลาดับที่                  รายการประเมิน
                                                            ๕     ๔ ๒ ๒ ๑
  ๑        การแจ้งโครงการพัฒนาครูและนักเรียน เพื่อสร้ าง   ๑๐๐
           เสริมลักษณะนิสัยรักการอ่านทั้งระบบในโรงเรียน
           ไทยรัฐวิทยาให้ผู้ปกครองทราบ
  ๒        การจัดกิจกรรมพัฒนาครูและนักเรียน เพื่อสร้าง     ๑๐๐
           เสริมลักษณะนิสัยรักการอ่านทั้งระบบในโรงเรียน
           ไทยรัฐวิทยาที่บุตรหลานเรียนอยู่
  ๒        การมีส่วนร่วมในการช่วยเหลือส่งเสริมการอ่า น     ๘๗     ๓
           แก่บุตรหลาน
  ๔        การให้บริการห้องสมุดและแหล่งเรียนรู้ต่าง ๆ      ๙๒     ๘
           ของโรงเรียน
  ๕        กิจกรรมส่งเสริมการอ่านที่โรงเรียนจัด มีผลต่อ    ๑๐๐
           การอ่านหนังสือของนักเรียน
   6       ควรจัดให้มีกิจกรรมส่งเสริมการอ่านทุกปี          ๑๐๐

ความคิดเห็นหรือข้อเสนอแนะ
            จากตารางพบว่า ผู้ปกครองมีความพึงพอใจต่อโครงการพัฒนาครูและนักเรียน
เพื่อสร้างเสริมนิสัยรักการอ่านทั้งระบบในโรงเรียนไทยรัฐวิทยา ในระดับมากที่สุด ดังนี้
การแจ้งโครงการพัฒนาครูและนักเรียน เพื่อสร้างเสริมลักษณะนิสัยรักการอ่านทั้งระบบในโรงเรียน
ไทยรัฐวิทยาให้ผู้ปกครองทราบ ร้อยละ ๑๐๐ การจัดกิจกรรมพัฒนาครูและนักเรียน เพื่อสร้าง
เสริมลักษณะนิสัยรักการอ่านทั้งระบบในโรงเรียนไทยรัฐวิทยาที่บุตรหลานเรียนอยู่ ร้อยละ ๑๐๐
การมีส่วนร่วมในการช่วยเหลือส่งเสริมการอ่านแก่บุตรหลาน ร้อยละ ๘๗.๐๐ การให้บริการ
ห้องสมุดและแหล่งเรียนรู้ต่าง ๆ ของโรงเรียน ร้อยละ ๙๒.๐๐ กิจกรรมส่งเสริมการอ่านที่โรงเรียน
จัดมีผลต่อการอ่านหนังสือของนักเรียน ร้อยละ๑๐๐ และโรงเรียนควรจัดให้มีกิจกรรมส่งเสริม
การอ่านทุกปี ร้อยละ ๑๐๐

Contenu connexe

Tendances

แฟ้มผลงาน นายชินวัฒน์ ปานมั่งมี ปี 57
แฟ้มผลงาน นายชินวัฒน์  ปานมั่งมี  ปี 57แฟ้มผลงาน นายชินวัฒน์  ปานมั่งมี  ปี 57
แฟ้มผลงาน นายชินวัฒน์ ปานมั่งมี ปี 57
ชินนะ แบงค์
 
บทความการศึกษาเป็นรายบุคคล
บทความการศึกษาเป็นรายบุคคลบทความการศึกษาเป็นรายบุคคล
บทความการศึกษาเป็นรายบุคคล
wattanaka
 
พอร์ตฟิวส์Portfolio2
พอร์ตฟิวส์Portfolio2พอร์ตฟิวส์Portfolio2
พอร์ตฟิวส์Portfolio2
Thanawat Krajaejun
 
ค่ายฮักแพงแบ่งปัน ติวสอบบรรจุครูผู้ช่วย
ค่ายฮักแพงแบ่งปัน ติวสอบบรรจุครูผู้ช่วยค่ายฮักแพงแบ่งปัน ติวสอบบรรจุครูผู้ช่วย
ค่ายฮักแพงแบ่งปัน ติวสอบบรรจุครูผู้ช่วย
Aon Wallapa
 
จรรยาบรรณในวิชาชีพครู
จรรยาบรรณในวิชาชีพครูจรรยาบรรณในวิชาชีพครู
จรรยาบรรณในวิชาชีพครู
พรรณภา ดาวตก
 
สมุดบันทึกความดี
สมุดบันทึกความดีสมุดบันทึกความดี
สมุดบันทึกความดี
Aon Narinchoti
 
ห้องสมุดกับการเรียนรู้สารสนเทศ
ห้องสมุดกับการเรียนรู้สารสนเทศห้องสมุดกับการเรียนรู้สารสนเทศ
ห้องสมุดกับการเรียนรู้สารสนเทศ
nok_waraporn
 
ภารกิจระดับครูผู้ช่วย
ภารกิจระดับครูผู้ช่วยภารกิจระดับครูผู้ช่วย
ภารกิจระดับครูผู้ช่วย
Piyatida Prayoonprom
 

Tendances (20)

บันทึกนำเสนอครูผู้ช่วย
บันทึกนำเสนอครูผู้ช่วยบันทึกนำเสนอครูผู้ช่วย
บันทึกนำเสนอครูผู้ช่วย
 
แฟ้มผลงาน นายชินวัฒน์ ปานมั่งมี ปี 57
แฟ้มผลงาน นายชินวัฒน์  ปานมั่งมี  ปี 57แฟ้มผลงาน นายชินวัฒน์  ปานมั่งมี  ปี 57
แฟ้มผลงาน นายชินวัฒน์ ปานมั่งมี ปี 57
 
แผนปฏิบัติการประจำปี
แผนปฏิบัติการประจำปี แผนปฏิบัติการประจำปี
แผนปฏิบัติการประจำปี
 
บทความการศึกษาเป็นรายบุคคล
บทความการศึกษาเป็นรายบุคคลบทความการศึกษาเป็นรายบุคคล
บทความการศึกษาเป็นรายบุคคล
 
พอร์ตฟิวส์Portfolio2
พอร์ตฟิวส์Portfolio2พอร์ตฟิวส์Portfolio2
พอร์ตฟิวส์Portfolio2
 
สรุปย่อวิชาการศึกษา
สรุปย่อวิชาการศึกษาสรุปย่อวิชาการศึกษา
สรุปย่อวิชาการศึกษา
 
วิจัยในชั้นเรียน ครู เจี๊ยบ
วิจัยในชั้นเรียน ครู เจี๊ยบวิจัยในชั้นเรียน ครู เจี๊ยบ
วิจัยในชั้นเรียน ครู เจี๊ยบ
 
การออกแบบการเรียนรู้รายวิชาเพิ่มเติม
การออกแบบการเรียนรู้รายวิชาเพิ่มเติมการออกแบบการเรียนรู้รายวิชาเพิ่มเติม
การออกแบบการเรียนรู้รายวิชาเพิ่มเติม
 
ค่ายฮักแพงแบ่งปัน ติวสอบบรรจุครูผู้ช่วย
ค่ายฮักแพงแบ่งปัน ติวสอบบรรจุครูผู้ช่วยค่ายฮักแพงแบ่งปัน ติวสอบบรรจุครูผู้ช่วย
ค่ายฮักแพงแบ่งปัน ติวสอบบรรจุครูผู้ช่วย
 
สมุดประเมินผลกิจกรรมชุมนุม กูรูไอที
สมุดประเมินผลกิจกรรมชุมนุม กูรูไอทีสมุดประเมินผลกิจกรรมชุมนุม กูรูไอที
สมุดประเมินผลกิจกรรมชุมนุม กูรูไอที
 
ก.ค.ศ. 2 นางรุ่งนภา ผลเกิด
ก.ค.ศ. 2 นางรุ่งนภา ผลเกิดก.ค.ศ. 2 นางรุ่งนภา ผลเกิด
ก.ค.ศ. 2 นางรุ่งนภา ผลเกิด
 
จรรยาบรรณในวิชาชีพครู
จรรยาบรรณในวิชาชีพครูจรรยาบรรณในวิชาชีพครู
จรรยาบรรณในวิชาชีพครู
 
สมุดบันทึกความดี
สมุดบันทึกความดีสมุดบันทึกความดี
สมุดบันทึกความดี
 
Id planปี 56
Id planปี  56Id planปี  56
Id planปี 56
 
แบบเสนอขอรับรางวัล หนึ่งแสนครูดี
แบบเสนอขอรับรางวัล หนึ่งแสนครูดีแบบเสนอขอรับรางวัล หนึ่งแสนครูดี
แบบเสนอขอรับรางวัล หนึ่งแสนครูดี
 
Fame999
Fame999Fame999
Fame999
 
ห้องสมุดกับการเรียนรู้สารสนเทศ
ห้องสมุดกับการเรียนรู้สารสนเทศห้องสมุดกับการเรียนรู้สารสนเทศ
ห้องสมุดกับการเรียนรู้สารสนเทศ
 
08chap6
08chap608chap6
08chap6
 
015
015015
015
 
ภารกิจระดับครูผู้ช่วย
ภารกิจระดับครูผู้ช่วยภารกิจระดับครูผู้ช่วย
ภารกิจระดับครูผู้ช่วย
 

En vedette

โครงการห้องสมุดเพื่อน้อง11
โครงการห้องสมุดเพื่อน้อง11โครงการห้องสมุดเพื่อน้อง11
โครงการห้องสมุดเพื่อน้อง11
Darika Roopdee
 
โครงการ ปันน้ำใจเพื่อน้อง
โครงการ ปันน้ำใจเพื่อน้องโครงการ ปันน้ำใจเพื่อน้อง
โครงการ ปันน้ำใจเพื่อน้อง
Rapheephan Phola
 
โครงการปันน้ำใจ
โครงการปันน้ำใจโครงการปันน้ำใจ
โครงการปันน้ำใจ
พัน พัน
 
04 บทที่ 4-ผลการดำเนินโครงงาน
04 บทที่ 4-ผลการดำเนินโครงงาน04 บทที่ 4-ผลการดำเนินโครงงาน
04 บทที่ 4-ผลการดำเนินโครงงาน
Tanyarad Chansawang
 
โครงงานภาษาไทยเรื่องนิทาน
โครงงานภาษาไทยเรื่องนิทานโครงงานภาษาไทยเรื่องนิทาน
โครงงานภาษาไทยเรื่องนิทาน
Rawinnipha Joy
 
บทที่3 วิธีดำเนินงาน
บทที่3 วิธีดำเนินงานบทที่3 วิธีดำเนินงาน
บทที่3 วิธีดำเนินงาน
Champ Wachwittayakhang
 

En vedette (11)

บทที่ 1 ใหม่
บทที่ 1 ใหม่บทที่ 1 ใหม่
บทที่ 1 ใหม่
 
บทที่ 3 วิธีการดำเนินงาน [โครงการอ่านหนังสือให้กับผู้พิการทางสายตา]
บทที่ 3 วิธีการดำเนินงาน [โครงการอ่านหนังสือให้กับผู้พิการทางสายตา]บทที่ 3 วิธีการดำเนินงาน [โครงการอ่านหนังสือให้กับผู้พิการทางสายตา]
บทที่ 3 วิธีการดำเนินงาน [โครงการอ่านหนังสือให้กับผู้พิการทางสายตา]
 
โครงงานคำควบกล้ำ
โครงงานคำควบกล้ำโครงงานคำควบกล้ำ
โครงงานคำควบกล้ำ
 
โครงงาน เรื่อง การศึกษาปัญหาการอ่านหนังสือของคนไทย
โครงงาน เรื่อง การศึกษาปัญหาการอ่านหนังสือของคนไทย โครงงาน เรื่อง การศึกษาปัญหาการอ่านหนังสือของคนไทย
โครงงาน เรื่อง การศึกษาปัญหาการอ่านหนังสือของคนไทย
 
โครงการห้องสมุดเพื่อน้อง11
โครงการห้องสมุดเพื่อน้อง11โครงการห้องสมุดเพื่อน้อง11
โครงการห้องสมุดเพื่อน้อง11
 
โครงการ ปันน้ำใจเพื่อน้อง
โครงการ ปันน้ำใจเพื่อน้องโครงการ ปันน้ำใจเพื่อน้อง
โครงการ ปันน้ำใจเพื่อน้อง
 
โครงการอ่านหนังสือให้กับผู้พิการทางสายตา
โครงการอ่านหนังสือให้กับผู้พิการทางสายตาโครงการอ่านหนังสือให้กับผู้พิการทางสายตา
โครงการอ่านหนังสือให้กับผู้พิการทางสายตา
 
โครงการปันน้ำใจ
โครงการปันน้ำใจโครงการปันน้ำใจ
โครงการปันน้ำใจ
 
04 บทที่ 4-ผลการดำเนินโครงงาน
04 บทที่ 4-ผลการดำเนินโครงงาน04 บทที่ 4-ผลการดำเนินโครงงาน
04 บทที่ 4-ผลการดำเนินโครงงาน
 
โครงงานภาษาไทยเรื่องนิทาน
โครงงานภาษาไทยเรื่องนิทานโครงงานภาษาไทยเรื่องนิทาน
โครงงานภาษาไทยเรื่องนิทาน
 
บทที่3 วิธีดำเนินงาน
บทที่3 วิธีดำเนินงานบทที่3 วิธีดำเนินงาน
บทที่3 วิธีดำเนินงาน
 

Similaire à บทที่ 3.ใหม่

แผนการจัดการเรียนรู้เพศศึกษาหน่วยที่ 4
แผนการจัดการเรียนรู้เพศศึกษาหน่วยที่ 4แผนการจัดการเรียนรู้เพศศึกษาหน่วยที่ 4
แผนการจัดการเรียนรู้เพศศึกษาหน่วยที่ 4
tassanee chaicharoen
 
จุดเน้นที่ 1
จุดเน้นที่ 1จุดเน้นที่ 1
จุดเน้นที่ 1
Suwakhon Phus
 
ภารกิจระดับครูผู้ช่วย2
ภารกิจระดับครูผู้ช่วย2ภารกิจระดับครูผู้ช่วย2
ภารกิจระดับครูผู้ช่วย2
Jiramet Ponyiam
 
เครื่องมือวัดคุณภาพผู้เรียนตามจุดเน้น
เครื่องมือวัดคุณภาพผู้เรียนตามจุดเน้นเครื่องมือวัดคุณภาพผู้เรียนตามจุดเน้น
เครื่องมือวัดคุณภาพผู้เรียนตามจุดเน้น
Lathika Phapchai
 
แผนการจัดการเรียนรู้ เรื่องสถานะของสาร รายการครูมืออาชีพ ตอนครูหัดบิน ครูกอบว...
แผนการจัดการเรียนรู้ เรื่องสถานะของสาร รายการครูมืออาชีพ ตอนครูหัดบิน ครูกอบว...แผนการจัดการเรียนรู้ เรื่องสถานะของสาร รายการครูมืออาชีพ ตอนครูหัดบิน ครูกอบว...
แผนการจัดการเรียนรู้ เรื่องสถานะของสาร รายการครูมืออาชีพ ตอนครูหัดบิน ครูกอบว...
Kobwit Piriyawat
 
แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 1 เรื่องชีวิตสัมพันธ์
แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 1 เรื่องชีวิตสัมพันธ์แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 1 เรื่องชีวิตสัมพันธ์
แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 1 เรื่องชีวิตสัมพันธ์
Mam Chongruk
 
บทความบทที่ 2 คณิตศาสตร์
บทความบทที่  2  คณิตศาสตร์บทความบทที่  2  คณิตศาสตร์
บทความบทที่ 2 คณิตศาสตร์
supanyasaengpet
 
งานกลุ่ม+..
งานกลุ่ม+..งานกลุ่ม+..
งานกลุ่ม+..
NooCake Prommali
 
งานกลุ่ม+..
งานกลุ่ม+..งานกลุ่ม+..
งานกลุ่ม+..
jiraporn1
 
งานกลุ่ม+..
งานกลุ่ม+..งานกลุ่ม+..
งานกลุ่ม+..
NooCake Prommali
 
ระดับครผู้ช่วย
ระดับครผู้ช่วยระดับครผู้ช่วย
ระดับครผู้ช่วย
tyehh
 
ระดับครผู้ช่วย
ระดับครผู้ช่วยระดับครผู้ช่วย
ระดับครผู้ช่วย
tyehh
 
บันทึุกความดี ภาคเรียนที่ 2 ปีการศึกษา 2553
บันทึุกความดี ภาคเรียนที่ 2 ปีการศึกษา 2553บันทึุกความดี ภาคเรียนที่ 2 ปีการศึกษา 2553
บันทึุกความดี ภาคเรียนที่ 2 ปีการศึกษา 2553
Nattapon
 

Similaire à บทที่ 3.ใหม่ (20)

แผนการจัดการเรียนรู้เพศศึกษาหน่วยที่ 4
แผนการจัดการเรียนรู้เพศศึกษาหน่วยที่ 4แผนการจัดการเรียนรู้เพศศึกษาหน่วยที่ 4
แผนการจัดการเรียนรู้เพศศึกษาหน่วยที่ 4
 
Botkwam
BotkwamBotkwam
Botkwam
 
Botkwam
BotkwamBotkwam
Botkwam
 
Botkwam
BotkwamBotkwam
Botkwam
 
11
1111
11
 
จุดเน้นที่ 1
จุดเน้นที่ 1จุดเน้นที่ 1
จุดเน้นที่ 1
 
ภารกิจระดับครูผู้ช่วย2
ภารกิจระดับครูผู้ช่วย2ภารกิจระดับครูผู้ช่วย2
ภารกิจระดับครูผู้ช่วย2
 
เครื่องมือวัดคุณภาพผู้เรียนตามจุดเน้น
เครื่องมือวัดคุณภาพผู้เรียนตามจุดเน้นเครื่องมือวัดคุณภาพผู้เรียนตามจุดเน้น
เครื่องมือวัดคุณภาพผู้เรียนตามจุดเน้น
 
lertlah
lertlahlertlah
lertlah
 
แผนการจัดการเรียนรู้ เรื่องสถานะของสาร รายการครูมืออาชีพ ตอนครูหัดบิน ครูกอบว...
แผนการจัดการเรียนรู้ เรื่องสถานะของสาร รายการครูมืออาชีพ ตอนครูหัดบิน ครูกอบว...แผนการจัดการเรียนรู้ เรื่องสถานะของสาร รายการครูมืออาชีพ ตอนครูหัดบิน ครูกอบว...
แผนการจัดการเรียนรู้ เรื่องสถานะของสาร รายการครูมืออาชีพ ตอนครูหัดบิน ครูกอบว...
 
ตัวอย่าง Sar
ตัวอย่าง Sarตัวอย่าง Sar
ตัวอย่าง Sar
 
Learning by project
Learning by projectLearning by project
Learning by project
 
แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 1 เรื่องชีวิตสัมพันธ์
แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 1 เรื่องชีวิตสัมพันธ์แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 1 เรื่องชีวิตสัมพันธ์
แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 1 เรื่องชีวิตสัมพันธ์
 
บทความบทที่ 2 คณิตศาสตร์
บทความบทที่  2  คณิตศาสตร์บทความบทที่  2  คณิตศาสตร์
บทความบทที่ 2 คณิตศาสตร์
 
งานกลุ่ม+..
งานกลุ่ม+..งานกลุ่ม+..
งานกลุ่ม+..
 
งานกลุ่ม+..
งานกลุ่ม+..งานกลุ่ม+..
งานกลุ่ม+..
 
งานกลุ่ม+..
งานกลุ่ม+..งานกลุ่ม+..
งานกลุ่ม+..
 
ระดับครผู้ช่วย
ระดับครผู้ช่วยระดับครผู้ช่วย
ระดับครผู้ช่วย
 
ระดับครผู้ช่วย
ระดับครผู้ช่วยระดับครผู้ช่วย
ระดับครผู้ช่วย
 
บันทึุกความดี ภาคเรียนที่ 2 ปีการศึกษา 2553
บันทึุกความดี ภาคเรียนที่ 2 ปีการศึกษา 2553บันทึุกความดี ภาคเรียนที่ 2 ปีการศึกษา 2553
บันทึุกความดี ภาคเรียนที่ 2 ปีการศึกษา 2553
 

บทที่ 3.ใหม่

  • 1. บทที่ ๓ วิธีการดาเนินการ โรงเรียนไทยรัฐวิทยา ๕ (วัดตลิ่งต่่า) มีวิธีด่าเนินการตามรายละเอียด ดังนี้ กลุ่มตัวอย่าง นักเรียนระดับชั้นอนุบาลศึกษาปีที่ ๑ – ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ ๓ โรงเรียนไทยรัฐวิทยา ๕ (วัดตลิ่งต่่า ) ส่านักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษา อุตรดิตถ์ เขต ๑ ภาคเรียนที่ ๒ ปีการศึกษา ๒๕๕๓ จ่านวน ๒๓๘ คน นักเรียนระดับชั้นอนุบาลศึกษาปีที่ ๑ – ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ ๓ โรงเรียนไทยรัฐวิทยา ๕ (วัดตลิ่งต่่า ) ส่านักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษาอุตรดิตถ์ เขต ๑ ภาคเรียนที่ ๒ ปีการศึกษา ๒๕๕๓ จ่านวน ๒๔๒ คน กิจกรรมหลักของโครงการ โรงเรียนไทยรัฐวิทยา โรงเรียนไทยรัฐวิทยา ๕ (วัดตลิ่งต่่า ) ด่าเนินการโครงการตั้งแต่ วันที่ ๑ ตุลาคม พ.ศ.๒๕๕๓ – ๒๐ กันยายน พ.ศ.๒๕๕๔ โดยมีกิจกรรมหลัก ดังนี้ ลาดับ วัน เดือน ปี กิจกรรม หมายเหตุ ๑ ตุลาคม ๒๕๕๒ รับทราบแนวทางในการจัดกิจกรรมส่งเสริมการอ่าน ตามโครงการพัฒนาครูและนักเรียน เพื่อสร้างเสริม นิสัยรักการอ่านทั้งระบบในโรงเรียนไทยรัฐวิทยา ๕ (วัดตลิ่งต่่า) ๒ ๒-๒ ธันวาคม ประชุม อบรม สัมมนา ครูแกนน่ารักการอ่าน ๒๕๕๒ ๒ ๔-๒๐ ธันวาคม ครูแกนน่าขยายผลสู่คณะครูและนักเรียน ๒๕๕๒ ในโรงเรียน ๔ ๑ พฤษภาคม ๑) จัดกิจกรรมส่งเสริมการอ่านในระดับโรงเรียน ๒๕๕๔ ๒) คณะกรรมการบริหารโครงการและสมาคม – ผู้บริหารโรงเรียนไทยรัฐวิทยา นิเทศ ก่ากับ ๒๕ สิงหาคม ติดตาม ดูแล ช่วยเหลือในระหว่างเดือนมกราคม- ๒๕๕๔ มีนาคม ๒๕๕๔
  • 2. ลาดับ วัน เดือน ปี กิจกรรม หมายเหตุ ๕ ๒๖-๒๘ สิงหาคม ส่วนกลางจัดกิจกรรมแลกเปลี่ยนเรียนรู้ ๒๕๕๔ และการคัดเลือก Best Practice ๖ ๒๒-๒๔ กันยายน ประชุมสัมมนาสรุปบทเรียน ๒๕๕๔ โรงเรียนไทยรัฐวิทยา ๕ (วัดตลิ่งต่่า )ได้รับเงินงบประมาณจากส่านักงานกองทุน สนับสนุนการสร้างเสริมสุขภาพ (สสส.) ได้วางแผนและก่าหนดยุทธศาสตร์ให้มีกิจกรรมหลัก ตามบริบทของโรงเรียนอย่างเป็นระบบและมีล่าดับขั้นตอน ดังนี้ ๑. ขั้นเตรียมการ ๑.๑ แต่งตั้งคณะกรรมการด่าเนินโครงการตามรายละเอียด ดังนี้ ชื่อ – สกุล ตาแหน่ง ตาแหน่งคณะกรรมการ โครงการ ๑. นายเดชา จารุชาต ผู้อ่านวยการโรงเรียน ประธานกรรมการ ๒. นางศจี เพ็งวัน ครู วิทยฐานะช่านาญการพิเศษ รองประธานกรรมการ ๓. นางสาวดุษณีย์ ทองเพ็ชร ครู วิทยฐานะช่านาญการพิเศษ กรรมการ ๔. นางบานเที่ยง ยอดค่า ครู วิทยฐานะช่านาญการพิเศษ กรรมการ ๕. นางริสรา ปั้นคุ่ย ครู วิทยฐานะช่านาญการ กรรมการ ๖. นางพรธนา มุ้งทอง ครู วิทยฐานะช่านาญการ กรรมการ ๗. นางขนิษฐา จันทร์ดวงดี ครู วิทยฐานะช่านาญการ กรรมการ ๘. นางศรีเรือน ยิ้มศรีเจริญกิจ ครู วิทยฐานะช่านาญการพิเศษ กรรมการ/เลขานุการ ๑.๒ กรอบแนวคิดของโครงการ การสร้างนิสัยรักการอ่านให้กับเด็ก ๆ ไม่ควรบังคับ หรือบอกตรง ๆ จะท่าให้ เกิดการต่อต้าน ควรใช้เทคนิควิธีโดยอ้อม ที่ไม่ให้เด็กรู้ตัวว่าครูชวนเด็ก ๆ อ่าน หนังสือ ควรมี กิจกรรมที่หลากหลายและเหมาะสมกับวัย ปฏิบัติให้ต่อเนื่อง สม่่าเสมอ และมีรูปแบบที่แปลกใหม่ จะท่าให้เด็ก ๆ รู้สึกสนุก มีความสุข และชอบที่จะท่ากิจกรรมอีก และควร จัดให้ครอบคลุมทุกสาระ การเรียนรู้
  • 3. ๑.๓ จัดประชุมชี้แจงคณะครู/ผู้ปกครองนักเรียน เพื่อสร้างควา มเข้าใจและแนวทาง ในการปฏิบัติตามรายละเอียด ดังนี้ ๑) กิจกรรมส่งเสริมการอ่านโดยวิทยากรบุคคลภายนอก ๒) กิจกรรมสร้างนิสัยรักการอ่านด้วยกิจกรรมที่หลากหลาย ๒) กิจกรรมรวมเรื่องที่ชอบ ๔) กิจกรรมหมอภาษา ๕) กิจกรรมหนังสือเสี้ยวเดียว ๖) กิจกรรมสร้างสรรค์นิทานสอนน้อง ๗) กิจกรรมป้ายนิเทศสู่การอ่าน ๘) กิจกรรมสรรค์สร้างผลงานจากการอ่าน การค้นคว้า ๙) กิจกรรมห้องสมุดมีชีวิต ๒. ขั้นดาเนินการ โรงเรียนได้จัดกิจกรรมส่งเสริมการอ่าน จ่านวน ๙ กิจกรรม ดังนี้ ๑. กิจกรรมส่งเสริมการอ่านโดยวิทยากรบุคคลภายนอก ๑.๑ ลักษณะด่าเนินกิจกรรม ผู้ด่าเนินกิจกรรม -ครูปฐมวัย - ครูประถมศึกษาปีที่ ๑ – ๓ เป้าหมายนักเรียน - ระดับชั้นปฐมวัย - ชั้นประถมศึกษาปีที่ ๑ – ๓ เป้าหมายผู้ปกครอง จ่านวน ๑๐๐ คน วัน เดือน ปี ที่จัดกิจกรรม -อบรมผู้ปกครอง เดือนกันยายน ๒๕๕๓ - จัดกิจกรรม “หนูขอเวลา ๕ นาที” และ “(ลูก,พ่อแม่) อ่านให้ (พ่อแม่,ลูก) ฟัง” เดือน กันยายน ๒๕๕๓ - กันยายน ๒๕๕๔ ๑.๒ ขั้นตอนในการด่าเนินงาน ๑) เชิญวิทยากรที่มีความรู้ความสามารถในการจัดกิจกรรมสร้างนิสัย รักการอ่านให้ผู้ปกครองและเด็กจากกลุ่ม กิ่ง ก้าน ใบ โดยสร้างความตระหนัก และพาท่าหุ่น เล่านิทานให้กับเด็กและผู้ปกครอง
  • 4. ๒) ให้ความรู้เกี่ยวกับความส่าคัญของหนังสือกับการอ่านที่เหมาะสม กับระดับวัยของบุตรหลาน ด้วยการพาผู้ปกครองศึกษาหนังสือนิทาน และสร้างนิทานเพื่อลูกรัก ๓) ให้ผู้ปกครองศึกษาหนังสือที่เหมาะสมกับวัย ของลูกรัก โดยน่าสิ่ง ที่ลูกชอบ และไม่ชอบมาผูกเป็นเรื่องราวในสถานการณ์ที่เคยเกิดขึ้นในชีวิตประจ่าวันของบุตร หลานของตัวเอง ๔) จัดกิจกรรม “หนูขอเวลา ๕ นาที” และ “(ลูก,พ่อแม่) อ่านให้ (พ่อแม่,ลูก) ฟัง” เป็นกิจกรรมส่งเสริมการอ่าน เพื่อจุดประสงค์ให้ผู้ปกครองอ่านหนังสือให้ลูกฟัง โดยใช้หนังสือ ที่ตนเองสร้างขึ้น และจากการยืมหนังสือจากโรงเรียน แล้ วบันทึกการอ่าน การฟัง ของลูกทุกครั้ง ๕) ประเมินผลความพึงพอใจในกิจกรรมที่โรงเรียนจัดขึ้น ๑.๓ ผลของการด่าเนินงาน เชิงปริมาณ ๑) ผู้ปกครองเข้าร่วมอบรมความรู้เกี่ยวกับกิจกรรมส่งเสริมการอ่านจ่านวน ๑๐๐ คน ๒) มีหนังสือที่ผู้ปกครองสร้างขึ้น และส่าเร็จเป็นรูปเล่มเรียบร้อย ๖๘ เล่ม ๓) ผู้ปกครองบันทึกผลการอ่านจากกิจกรรมที่จัดขึ้น ๘๖ คน เชิงคุณภาพ ๑) ผู้ปกครองยินดีเข้าร่วมกิจกรรมและผลิตหนังสือเพื่อลูกหลานคิดเป็น ร้อยละ ๘๔.๐๐ ๒) ผู้ปกครองพึงพอใจและแบ่งเวลาให้กับการอ่านของบุตรหลานมากขึ้น คิดเป็นร้อยละ ๘๔.๘ ภาพประกอบการบรรยายกิจกรรมส่งเสริมการอ่านโดยวิทยากรบุคคลภายนอก
  • 5. ๒. กิจกรรมสร้างนิสัยรักการอ่านที่หลากหลาย ๒.๑ ลักษณะด่าเนินกิจกรรม ผู้ด่าเนินกิจกรรม -ครูประถมศึกษาปีที่ ๑ – ๓ เป้าหมายนักเรียน -ชั้นประถมศึกษาปีที่ ๑ – ๓ จ่านวน ๖๖ คน วัน เดือน ปี ที่จัดกิจกรรม - กันยายน ๒๕๕๓ – กันยายน ๒๕๕๔
  • 6. ๒.๒ ขั้นตอนในการด่าเนินงาน กิจกรรมสร้างนิสัยรักการอ่านที่หลากหลาย จัดขึ้น ๓ กิจกรรม ได้แก่ ๑. กิจกรรมอ่านชุดบัตรค่า น่าไปเขียน เพิ่มพูนค่าศัพท์ จุดประสงค์ ๑) เพื่อทบทวนค่าศัพท์ในบทเรียน ๒) เพื่อเพิ่มพูนค่าศัพท์จากแหล่งเรียนรู้ และสื่อสิ่งพิมพ์ต่าง ๆ กิจกรรม ๑) นักเรียนอ่านชุดบัตรค่าที่ครูก่าหนดไว้ ทีละชุด ๒) น่าบัตรค่ามาอ่านให้ครูฟัง ๓) เขียนบันทึกค่าศัพท์ในตารางค่าที่ครูจัดท่าไว้ ๔) ครูตรวจสอบความถูกต้อง และนักเรียนแก้ไขค่าที่เขียนผิด ๒. กิจกรรมอ่านบัตรค่า น่าทาง สร้างประโยค จุดประสงค์ เพื่อให้นักเรียนเรียงค่าเป็นประโยคเพื่อการสื่อสาร กิจกรรม ๑) นักเรียนอ่านชุดบัตรค่าที่ครูก่าหนดให้ ครั้งละ ๕ ชุด ๒) น่าชุดบัตรค่ามาเรียงเป็นประโยคที่สมบูรณ์ ๓) อ่านประโยคให้ครูฟัง ๔) บันทึกประโยคลงในแบบที่ครูก่าหนดให้ ๓. กิจกรรมประลองความสามารถในการอ่าน จุดประสงค์ เพื่อพัฒนาการอ่านและสร้างนิสัยรักการอ่าน กิจกรรม ๑) ครูก่าหนด ค่า ข้อความ จ่านวน ๑๐ แบบฝึก ๒) นักเรียนอ่านค่า ข้อความให้ครูฟัง ๓) ครูแนะน่าค่า หรือข้อความที่อ่านผิด อ่านใหม่จนถูกต้อง ๒.๓ ผลของการด่าเนินงาน เชิงปริมาณ ๑) นักเรียนชั้นประถมศึกษาปีที่ ๑ – ๓ ทุกคนได้ปฏิบัติกิจกรรมที่ก่าหนดขึ้น
  • 7. เชิงคุณภาพ ๑) นักเรียนมีทักษะในการอ่านหนังสือมากขึ้นร้อยละ ๗๗.๒๗ ๒) นักเรียนสามารถเขียนและอ่านค่า ประโยคได้เก่งขึ้น ร้อยละ ๖๖.๖๗ ๓) นักเรียนไปอ่านหนังสือที่ห้องสมุดในเวลาว่างทันทีร้อยละ ๗๑.๒๑ ภาพประกอบการบรรยายกิจกรรมสร้างนิสัยรักการอ่านที่หลากหลาย
  • 8.
  • 9. ๓) กิจกรรมรวมเรื่องที่ชอบ ๓.๑ ลักษณะด่าเนินกิจกรรม ผู้ด่าเนินกิจกรรม -ครูประถมศึกษาปีที่ ๔ – ๖ เป้าหมายนักเรียน - ชั้นประถมศึกษาปีที่ ๔ – ๖ จ่านวน ๖๕ คน วัน เดือน ปี ที่จัดกิจกรรม - กันยายน ๒๕๕๓ – กันยายน ๒๕๕๔ ๓.๒ ขั้นตอนในการด่าเนินงาน จุดประสงค์ ให้นักเรียนใช้เวลาว่างให้เกิดประโยชน์ และสร้างนิสัยรักการอ่าน กิจกรรม ๑) ครูชี้แจงการจัดกิจกรรมให้นักเรียนทราบวัตถุประสงค์ ๒) ครูและนักเรียนออกแบบการจัดกิจกรรมร่วมกัน ๓) นักเรียนศึกษาค้นคว้าเรื่องราวที่สนใจจากสื่อสิ่งพิมพ์ในห้องสมุด โรงเรียน หรือจากมุมหนังสือตามอาคารเรียนของตนเอง หรือค้นคว้าจากอินเทอร์เนต ๔) เลือกเรื่องที่ชอบและสนใจ ตัดภาพปะลงในกระดาษที่ร่วมกันออกแบบ และสรุปใจความ สั้น ๆ ให้ได้ใจความ ๕) ตกแต่งชิ้นงานของตนเองให้สวยงาม ๖) อ่านเรื่องให้ครูฟัง ครูบันทึกผลในแบบบันทึกการอ่าน ๗) ครูน่าผลการอ่านไปประเมินการอ่าน คิดวิเคราะห์ และเขียนสื่อความ ๘) ปฏิบัติกิจกรรมในเวลาว่าง ๙) ประเมินความพึงพอใจการปฏิบัติกิจกรรม ๓.๓ ผลของการด่าเนินงาน เชิงปริมาณ ๑) นักเรียนชั้นประถมศึกษาปีที่ ๔ – ๖ ทุกคนได้ปฏิบัติกิจกรรมที่ก่าหนดขึ้น เชิงคุณภาพ ๑) นักเรียนชอบและสนุกกับการได้อ่านข่าว อ่านสื่อสิ่งพิมพ์มากขึ้นร้อยละ ๘๖.๑๕ ๒) นักเรียนมีความรู้และอ่านหนังสือนานขึ้น ร้อยละ ๗๖.๙๒
  • 11. ๔. กิจกรรมหมอภาษา เป็นกิจกรรมช่วยเหลือนักเรียนที่อ่าน เขียน ไม่คล่อง ทุกระดับชั้น ๔.๑ ลักษณะด่าเนินกิจกรรม ผู้ด่าเนินกิจกรรม -ครูประถมศึกษาปีที่ ๑ – มัธยมศึกษาปีที่ ๓ เป้าหมายนักเรียน -ชั้นประถมศึกษาปีที่ ๑ – มัธยมศึกษาปีที่ ๓ ภาคเรียนที่ ๒ ปีการศึกษา ๒๕๕๓ จ่านวน ๑๗๓ คน ภาคเรียนที่ ๑ ปีการศึกษา ๒๕๕๔ จ่านวน ๑๙๗ คน วัน เดือน ปี ที่จัดกิจกรรม - กันยายน ๒๕๕๓ – กันยายน ๒๕๕๔ ๔.๒ ขั้นตอนในการด่าเนินงาน จุดประสงค์ ๑) เพื่อช่วยเหลือนักเรียนอ่านหนังสือไม่คล่อง และอ่านไม่ได้ กิจกรรม ๑) แต่งตั้งนักเรียนพี่เลี้ยงกิจกรรม ๒) พี่เลี้ยงประสานครูประจ่าชั้น คัดเลือก คัดกรองนักเรียนที่อ่า นออกเสียง ไม่คล่อง ๓) สร้างแบบฝึกการอ่านออกเสียง ๔) นักเรียนที่ได้รับการคัดกรองมาฝึกอ่านกับครูและพี่เลี้ยงที่ห้องสมุดทุกวัน เวลาหลังรับประทานอาหารกลางวัน ๕) บันทึกผลการพัฒนา ๖) ประเมินผลการปฏิบัติกิจกรรม ๔.๓ ผลของการด่าเนินงาน เชิงปริมาณ ๑) นักเรียนชั้นประถมศึกษาปีที่ ๑ – มัธยมศึกษาปีที่ ๓ ที่ได้รับการคัดกรอง จ่านวน ๔๖ คน ได้รับการพัฒนาทักษะการอ่านออกเสียงตามปัญหาที่พบ เชิงคุณภาพ ๑) นักเรียนออกเสียงค่าควบกล้่า ได้ดีขึ้น จ่านวน ๓๓ คน คิดเป็นร้อยละ ๗๑.๗๔ ๒) นักเรียนอ่านหนังสือได้เร็วและคล่อง จ่านวน ๓๗ คน คิดเป็นร้อยละ ๘๐.๙๒๔๓
  • 12. ภาพประกอบการบรรยายกิจกรรมหมอภาษา นักเรียนที่ได้รับการคัดกรองฝึกอ่านกับครู และพี่เลี้ยงทุกวัน
  • 13. เด็กชายสันติ คงจินดา เป็นนักเรียน ที่มีปัญหาด้าน การอ่าน จึงต้องได้รับการช่วยเหลือเป็นพิเศษ โดยการ ฝึกทักษะการอ่านจากการเขียนเรื่องราวใกล้ตัว ของเด็กชายสันติเอง แล้วให้อ่านทุกวัน จนอ่านได้คล่องขึ้น ครูใช้วิธีการเสริมแรง ให้รางวัล จนเกิดความมั่นใจ กล้าแสดงออกกล้าพูดมากขึ้น เด็กชายสันติ คงจินดา ได้รับการแก้ไขปัญหาการอ่านไม่ออก อ่านไม่คล่อง โดยใช้กิจกรรม “มหัศจรรย์วันละ ๒๐ นาที ของ สันติ” โดยให้สันติเขียนเรื่องราวของตนเอง จากการซักถามของคุณครู แล้วให้สันติเขียน ถ้าเขียนค่าไหนไม่ได้ ครูบอกให้เขียน แล้วให้สันติอ่าน เมื่ออ่านได้ครูให้รางวัล เป็นกระปุกออมสิน และหยอดเงินเหรียญให้ทุกวัน ท่าเช่นนี้วันละ ๒๐ นาที โดยใช้ เวลาหลังรับประทานอาหารกลางวันที่ห้องสมุดโรงเรียน ประมาณ ๑ เดือน สันติเริ่มอ่านหนังสือได้ดีขึ้น จนสามารถอ่าน หนังสือภาพเป็นนิทานง่าย ๆ ได้ และได้สร้าง ความมั่นใจให้สันติ โดยให้เป็นประธานเปิดงานวันภาษาไทยแห่งชาติ ของโรงเรียน โดยกล่าวถึงความรู้สึกของสันติก่อนและหลังได้รับการพัฒนาด้านการอ่านหนังสือของตนเอง
  • 14. เด็กชายสันติ กล่าวเปิดงาน วันภาษาไทย แห่งชาติ ที่ห้องประชุมโรงเรียนอนุบาล ไทยรัฐวิทยา ๕ (วัดตลิ่งต่่า) เมื่อวันที่ ๒๙ กรกฎาคม ๒๕๕๔ ที่ผ่านมา
  • 15. ๕. กิจกรรมหนังสือเสี้ยวเดียว ๕.๑ ลักษณะด่าเนินกิจกรรม ผู้ด่าเนินกิจกรรม -ครูมัธยมศึกษาปีที่ ๑ - ๓ เป้าหมายนักเรียน -ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ ๑ – ๓ จ่านวน ๖๖ คน วัน เดือน ปี ที่จัดกิจกรรม (ใช้เวลาว่างหลังรับประทานอาหารกลางวัน ) - กันยายน ๒๕๕๓ – กันยายน ๒๕๕๔ ๕.๒ ขันตอนในการด่าเนินงาน ้ กิจกรรมหนังสือเสี้ยวเดียว จัดเพื่อเสริมทักษะการอ่าน คิดวิเคราะห์ และเขียนสื่อความในสาระการเรียนรู้ภาษาไทย มีทั้งหมด ๕ กิจกรรม คือ ๑. กิจกรรมรักยาวให้บั่น รักสั้นให้ต่อ ๒. กิจกรรมส่านวนภาษาน่ารู้ ๓. กิจกรรมมีอะไรในโคลงโลกนิติ ๔. กิจกรรมไวพจน์น่ารู้ ๕. กิจกรรมค้นคว้ามาสรรค์สร้าง มิให้ห่างจากหนังสือ มีขั้นตอนการจัดกิจกรรมดังนี้ ๑) ครูประจ่าสาระการเรียนรู้แจ้งวัตถุประสงค์ เกี่ยวกับความส่าคัญของ การอ่าน และเสนอให้ปฏิบัติกิจกรรมนอกเวลาเรียน ๒) นักเรียนและครูออกแบบกิจกรรมและหาข้อสรุปร่วมกัน ๓) นักเรียนศึกษาค้นคว้าข้อมูลจากแหล่งเรียนรู้ สื่อต่าง ๆ ๔) เขียนข้อมูลลงในแบบกิจกรรมที่ร่วมกันออกแบบไว้ ๕) ตกแต่งชิ้นงานของตนเองให้สวยงาม ๖) อ่านออกเสียงกับครูผู้สอน ๗) ครูผู้สอนน่าผลการอ่านไปประเมินการอ่าน คิดวิเคราะห์ และเขียน สื่อความ ๘) น่าผลงานจัดนิทรรศการที่ห้องสมุดโรงเรียน เพื่อเผยแพร่แก่น้อง ๆ ในโรงเรียนได้อ่าน และศึกษาเรียนรู้ ๙) มอบรางวัลให้นักเรียนที่มีผลงานดีเด่น ๑๐) ประเมินความพึงพอใจ
  • 16. ๕.๓ ผลของการด่าเนินงาน เชิงปริมาณ ๑) นักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ ๑ – มัธยมศึกษาปีที่ ๓ จ่านวน ๖๖ คน มีผลงานจากการอ่าน การค้นคว้าทุกคน คนละอย่างน้อย ๔ ผลงาน เชิงคุณภาพ ๑) นักเรียนมีความกระตือรือร้นในการศึกษาค้นคว้าความรู้ โดยใช้เวลาว่าง ใช้บริการห้องสมุดโรงเรียน จ่านวน ๔๒ คน คิดเป็นร้อยละ ๖๓.๖๓ ๒) นักเรียนอ่านหนังสือนานและมากขึ้น จ่านวน ๕๒ คน คิดเป็นร้อยละ ๗๘.๗๘ ภาพประกอบการบรรยายหนังสือเสี้ยวเดียว ๑. กิจกรรมรักยาวให้บั่น รักสั้นให้ต่อ
  • 17. ๑. ชิ้นส่วนที่ ๓ เขียนชนิดของค่า และความหมาย เช่น เงิน เป็นค่านาม หมายถึง เป็นธาตุชนิดหนึ่ง เป็นโลหะสีขาว หรือวัตถุที่มีตราของรัฐ สามารถ
  • 22. ๖. กิจกรรมสร้างสรรค์นิทานสอนน้อง เป็นกิจกรรมเสริมทักษะการอ่าน และการเขียน จากการเรียนรู้ในสาระการเรียนรู้ภาษาไทย ๖.๑ ลักษณะด่าเนินกิจกรรม ผู้ด่าเนินกิจกรรม -ครูมัธยมศึกษาปีที่ ๑ - ๓ เป้าหมายนักเรียน -ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ ๑ – ๓ จ่านวน ๖๖ คน วัน เดือน ปี ที่จัดกิจกรรม - กันยายน ๒๕๕๓ – กันยายน ๒๕๕๔ ๖.๒ ขั้นตอนในการด่าเนินงาน จุดประสงค์ เพื่อให้นักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ ๒ และ ๓ ใช้เวลาว่างในการอ่าน การศึกษาค้นคว้า และสรรค์สร้างผลงานเพื่อพัฒนาตนเอง กิจกรรม ๑) ครูแจ้งวัตถุประสงค์การปฏิบัติกิจกรรม ๒) ครูเตรียมวัสดุอุปกรณ์ เช่น กระดาษ ๑๘๐ แกรม สีดินสอ กระดาษ สติ๊กเกอร์ ให้เพียงพอกับนักเรียนที่เข้าร่วมกิจกรรม ๓) ครูให้ความรู้นักเรียนเกี่ยวกับขั้นตอนการสร้างนิทาน โดยให้ตัวแทน นักเรียนที่เข้าร่วมอบรม กับผู้ปกครองระดับปฐมวัย ในการผลิตหนังสือนิทานเพื่อลูก เป็นพี่เลี้ยง ๔) เขียนโครงเรื่องเป็นแผนภาพความคิด ๕) ท่าหนังสือฉบับร่าง โดยวาดภาพคร่าว ๆ และข้อความ ในกระดาษ A ๔ ๖) ท่าหนังสือฉบับจริง โดยใช้กระดาษ ๑๘๐ แกรม ๗) อ่านนิทานให้ครูฟัง ครูบันทึกผลการอ่าน น่าไปประเมินการอ่าน คิดวิเคราะห์ และเขียนสื่อความ ๘) จัดประกวดและมอบรางวัล ๖.๓ ผลของการด่าเนินงาน เชิงปริมาณ ๑) นักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ ๒ – มัธยมศึกษาปีที่ ๓ จ่านวน ๕๑ คน สร้างนิทานได้ คนละ ๑ เล่ม เชิงคุณภาพ ๑) นักเรียนมีทักษะในการวางแผนการท่างาน มีการคิดอย่างเป็นระบบ
  • 23. ๒) นักเรียนมีทักษะในการใช้ภาษาด้านการอ่านและการเขียน จ่านวน ๕๑ คน คิดเป็นร้อยละ ๑๐๐ ภาพประกอบการบรรยายสร้างสรรค์นิทานสอนน้อง นิทานชั้นมัธยมศึกษาปีที่ ๓
  • 24. นิทานชั้นมัธยมศึกษาปีที่ ๒ ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ ๒ มีภาพเดียว ประกอบนิทาน ๑ เรื่อง ท่าเป็นรูปเล่มที่ออกแบบ ตามจินตนาการ เล่มละ ๓ เรื่อง
  • 25.
  • 26. ๗. กิจกรรมป้ายนิเทศสู่การเรียนรู้ เป็นกิจกรรมเสริมทักษะทุกสาระการเรียนรู้ ๗.๑ ลักษณะด่าเนินกิจกรรม ผู้ด่าเนินกิจกรรม -ครูผู้สอนทุกคน เป้าหมายนักเรียน -ชั้นประถมศึกษาปีที่ ๑ – ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ ๓ จ่านวน ๑๙๗ คน วัน เดือน ปี ที่จัดกิจกรรม - กันยายน ๒๕๕๓ – กันยายน ๒๕๕๔ ๗.๒ ขั้นตอนในการด่าเนินงาน จุดประสงค์ เพื่อให้โรงเรียนมีแหล่งเรียนรู้ในโรงเรียนที่หลากหลายรูปแบบ หลายสาระ การเรียนรู้ กิจกรรม ๑) ผู้บริหารประชุมชี้แจงคณะครู และจัดครูแต่ละสาระการเรียนรู้รับผิดชอบ จัดป้ายนิเทศตามโอกาสและเทศกาล ๒) ครูแต่ละสาระการเรียนรู้เตรียมวัสดุอุปกรณ์ เช่น กระดาษชาร์ท กระดาษโปสเตอร์ รูปภาพตามโอกาสต่าง ๆ ๓) เมื่อจัดป้ายนิเทศตามโอกาสต่า ง ๆ แล้วให้คณะครู หรือ นักเรียน ประชาสัมพันธ์นักเรียนเพื่อไปศึกษาเรียนรู้ ๔) ครูประจ่าสาระน่าผลการศึกษาเรียนรู้ประเมินผลในสาระของตนเอง ๕) ประเมินผลความพึงพอใจของครูและนักเรียน ๗.๓ ผลของการด่าเนินงาน เชิงปริมาณ ๑) จัดป้ายนิเทศตามเทศกาล และโอกาสทุกสาระการเรียนรู้ ๒) นักเรียนทุกระดับชั้นได้ใช้ป้ายนิเทศเป็นแหล่งเรียนรู้ เชิงคุณภาพ ๑) มีป้ายนิเทศเป็นแหล่งเรียนรู้ในโรงเรียนที่มีคุณภาพ นักเรียนสามารถ น่าความรู้ไปใช้ในการเรียนรู้ของตนเองและในชีวิตประจ่าวัน ๒) นักเรียนทุกคน ทุกระดับชั้นมีนิสั ยการสังเกต ใฝ่เรียนรู้และมีนิสัย รักการอ่าน การค้นคว้า
  • 28. ๘. กิจกรรมสรรค์สร้างผลงานจากการอ่าน การค้นคว้า ได้จัดกิจกรรมทั้งหมดเป็น ๔ กิจกรรม คือ ๑) กิจกรรม “น้องน้อยเขียนข่าว” ส่าหรับนักเรียนชั้นประถมศึกษาปีที่ ๑ – ๓ ๒) กิจกรรม “หนังสือพิมพ์เสมือน” ส่าหรับนักเรียนชั้นประถมศึกษาปีที่ ๔ – ๖ ๓) กิจกรรม “หนังสือพิมพ์ผนัง” ส่าหรับนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ ๑ – ๓ ๔) กิจกรรม “หนังสือพิมพ์โรงเรียน” ส่าหรับนักเรียนจิตอาสาที่มีทักษะ ด้านการพูด การอ่าน คิดวิเคราะห์ และเขียนสื่อความ ๘.๑ ลักษณะด่าเนินกิจกรรม ผู้ด่าเนินกิจกรรม -ครูประถมศึกษาปีที่ ๑ – ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ ๓ เป้าหมายนักเรียน -ชั้นประถมศึกษาปีที่ ๑ – ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ ๓ จ่านวน ๑๙๗ คน วัน เดือน ปี ที่จัดกิจกรรม - กันยายน ๒๕๕๓ – กันยายน ๒๕๕๔ ๘.๒ ขั้นตอนในการด่าเนินงาน ๑) ผู้บริหารประชุมชี้แจงรูปแบบกิจกรรมให้คณะครู ทราบ ๒) คณะครูผู้รับผิดชอบออกแบบกิจกรรมให้เหมาะสมกับวัย และหลากหลาย ๓) เตรียมวัสดุ สื่อ เช่น กระดาษ A๔ สีไม้ สื่อสิ่งพิมพ์ และภาพข่าวต่าง ๆ และเตรียมอุปกรณ์ส่าหรับหนังสือพิมพ์โรงเรียน เช่น กล้องถ่ายภาพ ขั้นตอนการจัดกิจกรรม ๑. กิจกรรม “น้องน้อยเขียนข่าว” ส่าหรับนักเรียนชั้นประถมศึกษาปีที่ ๑ ถึงชั้นประถมศึกษาปีที่ ๓ จุดประสงค์ เพื่อพัฒนาทักษะการสื่อสาร การค้นคว้า และสร้างนิสัยรักการอ่าน กิจกรรม ๑) ครูออกแบบบันทึกการเขียนข่าว ความยากง่ายตามระดับชั้น ชั้นประถมศึกษาปีที่ ๑ ก่าหนดเป็นภาพจากสื่อสิ่งพิมพ์ ฝึกเขียนเรื่องราวจากภาพ โดยใช้ค่าถาม ใคร ท่าอะไร ที่ไหน กับใคร เมื่อไร อย่างไร ๒) เลือกตัดภาพจากสื่อสิ่งพิมพ์ ตอบค่าถามที่ครูก่าหนดให้ เรียบเรียงเป็นประโยคที่สมบูรณ์ แล้วอ่านออกเสียงให้ครูฟังครูตรวจและบันทึกผลการอ่าน
  • 29. ๓) ชั้นประถมศึกษาปีที่ ๒ และ ๓ เขียนข่าวโดยฝึกการสัมภาษณ์บุคคล ในภาพข่าวที่ครูจัดท่าขึ้นภายในโรงเรียน เช่น ผู้อ่านวยการ ครู นักเรียน แม่ค้า เป็นต้น ๒. กิจกรรม “หนังสือพิมพ์เสมือน” ส่าหรับนักเรียนชั้นประถมศึกษาปีที่ ๔ ถึงชั้นประถมศึกษาปีที่ ๖ จุดประสงค์ เพื่อพัฒนาทักษะการสื่อสาร การค้นคว้า และสร้างนิสัยรักการอ่าน กิจกรรม ๑) นักเรียนศึกษาความรู้ลักษณะ รูปแบบ ส่วนประกอบ ของหนังสือพิมพ์ ๒) นักเรียนออกแบบสัญลักษณ์ ตั้งชื่อหนังสือพิมพ์ ๓) จัดองค์ประกอบของหนังสือพิมพ์ ๔) หาข้อมูลเพิ่มเติมจากสื่อสิ่งพิมพ์ หนังสือในห้องสมุด สื่ออินเทอร์เน็ต ๕) สร้างหนังสือพิมพ์โดยมีครูคอยแนะน่าอย่างใกล้ชิด ๖) เผยแพร่ ประชาสัมพันธ์ ๓) กิจกรรม “หนังสือพิมพ์ผนัง” ส่าหรับนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ ๑ ถึงชั้นมัธยมศึกษาปีที่ ๓ จุดประสงค์ เพื่อพัฒนาทักษะการสื่อสาร การค้นคว้า และสร้างนิสัยรักการอ่าน กิจกรรม ๑) นักเรียนศึกษาความรู้ลักษณะ รูปแบบ ส่วนประกอบของ หนังสือพิมพ์ ๒) นักเรียนออกแบบสัญลักษณ์ ตั้งชื่อหนังสือพิมพ์ ๓) จัดองค์ประกอบของหนังสือพิมพ์ ๔) หาข้อมูลเพิ่มเติมจากสื่อสิ่งพิมพ์ หนังสือในห้องสมุด สื่ออินเทอร์เน็ต ๕) สร้างหนังสือพิมพ์โดยมีครูคอยแนะน่าอย่างใกล้ชิด เผยแพร่ ประชาสัมพันธ์ โดยจัดป้ายนิเทศในโรงเรียน ๔) กิจกรรม “หนังสือพิมพ์โรงเรียน” ส่าหรับนักเรียนอาสาสมัครจิตอาสา จุดประสงค์ เพื่อพัฒนาทักษะการสื่อสาร การค้นคว้า และสร้างนิสัยรักการอ่าน
  • 30. กิจกรรม ๑) นักเรียนศึกษาความรู้ลักษณะ รูปแบบ ส่วนประกอบ ของหนังสือพิมพ์ ๒) นักเรียนออกแบบสัญลักษณ์ ตั้งชื่อหนังสือพิมพ์ ๓) จัดองค์ประกอบของหนังสือพิมพ์ ๔) หาข้อมูลเพิ่มเติมจากสื่อสิ่งพิมพ์ หนังสือในห้องสมุด สื่ออินเทอร์เน็ต ๕) สร้างหนังสือพิมพ์โดยมีครูคอยแนะน่าอย่างใกล้ชิด ๖) เผยแพร่ ประชาสัมพันธ์ตามชุมชนและหน่วยงานต่าง ๆ เช่น ที่อ่าน หนังสือพิมพ์หมู่บ้าน ร้านค้าในตลาด ส่านักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษาอุตรดิตถ์ เขต ๑ องค์การบริหารส่วนต่าบล เป็นต้น ๘.๓ ผลของการด่าเนินงาน เชิงปริมาณ ๑) นักเรียนทุกคน ทุกระดับชั้น ได้ปฏิบัติกิจกรรม ๒) ทุกชั้นเรียนมีหนังสือพิมพ์เป็นของตนเอง เชิงคุณภาพ ๑) นักเรียนทุกคนทุกชั้นได้รับการพัฒนาทักษะในการสื่อสาร การค้นคว้า การอ่าน คิดวิเคราะห์และการเขียนสื่อความ ๒) นักเรียนทุกระดับชั้นมีหนังสือพิมพ์ที่ผลิตด้วยตนเองอย่างสร้างสรรค์ สร้างความชื่นชมยินดีและภาคภูมิใจในตนเอง ท่าให้เกิดการเรีย นรู้อย่างมีคุณค่า ภาพประกอบการบรรยายกิจกรรมสรรค์สร้างผลงานจาการอ่าน การค้นคว้า ๑. กิจกรรม “น้องน้อยเขียนข่าว” ส่าหรับนักเรียนชั้นประถมศึกษาปีที่ ๑ ถึงชั้นประถมศึกษาปีที่ ๓
  • 31. ชั้นประถมศึกษาปีที่ ๒ และ ๓ เขียนข่าวโดยฝึกการสัมภาษณ์บุคคลในภาพข่าวที่ครูจัดท่าขึ้น ภายในโรงเรียน เช่น ผู้อ่านวยการ ครู นักเรียน แม่ค้า เป็นต้น
  • 32. ๒.กิจกรรม “หนังสือพิมพ์เสมือน” ส่าหรับนักเรียนชั้นประถมศึกษาปีที่ ๔ ถึงชั้นประถมศึกษาปีที่ ๖
  • 33. ๓. กิจกรรม “หนังสือพิมพ์ผนัง” ส่าหรับนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ ๑ ถึง ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ ๓
  • 34.
  • 35. ๔. กิจกรรม “หนังสือพิมพ์โรงเรียน” ส่าหรับนักเรียนอาสาสมัครจิตอาสา
  • 36. ๙. กิจกรรมห้องสมุดมีชีวิต ๙.๑ ลักษณะด่าเนินกิจกรรม ผู้ด่าเนินกิจกรรม -ครูบรรณารักษ์ และครูภาษาไทยทุกคน เป้าหมายนักเรียน -ระดับชั้นปฐมวัย – ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ ๓ วัน เดือน ปี ที่จัดกิจกรรม -เดือน กันยายน ๒๕๕๓ - กันยายน ๒๕๕๔ ๙.๒ ขั้นตอนในการด่าเนินงาน ๑) ผู้บริหารประชุมชี้แจงคณะครู และแต่งตั้งคณะครูด่าเนินกิจกรรม ๒) ครูบรรณารักษ์จัดสภาพบรรยากาศห้องสมุดโรงเรียน และด่าเนินการ จัดซื้อจัดหาหนังสือ สื่อสิ่งพิมพ์ สื่ออิเลคทรอนิกส์ให้ เหมาะสมและเพียงพอ ๓) ครูบรรณารักษ์จัดตารางการใช้ห้องสมุดโรงเรียน ๔) ครูบรรณารักษ์และคณะครูที่ได้รับแต่งตั้ง จัดกิจกรรมห้องสมุดดังนี้ - กิจกรรมบริการยืมหนังสือ สื่อสิ่งพิมพ์ - กิจกรรมค้นคว้าทางอินเทอร์ เน็ต - กิจกรรม “๓๐ วัน แห่งการค้นพบประสบการณ์ใหม่ ๆ” - กิจกรรม “มุมหนังสือตามอาคารเรียน” - กิจกรรม “เล่านิทานให้น้องน้อยฟัง” - กิจกรรม “บันทึก..โลกมหัศจรรย์..จากการอ่าน” - กิจกรรม “ตอบปัญหาสารานุกรมไทย” ๕) มอบรางวัลผู้ร่วมกิจกรรมดีเด่นทุกกิจกรรม ๕) ประเมินผลความพึงพอใจในกิจกรรมที่โรงเรียนจัดขึ้น ๙.๓ ผลของการด่าเนินงาน เชิงปริมาณ ๑) ห้องสมุดมีหนังสือ สื่ออิเลคทรอนิกส์เพียงพอ ๒) คณะครูน่านักเรียนใช้บริการห้องสมุดอย่างน้อย ๕ ครั้ง ต่อภาคเรียน ๓) นักเรียนเข้าใช้บริการห้องสมุดอย่างสม่่าเสมอ เชิงคุณภาพ ๑) ห้องสมุดมีหนังสือ สื่อ ที่มีคุณภาพ และครบทุกสาระการเรียนรู้ ๒) มีห้องสมุดเป็นแหล่งเรียนรู้ที่มีคุณภาพ ๓) ครูและนักเรียนมีนิสัยรักการอ่านและมีทักษะการอ่าน การค้นคว้า
  • 38.
  • 39.
  • 40.
  • 41. ผลของการด่าเนินการโดยภาพรวมของโรงเรียนไทยรัฐวิทยา ๕ (วัดตลิ่งต่่า) มีดังนี้ ๑. โรงเรียนได้รับรับรางวัล ชนะเลิศ ในการจัดกิจกรรมส่งเสริมการอ่านระดับภาค เหนือ ตามโครงการพัฒนาครูและนั กเรียน เพื่อสร้างเสริมนิสัย รักการอ่านทั้งระบบในโรงเรียนไทยรัฐ วิทยา ๒. โรงเรียนมีครูแกนน่า การสร้างนิสัยรักการอ่าน สามารถขยายผลสู่ผู้สอนในโรงเรียน ให้มีความรู้ความสามารถและร่วมจัดกิจกรรมสร้างนิสัยรักการอ่านได้อย่างมีประสิทธิภาพ ๓. โรงเรียนมีรูปแบบการจัดกิจกรรมสร้างนิสัยรักการอ่านที่เหมาะสมและหลากหลาย และเกิดผลสัมฤทธิ์แก่ผู้เรียนอย่างแท้จริง ๔. ผู้ปกครอง คณะครู นักเรียน เห็นประโยชน์และความส่าคัญของการอ่ าน โดยให้การ สนับสนุน และร่วมมือกับโรงเรียนด่าเนินกิจกรรมอย่างต่อเนื่อง สม่่าเสมอ ๓. ขั้นสรุป ๑) การด่าเนินการโครงการ สร้างนิสัยรักการอ่านทั้งระบบโรงเรียนไทยรัฐวิทยา ๕ (วัดตลิ่งต่่า) ให้กับคณะครู นักเรียน และผู้ปกครองตามรายละเอียด ดังนี้ ๑.๑) คณะครู ผลของการนิเทศ ติดตาม ครูผู้สอนในการด่าเนินงานโครงการ จ่านวน คน ปรากฏผลตามตาราง ดังนี้ ตารางที่ ๓ แสดงผลการนิเทศ ติดตาม ครูผู้สอนตามโครงการพัฒนาครูและนักเรียน เพื่อสร้างเสริมนิสัยรักการอ่านทั้งระบบในโรงเรียนไทยรัฐวิทยา (N = ๑๗) ระดับคุณภาพ ประเด็น การดาเนินงาน (๑) (๒) (๒) หมายเหตุ การนิเทศ พอใช้ ดี ดีมาก ๑. ครูผู้สอนมีแผน ๑. มีแผนการจัดการเรียนรู้ที่บูรณาการ การใช้ห้องสมุด การใช้ห้องสมุดในสาระการเรียนรู้ เพื่อการเรียน ที่ตนเองรับผิดชอบ ๕๒.๙๘ ๔๗.๐๒ การสอน ๒. มีส่วนร่วมในการเสนอหรือคัดเลือก ๒๑.๕๕ ๗๘.๔๕ ทรัพยากรสารสนเทศ ๓. มีการจัดกิจกรรมการเรียนการสอน ที่ใช้ห้องสมุดเป็นแหล่งเรียนรู้ ๓.๔๕ ๙๖.๕๕
  • 42. ระดับคุณภาพ ระดับ ประเด็น การดาเนินงาน (๑) (๑) (๑) คุณภาพ การนิเทศ พอใช้ พอใช้ พอใช้ ๔. มีส่วนร่วมในการประเมินผลการใช้ ๑๒.๕๔ ๘๗.๔๖ ห้องสมุดเป็นแหล่งเรียนรู้ ๒. ครูผู้สอน ๑. มีการจัดกิจกรรมส่งเสริมนิสัย มีการส่งเสริมนิสัย รักการอ่านในสาระการเรียนรู้ที่ตนเอง รักการอ่าน รับผิดชอบอย่างหลากหลาย ๑๐๐ แก่นักเรียน ๒. มีการจัดกิจรรมส่งเสริมนิสัยรักการอ่าน ในสาระการเรียนรู้ที่ตนรับผิดชอบ ๑๐๐ อย่างสม่่าเสมอ ๒. มีการประสานความร่วมมือกับครู บรรณารักษ์ในการจัดกิจกรรมส่งเสริม ๑๐๐ นิสัยรักการอ่าน ๔. มีการประเมินผลการจัดกิจกรรม ส่งเสริมนิสัยรักการอ่าน ๑๐๐ ๕. มีการประเมินผลงานที่เกิดจากการ จัดกิจกรรมส่งเสริมนิสัยรักการอ่าน ๑๐๐ ๖. มีการรายงานผลการประเมิน การจัดกิจกรรมส่งเสริมนิสัยรักการอ่าน ๑๐๐ ต่อผู้บริหารสถานศึกษา ๗. มีการน่าผลการประเมินไปใช้ในการ ๑๓.๕๘ ๘๖.๔๒ พัฒนากิจกรรมส่งเสริมนิสัยรักการอ่าน ๘. มีการสอนซ่อมเสริมนักเรียนที่มี ๒๐.๗๘ ๗๙.๒๒ ข้อบกพร่องด้านการอ่าน จากตาราง ประเด็นที่ ๑ ครูผู้สอนมีแผนการใช้ห้องสมุดเพื่อการเรียนการสอน พบว่า มีผลการ ประเมินในระดับดีมาก ได้แก่ คณะครูมีส่วนร่วมในการเสนอหรือคัดเลือกทรัพยากรสารสนเทศ ร้อยละ๗๘.๔๕ คณะครูมีการจัดกิจกรรมการเรียนการสอน ที่ใช้ห้องสมุดเป็นแหล่งเรียนรู้ ร้อยละ
  • 43. ๙๖.๕๕ และครูมีส่วนร่วมในการประเมินผลการใช้ห้องสมุดเป็นแหล่งเรียนรู้ ร้อยละ ๘๗.๔๖ ส่วน ในระดับดี ได้แก่ ครูมีแผนการจัดการเรียนรู้ที่บูรณาการ ร้อยละ ๕๒.๙๘ ประเด็นที่ ๒ ครูผู้สอน มีการส่งเสริมนิสัยรักการอ่านแก่นักเรียนการใช้ห้องสมุดในสาระ การเรียนรู้ พบว่า ผลการประเมินในระดับดีมาก ได้แก่ ครูมีการจัดกิจกรรมส่งเสริมนิสัย รักการอ่านในสาระการเรียนรู้ที่ตนเองรับผิดชอบอย่างหลากหลาย ครูทุกคนมีการจัดกิจรรม ส่งเสริมนิสัยรักการอ่านในสาระการเรียนรู้ที่ตนรับผิดชอบอย่างสม่่าเสมอ ครูมีการประสาน ความร่วมมือกับครูบรรณารักษ์ในการจัดกิจกรรมส่งเสริมนิสัยรักการอ่าน ครูมีการประเมินผล การจัดกิจกรรมส่งเสริมนิสัยรักการอ่าน ครูมีการประเมินผลงานที่เกิดจากการจัดกิจกรรมส่งเสริม นิสัยรักการอ่าน ครูมีการรายงานผลการประเมินการจัดกิจกรรมส่งเสริมนิสัยรักการอ่าน ต่อผู้บริหารสถานศึกษา คิดเป็นร้อยละ ๑๐๐ และครูมีการน่าผลการประเมินไปใช้ในการพัฒนา กิจกรรมส่งเสริมนิสัยรักการอ่าน ร้อยละ ๘๖.๔๒ กับครูมีการสอนซ่อมเสริมนักเรียนที่มี ข้อบกพร่องด้านการอ่าน ร้อยละ ๗๙.๒๒ ๑.๒) นักเรียน ผลของการนิเทศ ติดตาม นักเรียนในการด่าเนินงานโครงการ จ่านวน ๑๙๗ คน ปรากฏผลตามตาราง ดังนี้ ตารางที่ ๔ แสดงผลการนิเทศ ติดตาม นักเรียนตามโครงการพัฒนาครูและนักเรียน เพื่อสร้างเสริมนิสัยรักการอ่านทั้งระบบในโรงเรียนไทยรัฐวิทยา (N = ๑๙๗) ระดับคุณภาพ ประเด็น การดาเนินงาน (๑) (๒) (๒) หมาย การนิเทศ พอใช้ ดี ดีมาก เหตุ ๑. ผู้เรียนมี ๑. ก่าหนดลักษณะของสารสนเทศ ความสามารถ ที่ต้องการได้ ๑๔.๕๑ ๓๓.๓๑ ๕๒.๑๕ ในการรับรู้ เข้าถึง ๒. ค้นหาสารสนเทศที่ต้องการได้ ๘.๔๖ ๒๘.๑๒ ๖๓.๔๑ และใช้ประโยชน์ อย่างมีประสิทธิภาพ จากสารสนเทศ ๒. ตัดสินใจเลือกสารสนเทศที่เข้า ถึงได้ อย่างถูกต้อง ๑๓.๑๕ ๑๙.๓๒ ๖๗.๕๓ ๔. สรุปเรียบเรียงแนวคิดจากสารสนเทศ ที่ค้นพบได้ ๗.๑๗ ๑๓.๔๗ ๗๙.๓๖ ๕. จัดเก็บ/เผยแพร่สารสนเทศได้ ๒.๐๔ ๓๔.๒๑ ๖๓.๖๕
  • 44. ประเด็น ระดับคุณภาพ หมาย การดาเนินงาน (๑) (๒) (๒) เหตุ การนิเทศ พอใช้ ดี ดีมาก ๖. สร้างองค์ความรู้จากการศึกษาค้นคว้า ได้ ๘.๕๔ ๑๙.๐๒ ๗๒.๔๖ ๗. มีจิตส่านึกที่ดีในการใช้ทรัพยากร ๑๑.๓๘ ๒๑.๐๕ ๖๗.๕๗ สารสนเทศ ๘. มีคุณธรรม จริยธรรมในการใช้ ๘.๘๖ ๑๙.๓๐ ๗๑.๔๓ ทรัพยากรสารสนเทศ ๒. ผู้เรียนมีความ ๑. เข้าใช้ห้องสมุดอย่างสม่่าเสมอ ๑๘.๔๖ ๘๑.๕๒ ใฝ่รู้ใฝ่เรียน ๒. ยืมหนังสืออย่างสม่่าเสมอ ๗.๐๗ ๑๖.๔๕ ๗๖.๔๘ และมีนิสัย ๒. เข้าร่วมกิจกรรมส่งเสริมการอ่าน ๑.๓๕ ๙๘.๖๕ รักการอ่าน ที่โรงเรียนจัดให้อย่างสม่่าเสมอ ๔. อ่านหนังสือเพิ่มเติมที่เหมาะสม กับระดับชั้น - ป.๑ อย่างน้อยคนละ ๑ เล่ม ต่อปี ๑๐๐ N = ๒๐ - ป.๒ อย่างน้อยคนละ ๒ เล่ม ต่อภาคเรียน ๒.๗๓ ๘๗.๒๗ N = ๒๒ - ป.๓ อย่างน้อยคนละ ๔ เล่ม ๖.๗๕ ๙๓.๒๑ N = ๒๔ ต่อภาคเรียน - ป.๔ อย่างน้อยคนละ ๕ เล่ม ๒๓.๕๒ ๗๖.๔๘ N = ๑๕ ต่อภาคเรียน - ป.๕ อย่างน้อยคนละ ๕ เล่ม ๑๒.๗ ๑๒.๙ ๗๔.๓๙ N = ๑๙ ต่อภาคเรียน - ป.๖ อย่างน้อยคนละ ๕ เล่ม ต่อภาคเรียน ๕.๖๔ ๓๑.๐๐ ๖๓.๗๖ N =๓๑
  • 45. ระดับคุณภาพ ประเด็นการ การดาเนินงาน (๑) (๒) (๒) หมายเหตุ นิเทศ พอใช้ ดี ดีมาก - ม.๑ อย่างน้อยคนละ ๕ เล่ม ต่อภาคเรียน ๑๒.๔๓ ๑๙.๓๒ ๖๘.๐๕ N = ๑๒ - ม.๒ อย่างน้อยคนละ ๖ เล่ม ๖.๙๙ ๑๔.๖๗ ๗๘.๓๔ N = ๒๖ ต่อภาคเรียน - ม.๓ อย่างน้อยคนละ ๗ เล่ม ๑๔.๔๒ ๒๑.๓๒ ๖๔.๒๖ N = ๒๙ ต่อภาคเรียน จากตาราง ประเด็นที่ ๑ ผู้เรียนมีความสามารถในการรับรู้ เข้าถึงและใช้ประโยชน์จากสารสนเทศ พบว่า ทั้ง ๘ กิจกรรมมีคุณภาพอยู่ในระดับดีมาก คือ นักเรียนก่าหนดลักษณะของสารสนเทศ ที่ต้องการได้ ร้อยละ ๕๒.๑๕ นักเรียนค้นหาสารสนเทศที่ต้องการได้อย่างมีประสิทธิภาพ ร้อยละ ๖๓.๔๑ นักเรียน ตัดสินใจเลือกสารสนเทศที่เข้าถึงได้อย่างถูกต้องร้อยละ ๖๗.๕๓ นักเรียนสรุป เรียบเรียงแนวคิดจากสารสนเทศที่ค้นพบได้ ร้อยละ ๗๙.๓๖ นักเรียนจัดเก็บ/เผยแพร่สารสนเทศได้ ร้อยละ ๖๓.๖๕ สร้างองค์ความรู้จากการศึกษาค้นคว้าได้ ร้อยละ ๗๒.๔๖ นักเรียนมีจิตส่านึกที่ดี ในการใช้ทรัพยากรสารสนเทศ ร้อยละ ๖๗.๕ นักเรียนมีคุณธรรม จริยธรรมในการใช้ทรัพยากร สารสนเทศร้อยละ ๗๑.๔๓ ประเด็นที่ ๒ ผู้เรียนมีความใฝ่รู้ใฝ่เรียน และมีนิสัยรักการอ่าน พบว่า ทุกกิจกรรม มีคุณภาพอยู่ในระดับดีมาก คือ นักเรียนเข้าใช้ห้องสมุดอย่างสม่่าเสมอ ร้อยละ ๘๑.๕๒ นักเรียน ยืมหนังสืออย่างสม่่าเสมอ ร้อยละ ๗๖.๔๘ นักเรียนเข้าร่วมกิจกรรมส่งเสริมการอ่าน ที่โรงเรียน จัดให้อย่างสม่่าเสมอร้อยละ ร้อยละ ๙๘.๖๕ นักเรียนอ่านหนังสือเพิ่มเติมที่เหมาะสมกับระดับชั้น นักเรียน ป.๑ อย่างน้อยคนละ ๑ เล่ม ต่อปี ร้อยละ ๑๐๐ นักเรียน ป.๒ อย่างน้อยคนละ ๒ เล่ม ต่อภาคเรียน ร้อยละ ๘๗.๒๗ นักเรียน ป.๓ อย่างน้อยคนละ ๔ เล่ม ต่อภาคเรียน ร้อยละ ๙๓.๒๑ นักเรียน ป.๔ อย่างน้อยคนละ ๕ เล่ม ต่อภาคเรียน ร้อยละ ๗๖.๔๘ นักเรียน ป.๕ อย่างน้อยคน ละ ๕ เล่ม ต่อภาคเรียน ร้อยละ ๗๔.๓๙ นักเรียน ป.๖ อย่างน้อยคนละ ๕ เล่ม ต่อภาคเรียน ร้อยละ ๖๓.๗๖ นักเรียน ม.๑ อย่างน้อยคนละ ๕ เล่ม ต่อภาคเรียน ร้อยละ ๖๘.๐๕ นักเรียน ม.๒
  • 46. อย่างน้อยคนละ ๖ เล่ม ต่อภาคเรียน ร้อยละ ๗๘.๓ และนักเรียน ม.๓ อย่างน้อยคนละ ๗ เล่ม ต่อภาคเรียน ร้อยละ ๖๔.๒๖ ๑.๒) ผู้ปกครอง ผลของการตอบแบบสอบถามความพึงพอใจของผู้ปกครอง จ่านวน ๑๐๐ คน ปรากฏผลตามตาราง ดังนี้ ตารางที่ ๕ แสดงผลความพึงพอใจของผู้ปกครองต่อโครงการพัฒนาครูและนักเรียน เพื่อสร้างเสริมนิสัยรักการอ่านทั้งระบบในโรงเรียนไทยรัฐวิทยา (N = ๑๐๐) ระดับความพึงพอใจ ลาดับที่ รายการประเมิน ๕ ๔ ๒ ๒ ๑ ๑ การแจ้งโครงการพัฒนาครูและนักเรียน เพื่อสร้ าง ๑๐๐ เสริมลักษณะนิสัยรักการอ่านทั้งระบบในโรงเรียน ไทยรัฐวิทยาให้ผู้ปกครองทราบ ๒ การจัดกิจกรรมพัฒนาครูและนักเรียน เพื่อสร้าง ๑๐๐ เสริมลักษณะนิสัยรักการอ่านทั้งระบบในโรงเรียน ไทยรัฐวิทยาที่บุตรหลานเรียนอยู่ ๒ การมีส่วนร่วมในการช่วยเหลือส่งเสริมการอ่า น ๘๗ ๓ แก่บุตรหลาน ๔ การให้บริการห้องสมุดและแหล่งเรียนรู้ต่าง ๆ ๙๒ ๘ ของโรงเรียน ๕ กิจกรรมส่งเสริมการอ่านที่โรงเรียนจัด มีผลต่อ ๑๐๐ การอ่านหนังสือของนักเรียน 6 ควรจัดให้มีกิจกรรมส่งเสริมการอ่านทุกปี ๑๐๐ ความคิดเห็นหรือข้อเสนอแนะ จากตารางพบว่า ผู้ปกครองมีความพึงพอใจต่อโครงการพัฒนาครูและนักเรียน เพื่อสร้างเสริมนิสัยรักการอ่านทั้งระบบในโรงเรียนไทยรัฐวิทยา ในระดับมากที่สุด ดังนี้ การแจ้งโครงการพัฒนาครูและนักเรียน เพื่อสร้างเสริมลักษณะนิสัยรักการอ่านทั้งระบบในโรงเรียน ไทยรัฐวิทยาให้ผู้ปกครองทราบ ร้อยละ ๑๐๐ การจัดกิจกรรมพัฒนาครูและนักเรียน เพื่อสร้าง
  • 47. เสริมลักษณะนิสัยรักการอ่านทั้งระบบในโรงเรียนไทยรัฐวิทยาที่บุตรหลานเรียนอยู่ ร้อยละ ๑๐๐ การมีส่วนร่วมในการช่วยเหลือส่งเสริมการอ่านแก่บุตรหลาน ร้อยละ ๘๗.๐๐ การให้บริการ ห้องสมุดและแหล่งเรียนรู้ต่าง ๆ ของโรงเรียน ร้อยละ ๙๒.๐๐ กิจกรรมส่งเสริมการอ่านที่โรงเรียน จัดมีผลต่อการอ่านหนังสือของนักเรียน ร้อยละ๑๐๐ และโรงเรียนควรจัดให้มีกิจกรรมส่งเสริม การอ่านทุกปี ร้อยละ ๑๐๐