SlideShare une entreprise Scribd logo
1  sur  6
ชิ้นงานที่ 14 เรื่อง อริยสัจ 4
อริยสัจ 4
หลักธรรม
ไตรลักษณ์ • อริยสัจ 4 • มรรค 8 • ปฏิจจสมุปบาท • มงคล 38
นิกาย
เถรวาท • มหายาน • วัชรยาน
สังคมศาสนาพุทธ
ปฏิทิน • บุคคล • วันสาคัญ • ศาสนสถาน
การจาริกแสวงบุญ
พุทธสังเวชนียสถาน •
การแสวงบุญในพุทธภูมิ
ดูเพิ่มเติม
อภิธานศัพท์ศาสนาพุทธ
หมวดหมู่ศาสนาพุทธ
อริยสัจ หรือจตุราริยสัจ หรืออริยสัจ 4 เป็นหลักคาสอนหนึ่งของพระโคตมพุทธเจ้า แปลว่า ความจริงอันประเสริฐ ความจริงของพระอริยะ หรือความ
จริงที่ทาให้ผู้เข้าถึงกลายเป็นอริยะ มีอยู่สี่ประการ คือ
1. ทุกข์ คือ สภาพที่ทนได้ยาก ภาวะที่ทนอยู่ในสภาพเดิมไม่ได้ สภาพที่บีบคั้น ได้แก่ ชาติ (การเกิด) ชรา (การแก่ การเก่า) มรณะ (การตาย การสลาย
ไป การสูญสิ้น) การประสบกับสิ่งอันไม่เป็นที่รัก การพลัดพรากจากสิ่งอันเป็นที่รัก การปรารถนาสิ่งใดแล้วไม่สมหวังในสิ่งนั้น กล่าวโดยย่อ ทุกข์ก็
คืออุปาทานขันธ์ หรือขันธ์ 5
2. สมุทัย คือ สาเหตุที่ทาให้เกิดทุกข์ ได้แก่ ตัณหา 3 คือ กามตัณหา-ความทะยานอยากในกาม ความอยากได้ทางกามารมณ์, ภวตัณหา-ความทะยาน
อยากในภพ ความอยากเป็นโน่นเป็นนี่ ความอยากที่ประกอบด้วยภวทิฏฐิหรือสัสสตทิฏฐิ และ วิภวตัณหา-ความทะยานอยากในความปราศจากภพ
ความอยากไม่เป็นโน่นเป็นนี่ ความอยากที่ประกอบด้วยวิภวทิฏฐิหรืออุจเฉททิฏฐิ
3. นิโรธ คือ ความดับทุกข์ได้แก่ ดับสาเหตุที่ทาให้เกิดทุกข์กล่าวคือ ดับตัณหาทั้ง 3 ได้อย่างสิ้นเชิง
4. มรรค คือ แนวปฏิบัติที่นาไปสู่หรือนาไปถึงความดับทุกข์ มีองค์ประกอบอยู่แปดประการ คือ 1. สัมมาทิฏฐิ-ความเห็นชอบ 2. สัมมาสังกัปปะ-ความ
ดาริชอบ 3. สัมมาวาจา-เจรจาชอบ 4. สัมมากัมมันตะ-ทาการงานชอบ 5. สัมมาอาชีวะ-เลี้ยงชีพชอบ 6. สัมมาวายามะ-พยายามชอบ 7. สัมมาสติ-ระลึก
ชอบ และ 8. สัมมาสมาธิ-ตั้งใจชอบ ซึ่งรวมเรียกอีกชื่อหนึ่งได้ว่า "มัชฌิมาปฏิปทา"หรือทางสายกลาง
มรรคมีองค์แปดนี้สรุปลงในไตรสิกขา ได้ดังนี้ 1. อธิสีลสิกขา ได้แก่ สัมมาวาจา สัมมากัมมันตะ และสัมมาอาชีวะ 2. อธิจิตสิกขา ได้แก่ สัมมาวายามะ
สัมมาสติ และสัมมาสมาธิ และ 3. อธิปัญญาสิกขา ได้แก่ สัมมาทิฏฐิ และสัมมาสังกัปปะ
อริยสัจ 4 นี้ เรียกสั้น ๆ ว่า ทุกข์สมุทัย นิโรธ และมรรค
กิจในอริยสัจ 4
กิจในอริยสัจ คือสิ่งที่ต้องทาต่ออริยสัจ 4 แต่ละข้อ ได้แก่
1.ปริญญา - ทุกข์ควรรู้ คือการทาความเข้าใจปัญหาหรือสภาวะที่เป็นทุกข์อย่างตรงไปตรงมาตามความเป็นจริง เป็นการเผชิญหน้ากับปัญหา
2.ปหานะ - สมุทัย ควรละ คือการกาจัดสาเหตุที่ทาให้เกิดทุกข์ เป็นการแก้ปัญหาที่เหตุต้นตอ
3.สัจฉิกิริยา - นิโรธ ควรทาให้แจ้ง คือการเข้าถึงภาวะดับทุกข์ หมายถึงภาวะที่ไร้ปัญหาซึ่งเป็นจุดมุ่งหมาย
4.ภาวนา - มรรค ควรเจริญ คือการฝึกอบรมปฏิบัติตามทางเพื่อให้ถึงความดับแห่งทุกข์ หมายถึงวิธีการหรือทางที่จะนาไปสู่จุดหมายที่ไร้ปัญหา
กิจทั้งสี่นี้จะต้องปฏิบัติให้ตรงกับมรรคแต่ละข้อให้ถูกต้อง การรู้จักกิจในอริยสัจนี้เรียกว่ากิจญาณ
กิจญาณเป็นส่วนหนึ่งของญาณ 3 หรือญาณทัสสนะ (สัจญาณ, กิจญาณ, กตญาณ) ซึ่งหมายถึงการหยั่งรู้ครบสามรอบ ญาณทั้งสามเมื่อเข้าคู่กับกิจในอริยสัจทั้งสี่จึงได้เป็นญาณทัสนะมีอาการ 12 ดังนี้
1.สัจญาณ หยั่งรู้ความจริงสี่ประการว่า
1.นี่คือทุกข์
2.นี่คือเหตุแห่งทุกข์
3.นี่คือความดับทุกข์
4.นี่คือทางแห่งความดับทุกข์
2.กิจญาณ หยั่งรู้หน้าที่ต่ออริยสัจว่า
1.ทุกข์ควรรู้
2.เหตุแห่งทุกข์ควรละ
3.ความดับทุกข์ควรทาให้ประจักษ์แจ้ง
4.ทางแห่งความดับทุกข์ควรฝึกหัดให้เจริญขึ้น
3.กตญาณ หยั่งรู้ว่าได้ทากิจที่ควรทาได้เสร็จสิ้นแล้ว
1.ทุกข์ได้กาหนดรู้แล้ว
2.เหตุแห่งทุกข์ได้ละแล้ว
3.ความดับทุกข์ได้ประจักษ์แจ้งแล้ว
4.ทางแห่งความดับทุกข์ได้ปฏิบัติแล้ว
ชิ้นงานที่ 15 คาถามทบทวนอริยสัจ 4
คาถามทบทวน อริยส้จ 4
1.อริยสัจ 4 คืออะไร
ตอบ ความจริงอันประเสริฐ ความจิงของพระอริยะ หรือความจิงที่ทาให้ผู้เข้าถึงกลายเป็นอริยะ
2.กิจในอริยสัจ 4 ที่ต้องทาได้แก่
ตอบ ปริญญา, ปหานะ, สัจฉิกิริยา, ภาวนา
3.กรรมนิกายคือ อะไร
ตอบ กฎแห่งการกระทาของมนุษย์ หรือเรียก กฎแห่งกรรม
4.ความอยากได้ความทะเยอทะยาน ตรงกับอริยสัจ 4 ข้อใด
ตอบ สมุทัย
5. โภคอาทิยะ หมายถึงอะไร
ตอบ หลักธรรมที่สอนเกี่ยวกับการใช้จ่ายทรัพย์ที่หามาได้
6.การคบคนดีเป็น มิตร ตรงกับ ความหมายใด
ตอบ การเลือกคบคนดี คนมีคุณธรรม และ มีความรู้
7. ทิฎฐธัมมิกัตถประโยชน์ มี 4 ประการคือ
ตอบ 1.อุฎฐานสัมปทา ความขยันหมั่นเพียร
2.อารักขาสัมปทา การเก็บรักษา
3.กัลยาณมิตร การคบคนดีเป็นมิตร
4.การดารงชีพที่เหมาะสมพอดี หรือตามกาลัง
8.อริยสัจ 4 หรือ จตุราริยสัจ เป็นคาสอนของใคร
ตอบ พระโคตมพุทธเจ้า
9.อปริหานิยธรรมแปลว่า อะไร
ตอบ ธรรมอันไม่เป็นที่ตั้งแห่งความเสื่อม ธรรมที่ทาให้เกิดวามเจริญทั้ง ส่วนตนและส่วนรวม
10.การค้าขายที่ผิดกฎหมายผิดศีลธรรมเป็นธรรมที่ควรละ ข้อใด
ตอบ สมุทัย ( มิจฉาวณิชชา 5)

Contenu connexe

Tendances

ปรัชญาพุทธศาสนา
ปรัชญาพุทธศาสนาปรัชญาพุทธศาสนา
ปรัชญาพุทธศาสนาYota Bhikkhu
 
พระสงฆ์กับการเมือง
พระสงฆ์กับการเมืองพระสงฆ์กับการเมือง
พระสงฆ์กับการเมืองPadvee Academy
 
ธรรมะสำหรับนักศึกษา : การประยุกต์ใช้หลักพุทธธรรม
ธรรมะสำหรับนักศึกษา : การประยุกต์ใช้หลักพุทธธรรมธรรมะสำหรับนักศึกษา : การประยุกต์ใช้หลักพุทธธรรม
ธรรมะสำหรับนักศึกษา : การประยุกต์ใช้หลักพุทธธรรมPadvee Academy
 
คุณธรรมข้าราชการ
คุณธรรมข้าราชการ คุณธรรมข้าราชการ
คุณธรรมข้าราชการ Theeraphisith Candasaro
 
อริยสัจ4และการปล่อยวาง
อริยสัจ4และการปล่อยวางอริยสัจ4และการปล่อยวาง
อริยสัจ4และการปล่อยวางสาวกปิศาจ Kudo
 
หลักธรรมทางพระพุทธศาสนา
หลักธรรมทางพระพุทธศาสนาหลักธรรมทางพระพุทธศาสนา
หลักธรรมทางพระพุทธศาสนาmagicgirl123
 
บทที่ ๑ ศาสนาโบราณ
บทที่ ๑ ศาสนาโบราณบทที่ ๑ ศาสนาโบราณ
บทที่ ๑ ศาสนาโบราณPadvee Academy
 
หลักธรรมพุทธศาสนา
หลักธรรมพุทธศาสนาหลักธรรมพุทธศาสนา
หลักธรรมพุทธศาสนาkruudompcccr
 
พุทธศาสนามหายาน ตอน นิกายมาธยมิกะ
พุทธศาสนามหายาน ตอน นิกายมาธยมิกะพุทธศาสนามหายาน ตอน นิกายมาธยมิกะ
พุทธศาสนามหายาน ตอน นิกายมาธยมิกะPadvee Academy
 
074หลักธรรมทางพระพุทธศาสนา
074หลักธรรมทางพระพุทธศาสนา074หลักธรรมทางพระพุทธศาสนา
074หลักธรรมทางพระพุทธศาสนาniralai
 
ศาสนาโบราณ บทที่ ๒
ศาสนาโบราณ บทที่ ๒ ศาสนาโบราณ บทที่ ๒
ศาสนาโบราณ บทที่ ๒ Padvee Academy
 
หลักพุทธธรรมในทางเศรษฐกิจ
หลักพุทธธรรมในทางเศรษฐกิจหลักพุทธธรรมในทางเศรษฐกิจ
หลักพุทธธรรมในทางเศรษฐกิจPadvee Academy
 
จักรวาลในพุทธปรัชญาเถรวาท
จักรวาลในพุทธปรัชญาเถรวาทจักรวาลในพุทธปรัชญาเถรวาท
จักรวาลในพุทธปรัชญาเถรวาทPadvee Academy
 
บทที่ 3 ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับพระพุทธศาสนาและปรัชญา
บทที่ 3 ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับพระพุทธศาสนาและปรัชญาบทที่ 3 ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับพระพุทธศาสนาและปรัชญา
บทที่ 3 ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับพระพุทธศาสนาและปรัชญาเตชะชิน เก้าเดือนยี่
 
วิชาพุทธปรัชญา : ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับพระพุทธศาสนาและปรัชญา
วิชาพุทธปรัชญา : ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับพระพุทธศาสนาและปรัชญาวิชาพุทธปรัชญา : ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับพระพุทธศาสนาและปรัชญา
วิชาพุทธปรัชญา : ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับพระพุทธศาสนาและปรัชญาPadvee Academy
 
บทที่ 3 ความแตกต่างระหว่างปรัชญากับศาสนา
บทที่ 3 ความแตกต่างระหว่างปรัชญากับศาสนาบทที่ 3 ความแตกต่างระหว่างปรัชญากับศาสนา
บทที่ 3 ความแตกต่างระหว่างปรัชญากับศาสนาPadvee Academy
 
วิชาพุทธปรัชญา : พื้นฐานพุทธปรัชญา
วิชาพุทธปรัชญา : พื้นฐานพุทธปรัชญาวิชาพุทธปรัชญา : พื้นฐานพุทธปรัชญา
วิชาพุทธปรัชญา : พื้นฐานพุทธปรัชญาPadvee Academy
 

Tendances (20)

ปรัชญาพุทธศาสนา
ปรัชญาพุทธศาสนาปรัชญาพุทธศาสนา
ปรัชญาพุทธศาสนา
 
พระสงฆ์กับการเมือง
พระสงฆ์กับการเมืองพระสงฆ์กับการเมือง
พระสงฆ์กับการเมือง
 
ธรรมะสำหรับนักศึกษา : การประยุกต์ใช้หลักพุทธธรรม
ธรรมะสำหรับนักศึกษา : การประยุกต์ใช้หลักพุทธธรรมธรรมะสำหรับนักศึกษา : การประยุกต์ใช้หลักพุทธธรรม
ธรรมะสำหรับนักศึกษา : การประยุกต์ใช้หลักพุทธธรรม
 
กรรมฐาน (สื่อการสอน ๒) สัปดาห์ที่ ๒
กรรมฐาน (สื่อการสอน ๒) สัปดาห์ที่ ๒กรรมฐาน (สื่อการสอน ๒) สัปดาห์ที่ ๒
กรรมฐาน (สื่อการสอน ๒) สัปดาห์ที่ ๒
 
กรรมฐาน (สื่อการสอน ๑) สัปดาห์ที่ ๑
กรรมฐาน (สื่อการสอน ๑) สัปดาห์ที่ ๑กรรมฐาน (สื่อการสอน ๑) สัปดาห์ที่ ๑
กรรมฐาน (สื่อการสอน ๑) สัปดาห์ที่ ๑
 
คุณธรรมข้าราชการ
คุณธรรมข้าราชการ คุณธรรมข้าราชการ
คุณธรรมข้าราชการ
 
อริยสัจ4และการปล่อยวาง
อริยสัจ4และการปล่อยวางอริยสัจ4และการปล่อยวาง
อริยสัจ4และการปล่อยวาง
 
หลักธรรมทางพระพุทธศาสนา
หลักธรรมทางพระพุทธศาสนาหลักธรรมทางพระพุทธศาสนา
หลักธรรมทางพระพุทธศาสนา
 
บทที่ ๑ ศาสนาโบราณ
บทที่ ๑ ศาสนาโบราณบทที่ ๑ ศาสนาโบราณ
บทที่ ๑ ศาสนาโบราณ
 
หลักธรรมพุทธศาสนา
หลักธรรมพุทธศาสนาหลักธรรมพุทธศาสนา
หลักธรรมพุทธศาสนา
 
พุทธศาสนามหายาน ตอน นิกายมาธยมิกะ
พุทธศาสนามหายาน ตอน นิกายมาธยมิกะพุทธศาสนามหายาน ตอน นิกายมาธยมิกะ
พุทธศาสนามหายาน ตอน นิกายมาธยมิกะ
 
074หลักธรรมทางพระพุทธศาสนา
074หลักธรรมทางพระพุทธศาสนา074หลักธรรมทางพระพุทธศาสนา
074หลักธรรมทางพระพุทธศาสนา
 
ศาสนาโบราณ บทที่ ๒
ศาสนาโบราณ บทที่ ๒ ศาสนาโบราณ บทที่ ๒
ศาสนาโบราณ บทที่ ๒
 
หลักพุทธธรรมในทางเศรษฐกิจ
หลักพุทธธรรมในทางเศรษฐกิจหลักพุทธธรรมในทางเศรษฐกิจ
หลักพุทธธรรมในทางเศรษฐกิจ
 
590805 บทที่-3-แก้ไขแล้ว
590805 บทที่-3-แก้ไขแล้ว590805 บทที่-3-แก้ไขแล้ว
590805 บทที่-3-แก้ไขแล้ว
 
จักรวาลในพุทธปรัชญาเถรวาท
จักรวาลในพุทธปรัชญาเถรวาทจักรวาลในพุทธปรัชญาเถรวาท
จักรวาลในพุทธปรัชญาเถรวาท
 
บทที่ 3 ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับพระพุทธศาสนาและปรัชญา
บทที่ 3 ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับพระพุทธศาสนาและปรัชญาบทที่ 3 ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับพระพุทธศาสนาและปรัชญา
บทที่ 3 ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับพระพุทธศาสนาและปรัชญา
 
วิชาพุทธปรัชญา : ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับพระพุทธศาสนาและปรัชญา
วิชาพุทธปรัชญา : ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับพระพุทธศาสนาและปรัชญาวิชาพุทธปรัชญา : ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับพระพุทธศาสนาและปรัชญา
วิชาพุทธปรัชญา : ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับพระพุทธศาสนาและปรัชญา
 
บทที่ 3 ความแตกต่างระหว่างปรัชญากับศาสนา
บทที่ 3 ความแตกต่างระหว่างปรัชญากับศาสนาบทที่ 3 ความแตกต่างระหว่างปรัชญากับศาสนา
บทที่ 3 ความแตกต่างระหว่างปรัชญากับศาสนา
 
วิชาพุทธปรัชญา : พื้นฐานพุทธปรัชญา
วิชาพุทธปรัชญา : พื้นฐานพุทธปรัชญาวิชาพุทธปรัชญา : พื้นฐานพุทธปรัชญา
วิชาพุทธปรัชญา : พื้นฐานพุทธปรัชญา
 

En vedette

3 FocusVasc-magazine (Feb 2016) Nascholingsartikel-2 Nierschade
3 FocusVasc-magazine (Feb 2016) Nascholingsartikel-2 Nierschade3 FocusVasc-magazine (Feb 2016) Nascholingsartikel-2 Nierschade
3 FocusVasc-magazine (Feb 2016) Nascholingsartikel-2 NierschadeYvo Sijpkens
 
The Office- Employee Retention
The Office- Employee RetentionThe Office- Employee Retention
The Office- Employee RetentionShawn Salmons
 
Pdf examen 3 guardado gomez jorge mauricio
Pdf examen 3 guardado gomez jorge mauricioPdf examen 3 guardado gomez jorge mauricio
Pdf examen 3 guardado gomez jorge mauriciojosue manuel peñuelas
 
Prof Anil gupta 15 min session IIMPACT16
Prof Anil gupta 15 min session IIMPACT16Prof Anil gupta 15 min session IIMPACT16
Prof Anil gupta 15 min session IIMPACT16Prashant Kothari
 
Where is the Aussie Dollar Headed in 2016 - Our AUDUSD Analysis
Where is the Aussie Dollar Headed in 2016 - Our AUDUSD AnalysisWhere is the Aussie Dollar Headed in 2016 - Our AUDUSD Analysis
Where is the Aussie Dollar Headed in 2016 - Our AUDUSD AnalysisGo Markets
 
Big_Data_and_Machine_Learning_in_Plastic_Surgery__.45 (5)
Big_Data_and_Machine_Learning_in_Plastic_Surgery__.45 (5)Big_Data_and_Machine_Learning_in_Plastic_Surgery__.45 (5)
Big_Data_and_Machine_Learning_in_Plastic_Surgery__.45 (5)Jonathan Kanevsky, MD, FRCSC
 
Mantenimiento preventivo para una pc
Mantenimiento preventivo para una pcMantenimiento preventivo para una pc
Mantenimiento preventivo para una pcHector Peñalva
 
Iimpact 2016 deep v9.9.9_apr_07
Iimpact 2016 deep v9.9.9_apr_07Iimpact 2016 deep v9.9.9_apr_07
Iimpact 2016 deep v9.9.9_apr_07Prashant Kothari
 

En vedette (20)

CERTIFICATION
CERTIFICATIONCERTIFICATION
CERTIFICATION
 
Factores de produccion
Factores de produccionFactores de produccion
Factores de produccion
 
3 FocusVasc-magazine (Feb 2016) Nascholingsartikel-2 Nierschade
3 FocusVasc-magazine (Feb 2016) Nascholingsartikel-2 Nierschade3 FocusVasc-magazine (Feb 2016) Nascholingsartikel-2 Nierschade
3 FocusVasc-magazine (Feb 2016) Nascholingsartikel-2 Nierschade
 
The Office- Employee Retention
The Office- Employee RetentionThe Office- Employee Retention
The Office- Employee Retention
 
Pdf examen 3 guardado gomez jorge mauricio
Pdf examen 3 guardado gomez jorge mauricioPdf examen 3 guardado gomez jorge mauricio
Pdf examen 3 guardado gomez jorge mauricio
 
Prof Anil gupta 15 min session IIMPACT16
Prof Anil gupta 15 min session IIMPACT16Prof Anil gupta 15 min session IIMPACT16
Prof Anil gupta 15 min session IIMPACT16
 
Masterthesis uiteindelijke versie
Masterthesis uiteindelijke versieMasterthesis uiteindelijke versie
Masterthesis uiteindelijke versie
 
Reading to Children in Delhi, India
Reading to Children in Delhi, IndiaReading to Children in Delhi, India
Reading to Children in Delhi, India
 
Kan jeg klare det
Kan jeg klare detKan jeg klare det
Kan jeg klare det
 
catalog Dayko
catalog Daykocatalog Dayko
catalog Dayko
 
Where is the Aussie Dollar Headed in 2016 - Our AUDUSD Analysis
Where is the Aussie Dollar Headed in 2016 - Our AUDUSD AnalysisWhere is the Aussie Dollar Headed in 2016 - Our AUDUSD Analysis
Where is the Aussie Dollar Headed in 2016 - Our AUDUSD Analysis
 
Credito agropecuario-favf
Credito agropecuario-favfCredito agropecuario-favf
Credito agropecuario-favf
 
บิ๊กแบง1
บิ๊กแบง1บิ๊กแบง1
บิ๊กแบง1
 
Propranolol_versus_Corticosteroids_in_the.27
Propranolol_versus_Corticosteroids_in_the.27Propranolol_versus_Corticosteroids_in_the.27
Propranolol_versus_Corticosteroids_in_the.27
 
خرائط المفهوم
خرائط المفهومخرائط المفهوم
خرائط المفهوم
 
Big_Data_and_Machine_Learning_in_Plastic_Surgery__.45 (5)
Big_Data_and_Machine_Learning_in_Plastic_Surgery__.45 (5)Big_Data_and_Machine_Learning_in_Plastic_Surgery__.45 (5)
Big_Data_and_Machine_Learning_in_Plastic_Surgery__.45 (5)
 
Trea Trade katalog 1
Trea Trade   katalog 1Trea Trade   katalog 1
Trea Trade katalog 1
 
Trabajo final c.n
Trabajo final c.nTrabajo final c.n
Trabajo final c.n
 
Mantenimiento preventivo para una pc
Mantenimiento preventivo para una pcMantenimiento preventivo para una pc
Mantenimiento preventivo para una pc
 
Iimpact 2016 deep v9.9.9_apr_07
Iimpact 2016 deep v9.9.9_apr_07Iimpact 2016 deep v9.9.9_apr_07
Iimpact 2016 deep v9.9.9_apr_07
 

Similaire à อริยสัจ 4

หลักธรรมทางพระพุทธศาสนา
หลักธรรมทางพระพุทธศาสนาหลักธรรมทางพระพุทธศาสนา
หลักธรรมทางพระพุทธศาสนาprimpatcha
 
ธรรมะเสวนา พระพุทธและพระธรรม
ธรรมะเสวนา พระพุทธและพระธรรมธรรมะเสวนา พระพุทธและพระธรรม
ธรรมะเสวนา พระพุทธและพระธรรมTaweedham Dhamtawee
 
หลักการหรือคำสอนแห่งพระพุทธศาสนา
หลักการหรือคำสอนแห่งพระพุทธศาสนาหลักการหรือคำสอนแห่งพระพุทธศาสนา
หลักการหรือคำสอนแห่งพระพุทธศาสนาNew Nan
 
ศีลเป็นเยี่ยมในโลก
ศีลเป็นเยี่ยมในโลกศีลเป็นเยี่ยมในโลก
ศีลเป็นเยี่ยมในโลกKiat Chaloemkiat
 
ธรรมที่จำเป็น สู่การพ้นทุกข์ 20170616
ธรรมที่จำเป็น สู่การพ้นทุกข์ 20170616ธรรมที่จำเป็น สู่การพ้นทุกข์ 20170616
ธรรมที่จำเป็น สู่การพ้นทุกข์ 20170616Sombat Nakasathien
 
1 อริยวินัย ฉบับพิมพ์ครั้งที่ 10 ariyavinaya10th
1 อริยวินัย ฉบับพิมพ์ครั้งที่ 10  ariyavinaya10th1 อริยวินัย ฉบับพิมพ์ครั้งที่ 10  ariyavinaya10th
1 อริยวินัย ฉบับพิมพ์ครั้งที่ 10 ariyavinaya10thTongsamut vorasan
 
1 อริยวินัย ฉบับพิมพ์ครั้งที่ 10 ariyavinaya10th
1 อริยวินัย ฉบับพิมพ์ครั้งที่ 10  ariyavinaya10th1 อริยวินัย ฉบับพิมพ์ครั้งที่ 10  ariyavinaya10th
1 อริยวินัย ฉบับพิมพ์ครั้งที่ 10 ariyavinaya10thTongsamut vorasan
 
สิ่งที่ชาวพุทธต้องรู้
สิ่งที่ชาวพุทธต้องรู้สิ่งที่ชาวพุทธต้องรู้
สิ่งที่ชาวพุทธต้องรู้Tongsamut vorasan
 
วิจารณ์การศึกษาไทย
วิจารณ์การศึกษาไทยวิจารณ์การศึกษาไทย
วิจารณ์การศึกษาไทยTongsamut vorasan
 
การจัดการเรียนรู้วิถึพุทธ
การจัดการเรียนรู้วิถึพุทธการจัดการเรียนรู้วิถึพุทธ
การจัดการเรียนรู้วิถึพุทธmahaoath พระมหาโอ๊ท
 
ระลึกบุญ มาฆบูชา 7 มีนาคม 2555
ระลึกบุญ มาฆบูชา 7 มีนาคม 2555ระลึกบุญ มาฆบูชา 7 มีนาคม 2555
ระลึกบุญ มาฆบูชา 7 มีนาคม 2555Carzanova
 
2014-07-04 การบริหารงานแนวพุทธ
2014-07-04 การบริหารงานแนวพุทธ2014-07-04 การบริหารงานแนวพุทธ
2014-07-04 การบริหารงานแนวพุทธNopporn Thepsithar
 
ส อการเร_ยนร__เร__องศาสนาพ_ทธ
ส  อการเร_ยนร__เร__องศาสนาพ_ทธส  อการเร_ยนร__เร__องศาสนาพ_ทธ
ส อการเร_ยนร__เร__องศาสนาพ_ทธOrraya Swager
 
สื่อการเรียนรู้เรื่องศาสนาพุทธ
สื่อการเรียนรู้เรื่องศาสนาพุทธสื่อการเรียนรู้เรื่องศาสนาพุทธ
สื่อการเรียนรู้เรื่องศาสนาพุทธNet'Net Zii
 
ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับศาสนา
ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับศาสนาความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับศาสนา
ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับศาสนาPadvee Academy
 
Blc 40หัวข้อเรื่องธรรมะบทเทศน์สอนใช้บ่อย
Blc 40หัวข้อเรื่องธรรมะบทเทศน์สอนใช้บ่อยBlc 40หัวข้อเรื่องธรรมะบทเทศน์สอนใช้บ่อย
Blc 40หัวข้อเรื่องธรรมะบทเทศน์สอนใช้บ่อยblcdhamma
 
แรงบันดาลใจจากความตาย
แรงบันดาลใจจากความตาย แรงบันดาลใจจากความตาย
แรงบันดาลใจจากความตาย Maha Duangthip Dhamma
 
หลักปฏิรูปเทสในพระพุทธศาสนากับการประยุกต์ใช้ในสังคมไทย
หลักปฏิรูปเทสในพระพุทธศาสนากับการประยุกต์ใช้ในสังคมไทยหลักปฏิรูปเทสในพระพุทธศาสนากับการประยุกต์ใช้ในสังคมไทย
หลักปฏิรูปเทสในพระพุทธศาสนากับการประยุกต์ใช้ในสังคมไทยPadvee Academy
 
เป้าหมายของชีวิตตามหลักพระพุทธศาสนา
เป้าหมายของชีวิตตามหลักพระพุทธศาสนาเป้าหมายของชีวิตตามหลักพระพุทธศาสนา
เป้าหมายของชีวิตตามหลักพระพุทธศาสนาศศิพร แซ่เฮ้ง
 

Similaire à อริยสัจ 4 (20)

หลักธรรมทางพระพุทธศาสนา
หลักธรรมทางพระพุทธศาสนาหลักธรรมทางพระพุทธศาสนา
หลักธรรมทางพระพุทธศาสนา
 
อริยสัจ ๔
 อริยสัจ ๔ อริยสัจ ๔
อริยสัจ ๔
 
ธรรมะเสวนา พระพุทธและพระธรรม
ธรรมะเสวนา พระพุทธและพระธรรมธรรมะเสวนา พระพุทธและพระธรรม
ธรรมะเสวนา พระพุทธและพระธรรม
 
หลักการหรือคำสอนแห่งพระพุทธศาสนา
หลักการหรือคำสอนแห่งพระพุทธศาสนาหลักการหรือคำสอนแห่งพระพุทธศาสนา
หลักการหรือคำสอนแห่งพระพุทธศาสนา
 
ศีลเป็นเยี่ยมในโลก
ศีลเป็นเยี่ยมในโลกศีลเป็นเยี่ยมในโลก
ศีลเป็นเยี่ยมในโลก
 
ธรรมที่จำเป็น สู่การพ้นทุกข์ 20170616
ธรรมที่จำเป็น สู่การพ้นทุกข์ 20170616ธรรมที่จำเป็น สู่การพ้นทุกข์ 20170616
ธรรมที่จำเป็น สู่การพ้นทุกข์ 20170616
 
1 อริยวินัย ฉบับพิมพ์ครั้งที่ 10 ariyavinaya10th
1 อริยวินัย ฉบับพิมพ์ครั้งที่ 10  ariyavinaya10th1 อริยวินัย ฉบับพิมพ์ครั้งที่ 10  ariyavinaya10th
1 อริยวินัย ฉบับพิมพ์ครั้งที่ 10 ariyavinaya10th
 
1 อริยวินัย ฉบับพิมพ์ครั้งที่ 10 ariyavinaya10th
1 อริยวินัย ฉบับพิมพ์ครั้งที่ 10  ariyavinaya10th1 อริยวินัย ฉบับพิมพ์ครั้งที่ 10  ariyavinaya10th
1 อริยวินัย ฉบับพิมพ์ครั้งที่ 10 ariyavinaya10th
 
สิ่งที่ชาวพุทธต้องรู้
สิ่งที่ชาวพุทธต้องรู้สิ่งที่ชาวพุทธต้องรู้
สิ่งที่ชาวพุทธต้องรู้
 
วิจารณ์การศึกษาไทย
วิจารณ์การศึกษาไทยวิจารณ์การศึกษาไทย
วิจารณ์การศึกษาไทย
 
การจัดการเรียนรู้วิถึพุทธ
การจัดการเรียนรู้วิถึพุทธการจัดการเรียนรู้วิถึพุทธ
การจัดการเรียนรู้วิถึพุทธ
 
ระลึกบุญ มาฆบูชา 7 มีนาคม 2555
ระลึกบุญ มาฆบูชา 7 มีนาคม 2555ระลึกบุญ มาฆบูชา 7 มีนาคม 2555
ระลึกบุญ มาฆบูชา 7 มีนาคม 2555
 
2014-07-04 การบริหารงานแนวพุทธ
2014-07-04 การบริหารงานแนวพุทธ2014-07-04 การบริหารงานแนวพุทธ
2014-07-04 การบริหารงานแนวพุทธ
 
ส อการเร_ยนร__เร__องศาสนาพ_ทธ
ส  อการเร_ยนร__เร__องศาสนาพ_ทธส  อการเร_ยนร__เร__องศาสนาพ_ทธ
ส อการเร_ยนร__เร__องศาสนาพ_ทธ
 
สื่อการเรียนรู้เรื่องศาสนาพุทธ
สื่อการเรียนรู้เรื่องศาสนาพุทธสื่อการเรียนรู้เรื่องศาสนาพุทธ
สื่อการเรียนรู้เรื่องศาสนาพุทธ
 
ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับศาสนา
ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับศาสนาความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับศาสนา
ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับศาสนา
 
Blc 40หัวข้อเรื่องธรรมะบทเทศน์สอนใช้บ่อย
Blc 40หัวข้อเรื่องธรรมะบทเทศน์สอนใช้บ่อยBlc 40หัวข้อเรื่องธรรมะบทเทศน์สอนใช้บ่อย
Blc 40หัวข้อเรื่องธรรมะบทเทศน์สอนใช้บ่อย
 
แรงบันดาลใจจากความตาย
แรงบันดาลใจจากความตาย แรงบันดาลใจจากความตาย
แรงบันดาลใจจากความตาย
 
หลักปฏิรูปเทสในพระพุทธศาสนากับการประยุกต์ใช้ในสังคมไทย
หลักปฏิรูปเทสในพระพุทธศาสนากับการประยุกต์ใช้ในสังคมไทยหลักปฏิรูปเทสในพระพุทธศาสนากับการประยุกต์ใช้ในสังคมไทย
หลักปฏิรูปเทสในพระพุทธศาสนากับการประยุกต์ใช้ในสังคมไทย
 
เป้าหมายของชีวิตตามหลักพระพุทธศาสนา
เป้าหมายของชีวิตตามหลักพระพุทธศาสนาเป้าหมายของชีวิตตามหลักพระพุทธศาสนา
เป้าหมายของชีวิตตามหลักพระพุทธศาสนา
 

Plus de ศศิพร แซ่เฮ้ง

Isหรือisisคืออะไรจะแก้ไขอย่างไร
Isหรือisisคืออะไรจะแก้ไขอย่างไรIsหรือisisคืออะไรจะแก้ไขอย่างไร
Isหรือisisคืออะไรจะแก้ไขอย่างไรศศิพร แซ่เฮ้ง
 
สาเหตุของสงครามครูเสดคืออะไรจบลงอย่างไร
สาเหตุของสงครามครูเสดคืออะไรจบลงอย่างไรสาเหตุของสงครามครูเสดคืออะไรจบลงอย่างไร
สาเหตุของสงครามครูเสดคืออะไรจบลงอย่างไรศศิพร แซ่เฮ้ง
 
สาเหตุของสงครามโลกครั้งที่1และ2คืออะไรจบลงอย่างไร
สาเหตุของสงครามโลกครั้งที่1และ2คืออะไรจบลงอย่างไรสาเหตุของสงครามโลกครั้งที่1และ2คืออะไรจบลงอย่างไร
สาเหตุของสงครามโลกครั้งที่1และ2คืออะไรจบลงอย่างไรศศิพร แซ่เฮ้ง
 
หลักการสร้างสันติสุขสันติภาพ
หลักการสร้างสันติสุขสันติภาพหลักการสร้างสันติสุขสันติภาพ
หลักการสร้างสันติสุขสันติภาพศศิพร แซ่เฮ้ง
 
เป้าหมายของชีวิตตามหลักพระพุทธศาสนา
เป้าหมายของชีวิตตามหลักพระพุทธศาสนาเป้าหมายของชีวิตตามหลักพระพุทธศาสนา
เป้าหมายของชีวิตตามหลักพระพุทธศาสนาศศิพร แซ่เฮ้ง
 
เป้าหมายชีวิตตามหลักวิทยาศาสตร์
เป้าหมายชีวิตตามหลักวิทยาศาสตร์เป้าหมายชีวิตตามหลักวิทยาศาสตร์
เป้าหมายชีวิตตามหลักวิทยาศาสตร์ศศิพร แซ่เฮ้ง
 

Plus de ศศิพร แซ่เฮ้ง (20)

Isหรือisisคืออะไรจะแก้ไขอย่างไร
Isหรือisisคืออะไรจะแก้ไขอย่างไรIsหรือisisคืออะไรจะแก้ไขอย่างไร
Isหรือisisคืออะไรจะแก้ไขอย่างไร
 
สาเหตุของสงครามครูเสดคืออะไรจบลงอย่างไร
สาเหตุของสงครามครูเสดคืออะไรจบลงอย่างไรสาเหตุของสงครามครูเสดคืออะไรจบลงอย่างไร
สาเหตุของสงครามครูเสดคืออะไรจบลงอย่างไร
 
สาเหตุของสงครามโลกครั้งที่1และ2คืออะไรจบลงอย่างไร
สาเหตุของสงครามโลกครั้งที่1และ2คืออะไรจบลงอย่างไรสาเหตุของสงครามโลกครั้งที่1และ2คืออะไรจบลงอย่างไร
สาเหตุของสงครามโลกครั้งที่1และ2คืออะไรจบลงอย่างไร
 
หลักการสร้างสันติสุขสันติภาพ
หลักการสร้างสันติสุขสันติภาพหลักการสร้างสันติสุขสันติภาพ
หลักการสร้างสันติสุขสันติภาพ
 
เป้าหมายของชีวิตตามหลักพระพุทธศาสนา
เป้าหมายของชีวิตตามหลักพระพุทธศาสนาเป้าหมายของชีวิตตามหลักพระพุทธศาสนา
เป้าหมายของชีวิตตามหลักพระพุทธศาสนา
 
เป้าหมายชีวิตตามหลักวิทยาศาสตร์
เป้าหมายชีวิตตามหลักวิทยาศาสตร์เป้าหมายชีวิตตามหลักวิทยาศาสตร์
เป้าหมายชีวิตตามหลักวิทยาศาสตร์
 
อริยสัจ4
อริยสัจ4อริยสัจ4
อริยสัจ4
 
มงคลชีวิต 38 ประการ
มงคลชีวิต 38 ประการมงคลชีวิต 38 ประการ
มงคลชีวิต 38 ประการ
 
มงคลชีวิต 38 ประการ
มงคลชีวิต 38 ประการมงคลชีวิต 38 ประการ
มงคลชีวิต 38 ประการ
 
ไตรสิกขา
ไตรสิกขาไตรสิกขา
ไตรสิกขา
 
ไตรลักษณ์
ไตรลักษณ์ ไตรลักษณ์
ไตรลักษณ์
 
กฏแห่งกรรม3
กฏแห่งกรรม3กฏแห่งกรรม3
กฏแห่งกรรม3
 
ขันธ์52
ขันธ์52ขันธ์52
ขันธ์52
 
บิ๊กแบง1
บิ๊กแบง1บิ๊กแบง1
บิ๊กแบง1
 
บิ๊กแบง1
บิ๊กแบง1บิ๊กแบง1
บิ๊กแบง1
 
บิ๊กแบง1
บิ๊กแบง1บิ๊กแบง1
บิ๊กแบง1
 
บิ๊กแบง1
บิ๊กแบง1บิ๊กแบง1
บิ๊กแบง1
 
สรุป.Ppt
สรุป.Pptสรุป.Ppt
สรุป.Ppt
 
สรุป.Ppt
สรุป.Pptสรุป.Ppt
สรุป.Ppt
 
Clip.ppt
Clip.pptClip.ppt
Clip.ppt
 

อริยสัจ 4

  • 2. อริยสัจ 4 หลักธรรม ไตรลักษณ์ • อริยสัจ 4 • มรรค 8 • ปฏิจจสมุปบาท • มงคล 38 นิกาย เถรวาท • มหายาน • วัชรยาน สังคมศาสนาพุทธ ปฏิทิน • บุคคล • วันสาคัญ • ศาสนสถาน การจาริกแสวงบุญ พุทธสังเวชนียสถาน • การแสวงบุญในพุทธภูมิ ดูเพิ่มเติม อภิธานศัพท์ศาสนาพุทธ หมวดหมู่ศาสนาพุทธ
  • 3. อริยสัจ หรือจตุราริยสัจ หรืออริยสัจ 4 เป็นหลักคาสอนหนึ่งของพระโคตมพุทธเจ้า แปลว่า ความจริงอันประเสริฐ ความจริงของพระอริยะ หรือความ จริงที่ทาให้ผู้เข้าถึงกลายเป็นอริยะ มีอยู่สี่ประการ คือ 1. ทุกข์ คือ สภาพที่ทนได้ยาก ภาวะที่ทนอยู่ในสภาพเดิมไม่ได้ สภาพที่บีบคั้น ได้แก่ ชาติ (การเกิด) ชรา (การแก่ การเก่า) มรณะ (การตาย การสลาย ไป การสูญสิ้น) การประสบกับสิ่งอันไม่เป็นที่รัก การพลัดพรากจากสิ่งอันเป็นที่รัก การปรารถนาสิ่งใดแล้วไม่สมหวังในสิ่งนั้น กล่าวโดยย่อ ทุกข์ก็ คืออุปาทานขันธ์ หรือขันธ์ 5 2. สมุทัย คือ สาเหตุที่ทาให้เกิดทุกข์ ได้แก่ ตัณหา 3 คือ กามตัณหา-ความทะยานอยากในกาม ความอยากได้ทางกามารมณ์, ภวตัณหา-ความทะยาน อยากในภพ ความอยากเป็นโน่นเป็นนี่ ความอยากที่ประกอบด้วยภวทิฏฐิหรือสัสสตทิฏฐิ และ วิภวตัณหา-ความทะยานอยากในความปราศจากภพ ความอยากไม่เป็นโน่นเป็นนี่ ความอยากที่ประกอบด้วยวิภวทิฏฐิหรืออุจเฉททิฏฐิ 3. นิโรธ คือ ความดับทุกข์ได้แก่ ดับสาเหตุที่ทาให้เกิดทุกข์กล่าวคือ ดับตัณหาทั้ง 3 ได้อย่างสิ้นเชิง 4. มรรค คือ แนวปฏิบัติที่นาไปสู่หรือนาไปถึงความดับทุกข์ มีองค์ประกอบอยู่แปดประการ คือ 1. สัมมาทิฏฐิ-ความเห็นชอบ 2. สัมมาสังกัปปะ-ความ ดาริชอบ 3. สัมมาวาจา-เจรจาชอบ 4. สัมมากัมมันตะ-ทาการงานชอบ 5. สัมมาอาชีวะ-เลี้ยงชีพชอบ 6. สัมมาวายามะ-พยายามชอบ 7. สัมมาสติ-ระลึก ชอบ และ 8. สัมมาสมาธิ-ตั้งใจชอบ ซึ่งรวมเรียกอีกชื่อหนึ่งได้ว่า "มัชฌิมาปฏิปทา"หรือทางสายกลาง มรรคมีองค์แปดนี้สรุปลงในไตรสิกขา ได้ดังนี้ 1. อธิสีลสิกขา ได้แก่ สัมมาวาจา สัมมากัมมันตะ และสัมมาอาชีวะ 2. อธิจิตสิกขา ได้แก่ สัมมาวายามะ สัมมาสติ และสัมมาสมาธิ และ 3. อธิปัญญาสิกขา ได้แก่ สัมมาทิฏฐิ และสัมมาสังกัปปะ อริยสัจ 4 นี้ เรียกสั้น ๆ ว่า ทุกข์สมุทัย นิโรธ และมรรค
  • 4. กิจในอริยสัจ 4 กิจในอริยสัจ คือสิ่งที่ต้องทาต่ออริยสัจ 4 แต่ละข้อ ได้แก่ 1.ปริญญา - ทุกข์ควรรู้ คือการทาความเข้าใจปัญหาหรือสภาวะที่เป็นทุกข์อย่างตรงไปตรงมาตามความเป็นจริง เป็นการเผชิญหน้ากับปัญหา 2.ปหานะ - สมุทัย ควรละ คือการกาจัดสาเหตุที่ทาให้เกิดทุกข์ เป็นการแก้ปัญหาที่เหตุต้นตอ 3.สัจฉิกิริยา - นิโรธ ควรทาให้แจ้ง คือการเข้าถึงภาวะดับทุกข์ หมายถึงภาวะที่ไร้ปัญหาซึ่งเป็นจุดมุ่งหมาย 4.ภาวนา - มรรค ควรเจริญ คือการฝึกอบรมปฏิบัติตามทางเพื่อให้ถึงความดับแห่งทุกข์ หมายถึงวิธีการหรือทางที่จะนาไปสู่จุดหมายที่ไร้ปัญหา กิจทั้งสี่นี้จะต้องปฏิบัติให้ตรงกับมรรคแต่ละข้อให้ถูกต้อง การรู้จักกิจในอริยสัจนี้เรียกว่ากิจญาณ กิจญาณเป็นส่วนหนึ่งของญาณ 3 หรือญาณทัสสนะ (สัจญาณ, กิจญาณ, กตญาณ) ซึ่งหมายถึงการหยั่งรู้ครบสามรอบ ญาณทั้งสามเมื่อเข้าคู่กับกิจในอริยสัจทั้งสี่จึงได้เป็นญาณทัสนะมีอาการ 12 ดังนี้ 1.สัจญาณ หยั่งรู้ความจริงสี่ประการว่า 1.นี่คือทุกข์ 2.นี่คือเหตุแห่งทุกข์ 3.นี่คือความดับทุกข์ 4.นี่คือทางแห่งความดับทุกข์ 2.กิจญาณ หยั่งรู้หน้าที่ต่ออริยสัจว่า 1.ทุกข์ควรรู้ 2.เหตุแห่งทุกข์ควรละ 3.ความดับทุกข์ควรทาให้ประจักษ์แจ้ง 4.ทางแห่งความดับทุกข์ควรฝึกหัดให้เจริญขึ้น 3.กตญาณ หยั่งรู้ว่าได้ทากิจที่ควรทาได้เสร็จสิ้นแล้ว 1.ทุกข์ได้กาหนดรู้แล้ว 2.เหตุแห่งทุกข์ได้ละแล้ว 3.ความดับทุกข์ได้ประจักษ์แจ้งแล้ว 4.ทางแห่งความดับทุกข์ได้ปฏิบัติแล้ว
  • 6. คาถามทบทวน อริยส้จ 4 1.อริยสัจ 4 คืออะไร ตอบ ความจริงอันประเสริฐ ความจิงของพระอริยะ หรือความจิงที่ทาให้ผู้เข้าถึงกลายเป็นอริยะ 2.กิจในอริยสัจ 4 ที่ต้องทาได้แก่ ตอบ ปริญญา, ปหานะ, สัจฉิกิริยา, ภาวนา 3.กรรมนิกายคือ อะไร ตอบ กฎแห่งการกระทาของมนุษย์ หรือเรียก กฎแห่งกรรม 4.ความอยากได้ความทะเยอทะยาน ตรงกับอริยสัจ 4 ข้อใด ตอบ สมุทัย 5. โภคอาทิยะ หมายถึงอะไร ตอบ หลักธรรมที่สอนเกี่ยวกับการใช้จ่ายทรัพย์ที่หามาได้ 6.การคบคนดีเป็น มิตร ตรงกับ ความหมายใด ตอบ การเลือกคบคนดี คนมีคุณธรรม และ มีความรู้ 7. ทิฎฐธัมมิกัตถประโยชน์ มี 4 ประการคือ ตอบ 1.อุฎฐานสัมปทา ความขยันหมั่นเพียร 2.อารักขาสัมปทา การเก็บรักษา 3.กัลยาณมิตร การคบคนดีเป็นมิตร 4.การดารงชีพที่เหมาะสมพอดี หรือตามกาลัง 8.อริยสัจ 4 หรือ จตุราริยสัจ เป็นคาสอนของใคร ตอบ พระโคตมพุทธเจ้า 9.อปริหานิยธรรมแปลว่า อะไร ตอบ ธรรมอันไม่เป็นที่ตั้งแห่งความเสื่อม ธรรมที่ทาให้เกิดวามเจริญทั้ง ส่วนตนและส่วนรวม 10.การค้าขายที่ผิดกฎหมายผิดศีลธรรมเป็นธรรมที่ควรละ ข้อใด ตอบ สมุทัย ( มิจฉาวณิชชา 5)