SlideShare une entreprise Scribd logo
1  sur  14
ชิ้นงานที่ 18 เรื่อง เป้าหมายของชีวิตตามหลักพระพุทธศาสนา
พระพุทธศาสนาวางเป้าหมายชีวิตไว้3 ระดับ
1. เป้าหมายระดับพื้นฐาน(ทิฏฐธัมมิกัตถะ) หมายถึง เป้าหมายประโยชน์ในระดับชีวิตประจาวันที่มนุษย์ในสังคมต้องการ คือ
ขยันหมั่นเพียร (อุฏฐานสัมปทา)
เก็บออมทรัพย์(อารักขสัมปทา)
คบคนดีเป็นเพื่อน (กัลยาณมิตตตา)
ใช้ทรัพย์เป็น (สมชีวิตา)
2. เป้าหมายระดับกลาง (สัมปรายิกัตถะ) เน้นที่ความเจริญงอกงามแห่งจิตใจ เป็นคุณค่าที่แท้จริงของชีวิต คือ
มีศรัทธา เชื่อในพระรัตนตรัย เชื่อในกรรม และผลของกรรม
มีศีล ความประพฤติทางกาย วาจา เรียบร้อย
จาคะ ความเสียสละ
ปัญญา รู้อะไรดีอะไรชั่ว
3. เป้าหมายระดับสูงสุด (ปรมัตถะ) หมายถึง ประโยชน์ที่เป็นแก่นแท้ของชีวิต เป็นจุดหมายสุดท้ายที่ชีวิตจะพึงบรรลุ คือ การบรรลุนิพพาน
พระพุทธศาสนาอุบัติขึ้นเมื่อ ก่อนพุทธศักราช๔๕ ปี โดยมีพระบรมศาสดาสัมมาสัมพุทธเจ้าทรงค้นพบหลักสัจธรรมด้วยการตรัสรู้
สิ่ง ที่พระองค์ได้มาจากการตรัสรู้คือธรรมะ ซึ่งเป็นกฎเกณฑ์ที่ถูกต้องอันมีอยู่ตามธรรมชาติ พระองค์มิได้สร้างขึ้น หรือเป็นเจ้าของ
เพียงแต่เป็นผู้ค้นพบ แล้วนามาเผยแพร่แก่ประชาชนทั่วไป ให้เกิดมีปัญญาเห็นแจ้ง สามารถทะลุฝ่าข้ามความมืดมนแห่งอวิชชาได้
และมองเห็นเป้าหมายของชีวิตอย่างชัดเจน สามารถปฏิบัติตามเป้าหมายนั้นได้อย่างได้ผล
พระพุทธศาสนาเกิด ขึ้นมาเพื่อขจัดความทุกข์ให้แก่มนุษย์อย่างแท้จริงดังที่พระพุทธองค์ตรัสว่า ทั้งในอดีตและปัจจุบัน ตถาคตจะพูด
แต่เรื่องทุกข์กับความดับทุกข์ เท่านั้น” เรื่องอื่นทีไม่เกี่ยวกับเรื่องแก้ปัญหาความทุกข์ของมนุษย์ พระพุทธองค์จะไม่ตรัส ทรง
เปรียบความรู้ (ธรรมะ) ที่พระองค์ตรัสรู้มีมากมายเหมือนใบไม้ที่อยู่ในป่า แต่ธรรมะที่มีความจาเป็นในการนามาสอนเพื่อขจัดทุกข์
นั้น เหมือนกับใบไม้ที่อยู่ในกามือ ปัจจุบัน นี้เป็นยุคแห่งข้อมูลข่าวสารปรากฏมีข่าวสารที่ไม่มีประโยชน์มากมายอันเป็นพิษภัยแก่
ผู้คน ก็เหมือนใบไม้ที่อยู่ในป่า เป็นข่าวสารที่ไม่มีประโยชน์ในการแก้ปัญหาสาหรับมนุษย์ เป้าหมายของพุทธศาสนาคือการดับทุกข์
มีอยู่สองระดับ ได้แก่
๑.เป้าหมายระดับต้น อันเป็นไปเพื่อประโยชน์ปัจจุบัน (ทิฏฐธัมมิกัตถะ) ได้แก่การมีคุณภาพชีวิตที่ดี มีความสมบูรณ์ทางด้านร่างกายและความเป็นอยู่ที่ดี มีความมั่นคง
ทางเศรษฐกิจ มีสถานภาพที่ดีในสังคม มีเกียรติ การจะบรรลุถึงเป้าหมายระดับนี้ จะต้องประกอบด้วยหลักธรรมสาคัญได้แก่ ความขยันหมั่นเพียรไม่เกียจคร้านในการ
ทางาน , ความประหยัด อดออม รู้จักรักษาทรัพย์สมบัติที่หามาได้มิให้เสื่อม, การรู้จักพบปะคบหาสมาคมกับคนดีแล้วนาเอาคุณสมบัติของคนดีมาเป็นแบบอย่าง, และ รู้
วิธีหาทรัพย์สินเงินทอง และรู้จักทางเสื่อมของ เงินทอง แล้วใช้จ่ายทรัพย์ตามความจาเป็น ผู้ที่จะบรรลุเป้าหมายของชีวิตในขั้นนี้จะต้องปฏิบัติตามแนวทางแห่งธรรม อย่าง
ถูกต้อง ก็จะได้รับผลคือความสุขความสาเร็จในชีวิตประจาวัน
๒.เป้าหมายระดับกลาง อันเป็นไปเพื่อประโยชน์เบื้องหน้า (สัม ปรายิกัตถะ) ได้แก่การมีคุณธรรมความดีงามทางด้านจิตใจ มีความสุขสงบใจ มีสุขภาพจิตที่ดี อันเป็น
ความสุขทางด้านจิตใจที่เกิดจากการประกอบคุณงามความดี การจะบรรลุถึงเป้าหมายในระดับนี้ จะต้องประกอบด้วยธรรม ๔ ประการ คือ ศรัทธา เชื่อมั่นในพระพุทธเจ้า
และคาสอน, ศีล ประพฤติตนตามศีล ๕, จาคะ มีจิตใจเอื้อเฟื้อเผื่อแผ่ เสียสละ, และ ปัญญา รู้แจ้งในสิ่งต่างๆ ตามจริง เป้าหมายระดับนี้นอกจากจะทาให้บุคคลมีความสุข
ทางด้านจิตใจแล้ว ยังส่งผลให้บุคคลได้พบกับความสุขในโลกหน้า คือสุคติโลกสวรรค์ภายหลังจากตายไปแล้ว
๓. เป้าหมายระดับสูง อันเป็นไปเพื่อประโยชน์สูงสุด (ปรัตถะ) การบรรลุถึงความหลุดพ้น คือพระนิพพานอันเป็นความสุขอย่างยิ่ง(นิพพาน ปรม สุข) วิธีการที่จะบรรลุ
ถึง เป้าหมายสูงสุดได้จะต้องปฏิบัติตามอริยมรรคมีองค์ ๘ ได้แก่ สัมมาทิฏฐิ มีความเห็นชอบ, สัมมาสังกัปปะ ดาริชอบ, สัมมาวาจา เจรจาชอบ, สัมมากัมมันตะ การงาน
ชอบ, สัมมาอาชีวะ เลี้ยงชีพชอบ, สัมมาวายามะพยายามชอบ, สัมมาสติ ระลึกชอบ, และสัมมาสมาธิ ตั้งใจชอบ เมื่อบุคคลฝึกฝนอบรมตนเองตามอริยมรรคมีองค์๘ นี้
แล้ว ย่อมบรรลุถึงเป้าหมายสูงสุดของ พระพุทธศาสนา
เป้าหมายชีวิตมนุษย์มี ๓ ระดับ
๑. เมื่อมีชีวิตอยู่ในปัจจุบัน ต้องสามารถทาประโยชน์ตนและอยู่อย่างเป็นสุข หมายถึงสามารถยืนบนขาของตัวเอง ตั้งหลัก ตั้งฐานะได้จะทา
สาเร็จได้ต้องอาศัยการดาเนินชีวิตตามธรรม ๔ ประการ คือ อุฏฐานสัมปทา อารักขสัมปทา กัลยาณมิตตตา สมชีวิตา
๒. ชีวิตหลังความตายอยู่อย่างเป็นสุข ต้องปิดทางไปนรกและเปิดทางไปสวรรค์ โดยอาศัยการดาเนินชีวิตในปัจจุบันตามธรรม ๔ ประการ คือ
ศรัทธา ศีล จาคะ ปัญญา
๓. การบรรลุธรรมไปตามลาดับ ธรรมชั้นในสุด คือ นิพพาน เพื่อขจัดทุกข์ กาจัดกิเลสไปสู่การไม่เกิดอีก ด้วยการปฏิบัติอริยมรรคมีองค์ 8
ศรัทธาของพุทธศาสนิกชนไม่ว่าจะเป็นคฤหัสถ์หรือบรรพชิตก็คือศรัทธาเดียวกัน นี้ แล้วเป็นหน้าที่ของทุกคนที่จะขวนขวายพาตนเองไปเข้าวัด
ศึกษาธรรม ฟังธรรม ปฏิบัติธรรมให้ เข้าใจและเพิ่มพูนศรัทธาของตน เพื่อให้ใจมีความเลื่อมใสในคุณของพระสัมมาสัมพุทธเจ้าจึงจะเกิดฉันทะ
และความตั้งใจดาเนินตามเส้นทางของพระบรมศาสดาสามารถเข้าใจธรรมที่ลึกซึ้งยิ่งขึ้นจะเป็นเหตุให้ใจสว่างไสวด้วยธรรม มีธรรมคุ้มครอง
เมื่อนั้นการกระทาทางความคิด คาพูด การกระทาทางกาย ก็จะเป็นไปในทางที่สร้างสรรค์ดีงาม จะเป็นเส้นทางชีวิตเพื่อการสั่งสมบุญสร้างบารมี เพื่อการ
บรรลุธรรมตามพระพุทธองค์เพื่อให้มวลมนุษย์ประสบความสาเร็จในชีวิตในทุกระดับตามความปรารถนาของเรานั่นเอง
การรู้จักตนเองตามคาสอนของพระพุทธศาสนาหมายถึงอย่างไร
ดุลยภาพของชีวิต ในมุมมองของพระพุทธศาสนา
บทความทางพุทธศาสนา
เพราะ สุขและทุกข์เป็นธรรมชาติของชีวิต ดังนั้นจึงจาเป็นที่มนุษย์จะต้องศึกษาพัฒนาทั้งสุขและทุกข์เพื่อให้มี ดุลยภาพในการดาเนินชีวิต ให้ชีวิตดาเนิน
ไปในแนวทางที่สอดคล้องกับธรรมชาติ แต่ในยุคที่โลกเต็มไปด้วยสิ่งอานวยความสะดวก มีวัตถุพรั่งพร้อม มนุษย์มีความเข้าใจผิดว่าวัตถุคือสิ่งที่จะ
ตอบสนองความต้องการทั้งหมดของ ชีวิต ยิ่งมีวัตถุมาปรนเปรอมากเท่าใดก็ย่อมจะมีความสุขมากเท่านั้น มนุษย์จึงพยายามพัฒนาทางด้านวัตถุเพื่อ
ตอบสนองความต้องการทางด้านร่างกาย แต่ในทางจิตใจหาได้พัฒนาไม่ ดังนั้นมนุษย์จึงเสีย ดุลยภาพของชีวิตไป ตกอยู่ภายใต้การครอบงาของวัตถุ ทาให้
มนุษย์มีใจเสาะ เปราะบาง อ่อนแอ ทุกข์ได้ง่าย สุขได้ยาก
ตามหลักพระพุทธศาสนานั้นมนุษย์เป็นผล ผลิตจากธรรมชาติ เป็นส่วนหนึ่งของธรรมชาติ เมื่อมนุษย์เป็นส่วนหนึ่งของธรรมชาติ จึงต้องตกอยู่
ภายใต้กฎเกณฑ์ธรรมชาติอย่างหลีกเลี่ยงไม่ได้ และ เมื่อสุขและทุกข์เป็นธรรมชาติของชีวิตจึงนับว่าเป็นคุณสมบัติที่สาคัญที่จะ ต้องรู้เท่าทันและ
พัฒนาให้ชีวิตเกิดดุลยภาพอันจะทาให้มนุษย์อยู่กับธรรมชาติ ได้ อย่างเป็นปกติ ดังนั้นทั้งสุขและทุกข์เป็นคุณสมบัติชนิดหนึ่งที่มนุษย์จะต้อง
ปฏิบัติให้ถูก ต้องกล่าวคือ สุขคือสิ่งที่มนุษย์จะต้องพัฒนาให้เกิดขึ้นในชีวิตส่วนทุกข์คือสิ่งที่ มนุษย์จะต้องกาหนดรู้และปฏิบัติให้ถูกต้อง หน้าที่
ต่อทุกข์ของมนุษย์ได้แก่การรู้เท่าทัน ส่วนสุขนั้นมีหน้าที่พัฒนาให้เกิดขึ้น ซึ่งสาระสาคัญของหน้าที่ทั้งต่อสุขและทุกข์นั้นสามารถกล่าวโดยสรุป
ตามหลัก การของพระพุทธศาสนาได้ ๒ ประการ ดังนี้
๑. การรู้เท่าทันทุกข์ พระพุทธศาสนามองว่าชีวิตและสรรพสิ่งล้วนตกอยู่ภายใต้กฎธรรมชาติทั้ง ๓ ประการคือ ๑) การเปลี่ยนแปลง (อนิจจัง) ๒)
การตั้งอยู่ในสภาพเดิมไม่ได้ (ทุกขัง) ๓) การไม่มีตัวตนที่แท้จริงเพราะปรากฏรูปร่างขึ้นมาได้ด้วย เหตุปัจจัย (อนัตตา) ทั้ง ๓ ประการนี้
พระพุทธศาสนาเรียกว่ากฎธรรมชาติ ซึ่งสรรพสิ่งทั้งโลกและชีวิตจะต้องตกอยู่ภายใต้กฎทั้ง ๓ ประการนี้ อาการทั้งสองเบื้องต้นคือการ
เปลี่ยนแปลง (อนิจจัง) และการตั้งอยู่ในสภาพเดิมไม่ได้ (ทุกขัง) แสดงอาการปรากฏให้เห็นได้ง่ายโดย
รูปของการเปลี่ยนแปลง เช่นการเปลี่ยนแปลงของรูปร่าง เป็นต้น ส่วนประการสุดท้ายคือการไม่มีตัวตนที่แท้จริง (อนัตตา) เป็นสภาพที่จะต้องใช้
ปัญญาในการสืบหาความจริงตามเหตุปัจจัย
ทุกข์ คือกฎของธรรมชาติชนิดหนึ่ง เป็นสิ่งที่เป็นไปตามธรรมชาติ มีอยู่ตามธรรมชาติ เมื่อทั้งโลก และชีวิตเป็นส่วนหนึ่งของธรรมชาติจึง ต้องตกอยู่
ภายใต้กฎธรรมชาติ การเปลี่ยนแปลงเหล่านี้เป็นไปตามกฎธรรมชาติ คือเป็นไปตามเหตุ ปัจจัย จากกฎธรรมชาติคือสิ่งทั้งปวงมีการเปลี่ยนแปลงนี้จึงมี
ผลต่อมนุษย์ทั้งโดยตรง และโดยอ้อม โดยตรงคือชีวิตร่างกายมนุษย์เปลี่ยนแปลงไปตาม กฎธรรมชาติโดยที่มนุษย์ไม่ต้องการให้เปลี่ยนแปลง โดยอ้อม
คือการเปลี่ยนแปลงตามธรรมชาตินั้นทาให้มีผลต่อจิตใจมนุษย์โดยก่อให้ เกิดทุกข์เพราะการเปลี่ยนแปลงไม่เป็นไปตามที่มนุษย์ปรารถนาจะให้เป็น
เมื่อว่าโดยหลักการของพระพุทธศาสนาที่มองว่าสรรพสิ่งที่รวมตัวกันด้วยเหตุ ปัจจัยล้วนตกอยู่ภายใต้อาการคือ การเกิดขึ้น ตั้งอยู่และดับไปซึ่งเป็น
อาการของการเปลี่ยนแปลงทั้งสิ้น ดังนั้นพระพุทธศาสนาจึงมีหลักการว่า ทุกข์เป็นสิ่งที่มนุษย์ต้องรู้ด้วยปัญญา การเปลี่ยนแปลงตามกฎธรรมชาติไม่
ควรมีอิทธิพลเหนือจิตใจของมนุษย์ และไม่ใช่สิ่งที่มนุษย์จะเอาชีวิตเราเข้าไปเป็นทุกข์อันเนื่องมาจากการ เปลี่ยนแปลง มนุษย์ต้องรู้เท่าทันทุกข์ที่มีตาม
ธรรมชาติที่โยงมาหาชีวิต กล่าวโดยสรุปคือทุกข์มีไว้เพื่อรู้เท่าทัน (ทุกขัง ปริญเญญยัง) ไม่ใช่มีไว้เพื่อเป็นทุกข์
๒. การพัฒนาสุข พระพุทธศาสนามองว่าความสุขเป็นสิ่งพัฒนาได้ เพราะความสุขเมื่อเกิดขึ้นอย่างถูกต้องแล้วจะเป็นคุณสมบัติในใจของมนุษย์
โดยพระพุทธศาสนาให้เหตุผลว่าเมื่อมนุษย์เป็นสัตว์ที่สามารถพัฒนาได้ความสุข ซึ่งเป็นธรรมชาติอย่างหนึ่งของชีวิตจึงเป็นสิ่งพัฒนาได้เช่นกัน เมื่อ
เราพัฒนาความ สุขให้ประณีตขึ้น สูงขึ้นก็จะทาให้ชีวิตดีขึ้นคือทาให้ชีวิตของเรามีคุณธรรมต่าง ๆ เพิ่มขึ้น และความสุขที่เราพัฒนาขึ้นนอกจากจะ
เกื้อกูลต่อตนเองแล้วยังทาให้เกื้อกูลต่อ ผู้อื่นหรือสังคมด้วย เพราะปกติถ้าการแสวงหาความสุขเพียงเพื่อตนเองโดยไม่มีการพัฒนาความสุขให้สูง
ขึ้นจะทาให้มีการเบียดเบียนผู้อื่น เพื่อให้ตนเองได้รับความสุข แต่หากมีการพัฒนาความสุขให้สูงขึ้น ความสุขที่ได้รับการพัฒนาให้สูงขึ้นตามลาดับ
นั้นจะทาให้สังคมมีสันติมากขึ้น
ระดับ ของความสุขตามนัยของพระพุทธศาสนานั้นมีขอบเขตที่กว้างขวาง แต่ในที่นี้สามารถสรุปได้ ๕ ระดับ คือ ความสุขขั้นที่ ๑ ได้แก่ความสุขที่
เกิดจากวัตถุ (สามิสสุข) ความสุขชนิดเป็นความสุขที่เกิดจาก
การเสพวัตถุทางตา หู จมูก ลิ้น กายของมนุษย์ ความสุขชนิดนี้เป็นความสุขที่อิงอาศัยวัตถุภายนอก มนุษย์ต้องแสวงหาวัตถุภายนอกเพื่อเสพ
ความสุขชนิดนี้ข้อเสียของความสุขชนิดนี้คือเมื่อจาต้องอาศัยวัตถุภายนอกมนุษย์จึงจาต้อง แสวงหาให้ได้มากที่สุดเพื่อตอบสนองความต้องการของ
ตนเองจึงมีการเบียดเบียน กันเพื่อให้ได้มาซึ่งวัตถุอันจะตอบสนองความต้องการของตนเอง หากมนุษย์ยึดติดกับความสุขชนิดนี้โดยไม่พัฒนาให้ถึง
ความสุขขั้นสูงขึ้นก็ก่อ ให้เกิดการเบียดเบียนกันเพราะต่างก็ต้องแสวงหาวัตถุให้ได้มากที่สุดตามความ ต้องการ สาหรับการเสพความสุขชนิดนี้
พระพุทธศาสนาได้ให้หลักการคือศีล ๕ เพื่อไม่ให้มีการเบียดเบียนกันหรือเพื่อให้มีการเบียดเบียนกันน้อยที่สุดคือ (๑) ให้เสพความสุขโดยไม่ให้
เบียดเบียนผู้อื่น (๒) ไม่ให้ละเมิดสิทธิทรัพย์สมบัติของผู้อื่น (๓) ไม่ให้ละเมิดคู่ครองของผู้อื่น (๔) ไม่ให้ทาลายผลประโยชน์ ผู้อื่นด้วยถ้อยคา (๕)
ไม่ให้สร้างความไม่ปลอดภัยผู้อื่นด้วยการเสพสิ่งเสพติด และความสุขชนิด ดี มีข้อบกพร่องคือด้านตนเองมีความบกพร่องเพราะต้องแสดงว่าอยู่เป็น
ประจาเพื่อ ให้ได้ความสุข ด้านสังคมก็มีการเบียดเบียนกันเพราะต่างก็แสวงหากัน
ความ สุขขั้นที่ ๒ ได้แก่ความสุขที่เกิดจากการให้ ความสุขชนิดนี้เป็นความสุขร่วมกันเพราะผู้ให้ก็เป็นสุขผู้รับก็เป็นสุข เป็นความสุขที่ไม่เบียดเบียนกัน
เปลี่ยนจากการเอาหรือการได้เป็นการให้ ดังปรากฏคาสอนเรื่องทานเป็นหลักปฏิบัติที่สาคัญสาหรับคฤหัสถ์ ความสุขขั้นที่ ๓ ได้แก่ความสุขที่ใช้ชีวิต
ให้ถูกต้องตามธรรมชาติไม่ให้หลงในโลกสมมุติ ความสุขขั้นที่ ๔ ได้แก่ความสุขที่เกิดจากการปรุงแต่งในจิตใจ เป็นความสุขที่ไม่ต้องอิงอาศัยวัตถุ
ภายนอกแต่ทาให้เกิดมีได้ด้วยการปรุงแต่ ให้เกิดมีขึ้นในจิตใจโดยวิธีการ ๕ อย่างคือ (๑) ความเบิกบานใจ (ปราโมทย์) (๒) ความอิ่มใจ (ปีติ) (๓)
ความสงบใจ (ปัสสัทธิ) (๔) ความสุขใจ (สุข) และ (๕) ความมีจิตตั้งมั่น (สมาธิ) ความสุขขั้นที่ ๕ ได้แก่ความสุขเหนือการปรุงแต่งที่เกิดจากปัญญาที่
รู้เท่าทันความเป็นจริงของ กฎธรรมชาติ พระพุทธศาสนายืนยันถึงระดับของความสุขทั้ง ๕ ระดับเหล่านี้และเห็นว่าความสุขทั้ง ๕ ระดับนี้เป็น
ธรรมชาติที่มนุษย์สามารถพัฒนาให้สูงขึ้นได้ตามลาดับ
อ
กล่าว โดยสรุปคือเมื่อเราผ่านโลกผ่านชีวิตมาได้ระดับหนึ่ง เราก็คงเข้าใจคาว่า ชีวิตมีขึ้นมีลงได้อย่างชัดเจน นั่นก็หมายความว่าไม่มีใครโชคร้ายไป
ตลอดและไม่มีใครโชคดีไปตลอด ชีวิตมีสุขและมีทุกข์ปนกันไปแต่ ประเด็นที่สาคัญที่เราจะต้องไม่ลืมก็คือทาอย่างไรเราจะใช้ชีวิตให้มีดุลยภาพ
ระหว่างสุขและทุกข์ โดยรู้ให้เท่าทันทุกข์และพัฒนาสุขอย่างมีหลักการ โดยในยาม ที่มีสุขเราก็ไม่หลงระเริงลืมตนจนกลายเป็นการสร้างทุกข์ให้คน
อื่นหรือยึดติด เพียงความสุขในระดับต้น ๆ ไม่พัฒนาความสุขให้สูงขึ้น และทาอย่างไรในยามที่เรามีทุกข์ก็ไม่ใช่จมดิ่งอยู่กับทุกข์อย่างไม่รู้วัน รู้คืนแต่
รู้จักสร้างปัญญาให้รู้เท่าทันทุกข์.
ชิ้นงานที่ 19 คาถามทบทวนเรื่อง เป้าหมาย ของชีวิตตามหลักพระพุทธศาสนา
คาถามทบทวน เรื่อง เป้ าหมายของชีวิตตามหลักพระพุทธศาสนา
1.เป้ าหมายของชีวิตตามหลัก พระพุทธศาสนา มี กี่ระดับ คืออะไร
ตอบ 3 ระดับ
1.เป้ าหมายระดับพื้นฐาน
2.เป้ าหมายระดับกลาง
3.เป้ าหมายระดับสูงสุด
2.สัมปรานิกัตถะ คือเป้ าหมายเรื่อง ใด
ตอบ มีศรัทธา, มีศีล , จาคะ, ปัญญา
3.ปรมัตถะ หมายถึง อะไร
ตอบ ประโยชน์ที่เป็นแก่นแท้ของชีวิต เป็นจุดหมายสุดท้ายที่ชีวิต บรรลุ คือ การบรรลุ นิพพาน
4.เป้ าหมายของชีวิต ตามหลักพระพุทธศาสนา ตือ อะไร
ตอบ การหลุดพ้นจาก ทุกข์ ทั้งปวงโดยสิ้นเชิง ดับภพชาติ หยุดการเวียนว่ายตายเกิด เพราะเมื่อไม่เกิดอีกเราก็ไม่ต้อง แก่ ไม่เจ็บ ไม่ตาย
และไม่ทุกข์กาย ทุกข์ใจ อีกต่อไป
5.เป้ าหมายระดับสูงสุดทางพุทธศาสนา คืออะไร
ตอบ อริยมรรค มีองค์8
6. เป้ าหมายของพุทธศาสนา คืออะไร
ตอบ การดับทุกข์
7.เมื่อมีชีวิตอยู่ในปัจจุบัน ตั้งหลักตั้งฐานะได้ต่ออาศัยชีวิตตาม ธรรม 4 ประการ คือ
ตอบ อุฎฐานสัมปทา , อารักขสัมปทา , สมชีวิตตา , กัลยาณมิตตตา
8.ปาฏิหาริย์แบ่ง ออกประเภท คือ
ตอบ 1.อิทธิปาฏิหาริย์
2.อาเทศนาปาฏิหาริย์
3.อนุสาสนีปาฏิหาริย์
9.ภพทั้ง 5 คืออะไร
ตอบ 1. เทพ 2. มนุษย์ 3.เดรัจฉาน 4. เปรต – อสูรกาย 5. นรก
10.เป้ าหมายระดับต้น อันเป็นไปเพื่อประโยชน์ปัจจุบัน ได้แก่
ตอบ การมีคุณภาพชีวิตที่ดี มีความสมบูรณ์ทางด้านร่างการ และความเป็นอยู่ที่ดี มีความมั่งคงทาง

Contenu connexe

Tendances

ศาสนาอิสลาม
ศาสนาอิสลามศาสนาอิสลาม
ศาสนาอิสลาม
พัน พัน
 
การบริหารจิตและเจริญปัญญา
การบริหารจิตและเจริญปัญญาการบริหารจิตและเจริญปัญญา
การบริหารจิตและเจริญปัญญา
พัน พัน
 
วันสำคัญทางพระพุทธศาสนา
วันสำคัญทางพระพุทธศาสนาวันสำคัญทางพระพุทธศาสนา
วันสำคัญทางพระพุทธศาสนา
Thongsawan Seeha
 
บทเรียนสำเร็จรูป ประวัติศาสตร์สมัยสุโขทัย
บทเรียนสำเร็จรูป ประวัติศาสตร์สมัยสุโขทัยบทเรียนสำเร็จรูป ประวัติศาสตร์สมัยสุโขทัย
บทเรียนสำเร็จรูป ประวัติศาสตร์สมัยสุโขทัย
airja
 
วันสำคัญทางพระพุทธศาสนา
วันสำคัญทางพระพุทธศาสนาวันสำคัญทางพระพุทธศาสนา
วันสำคัญทางพระพุทธศาสนา
Thongsawan Seeha
 
ปรัชญาทั่วไป ตอน ปรัชญาอินเดีย
ปรัชญาทั่วไป ตอน ปรัชญาอินเดียปรัชญาทั่วไป ตอน ปรัชญาอินเดีย
ปรัชญาทั่วไป ตอน ปรัชญาอินเดีย
Padvee Academy
 
ศาสนาเปรียบเทียบ 1
ศาสนาเปรียบเทียบ 1ศาสนาเปรียบเทียบ 1
ศาสนาเปรียบเทียบ 1
thnaporn999
 
ปริศนาธรรมในพุทธปรัชญา
ปริศนาธรรมในพุทธปรัชญาปริศนาธรรมในพุทธปรัชญา
ปริศนาธรรมในพุทธปรัชญา
pentanino
 
หน่วยการเรียนรู้ที่ 1
หน่วยการเรียนรู้ที่ 1หน่วยการเรียนรู้ที่ 1
หน่วยการเรียนรู้ที่ 1
suchinmam
 

Tendances (20)

ปรัชญาเบื้องต้น บทที่ ๕ คุณวิทยา
ปรัชญาเบื้องต้น บทที่ ๕ คุณวิทยาปรัชญาเบื้องต้น บทที่ ๕ คุณวิทยา
ปรัชญาเบื้องต้น บทที่ ๕ คุณวิทยา
 
ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับศาสนา
ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับศาสนาความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับศาสนา
ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับศาสนา
 
จิตวิทยาในพระไตรปิฎก
จิตวิทยาในพระไตรปิฎก จิตวิทยาในพระไตรปิฎก
จิตวิทยาในพระไตรปิฎก
 
ศาสนาเชน
ศาสนาเชนศาสนาเชน
ศาสนาเชน
 
ศาสนาอิสลาม
ศาสนาอิสลามศาสนาอิสลาม
ศาสนาอิสลาม
 
ศาสนาสากล
ศาสนาสากลศาสนาสากล
ศาสนาสากล
 
การบริหารจิตและเจริญปัญญา
การบริหารจิตและเจริญปัญญาการบริหารจิตและเจริญปัญญา
การบริหารจิตและเจริญปัญญา
 
พระพุทธศาสนานิกายเซน
พระพุทธศาสนานิกายเซนพระพุทธศาสนานิกายเซน
พระพุทธศาสนานิกายเซน
 
วันสำคัญทางพระพุทธศาสนา
วันสำคัญทางพระพุทธศาสนาวันสำคัญทางพระพุทธศาสนา
วันสำคัญทางพระพุทธศาสนา
 
วิชาพุทธปรัชญา : ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับพระพุทธศาสนาและปรัชญา
วิชาพุทธปรัชญา : ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับพระพุทธศาสนาและปรัชญาวิชาพุทธปรัชญา : ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับพระพุทธศาสนาและปรัชญา
วิชาพุทธปรัชญา : ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับพระพุทธศาสนาและปรัชญา
 
บทเรียนสำเร็จรูป ประวัติศาสตร์สมัยสุโขทัย
บทเรียนสำเร็จรูป ประวัติศาสตร์สมัยสุโขทัยบทเรียนสำเร็จรูป ประวัติศาสตร์สมัยสุโขทัย
บทเรียนสำเร็จรูป ประวัติศาสตร์สมัยสุโขทัย
 
ความรู้เรื่องศาสนาแผ่นพับ
ความรู้เรื่องศาสนาแผ่นพับความรู้เรื่องศาสนาแผ่นพับ
ความรู้เรื่องศาสนาแผ่นพับ
 
วันสำคัญทางพระพุทธศาสนา
วันสำคัญทางพระพุทธศาสนาวันสำคัญทางพระพุทธศาสนา
วันสำคัญทางพระพุทธศาสนา
 
ปรัชญาทั่วไป ตอน ปรัชญาอินเดีย
ปรัชญาทั่วไป ตอน ปรัชญาอินเดียปรัชญาทั่วไป ตอน ปรัชญาอินเดีย
ปรัชญาทั่วไป ตอน ปรัชญาอินเดีย
 
ศาสนาเปรียบเทียบ 1
ศาสนาเปรียบเทียบ 1ศาสนาเปรียบเทียบ 1
ศาสนาเปรียบเทียบ 1
 
ปริศนาธรรมในพุทธปรัชญา
ปริศนาธรรมในพุทธปรัชญาปริศนาธรรมในพุทธปรัชญา
ปริศนาธรรมในพุทธปรัชญา
 
ศาสนาซิกข์
ศาสนาซิกข์ศาสนาซิกข์
ศาสนาซิกข์
 
หน่วยการเรียนรู้ที่ 1
หน่วยการเรียนรู้ที่ 1หน่วยการเรียนรู้ที่ 1
หน่วยการเรียนรู้ที่ 1
 
ความรู้พื้นฐานและบ่อเกิดพุทธศาสนามหายาน
ความรู้พื้นฐานและบ่อเกิดพุทธศาสนามหายานความรู้พื้นฐานและบ่อเกิดพุทธศาสนามหายาน
ความรู้พื้นฐานและบ่อเกิดพุทธศาสนามหายาน
 
ปรัชญาเบื้องต้น บทที่ ๑ ความหมายและขอบเขตของปรัชญา
ปรัชญาเบื้องต้น บทที่ ๑ ความหมายและขอบเขตของปรัชญาปรัชญาเบื้องต้น บทที่ ๑ ความหมายและขอบเขตของปรัชญา
ปรัชญาเบื้องต้น บทที่ ๑ ความหมายและขอบเขตของปรัชญา
 

En vedette

ชีวิตตามแนวคิดทางวิทยาศาสตร์
ชีวิตตามแนวคิดทางวิทยาศาสตร์ชีวิตตามแนวคิดทางวิทยาศาสตร์
ชีวิตตามแนวคิดทางวิทยาศาสตร์
ppompuy pantham
 
จริยธรรมในทรรศนะของนักปรัชญาตะวันตก
จริยธรรมในทรรศนะของนักปรัชญาตะวันตกจริยธรรมในทรรศนะของนักปรัชญาตะวันตก
จริยธรรมในทรรศนะของนักปรัชญาตะวันตก
BeeBee ComEdu
 
Final Paper 410
Final Paper 410Final Paper 410
Final Paper 410
George Ly
 

En vedette (20)

เป้าหมายของชีวิตตามหลักพระพุทธศาสนา
เป้าหมายของชีวิตตามหลักพระพุทธศาสนาเป้าหมายของชีวิตตามหลักพระพุทธศาสนา
เป้าหมายของชีวิตตามหลักพระพุทธศาสนา
 
เป้าหมายชีวิตตามหลักวิทยาศาสตร์
เป้าหมายชีวิตตามหลักวิทยาศาสตร์เป้าหมายชีวิตตามหลักวิทยาศาสตร์
เป้าหมายชีวิตตามหลักวิทยาศาสตร์
 
ชีวิตตามแนวคิดทางวิทยาศาสตร์
ชีวิตตามแนวคิดทางวิทยาศาสตร์ชีวิตตามแนวคิดทางวิทยาศาสตร์
ชีวิตตามแนวคิดทางวิทยาศาสตร์
 
เป้าหมายของชีวิตของนักศึกษาในอีก 4 ปี
เป้าหมายของชีวิตของนักศึกษาในอีก 4 ปีเป้าหมายของชีวิตของนักศึกษาในอีก 4 ปี
เป้าหมายของชีวิตของนักศึกษาในอีก 4 ปี
 
A HISTÓRIA DE PRAIA GRANDE
A HISTÓRIA DE PRAIA GRANDEA HISTÓRIA DE PRAIA GRANDE
A HISTÓRIA DE PRAIA GRANDE
 
ความซับซ้อนและทฤษฎีการเปลี่ยนแปลง นำเสนอ มธ.
ความซับซ้อนและทฤษฎีการเปลี่ยนแปลง นำเสนอ มธ.ความซับซ้อนและทฤษฎีการเปลี่ยนแปลง นำเสนอ มธ.
ความซับซ้อนและทฤษฎีการเปลี่ยนแปลง นำเสนอ มธ.
 
จริยธรรมในทรรศนะของนักปรัชญาตะวันตก
จริยธรรมในทรรศนะของนักปรัชญาตะวันตกจริยธรรมในทรรศนะของนักปรัชญาตะวันตก
จริยธรรมในทรรศนะของนักปรัชญาตะวันตก
 
Clip.ppt
Clip.pptClip.ppt
Clip.ppt
 
ахарей мот- средняя группа LS
ахарей мот- средняя группа LSахарей мот- средняя группа LS
ахарей мот- средняя группа LS
 
Process how to get a visa
Process how to get a visaProcess how to get a visa
Process how to get a visa
 
Ахарей мот- подготовительная группа
Ахарей мот- подготовительная группаАхарей мот- подготовительная группа
Ахарей мот- подготовительная группа
 
Final Paper 410
Final Paper 410Final Paper 410
Final Paper 410
 
CV,Ovidijus Bražinskas
CV,Ovidijus BražinskasCV,Ovidijus Bražinskas
CV,Ovidijus Bražinskas
 
Gbi diana velasco y glenda escobar
Gbi diana velasco y glenda escobarGbi diana velasco y glenda escobar
Gbi diana velasco y glenda escobar
 
ахарей мот- старшая группа LS
ахарей мот- старшая группа LSахарей мот- старшая группа LS
ахарей мот- старшая группа LS
 
คลิปกฏแห่งกรรม
คลิปกฏแห่งกรรมคลิปกฏแห่งกรรม
คลิปกฏแห่งกรรม
 
อริยสัจ 4
อริยสัจ 4อริยสัจ 4
อริยสัจ 4
 
Question 3
Question 3Question 3
Question 3
 
redes de computo
redes de computoredes de computo
redes de computo
 
Masterthesis uiteindelijke versie
Masterthesis uiteindelijke versieMasterthesis uiteindelijke versie
Masterthesis uiteindelijke versie
 

Similaire à เป้าหมายของชีวิตตามหลักพระพุทธศาสนา

เป้าหมายของชีวิตตามหลักพระพุทธศาสนา
เป้าหมายของชีวิตตามหลักพระพุทธศาสนาเป้าหมายของชีวิตตามหลักพระพุทธศาสนา
เป้าหมายของชีวิตตามหลักพระพุทธศาสนา
ppompuy pantham
 
บทที่ 1ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับจริยธรรม
บทที่ 1ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับจริยธรรม บทที่ 1ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับจริยธรรม
บทที่ 1ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับจริยธรรม
บรรพต แคไธสง
 
ศึกษาเปรียบเทียบหลักจริยศาสตร์ของโสคราตีสกับพุทธปรัชญาเถรวาท
ศึกษาเปรียบเทียบหลักจริยศาสตร์ของโสคราตีสกับพุทธปรัชญาเถรวาทศึกษาเปรียบเทียบหลักจริยศาสตร์ของโสคราตีสกับพุทธปรัชญาเถรวาท
ศึกษาเปรียบเทียบหลักจริยศาสตร์ของโสคราตีสกับพุทธปรัชญาเถรวาท
pentanino
 
หน้าที่ของชาวพุทธ
หน้าที่ของชาวพุทธหน้าที่ของชาวพุทธ
หน้าที่ของชาวพุทธ
primpatcha
 
ติวศาสนา55
ติวศาสนา55ติวศาสนา55
ติวศาสนา55
Kwandjit Boonmak
 
แนวข้อสอบ วิชา พระพุทธศาสนา
แนวข้อสอบ วิชา พระพุทธศาสนาแนวข้อสอบ วิชา พระพุทธศาสนา
แนวข้อสอบ วิชา พระพุทธศาสนา
Oppo Optioniez
 
บทความเรื่องการบริหารงานตามหลักฆราวาสธรรม ๑
บทความเรื่องการบริหารงานตามหลักฆราวาสธรรม ๑บทความเรื่องการบริหารงานตามหลักฆราวาสธรรม ๑
บทความเรื่องการบริหารงานตามหลักฆราวาสธรรม ๑
วัดดอนทอง กาฬสินธุ์
 
แนวคิดเรื่องกรรมและความจริงสูงสุดของศาสนาเชน
แนวคิดเรื่องกรรมและความจริงสูงสุดของศาสนาเชนแนวคิดเรื่องกรรมและความจริงสูงสุดของศาสนาเชน
แนวคิดเรื่องกรรมและความจริงสูงสุดของศาสนาเชน
Tongsamut vorasan
 
บทความเรื่องการบริหารงานตามหลักฆราวาสธรรม ๒
บทความเรื่องการบริหารงานตามหลักฆราวาสธรรม ๒บทความเรื่องการบริหารงานตามหลักฆราวาสธรรม ๒
บทความเรื่องการบริหารงานตามหลักฆราวาสธรรม ๒
วัดดอนทอง กาฬสินธุ์
 

Similaire à เป้าหมายของชีวิตตามหลักพระพุทธศาสนา (20)

เป้าหมายของชีวิตตามหลักพระพุทธศาสนา
เป้าหมายของชีวิตตามหลักพระพุทธศาสนาเป้าหมายของชีวิตตามหลักพระพุทธศาสนา
เป้าหมายของชีวิตตามหลักพระพุทธศาสนา
 
บทที่ 1ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับจริยธรรม
บทที่ 1ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับจริยธรรม บทที่ 1ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับจริยธรรม
บทที่ 1ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับจริยธรรม
 
ศึกษาเปรียบเทียบหลักจริยศาสตร์ของโสคราตีสกับพุทธปรัชญาเถรวาท
ศึกษาเปรียบเทียบหลักจริยศาสตร์ของโสคราตีสกับพุทธปรัชญาเถรวาทศึกษาเปรียบเทียบหลักจริยศาสตร์ของโสคราตีสกับพุทธปรัชญาเถรวาท
ศึกษาเปรียบเทียบหลักจริยศาสตร์ของโสคราตีสกับพุทธปรัชญาเถรวาท
 
จริยศาสตร์ประเมินบทที่555 3-ปี
จริยศาสตร์ประเมินบทที่555 3-ปีจริยศาสตร์ประเมินบทที่555 3-ปี
จริยศาสตร์ประเมินบทที่555 3-ปี
 
10
1010
10
 
333
333333
333
 
บทความ (สังขาร)
บทความ (สังขาร)บทความ (สังขาร)
บทความ (สังขาร)
 
บทความ (สังขาร)
บทความ (สังขาร)บทความ (สังขาร)
บทความ (สังขาร)
 
งาน
งานงาน
งาน
 
หน้าที่ของชาวพุทธ
หน้าที่ของชาวพุทธหน้าที่ของชาวพุทธ
หน้าที่ของชาวพุทธ
 
พระไตรปิฎก
พระไตรปิฎกพระไตรปิฎก
พระไตรปิฎก
 
Lesson 3
Lesson 3Lesson 3
Lesson 3
 
ความหมายและประเภทของศาสนา
ความหมายและประเภทของศาสนาความหมายและประเภทของศาสนา
ความหมายและประเภทของศาสนา
 
ติวศาสนา55
ติวศาสนา55ติวศาสนา55
ติวศาสนา55
 
ติวศาสนา55
ติวศาสนา55ติวศาสนา55
ติวศาสนา55
 
แนวข้อสอบ วิชา พระพุทธศาสนา
แนวข้อสอบ วิชา พระพุทธศาสนาแนวข้อสอบ วิชา พระพุทธศาสนา
แนวข้อสอบ วิชา พระพุทธศาสนา
 
บทความเรื่องการบริหารงานตามหลักฆราวาสธรรม ๑
บทความเรื่องการบริหารงานตามหลักฆราวาสธรรม ๑บทความเรื่องการบริหารงานตามหลักฆราวาสธรรม ๑
บทความเรื่องการบริหารงานตามหลักฆราวาสธรรม ๑
 
05 ethics
05 ethics05 ethics
05 ethics
 
แนวคิดเรื่องกรรมและความจริงสูงสุดของศาสนาเชน
แนวคิดเรื่องกรรมและความจริงสูงสุดของศาสนาเชนแนวคิดเรื่องกรรมและความจริงสูงสุดของศาสนาเชน
แนวคิดเรื่องกรรมและความจริงสูงสุดของศาสนาเชน
 
บทความเรื่องการบริหารงานตามหลักฆราวาสธรรม ๒
บทความเรื่องการบริหารงานตามหลักฆราวาสธรรม ๒บทความเรื่องการบริหารงานตามหลักฆราวาสธรรม ๒
บทความเรื่องการบริหารงานตามหลักฆราวาสธรรม ๒
 

Plus de ศศิพร แซ่เฮ้ง

Plus de ศศิพร แซ่เฮ้ง (19)

Isหรือisisคืออะไรจะแก้ไขอย่างไร
Isหรือisisคืออะไรจะแก้ไขอย่างไรIsหรือisisคืออะไรจะแก้ไขอย่างไร
Isหรือisisคืออะไรจะแก้ไขอย่างไร
 
สาเหตุของสงครามครูเสดคืออะไรจบลงอย่างไร
สาเหตุของสงครามครูเสดคืออะไรจบลงอย่างไรสาเหตุของสงครามครูเสดคืออะไรจบลงอย่างไร
สาเหตุของสงครามครูเสดคืออะไรจบลงอย่างไร
 
สาเหตุของสงครามโลกครั้งที่1และ2คืออะไรจบลงอย่างไร
สาเหตุของสงครามโลกครั้งที่1และ2คืออะไรจบลงอย่างไรสาเหตุของสงครามโลกครั้งที่1และ2คืออะไรจบลงอย่างไร
สาเหตุของสงครามโลกครั้งที่1และ2คืออะไรจบลงอย่างไร
 
หลักการสร้างสันติสุขสันติภาพ
หลักการสร้างสันติสุขสันติภาพหลักการสร้างสันติสุขสันติภาพ
หลักการสร้างสันติสุขสันติภาพ
 
อริยสัจ4
อริยสัจ4อริยสัจ4
อริยสัจ4
 
มงคลชีวิต 38 ประการ
มงคลชีวิต 38 ประการมงคลชีวิต 38 ประการ
มงคลชีวิต 38 ประการ
 
มงคลชีวิต 38 ประการ
มงคลชีวิต 38 ประการมงคลชีวิต 38 ประการ
มงคลชีวิต 38 ประการ
 
ไตรสิกขา
ไตรสิกขาไตรสิกขา
ไตรสิกขา
 
ไตรลักษณ์
ไตรลักษณ์ ไตรลักษณ์
ไตรลักษณ์
 
กฏแห่งกรรม3
กฏแห่งกรรม3กฏแห่งกรรม3
กฏแห่งกรรม3
 
ขันธ์52
ขันธ์52ขันธ์52
ขันธ์52
 
บิ๊กแบง1
บิ๊กแบง1บิ๊กแบง1
บิ๊กแบง1
 
บิ๊กแบง1
บิ๊กแบง1บิ๊กแบง1
บิ๊กแบง1
 
บิ๊กแบง1
บิ๊กแบง1บิ๊กแบง1
บิ๊กแบง1
 
บิ๊กแบง1
บิ๊กแบง1บิ๊กแบง1
บิ๊กแบง1
 
บิ๊กแบง1
บิ๊กแบง1บิ๊กแบง1
บิ๊กแบง1
 
สรุป.Ppt
สรุป.Pptสรุป.Ppt
สรุป.Ppt
 
สรุป.Ppt
สรุป.Pptสรุป.Ppt
สรุป.Ppt
 
คลิปกฏแห่งกรรม
คลิปกฏแห่งกรรมคลิปกฏแห่งกรรม
คลิปกฏแห่งกรรม
 

เป้าหมายของชีวิตตามหลักพระพุทธศาสนา

  • 1. ชิ้นงานที่ 18 เรื่อง เป้าหมายของชีวิตตามหลักพระพุทธศาสนา
  • 2. พระพุทธศาสนาวางเป้าหมายชีวิตไว้3 ระดับ 1. เป้าหมายระดับพื้นฐาน(ทิฏฐธัมมิกัตถะ) หมายถึง เป้าหมายประโยชน์ในระดับชีวิตประจาวันที่มนุษย์ในสังคมต้องการ คือ ขยันหมั่นเพียร (อุฏฐานสัมปทา) เก็บออมทรัพย์(อารักขสัมปทา) คบคนดีเป็นเพื่อน (กัลยาณมิตตตา) ใช้ทรัพย์เป็น (สมชีวิตา) 2. เป้าหมายระดับกลาง (สัมปรายิกัตถะ) เน้นที่ความเจริญงอกงามแห่งจิตใจ เป็นคุณค่าที่แท้จริงของชีวิต คือ มีศรัทธา เชื่อในพระรัตนตรัย เชื่อในกรรม และผลของกรรม มีศีล ความประพฤติทางกาย วาจา เรียบร้อย จาคะ ความเสียสละ ปัญญา รู้อะไรดีอะไรชั่ว 3. เป้าหมายระดับสูงสุด (ปรมัตถะ) หมายถึง ประโยชน์ที่เป็นแก่นแท้ของชีวิต เป็นจุดหมายสุดท้ายที่ชีวิตจะพึงบรรลุ คือ การบรรลุนิพพาน
  • 3. พระพุทธศาสนาอุบัติขึ้นเมื่อ ก่อนพุทธศักราช๔๕ ปี โดยมีพระบรมศาสดาสัมมาสัมพุทธเจ้าทรงค้นพบหลักสัจธรรมด้วยการตรัสรู้ สิ่ง ที่พระองค์ได้มาจากการตรัสรู้คือธรรมะ ซึ่งเป็นกฎเกณฑ์ที่ถูกต้องอันมีอยู่ตามธรรมชาติ พระองค์มิได้สร้างขึ้น หรือเป็นเจ้าของ เพียงแต่เป็นผู้ค้นพบ แล้วนามาเผยแพร่แก่ประชาชนทั่วไป ให้เกิดมีปัญญาเห็นแจ้ง สามารถทะลุฝ่าข้ามความมืดมนแห่งอวิชชาได้ และมองเห็นเป้าหมายของชีวิตอย่างชัดเจน สามารถปฏิบัติตามเป้าหมายนั้นได้อย่างได้ผล พระพุทธศาสนาเกิด ขึ้นมาเพื่อขจัดความทุกข์ให้แก่มนุษย์อย่างแท้จริงดังที่พระพุทธองค์ตรัสว่า ทั้งในอดีตและปัจจุบัน ตถาคตจะพูด แต่เรื่องทุกข์กับความดับทุกข์ เท่านั้น” เรื่องอื่นทีไม่เกี่ยวกับเรื่องแก้ปัญหาความทุกข์ของมนุษย์ พระพุทธองค์จะไม่ตรัส ทรง เปรียบความรู้ (ธรรมะ) ที่พระองค์ตรัสรู้มีมากมายเหมือนใบไม้ที่อยู่ในป่า แต่ธรรมะที่มีความจาเป็นในการนามาสอนเพื่อขจัดทุกข์ นั้น เหมือนกับใบไม้ที่อยู่ในกามือ ปัจจุบัน นี้เป็นยุคแห่งข้อมูลข่าวสารปรากฏมีข่าวสารที่ไม่มีประโยชน์มากมายอันเป็นพิษภัยแก่ ผู้คน ก็เหมือนใบไม้ที่อยู่ในป่า เป็นข่าวสารที่ไม่มีประโยชน์ในการแก้ปัญหาสาหรับมนุษย์ เป้าหมายของพุทธศาสนาคือการดับทุกข์ มีอยู่สองระดับ ได้แก่
  • 4. ๑.เป้าหมายระดับต้น อันเป็นไปเพื่อประโยชน์ปัจจุบัน (ทิฏฐธัมมิกัตถะ) ได้แก่การมีคุณภาพชีวิตที่ดี มีความสมบูรณ์ทางด้านร่างกายและความเป็นอยู่ที่ดี มีความมั่นคง ทางเศรษฐกิจ มีสถานภาพที่ดีในสังคม มีเกียรติ การจะบรรลุถึงเป้าหมายระดับนี้ จะต้องประกอบด้วยหลักธรรมสาคัญได้แก่ ความขยันหมั่นเพียรไม่เกียจคร้านในการ ทางาน , ความประหยัด อดออม รู้จักรักษาทรัพย์สมบัติที่หามาได้มิให้เสื่อม, การรู้จักพบปะคบหาสมาคมกับคนดีแล้วนาเอาคุณสมบัติของคนดีมาเป็นแบบอย่าง, และ รู้ วิธีหาทรัพย์สินเงินทอง และรู้จักทางเสื่อมของ เงินทอง แล้วใช้จ่ายทรัพย์ตามความจาเป็น ผู้ที่จะบรรลุเป้าหมายของชีวิตในขั้นนี้จะต้องปฏิบัติตามแนวทางแห่งธรรม อย่าง ถูกต้อง ก็จะได้รับผลคือความสุขความสาเร็จในชีวิตประจาวัน ๒.เป้าหมายระดับกลาง อันเป็นไปเพื่อประโยชน์เบื้องหน้า (สัม ปรายิกัตถะ) ได้แก่การมีคุณธรรมความดีงามทางด้านจิตใจ มีความสุขสงบใจ มีสุขภาพจิตที่ดี อันเป็น ความสุขทางด้านจิตใจที่เกิดจากการประกอบคุณงามความดี การจะบรรลุถึงเป้าหมายในระดับนี้ จะต้องประกอบด้วยธรรม ๔ ประการ คือ ศรัทธา เชื่อมั่นในพระพุทธเจ้า และคาสอน, ศีล ประพฤติตนตามศีล ๕, จาคะ มีจิตใจเอื้อเฟื้อเผื่อแผ่ เสียสละ, และ ปัญญา รู้แจ้งในสิ่งต่างๆ ตามจริง เป้าหมายระดับนี้นอกจากจะทาให้บุคคลมีความสุข ทางด้านจิตใจแล้ว ยังส่งผลให้บุคคลได้พบกับความสุขในโลกหน้า คือสุคติโลกสวรรค์ภายหลังจากตายไปแล้ว ๓. เป้าหมายระดับสูง อันเป็นไปเพื่อประโยชน์สูงสุด (ปรัตถะ) การบรรลุถึงความหลุดพ้น คือพระนิพพานอันเป็นความสุขอย่างยิ่ง(นิพพาน ปรม สุข) วิธีการที่จะบรรลุ ถึง เป้าหมายสูงสุดได้จะต้องปฏิบัติตามอริยมรรคมีองค์ ๘ ได้แก่ สัมมาทิฏฐิ มีความเห็นชอบ, สัมมาสังกัปปะ ดาริชอบ, สัมมาวาจา เจรจาชอบ, สัมมากัมมันตะ การงาน ชอบ, สัมมาอาชีวะ เลี้ยงชีพชอบ, สัมมาวายามะพยายามชอบ, สัมมาสติ ระลึกชอบ, และสัมมาสมาธิ ตั้งใจชอบ เมื่อบุคคลฝึกฝนอบรมตนเองตามอริยมรรคมีองค์๘ นี้ แล้ว ย่อมบรรลุถึงเป้าหมายสูงสุดของ พระพุทธศาสนา
  • 5. เป้าหมายชีวิตมนุษย์มี ๓ ระดับ ๑. เมื่อมีชีวิตอยู่ในปัจจุบัน ต้องสามารถทาประโยชน์ตนและอยู่อย่างเป็นสุข หมายถึงสามารถยืนบนขาของตัวเอง ตั้งหลัก ตั้งฐานะได้จะทา สาเร็จได้ต้องอาศัยการดาเนินชีวิตตามธรรม ๔ ประการ คือ อุฏฐานสัมปทา อารักขสัมปทา กัลยาณมิตตตา สมชีวิตา ๒. ชีวิตหลังความตายอยู่อย่างเป็นสุข ต้องปิดทางไปนรกและเปิดทางไปสวรรค์ โดยอาศัยการดาเนินชีวิตในปัจจุบันตามธรรม ๔ ประการ คือ ศรัทธา ศีล จาคะ ปัญญา ๓. การบรรลุธรรมไปตามลาดับ ธรรมชั้นในสุด คือ นิพพาน เพื่อขจัดทุกข์ กาจัดกิเลสไปสู่การไม่เกิดอีก ด้วยการปฏิบัติอริยมรรคมีองค์ 8 ศรัทธาของพุทธศาสนิกชนไม่ว่าจะเป็นคฤหัสถ์หรือบรรพชิตก็คือศรัทธาเดียวกัน นี้ แล้วเป็นหน้าที่ของทุกคนที่จะขวนขวายพาตนเองไปเข้าวัด ศึกษาธรรม ฟังธรรม ปฏิบัติธรรมให้ เข้าใจและเพิ่มพูนศรัทธาของตน เพื่อให้ใจมีความเลื่อมใสในคุณของพระสัมมาสัมพุทธเจ้าจึงจะเกิดฉันทะ และความตั้งใจดาเนินตามเส้นทางของพระบรมศาสดาสามารถเข้าใจธรรมที่ลึกซึ้งยิ่งขึ้นจะเป็นเหตุให้ใจสว่างไสวด้วยธรรม มีธรรมคุ้มครอง
  • 6. เมื่อนั้นการกระทาทางความคิด คาพูด การกระทาทางกาย ก็จะเป็นไปในทางที่สร้างสรรค์ดีงาม จะเป็นเส้นทางชีวิตเพื่อการสั่งสมบุญสร้างบารมี เพื่อการ บรรลุธรรมตามพระพุทธองค์เพื่อให้มวลมนุษย์ประสบความสาเร็จในชีวิตในทุกระดับตามความปรารถนาของเรานั่นเอง การรู้จักตนเองตามคาสอนของพระพุทธศาสนาหมายถึงอย่างไร ดุลยภาพของชีวิต ในมุมมองของพระพุทธศาสนา บทความทางพุทธศาสนา เพราะ สุขและทุกข์เป็นธรรมชาติของชีวิต ดังนั้นจึงจาเป็นที่มนุษย์จะต้องศึกษาพัฒนาทั้งสุขและทุกข์เพื่อให้มี ดุลยภาพในการดาเนินชีวิต ให้ชีวิตดาเนิน ไปในแนวทางที่สอดคล้องกับธรรมชาติ แต่ในยุคที่โลกเต็มไปด้วยสิ่งอานวยความสะดวก มีวัตถุพรั่งพร้อม มนุษย์มีความเข้าใจผิดว่าวัตถุคือสิ่งที่จะ ตอบสนองความต้องการทั้งหมดของ ชีวิต ยิ่งมีวัตถุมาปรนเปรอมากเท่าใดก็ย่อมจะมีความสุขมากเท่านั้น มนุษย์จึงพยายามพัฒนาทางด้านวัตถุเพื่อ ตอบสนองความต้องการทางด้านร่างกาย แต่ในทางจิตใจหาได้พัฒนาไม่ ดังนั้นมนุษย์จึงเสีย ดุลยภาพของชีวิตไป ตกอยู่ภายใต้การครอบงาของวัตถุ ทาให้ มนุษย์มีใจเสาะ เปราะบาง อ่อนแอ ทุกข์ได้ง่าย สุขได้ยาก
  • 7. ตามหลักพระพุทธศาสนานั้นมนุษย์เป็นผล ผลิตจากธรรมชาติ เป็นส่วนหนึ่งของธรรมชาติ เมื่อมนุษย์เป็นส่วนหนึ่งของธรรมชาติ จึงต้องตกอยู่ ภายใต้กฎเกณฑ์ธรรมชาติอย่างหลีกเลี่ยงไม่ได้ และ เมื่อสุขและทุกข์เป็นธรรมชาติของชีวิตจึงนับว่าเป็นคุณสมบัติที่สาคัญที่จะ ต้องรู้เท่าทันและ พัฒนาให้ชีวิตเกิดดุลยภาพอันจะทาให้มนุษย์อยู่กับธรรมชาติ ได้ อย่างเป็นปกติ ดังนั้นทั้งสุขและทุกข์เป็นคุณสมบัติชนิดหนึ่งที่มนุษย์จะต้อง ปฏิบัติให้ถูก ต้องกล่าวคือ สุขคือสิ่งที่มนุษย์จะต้องพัฒนาให้เกิดขึ้นในชีวิตส่วนทุกข์คือสิ่งที่ มนุษย์จะต้องกาหนดรู้และปฏิบัติให้ถูกต้อง หน้าที่ ต่อทุกข์ของมนุษย์ได้แก่การรู้เท่าทัน ส่วนสุขนั้นมีหน้าที่พัฒนาให้เกิดขึ้น ซึ่งสาระสาคัญของหน้าที่ทั้งต่อสุขและทุกข์นั้นสามารถกล่าวโดยสรุป ตามหลัก การของพระพุทธศาสนาได้ ๒ ประการ ดังนี้ ๑. การรู้เท่าทันทุกข์ พระพุทธศาสนามองว่าชีวิตและสรรพสิ่งล้วนตกอยู่ภายใต้กฎธรรมชาติทั้ง ๓ ประการคือ ๑) การเปลี่ยนแปลง (อนิจจัง) ๒) การตั้งอยู่ในสภาพเดิมไม่ได้ (ทุกขัง) ๓) การไม่มีตัวตนที่แท้จริงเพราะปรากฏรูปร่างขึ้นมาได้ด้วย เหตุปัจจัย (อนัตตา) ทั้ง ๓ ประการนี้ พระพุทธศาสนาเรียกว่ากฎธรรมชาติ ซึ่งสรรพสิ่งทั้งโลกและชีวิตจะต้องตกอยู่ภายใต้กฎทั้ง ๓ ประการนี้ อาการทั้งสองเบื้องต้นคือการ เปลี่ยนแปลง (อนิจจัง) และการตั้งอยู่ในสภาพเดิมไม่ได้ (ทุกขัง) แสดงอาการปรากฏให้เห็นได้ง่ายโดย
  • 8. รูปของการเปลี่ยนแปลง เช่นการเปลี่ยนแปลงของรูปร่าง เป็นต้น ส่วนประการสุดท้ายคือการไม่มีตัวตนที่แท้จริง (อนัตตา) เป็นสภาพที่จะต้องใช้ ปัญญาในการสืบหาความจริงตามเหตุปัจจัย ทุกข์ คือกฎของธรรมชาติชนิดหนึ่ง เป็นสิ่งที่เป็นไปตามธรรมชาติ มีอยู่ตามธรรมชาติ เมื่อทั้งโลก และชีวิตเป็นส่วนหนึ่งของธรรมชาติจึง ต้องตกอยู่ ภายใต้กฎธรรมชาติ การเปลี่ยนแปลงเหล่านี้เป็นไปตามกฎธรรมชาติ คือเป็นไปตามเหตุ ปัจจัย จากกฎธรรมชาติคือสิ่งทั้งปวงมีการเปลี่ยนแปลงนี้จึงมี ผลต่อมนุษย์ทั้งโดยตรง และโดยอ้อม โดยตรงคือชีวิตร่างกายมนุษย์เปลี่ยนแปลงไปตาม กฎธรรมชาติโดยที่มนุษย์ไม่ต้องการให้เปลี่ยนแปลง โดยอ้อม คือการเปลี่ยนแปลงตามธรรมชาตินั้นทาให้มีผลต่อจิตใจมนุษย์โดยก่อให้ เกิดทุกข์เพราะการเปลี่ยนแปลงไม่เป็นไปตามที่มนุษย์ปรารถนาจะให้เป็น เมื่อว่าโดยหลักการของพระพุทธศาสนาที่มองว่าสรรพสิ่งที่รวมตัวกันด้วยเหตุ ปัจจัยล้วนตกอยู่ภายใต้อาการคือ การเกิดขึ้น ตั้งอยู่และดับไปซึ่งเป็น อาการของการเปลี่ยนแปลงทั้งสิ้น ดังนั้นพระพุทธศาสนาจึงมีหลักการว่า ทุกข์เป็นสิ่งที่มนุษย์ต้องรู้ด้วยปัญญา การเปลี่ยนแปลงตามกฎธรรมชาติไม่ ควรมีอิทธิพลเหนือจิตใจของมนุษย์ และไม่ใช่สิ่งที่มนุษย์จะเอาชีวิตเราเข้าไปเป็นทุกข์อันเนื่องมาจากการ เปลี่ยนแปลง มนุษย์ต้องรู้เท่าทันทุกข์ที่มีตาม ธรรมชาติที่โยงมาหาชีวิต กล่าวโดยสรุปคือทุกข์มีไว้เพื่อรู้เท่าทัน (ทุกขัง ปริญเญญยัง) ไม่ใช่มีไว้เพื่อเป็นทุกข์
  • 9. ๒. การพัฒนาสุข พระพุทธศาสนามองว่าความสุขเป็นสิ่งพัฒนาได้ เพราะความสุขเมื่อเกิดขึ้นอย่างถูกต้องแล้วจะเป็นคุณสมบัติในใจของมนุษย์ โดยพระพุทธศาสนาให้เหตุผลว่าเมื่อมนุษย์เป็นสัตว์ที่สามารถพัฒนาได้ความสุข ซึ่งเป็นธรรมชาติอย่างหนึ่งของชีวิตจึงเป็นสิ่งพัฒนาได้เช่นกัน เมื่อ เราพัฒนาความ สุขให้ประณีตขึ้น สูงขึ้นก็จะทาให้ชีวิตดีขึ้นคือทาให้ชีวิตของเรามีคุณธรรมต่าง ๆ เพิ่มขึ้น และความสุขที่เราพัฒนาขึ้นนอกจากจะ เกื้อกูลต่อตนเองแล้วยังทาให้เกื้อกูลต่อ ผู้อื่นหรือสังคมด้วย เพราะปกติถ้าการแสวงหาความสุขเพียงเพื่อตนเองโดยไม่มีการพัฒนาความสุขให้สูง ขึ้นจะทาให้มีการเบียดเบียนผู้อื่น เพื่อให้ตนเองได้รับความสุข แต่หากมีการพัฒนาความสุขให้สูงขึ้น ความสุขที่ได้รับการพัฒนาให้สูงขึ้นตามลาดับ นั้นจะทาให้สังคมมีสันติมากขึ้น ระดับ ของความสุขตามนัยของพระพุทธศาสนานั้นมีขอบเขตที่กว้างขวาง แต่ในที่นี้สามารถสรุปได้ ๕ ระดับ คือ ความสุขขั้นที่ ๑ ได้แก่ความสุขที่ เกิดจากวัตถุ (สามิสสุข) ความสุขชนิดเป็นความสุขที่เกิดจาก
  • 10. การเสพวัตถุทางตา หู จมูก ลิ้น กายของมนุษย์ ความสุขชนิดนี้เป็นความสุขที่อิงอาศัยวัตถุภายนอก มนุษย์ต้องแสวงหาวัตถุภายนอกเพื่อเสพ ความสุขชนิดนี้ข้อเสียของความสุขชนิดนี้คือเมื่อจาต้องอาศัยวัตถุภายนอกมนุษย์จึงจาต้อง แสวงหาให้ได้มากที่สุดเพื่อตอบสนองความต้องการของ ตนเองจึงมีการเบียดเบียน กันเพื่อให้ได้มาซึ่งวัตถุอันจะตอบสนองความต้องการของตนเอง หากมนุษย์ยึดติดกับความสุขชนิดนี้โดยไม่พัฒนาให้ถึง ความสุขขั้นสูงขึ้นก็ก่อ ให้เกิดการเบียดเบียนกันเพราะต่างก็ต้องแสวงหาวัตถุให้ได้มากที่สุดตามความ ต้องการ สาหรับการเสพความสุขชนิดนี้ พระพุทธศาสนาได้ให้หลักการคือศีล ๕ เพื่อไม่ให้มีการเบียดเบียนกันหรือเพื่อให้มีการเบียดเบียนกันน้อยที่สุดคือ (๑) ให้เสพความสุขโดยไม่ให้ เบียดเบียนผู้อื่น (๒) ไม่ให้ละเมิดสิทธิทรัพย์สมบัติของผู้อื่น (๓) ไม่ให้ละเมิดคู่ครองของผู้อื่น (๔) ไม่ให้ทาลายผลประโยชน์ ผู้อื่นด้วยถ้อยคา (๕) ไม่ให้สร้างความไม่ปลอดภัยผู้อื่นด้วยการเสพสิ่งเสพติด และความสุขชนิด ดี มีข้อบกพร่องคือด้านตนเองมีความบกพร่องเพราะต้องแสดงว่าอยู่เป็น ประจาเพื่อ ให้ได้ความสุข ด้านสังคมก็มีการเบียดเบียนกันเพราะต่างก็แสวงหากัน ความ สุขขั้นที่ ๒ ได้แก่ความสุขที่เกิดจากการให้ ความสุขชนิดนี้เป็นความสุขร่วมกันเพราะผู้ให้ก็เป็นสุขผู้รับก็เป็นสุข เป็นความสุขที่ไม่เบียดเบียนกัน เปลี่ยนจากการเอาหรือการได้เป็นการให้ ดังปรากฏคาสอนเรื่องทานเป็นหลักปฏิบัติที่สาคัญสาหรับคฤหัสถ์ ความสุขขั้นที่ ๓ ได้แก่ความสุขที่ใช้ชีวิต ให้ถูกต้องตามธรรมชาติไม่ให้หลงในโลกสมมุติ ความสุขขั้นที่ ๔ ได้แก่ความสุขที่เกิดจากการปรุงแต่งในจิตใจ เป็นความสุขที่ไม่ต้องอิงอาศัยวัตถุ ภายนอกแต่ทาให้เกิดมีได้ด้วยการปรุงแต่ ให้เกิดมีขึ้นในจิตใจโดยวิธีการ ๕ อย่างคือ (๑) ความเบิกบานใจ (ปราโมทย์) (๒) ความอิ่มใจ (ปีติ) (๓) ความสงบใจ (ปัสสัทธิ) (๔) ความสุขใจ (สุข) และ (๕) ความมีจิตตั้งมั่น (สมาธิ) ความสุขขั้นที่ ๕ ได้แก่ความสุขเหนือการปรุงแต่งที่เกิดจากปัญญาที่ รู้เท่าทันความเป็นจริงของ กฎธรรมชาติ พระพุทธศาสนายืนยันถึงระดับของความสุขทั้ง ๕ ระดับเหล่านี้และเห็นว่าความสุขทั้ง ๕ ระดับนี้เป็น ธรรมชาติที่มนุษย์สามารถพัฒนาให้สูงขึ้นได้ตามลาดับ อ
  • 11. กล่าว โดยสรุปคือเมื่อเราผ่านโลกผ่านชีวิตมาได้ระดับหนึ่ง เราก็คงเข้าใจคาว่า ชีวิตมีขึ้นมีลงได้อย่างชัดเจน นั่นก็หมายความว่าไม่มีใครโชคร้ายไป ตลอดและไม่มีใครโชคดีไปตลอด ชีวิตมีสุขและมีทุกข์ปนกันไปแต่ ประเด็นที่สาคัญที่เราจะต้องไม่ลืมก็คือทาอย่างไรเราจะใช้ชีวิตให้มีดุลยภาพ ระหว่างสุขและทุกข์ โดยรู้ให้เท่าทันทุกข์และพัฒนาสุขอย่างมีหลักการ โดยในยาม ที่มีสุขเราก็ไม่หลงระเริงลืมตนจนกลายเป็นการสร้างทุกข์ให้คน อื่นหรือยึดติด เพียงความสุขในระดับต้น ๆ ไม่พัฒนาความสุขให้สูงขึ้น และทาอย่างไรในยามที่เรามีทุกข์ก็ไม่ใช่จมดิ่งอยู่กับทุกข์อย่างไม่รู้วัน รู้คืนแต่ รู้จักสร้างปัญญาให้รู้เท่าทันทุกข์.
  • 12. ชิ้นงานที่ 19 คาถามทบทวนเรื่อง เป้าหมาย ของชีวิตตามหลักพระพุทธศาสนา
  • 13. คาถามทบทวน เรื่อง เป้ าหมายของชีวิตตามหลักพระพุทธศาสนา 1.เป้ าหมายของชีวิตตามหลัก พระพุทธศาสนา มี กี่ระดับ คืออะไร ตอบ 3 ระดับ 1.เป้ าหมายระดับพื้นฐาน 2.เป้ าหมายระดับกลาง 3.เป้ าหมายระดับสูงสุด 2.สัมปรานิกัตถะ คือเป้ าหมายเรื่อง ใด ตอบ มีศรัทธา, มีศีล , จาคะ, ปัญญา 3.ปรมัตถะ หมายถึง อะไร ตอบ ประโยชน์ที่เป็นแก่นแท้ของชีวิต เป็นจุดหมายสุดท้ายที่ชีวิต บรรลุ คือ การบรรลุ นิพพาน 4.เป้ าหมายของชีวิต ตามหลักพระพุทธศาสนา ตือ อะไร ตอบ การหลุดพ้นจาก ทุกข์ ทั้งปวงโดยสิ้นเชิง ดับภพชาติ หยุดการเวียนว่ายตายเกิด เพราะเมื่อไม่เกิดอีกเราก็ไม่ต้อง แก่ ไม่เจ็บ ไม่ตาย และไม่ทุกข์กาย ทุกข์ใจ อีกต่อไป 5.เป้ าหมายระดับสูงสุดทางพุทธศาสนา คืออะไร ตอบ อริยมรรค มีองค์8 6. เป้ าหมายของพุทธศาสนา คืออะไร ตอบ การดับทุกข์ 7.เมื่อมีชีวิตอยู่ในปัจจุบัน ตั้งหลักตั้งฐานะได้ต่ออาศัยชีวิตตาม ธรรม 4 ประการ คือ ตอบ อุฎฐานสัมปทา , อารักขสัมปทา , สมชีวิตตา , กัลยาณมิตตตา 8.ปาฏิหาริย์แบ่ง ออกประเภท คือ ตอบ 1.อิทธิปาฏิหาริย์ 2.อาเทศนาปาฏิหาริย์ 3.อนุสาสนีปาฏิหาริย์
  • 14. 9.ภพทั้ง 5 คืออะไร ตอบ 1. เทพ 2. มนุษย์ 3.เดรัจฉาน 4. เปรต – อสูรกาย 5. นรก 10.เป้ าหมายระดับต้น อันเป็นไปเพื่อประโยชน์ปัจจุบัน ได้แก่ ตอบ การมีคุณภาพชีวิตที่ดี มีความสมบูรณ์ทางด้านร่างการ และความเป็นอยู่ที่ดี มีความมั่งคงทาง