SlideShare une entreprise Scribd logo
1  sur  38
จัดทำโดย
นำงสำวจันทิมำ แสงจันทร ์ 5942040004
นำงสำววรรณดี อินทร ์จันทร ์ 5942040013
รำยวิชำ เทคโนโลยีสำหรับกำรบริหำรจัดกำรควำมรู ้ 4204-
2007
ภำคเรียนที่ 2 ปี กำรศึกษำ 2560
วิทยำลัยอำชีวศึกษำนครศรีธรรมรำช
Hideo Yamazaki จากสถาบันวิจัยโนมูระ ประเทศญี่ปุ่น ได้ทําการศึกษาวิจัยเกี่ยวกับ
ลักษณะของความรู้แล้วพบว่า ความรู้ มีลักษณะคล้ายกับรูปปิรามิด ลักษณะาามาาพ
ปิรามิดความรู้ของ Yamazaki จะแบ่งลักษณะความรู้ออกเป็น 4 ประเาท เรียงลําดับจากฐานปิ
รามิดไปสู่ยอดซึ่งความรู้แา่ละประเาท จะมีลักษณะแากา่างกัน แา่มีความสัมพัน์เเกี่ยวข้องกันดังนี้
1. ข้อมูล (Data) คือ ข้อเท็จจริงที่เกี่ยวกับเรื่องใดเรื่องหนึ่ง เกี่ยวกับเหาุการณเ หรือสิ่งที่เกิดขึ้น
ซึ่งยังเป็นข้อมูลดิบที่ยังไม่ผ่านการประมวลผลใดๆ
2. สำรสนเทศ (Information)สารสนเทศคือข้อมูลที่ผ่านการประมวลแล้ว การ
ประมวลผลเป็นวิ์ีการเปลี่ยนแปลงข้อมูลเป็นสารสนเทศด้วยการเพิ่มมูลค่าให้กับข้อมูลด้วยวิ์ีการา่างๆ
3. ควำมรู ้ (Knowledge) คือ สารสนเทศที่ผ่านกระบวนการคิดเปรียบเทียบ เชื่อมโยงกับ
ความรู้อื่นจนเกิดความเข้าใจ สามารถนําไปใช้ประโยชนเในการสรุป าัดสินใจในสถานการณเา่างๆ ได้โดยไม่
า้องจํากัดช่วงเวลา
4. ภูมิปัญญำ (wisdom) เป็นความรู้ที่มีอยู่ในาัวคน นํามาประยุกาเใช้เพื่อแก้ปัญหาหรือ
พัฒนาการทํางานให้เกิดประโยชนเ บางครั้งเรียกว่า ปัญญา
ทฤษฎีของ Nonaka ก็คือ ความรู้นั้นจะถูกสร้างผ่านกระบวนการปฏิสัมพัน์เระหว่างความรู้แบบ
ไม่แจ้งชัด (tacit) กับความรู้แบบแจ้งชัด (explicit) โดยผ่านรูปแบบของการเปลี่ยนแปลงความรู้ 4
รูปแบบ ความรู้ที่สําคัญส่วนใหญ่ มีลักษณะเป็นความรู้แฝงเร้น อยู่ในคนทํางาน และผู้เชี่ยวชาญในแา่ละเรื่อง
จึงา้องอาศัยกลไกแลกเปลี่ยนเรียนรู้ให้คนได้พบกัน สร้างความไว้วางใจกัน และถ่ายทอดความรู้ระหว่างกัน
และกัน
Nonaka ได้เปรียบความรู้เหมือนกับาูเขานํ้าแข็ง โดยสามารถจําแนกความรู้ได้ออกเป็น 2
ประเาท คือ ความรู้แจ้งชัด (Explicit Knowledge) และ ความรู้ฝังลึก (Tacit Knowledge)
ดังนี้
1. ความรู้แจ้งชัด คือ ความรู้ที่เป็นเหาุเป็นผล หรือ ความรู้เชิงทฤษฎีที่บันทึกไว้ในสื่อา่างๆ เช่น
เอกสาร าํารา และคู่มือการปฏิบัาิงาน เป็นความรู้ที่ง่ายา่อการอ์ิบายถ่ายทอด ซึ่งทําให้ผู้อื่นสามารถเข้าถึง
ความรู้นั้นได้ง่าย จึงเปรียบได้กับาูเขานํ้าแข็งส่วนที่โผล่พ้นนํ้าขึ้นมามองเห็นได้ชัดเจน มีปริมาณ 20% ของ
ความรู้ทั้งหมดของคนเรา
2. ความรู้ฝังลึก คือ ความรู้เชิงประสบการณเที่ซ่อนอยู่ในาัวคน ในลักษณะของความชํานาญ หรือ
ความเชี่ยวชาญ ซึ่งเป็นความสามารถพิเศษเฉพาะบุคคล หรือพรสวรรคเ ซึ่งยากแก่การอ์ิบายถ่ายทอดให้เป็น
ลายลักษณเอักษร ด้วยเหาุที่เป็นความรู้ที่ซ่อนอยู่ในาัวคน มองไม่เห็นชัดเจน จึงเปรียบได้กับาูเขานํ้าแข็ง ส่วน
ที่จมอยู่ใา้นํ้าซึ่งมองไม่เห็น มีปริมาณ 80% ของความรู้ทั้งหมดของคนเรา
โมเดลปลาทู (Tuna Model:thai-UNAids Model) คิดขึ้นโดย ดร.ประพน์เ ผาสุก
ยืด เป็นแนวทางเบื้องา้นในการจัดการความรู้ และในการทําความเข้าใจ 3 ส่วนหลักของการจัดการความรู้ว่า
สัมพัน์เกับบุคคล 3 กลุ่ม ในการดําเนินการจัดการความรู้เปรียบการจัดการความรู้ เหมือนกับปลาทูหนึ่งาัวที่
มี 3 ส่วน
1. ส่วนหัวปลา (Knowledge Vision : KV) ส่วนที่เป็นเป้าหมาย คือเป้าหมาย วิสัยทัศนเ
หรือทิศทางของการจัดการความรู้ มองหาเส้นทางที่เดินทางไป แล้วคิดวิเคราะหเว่า จุดหมายอยู่ที่ไหนา้องว่าย
แบบใดไปในเส้นทางไหน และไปอย่างไร ในที่นี้เราจะเปรียบเป็น การบ่งชี้ความรู้ (Knowledge
Identification) ก่อนที่เราจะทํางานอะไรซักอย่างเราา้องรู้ก่อนว่าเราา้องการอะไร จุดหมายคืออะไร
และา้องทําอย่างไรบ้าง า้องสอดคล้องกับวิสัยทัศนเขององคเกร
2. ส่วนกลางลําาัว (Knowledge Sharing : KS) เป็นส่วนกิจกรรม คือ ส่วนลําาัวที่มี
หัวใจของปลาอยู่ทําหน้าที่สูบฉีดเลือดไปเลี้ยงส่วนา่างๆของร่างกาย ในกระบวนการแลกเปลี่ยนเรียนรู้ที่แนบ
แน่นอยู่กับการทํางานนี้เราแลกเปลี่ยนเรียนรู้กันสาาพจิาทั้ง 3 ระดับ คือ ระดับมีสาิรู้สํานึก ระดับจิาใา้สํานึก
และระดับจิาเหนือสํานึกอย่างซับซ้อน โดยที่จิาของสมาชิกทุกคนมีอิสระในการคิด การาีความาามพื้นฐาน
ของาน การแลกเปลี่ยนเรียนรู้นี้อาศัยพลังความแากา่างของสมาชิก โดยมีจุดร่วมอยู่ที่การบรรลุ “หัวปลา”
ของการจัดการความรู้ และ “หัวปลา” ขององคเกร
3. ส่วนที่เป็นหางปลา (Knowledge Assets : KA) เป็นส่วนการจดบันทึก คือ องคเ
ความรู้ที่องคเกรได้เก็บสะสมไว้เป็นคลังความรู้หรือขุมความรู้ การจัดการความรู้ในส่วนนี้เป็นส่วนที่า้องพึ่งพา
เทคโนโลยีสารสนเทศช่วยในการจัดเก็บ จัดหมวดหมู่ เพื่อสะดวกในการเข้าถึง และปรับปรุงความรู้ให้ทันสมัย
อยู่เสมอ (Update) ช่วยทําหน้าที่เป็นพื้นที่เสมือน (Virtual Space) ให้คนที่อยู่ไกลกันสามารถ
แลกเปลี่ยนเรียนรู้ (Share and Learn) ได้อย่างกว้างขวางยิ่งขึ้น
“การจัดการความรู้ในแนว สคส. นั้นเน้นการเรียนรู้จากการปฏิบัาินําผลสําเร็จจากการปฏิบัาิมา
แลกเปลี่ยนเรียนรู้กัน เสริมพลังของการแลกเปลี่ยนเรียนรู้ด้วยการชื่นชม ทําให้เป็นกระบวนการแห่งความสุข
ความาูมิใจ และการเคารพเห็นคุณค่าซึ่งกันและกัน ทักษะเหล่านี้นําไปสู่การสร้างนิสัยคิดบวกทําบวก มองโลก
ในแง่ดี และสร้างวัฒน์รรมในองคเกร ที่ผู้คนสัมพัน์เกันด้วยเรื่องราวดีๆ ด้วยการแบ่งปันความรู้และ
แลกเปลี่ยนเรียนรู้จากประสบการณเของกันและกัน โดยที่กิจกรรมเหล่านี้สอดแทรกอยู่ในการทํางานประจําทุก
เรื่อง ทุกเวลา”
แบ่งออกเป็น 2 ประเาท ดังนี้
1. ความรู้เด่นชัด (Explicit Knowledge) เป็นความรู้ที่อยู่ในรูปแบบที่เป็นเอกสาร หรือ
วิชาการ อยู่ในาํารา คู่มือปฏิบัาิงาน
2. ความรู้ซ่อนเร้น/ความรู้ฝังลึก (Tacit Knowledge) เป็นความรู้ที่แฝงอยู่ในาัวคน เป็น
ประสบการณเที่สั่งสมมายาวนาน เป็นาูมิปัญญา
โดยที่ความรู้ทั้ง 2 ประเาทนี้มีวิ์ีการจัดการที่แากา่างกัน
การจัดการ “ความรู้เด่นชัด” จะเน้นไปที่การเข้าถึงแหล่งความรู้ ารวจสอบ และาีความได้ เมื่อนําไปใช้
แล้วเกิดความรู้ใหม่ ก็นํามาสรุปไว้ เพื่อใช้อ้างอิง “ความรู้ซ่อนเร้น” นั้นจะเน้นไปที่การจัดเวทีเพื่อให้มีการ
แบ่งปันความรู้ที่อยู่ในาัวผู้ปฏิบัาิ ทําให้เกิดการเรียนรู้ร่วมกัน ที่แา่ละคนสามารถนําไปใช้ในการปฏิบัาิงานได้
การจัดการความรู้ (กพร.) คือ การรวบรวมองคเความรู้ที่มีอยู่ในองคเกร ซึ่งกระจัดกระจายอยู่ในาัว
บุคคลหรือเอกสาร มาพัฒนาให้เป็นระบบ เพื่อให้ทุกคนในองคเกรสามารถเข้าถึงความรู้ และพัฒนาานเองให้
เป็นผู้รู้รวมทั้งปฏิบัาิงานได้อย่างมีประสิท์ิาาพ
สามารถแบ่งกระบวนการจัดการความรู้ได้ 7 กระบวนการ
1. การบ่งชี้ความรู้ เป็นการพิจารณาว่าจะทําอย่างไรให้องคเกรบรรลุเป้าหมาย โดยจะคัดเลือกว่าจะ
ใช้เครื่องมืออะไร และขณะนี้เรามีความรู้อะไรบ้าง อยู่ในรูปแบบใด อยู่ที่ใคร โดยอาจจะพิจารณาว่าองคเกรมี
วิสัยทัศนเ พัน์กิจ ยุท์ศาสารเ เป้าหมายคืออะไร
2. การสร้างและแสวงหาความรู้ ซึ่งสามารถทําได้หลายทาง เช่น การสร้างความรู้ใหม่ แสวงหา
ความรู้จากาายนอก รักษาความรู้เก่า กําจัดความรู้ที่ใช้ไม่ได้แล้ว
3. การจัดความรู้ให้เป็นระบบ เป็นการวางโครงสร้างความรู้ เพื่อเารียมพร้อมสําหรับการเก็บความรู้
อย่างเป็นระบบเพื่อการเรียกใช้งานได้อย่างรวดเร็วและถูกา้องในอนาคา
4. การประมวลและกลั่นกรองความรู้ เช่น การปรับปรุงรูปแบบเอกสารให้เป็นมาารฐาน ใช้าาษา
เดียวกัน และปรับปรุงเนื้อหาให้สมบูรณเและเหมาะสม
5. การเข้าถึงความรู้ เป็นการทําให้ผู้ใช้ความรู้เข้าถึงความรู้ที่า้องการได้ง่ายและสะดวก โดยการใช้
พวกระบบเทคโนโลยีสารสนเทศ(IT) หรือการประชาสัมพัน์เบน Web boardการจัดการความรู้ใน
องคเกร
6. การแบ่งปันแลกเปลี่ยนความรู้ ทําได้หลายวิ์ีการซึ่งจะแบ่งได้สองกรณีได้แก่ Explicit
Knowledge อาจจะจัดทําเป็นเอกสาร และเทคโนโลยีสารสนเทศา่างๆ หรือTacit Knowledge
จัดทําเป็นระบบ กิจกรรมกลุ่มคุณาาพและนวัากรรม ชุมชนแห่งการเรียนรู้ การสับเปลี่ยนงาน การยืมาัว เป็น
า้น
7. การเรียนรู้ ควรทําให้การเรียนรู้เป็นส่วนหนึ่งของงาน เช่น การเรียนรู้จากสร้างองคเความรู้ การนํา
เป็นวงจรความรู้ ที่นําเสนอโดย Ikujiro Nonaka และ Takeuchi กล่าวถึง การ
เปลี่ยนแปลงความรู้ (Knowledge conversion) ระหว่าง Tacit knowledge และ
Explicit knowledge ทําให้เกิดความรู้ใหม่ขึ้น หมุนเป็นเกลียวไปเรื่อยๆ อย่างไม่มีที่สิ้นสุด เพราะ
การเรียนรู้เกิดขึ้นได้าลอดเวลา การสร้างความรู้จะเกิดขึ้นได้ 4 รูปแบบ คือ Socialization,
Externalization, Combination และ Internalization
จากโมเดล SECI ของ Nonaka และ Takeuchi ที่เป็นที่รู้จักกันอย่างแพร่หลายและมุ่งเน้น
การสร้างความรู้ขององคเกรให้เาิบโาขึ้น โดยการเชื่อมโยงการสร้างองคเความรู้ทั้งในรูปแบบความรู้โดยนัย และ
ความรู้ที่ชัดแจ้ง ให้เหมาะสมกับลักษณะของกลุ่มคนในองคเกรให้มีส่วนร่วมในการสร้างความรู้ มีวิ์ีการ 4
ลักษณะ ได้แก่
S = Socialization คือ การสร้างความรู้ด้วยการแบ่งปันประสบการณเโดยการพบปะสมาคม
และพูดคุยกับผู้อื่น ซึ่งจะเป็นการถ่ายทอดแบ่งปัน ความรู้ที่อยู่ในาัวบุคคลไปให้ผู้อื่น
E = Externalization คือ การนําความรู้ในาัวบุคคลที่ได้นํามาพูดคุยกันถ่ายทอดออกมาให้
เป็นสิ่งที่จับา้องได้หรือเป็นลายลักษณเอักษร
C = Combination คือ การผสมผสานความรู้ที่ชัดแจ้งมารวมกัน และสร้างสรรคเสิ่งใหม่ๆ
เพื่อให้สามารถนําความรู้นั้นไปใช้ในทางปฏิบัาิได้
I = Internalization คือ การนําความรู้ที่ได้มาใหม่ไปใช้ปฏิบัาิหรือลงมือทําจริง การนําไป
ปฏิบัาิจริงสามารถนํามาใช้แก้ไขปัญหา โดยการนําเอาความรู้ที่มีและความรู้ที่ได้ใหม่มาา่อยอดเพื่อช่วยกัน
หาทางแก้ไขปัญหาที่เกิดขึ้น
PeterSenge’s ได้เสนอแนวความคิดของการสร้างองคเกรแห่งการเรียนรู้ที่เรียกว่า The five
disciplines (วินัย 5 ประการ) ซึ่งเป็นแนวทางสําคัญ 5 ประการที่จะผลักดันและสนับสนุนให้เกิด
องคเกรแห่งการเรียนรู้ทฤษฎีการจัดการความรู้ของ (Peter M. Senge’s) จะมุ่งเน้นไปที่คน เพราะ
Peter Senge’s มีความคิดว่าการพัฒนาองคเกรแห่งการเรียนรู้จะาองเริ่มการพัฒนาคนก่อน
องคเกรแห่งการเรียนรู้ (Learning Organization: LO) คือองคเกรที่เรียนรู้อยู่าลอดเวลา
เรียนรู้ที่ว่าทั้งองคเกรเรียนรู้ในกิจกรรมทุกอย่างเป็นองคเกรที่มีการเปลี่ยนแปลงอยู่าลอดเวลามีความ เป็นพลวัา
อยู่าลอดเวลา
องคเประกอบที่สําคัญ ซึ่งนับว่าเป็นหัวใจของการเป็น “องคเกรแห่งการเรียนรู้ คือ วินัย 5 ประการ
ประกอบด้วย
1. การคิดเชิงระบบ (Systems Thinking)
2. แบบแผนทางจิาใจที่มองโลกาามความเป็นจริง (Mental Model)
3. ความเชี่ยวชาญเป็นพิเศษของบุคคล(Personal Mastery)
4. การมีวิสัยทัศนเร่วมกัน (Shared Vision)
5. การเรียนรู้ร่วมกันเป็นทีม (Team Learning)
จากหลัก 5 ประการนี้เกื้อกูลและพึ่งพาอาศัยซึ่งกันและกัน อาศัยพลังแห่งการเรียนรู้เป็นกลุ่ม พลัง
แห่งการมองาาพรวม มองความเชื่อมโยง มองความเคลื่อนไหวเปลี่ยนแปลงเป็นพลวัา มองอนาคา มองเชิง
บวก มองเห็นสาาพความเป็นจริง มองแบบไม่ยึดาิด ลดอัาาาหรือาัว มองที่ประโยชนเหรือความมุ่งมั่นเพื่อ
ส่วนรวมหรือคุณค่าอันยิ่งใหญ่ และอาศัยพลังแห่งทักษะของการเรียนรู้ร่วมกัน การเปลี่ยนสาาพหรือสิ่งที่ดู
เสมือนเป็นจุดอ่อนหรือปัญหาให้กลายเป็นจุดแข็ง เป็นโอกาสหรือพลังในการดําเนินงานให้ก้าวหน้าไปได้ใน
โลกที่เปลี่ยนแปลงไปอย่างรวดเร็ว
Systems
Thinking
Shared Vision Team Learning
Personal Mastery Mental Models
Dialogue
Garvin ได้นําเสนอหลัก 5 ประการในการพัฒนาสู่องคเกรแห่งการเรียนรู้ ซึ่งกิจกรรมแา่ละด้าน
จะา้องใช้กรอบความคิด เครื่องมือ และแบบแผนของพฤาิกรรมที่า่างกันออกไป ดังนั้นการสร้างระบบและ
กระบวนการสนับสนุนกิจกรรมเหล่านี้ขึ้นมา แล้วรวมสิ่งเหล่านี้เข้าเป็นส่วนหนึ่งของการดําเนินงานปกาิ จะทํา
ให้องคเกรสามารถบริหารการเรียนรู้าายในได้อย่างมีประสิท์ิผลยิ่งขึ้น
1. การแก้ปัญหาอย่างเป็นระบบ กิจกรรมนี้สามารถใช้แนวคิดการบริหารคุณาาพ า่างๆ เช่น การคิด
วิเคราะหเปัญหาเพื่อแก้ไขาามแนวคิดของ Deming Cycle (PDCA) และการใช้เครื่องมือทางสถิาิ
ในการวิเคราะหเกระบวนการ (Statistical Process Control) เป็นา้น
2. การทดลองทําสิ่งา่างๆ ด้วยวิ์ีการ กิจกรรมนี้เกี่ยวข้องกับการค้นหาและการทดสอบความรู้ใหม่ๆ
อย่างเป็นระบบ ซึ่งจะา้องใช้วิ์ีที่เป็นวิทยาศาสารเเหมือนกับวิ์ีที่ใช้ในการแก้ปัญหาอย่างเป็นระบบ
3. การเรียนรู้จากประสบการณเและเหาุการณเที่เกิดขึ้นในอดีา องคเกรจําเป็นา้องมีการคิดทบทวน
เกี่ยวกับ ความสําเร็จและความล้มเหลวที่ผ่านมา โดยประเมินสิ่งเหล่านี้อย่างเป็นระบบ และบันทึกบทเรียนที่
ได้รับในแบบที่เปิดเผย ง่ายา่อการเข้าถึงสําหรับพนักงาน
4. การเรียนรู้จากบุคคลอื่น การเรียนรู้ไม่ได้มาจากการคิดทบทวนและการวิเคราะหเด้วยาัวเองทั้งหมด
ในบางครั้ง ความรู้ความเข้าใจที่มีอิท์ิพลอย่างยิ่งนั้น อาจได้มาจากการมองออกไปนอกสาาพแวดล้อมที่
คุ้นเคย เพื่อให้ได้มุมมองที่แปลกใหม่ การหยิบยืมความคิดจากาายนอกมาอย่างเา็มใจ จะเข้ามาแทนที่การไม่
ยอมรับ ความคิดที่ไม่ได้เกิดขึ้นจากาายในองคเกร โดยอาจเรียกกระบวนการนี้ว่า SISาามแนวทางพัฒนา
องคเกรของ XEROX
5. การถ่ายโอนความรู้ทั่วทั้งองคเกรได้อย่างรวดเร็วและมีประสิท์ิาาพ เพื่อไม่ให้การเรียนรู้กระจุกาัว
อยู่ในส่วนใดส่วนหนึ่งขององคเกรจึงา้องมีการเผยแพร่ความรู้ออกไปทั่วทั้งองคเกรอย่างรวดเร็วและมี
ประสิท์ิาาพ โดยความคิดจะส่งผลกระทบได้มากที่สุดเมื่อมีการเผยแพร่ความคิดนั้นไปในวงกว้าง แทนที่จะ
อยู่กับคนเพียงไม่กี่คน
1. องคเการ (Organization Transformation) ระบบขององคเการา้องมีการ
วางรากฐานไว้เพื่อสร้างองคเการแห่งการเรียนรู้ซึ่งประกอบด้วยปัจจัยที่เป็นองคเประกอบที่สําคัญ ได้แก่
วิสัยทัศนเ(Vision) ซึ่งเป็นเสมือนเข็มทิศนําองคเการไปยังเป้าหมายที่พึงประสงคเ
กลยุท์เ (Strategy) เป็นวิ์ีการที่จะทําให้ไปถึงยังเป้าหมายาามวิสัยทัศนเ
โครงสร้างองคเการ (Structure) เป็นปัจจัยสนับสนุนให้มีการทําหน้าที่ในทุกาาคส่วนอย่าง
เหมาะสม
วัฒน์รรมองคเการ (Organization Culture) ซึ่งเป็นความเชื่อหรือค่านิยมของคนใน
องคเการที่า้องเอื้อา่อการสร้างองคเการแห่งการเรียนรู้ เช่น ค่านิยมการทํางานเป็นทีมการบริหารจัดการานเอง
การมอบอํานาจ กระจายอํานาจเป็นา้น
2. ผู้ที่เกี่ยวข้องกับองคเการ (People Empowerment) องคเการหนึ่งๆา่างมี
ผู้เกี่ยวข้องหลายฝ่ายทั้งาายในองคเการเองเช่น ผู้บริหารา้องมีาาวะผู้นําและมีทักษะทางด้านการบริหาร เช่น
การสอนงาน การเป็นพี่เลี้ยง และที่สําคัญา้องเป็นแบบอย่างที่ดีแก่ผู้ใา้บังคับบัญชา พนักงานระดับปฏิบัาิ
า้องมีนิสัยใฝ่รู้ และพัฒนาศักยาาพของานเองอยู่เสมอ ลูกค้าที่ใช้บริการก็า้องมีการให้ข้อมูลย้อนกลับในด้าน
ของความา้องการแก่องคเการเช่นเดียวกับพัน์มิารทาง์ุรกิจ ที่า้องให้ความร่วมมือในการแลกเปลี่ยนความรู้ซึ่ง
กันและกันอย่างจริงใจ ทั้งนี้จะเห็นได้ว่าผู้เกี่ยวข้องฝ่ายา่างๆ ก็มีส่วนในการสร้างองคเการแห่งการเรียนรู้ทั้งสิ้น
3. เทคโนโลยี (Technology Application) การมีเครื่องมือหรือเทคโนโลยีที่ทันสมัย
ถือเป็นสิ่งอํานวยความสะดวกที่ช่วยให้การสร้างองคเการแห่งการเรียนรู้มีความสะดวกมากยิ่งขึ้น โดยประเาท
ของเทคโนโลยีที่ช่วยในการสร้างองคเการแห่งการเรียนรู้มี 2 ประเาทคือ เทคโนโลยีสําหรับการบริหารจัดการ
ความรู้ คือการใช้เพื่อการจัดเก็บและแลกเปลี่ยนความรู้แก่กัน ประเาทที่สองคือ เทคโนโลยีที่ใช้ในการเพิ่มพูน
ความรู้ คือการใช้เครื่องมืออุปกรณเในการสร้างการเรียนรู้แก่ผู้เรียนได้อย่างสะดวกมากขึ้น
4. ความรู้ (Knowledge Management) ความรู้ที่มีในองคเการจําเป็นอย่างยิ่งา้องมี
การบริหารจัดการอย่างเป็นระบบทั้งนี้เพื่อนํามาใช้ให้เกิดประโยชนเสูงสุดา่อองคเการ โดยกระบวนการให้การ
จัดการความรู้ มีกระบวนการเริ่มาั้งแา่การระบุความรู้ที่จําเป็นา่อองคเการ การเสาะแสวงหาหรือสร้างความรู้
ขึ้นมาใหม่ การจัดเก็บความรู้ การแบ่งบันความรู้ และการนําความรู้ไปประยุกาเใช้ในการทํางาน ซึ่งแนวคิดนี้
เองคงเป็นการสร้างความกระจ่างถึงความสัมพัน์เระหว่างองคเการแห่งการเรียนรู้ กับการจัดการความรู้
เพราะว่าในแนวคิดของ Michael J.Marquardt ถือว่าการจัดการความรู้เป็นระบบย่อยระบบหนึ่งที่
มีความสําคัญในการสร้างองคเการแห่งการเรียนรู้ให้เกิดขึ้นนั่นเอง
5. การเรียนรู้(Learning Dynmics) การเรียนรู้ถือเป็นระบบหลักที่เป็นแกนสําคัญของการ
สร้างองคเการแห่งการเรียนรู้ซึ่งสามารถจําแนก การเรียนรู้ได้ 3-ระดับคือ-ระดับบุคคล-ระดับกลุ่ม-และระดับ
องคเการ ซึ่งในแา่ละระดับของการเรียนรู้ นั้นา้องเริ่มที่ทักษะของาัวบุคลากรแา่ละคนซึ่งา้องมี 5-ประการเพื่อ
สามารถเรียนรู้ได้อย่างมีประสิท์ิาาพ ได้แก่
ความคิดเชิงระบบ(Systematic Thinking)
การมีาัวแบบทางความคิด (Mental Model)
ความเชี่ยวชาญรอบรู้ (Personal Mastery)
การเรียนรู้ด้วยานเอง (Self-directed learning)
การสนทนาสื่อสารกัน (Dialogue)
Power Point แนวคิดทฤษฏีเกี่ยวกับการจัดการความรู้

Contenu connexe

Tendances

พระพุทธศาสนา ม.3
พระพุทธศาสนา ม.3พระพุทธศาสนา ม.3
พระพุทธศาสนา ม.3
New Nan
 
Ca7 ld8 บทที่ 1อาจารย์
Ca7 ld8 บทที่ 1อาจารย์Ca7 ld8 บทที่ 1อาจารย์
Ca7 ld8 บทที่ 1อาจารย์
keatsunee.b
 
วันธรรมสวนะ
วันธรรมสวนะวันธรรมสวนะ
วันธรรมสวนะ
suchinmam
 
รายงานอบรม Ict innovation at korea
รายงานอบรม Ict innovation at  koreaรายงานอบรม Ict innovation at  korea
รายงานอบรม Ict innovation at korea
Kobwit Piriyawat
 
วิจัยบทที่ 1 5
วิจัยบทที่ 1 5วิจัยบทที่ 1 5
วิจัยบทที่ 1 5
Kongkrit Pimpa
 
วันออกพรรษา
วันออกพรรษาวันออกพรรษา
วันออกพรรษา
suchinmam
 
บทความบทที่ 2 คณิตศาสตร์
บทความบทที่  2  คณิตศาสตร์บทความบทที่  2  คณิตศาสตร์
บทความบทที่ 2 คณิตศาสตร์
supanyasaengpet
 
วันวิสาขบูชา
วันวิสาขบูชาวันวิสาขบูชา
วันวิสาขบูชา
suchinmam
 
กำหนดการสอนพุทธ ม.3
กำหนดการสอนพุทธ ม.3กำหนดการสอนพุทธ ม.3
กำหนดการสอนพุทธ ม.3
tassanee chaicharoen
 

Tendances (20)

พระพุทธศาสนา ม.3
พระพุทธศาสนา ม.3พระพุทธศาสนา ม.3
พระพุทธศาสนา ม.3
 
บทที่ 2
บทที่ 2บทที่ 2
บทที่ 2
 
โมเดลและทฤษฏีที่สำคัญ เกี่ยวกับการจัดการความรู้
โมเดลและทฤษฏีที่สำคัญ เกี่ยวกับการจัดการความรู้โมเดลและทฤษฏีที่สำคัญ เกี่ยวกับการจัดการความรู้
โมเดลและทฤษฏีที่สำคัญ เกี่ยวกับการจัดการความรู้
 
บทที่ 3
บทที่ 3บทที่ 3
บทที่ 3
 
Ca7 ld8 บทที่ 1อาจารย์
Ca7 ld8 บทที่ 1อาจารย์Ca7 ld8 บทที่ 1อาจารย์
Ca7 ld8 บทที่ 1อาจารย์
 
04 ตอนที่ 2 หน่วย 3
04 ตอนที่ 2 หน่วย 304 ตอนที่ 2 หน่วย 3
04 ตอนที่ 2 หน่วย 3
 
แผนคอมป.2
แผนคอมป.2แผนคอมป.2
แผนคอมป.2
 
แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 2
แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 2แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 2
แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 2
 
แผนการจัดการเรียนรู้ที่๗
แผนการจัดการเรียนรู้ที่๗แผนการจัดการเรียนรู้ที่๗
แผนการจัดการเรียนรู้ที่๗
 
วันธรรมสวนะ
วันธรรมสวนะวันธรรมสวนะ
วันธรรมสวนะ
 
รายงานอบรม Ict innovation at korea
รายงานอบรม Ict innovation at  koreaรายงานอบรม Ict innovation at  korea
รายงานอบรม Ict innovation at korea
 
วิจัยบทที่ 1 5
วิจัยบทที่ 1 5วิจัยบทที่ 1 5
วิจัยบทที่ 1 5
 
วันออกพรรษา
วันออกพรรษาวันออกพรรษา
วันออกพรรษา
 
หน่วยที่๗
หน่วยที่๗หน่วยที่๗
หน่วยที่๗
 
บทความบทที่ 2 คณิตศาสตร์
บทความบทที่  2  คณิตศาสตร์บทความบทที่  2  คณิตศาสตร์
บทความบทที่ 2 คณิตศาสตร์
 
วันวิสาขบูชา
วันวิสาขบูชาวันวิสาขบูชา
วันวิสาขบูชา
 
รูปแบบ Powerpoint
รูปแบบ Powerpointรูปแบบ Powerpoint
รูปแบบ Powerpoint
 
กำหนดการสอนพุทธ ม.3
กำหนดการสอนพุทธ ม.3กำหนดการสอนพุทธ ม.3
กำหนดการสอนพุทธ ม.3
 
หน่วยที่๘
หน่วยที่๘หน่วยที่๘
หน่วยที่๘
 
แผนการจัดการเรียนรู้ที่๓
แผนการจัดการเรียนรู้ที่๓แผนการจัดการเรียนรู้ที่๓
แผนการจัดการเรียนรู้ที่๓
 

Similaire à Power Point แนวคิดทฤษฏีเกี่ยวกับการจัดการความรู้

เอกสารและงานวิจัยที่เกี่ยวข้องกับการสอนแบบ 4 mat
เอกสารและงานวิจัยที่เกี่ยวข้องกับการสอนแบบ 4 matเอกสารและงานวิจัยที่เกี่ยวข้องกับการสอนแบบ 4 mat
เอกสารและงานวิจัยที่เกี่ยวข้องกับการสอนแบบ 4 mat
Siriphan Kristiansen
 
การวิเคราะห์ผู้เรียน เก๋
การวิเคราะห์ผู้เรียน เก๋การวิเคราะห์ผู้เรียน เก๋
การวิเคราะห์ผู้เรียน เก๋
Kaekea Bio
 
Jerome bruner
Jerome  brunerJerome  bruner
Jerome bruner
sofia-m15
 
Jerome bruner
Jerome  brunerJerome  bruner
Jerome bruner
soh26
 
องค์ความรู้
องค์ความรู้องค์ความรู้
องค์ความรู้
naipinyo
 
องค์ความรู้
องค์ความรู้องค์ความรู้
องค์ความรู้
naipinyo
 
องค์ความรู้
องค์ความรู้องค์ความรู้
องค์ความรู้
naipinyo
 
ชุดการเรียนรู้ พัฒนาความคิดสร้างสรรค์เรื่อง ซากดึกดำบรรพ์ โดยครูกอบวิทย์ พิร...
ชุดการเรียนรู้ พัฒนาความคิดสร้างสรรค์เรื่อง ซากดึกดำบรรพ์ โดยครูกอบวิทย์  พิร...ชุดการเรียนรู้ พัฒนาความคิดสร้างสรรค์เรื่อง ซากดึกดำบรรพ์ โดยครูกอบวิทย์  พิร...
ชุดการเรียนรู้ พัฒนาความคิดสร้างสรรค์เรื่อง ซากดึกดำบรรพ์ โดยครูกอบวิทย์ พิร...
Kobwit Piriyawat
 
ทรัพยากรสารสนเทศในห้องสมุด
ทรัพยากรสารสนเทศในห้องสมุดทรัพยากรสารสนเทศในห้องสมุด
ทรัพยากรสารสนเทศในห้องสมุด
Chuleekorn Rakchart
 
Introduction to Educational Media Production
Introduction to Educational Media ProductionIntroduction to Educational Media Production
Introduction to Educational Media Production
Rachabodin Suwannakanthi
 
แผนการจัดการเรียนรู้ระบบนิเวศ
แผนการจัดการเรียนรู้ระบบนิเวศแผนการจัดการเรียนรู้ระบบนิเวศ
แผนการจัดการเรียนรู้ระบบนิเวศ
Jiraporn
 

Similaire à Power Point แนวคิดทฤษฏีเกี่ยวกับการจัดการความรู้ (20)

SMEfriend: KM
SMEfriend: KMSMEfriend: KM
SMEfriend: KM
 
แนวคิดทฤษฎีสำหรับการบริหารจัดการความรู้
แนวคิดทฤษฎีสำหรับการบริหารจัดการความรู้ แนวคิดทฤษฎีสำหรับการบริหารจัดการความรู้
แนวคิดทฤษฎีสำหรับการบริหารจัดการความรู้
 
เอกสารและงานวิจัยที่เกี่ยวข้องกับการสอนแบบ 4 mat
เอกสารและงานวิจัยที่เกี่ยวข้องกับการสอนแบบ 4 matเอกสารและงานวิจัยที่เกี่ยวข้องกับการสอนแบบ 4 mat
เอกสารและงานวิจัยที่เกี่ยวข้องกับการสอนแบบ 4 mat
 
การวิเคราะห์ผู้เรียน เก๋
การวิเคราะห์ผู้เรียน เก๋การวิเคราะห์ผู้เรียน เก๋
การวิเคราะห์ผู้เรียน เก๋
 
03chap1
03chap103chap1
03chap1
 
Expand
ExpandExpand
Expand
 
Jerome bruner
Jerome  brunerJerome  bruner
Jerome bruner
 
Jerome bruner
Jerome  brunerJerome  bruner
Jerome bruner
 
Jerome bruner
Jerome  brunerJerome  bruner
Jerome bruner
 
หลักสูตร
หลักสูตรหลักสูตร
หลักสูตร
 
องค์ความรู้
องค์ความรู้องค์ความรู้
องค์ความรู้
 
องค์ความรู้
องค์ความรู้องค์ความรู้
องค์ความรู้
 
องค์ความรู้
องค์ความรู้องค์ความรู้
องค์ความรู้
 
ชุดการเรียนรู้ พัฒนาความคิดสร้างสรรค์เรื่อง ซากดึกดำบรรพ์ โดยครูกอบวิทย์ พิร...
ชุดการเรียนรู้ พัฒนาความคิดสร้างสรรค์เรื่อง ซากดึกดำบรรพ์ โดยครูกอบวิทย์  พิร...ชุดการเรียนรู้ พัฒนาความคิดสร้างสรรค์เรื่อง ซากดึกดำบรรพ์ โดยครูกอบวิทย์  พิร...
ชุดการเรียนรู้ พัฒนาความคิดสร้างสรรค์เรื่อง ซากดึกดำบรรพ์ โดยครูกอบวิทย์ พิร...
 
ทรัพยากรสารสนเทศในห้องสมุด
ทรัพยากรสารสนเทศในห้องสมุดทรัพยากรสารสนเทศในห้องสมุด
ทรัพยากรสารสนเทศในห้องสมุด
 
Introduction to Educational Media Production
Introduction to Educational Media ProductionIntroduction to Educational Media Production
Introduction to Educational Media Production
 
แผนการจัดการเรียนรู้ระบบนิเวศ
แผนการจัดการเรียนรู้ระบบนิเวศแผนการจัดการเรียนรู้ระบบนิเวศ
แผนการจัดการเรียนรู้ระบบนิเวศ
 
ครูมือใหม่
ครูมือใหม่ครูมือใหม่
ครูมือใหม่
 
กลุ่ม ปัญญานิยม
กลุ่ม ปัญญานิยมกลุ่ม ปัญญานิยม
กลุ่ม ปัญญานิยม
 
Intro sciproject
Intro sciprojectIntro sciproject
Intro sciproject
 

Power Point แนวคิดทฤษฏีเกี่ยวกับการจัดการความรู้

  • 1. จัดทำโดย นำงสำวจันทิมำ แสงจันทร ์ 5942040004 นำงสำววรรณดี อินทร ์จันทร ์ 5942040013 รำยวิชำ เทคโนโลยีสำหรับกำรบริหำรจัดกำรควำมรู ้ 4204- 2007 ภำคเรียนที่ 2 ปี กำรศึกษำ 2560 วิทยำลัยอำชีวศึกษำนครศรีธรรมรำช
  • 2.
  • 3. Hideo Yamazaki จากสถาบันวิจัยโนมูระ ประเทศญี่ปุ่น ได้ทําการศึกษาวิจัยเกี่ยวกับ ลักษณะของความรู้แล้วพบว่า ความรู้ มีลักษณะคล้ายกับรูปปิรามิด ลักษณะาามาาพ ปิรามิดความรู้ของ Yamazaki จะแบ่งลักษณะความรู้ออกเป็น 4 ประเาท เรียงลําดับจากฐานปิ รามิดไปสู่ยอดซึ่งความรู้แา่ละประเาท จะมีลักษณะแากา่างกัน แา่มีความสัมพัน์เเกี่ยวข้องกันดังนี้
  • 4. 1. ข้อมูล (Data) คือ ข้อเท็จจริงที่เกี่ยวกับเรื่องใดเรื่องหนึ่ง เกี่ยวกับเหาุการณเ หรือสิ่งที่เกิดขึ้น ซึ่งยังเป็นข้อมูลดิบที่ยังไม่ผ่านการประมวลผลใดๆ 2. สำรสนเทศ (Information)สารสนเทศคือข้อมูลที่ผ่านการประมวลแล้ว การ ประมวลผลเป็นวิ์ีการเปลี่ยนแปลงข้อมูลเป็นสารสนเทศด้วยการเพิ่มมูลค่าให้กับข้อมูลด้วยวิ์ีการา่างๆ 3. ควำมรู ้ (Knowledge) คือ สารสนเทศที่ผ่านกระบวนการคิดเปรียบเทียบ เชื่อมโยงกับ ความรู้อื่นจนเกิดความเข้าใจ สามารถนําไปใช้ประโยชนเในการสรุป าัดสินใจในสถานการณเา่างๆ ได้โดยไม่ า้องจํากัดช่วงเวลา 4. ภูมิปัญญำ (wisdom) เป็นความรู้ที่มีอยู่ในาัวคน นํามาประยุกาเใช้เพื่อแก้ปัญหาหรือ พัฒนาการทํางานให้เกิดประโยชนเ บางครั้งเรียกว่า ปัญญา
  • 5.
  • 6. ทฤษฎีของ Nonaka ก็คือ ความรู้นั้นจะถูกสร้างผ่านกระบวนการปฏิสัมพัน์เระหว่างความรู้แบบ ไม่แจ้งชัด (tacit) กับความรู้แบบแจ้งชัด (explicit) โดยผ่านรูปแบบของการเปลี่ยนแปลงความรู้ 4 รูปแบบ ความรู้ที่สําคัญส่วนใหญ่ มีลักษณะเป็นความรู้แฝงเร้น อยู่ในคนทํางาน และผู้เชี่ยวชาญในแา่ละเรื่อง จึงา้องอาศัยกลไกแลกเปลี่ยนเรียนรู้ให้คนได้พบกัน สร้างความไว้วางใจกัน และถ่ายทอดความรู้ระหว่างกัน และกัน Nonaka ได้เปรียบความรู้เหมือนกับาูเขานํ้าแข็ง โดยสามารถจําแนกความรู้ได้ออกเป็น 2 ประเาท คือ ความรู้แจ้งชัด (Explicit Knowledge) และ ความรู้ฝังลึก (Tacit Knowledge) ดังนี้
  • 7. 1. ความรู้แจ้งชัด คือ ความรู้ที่เป็นเหาุเป็นผล หรือ ความรู้เชิงทฤษฎีที่บันทึกไว้ในสื่อา่างๆ เช่น เอกสาร าํารา และคู่มือการปฏิบัาิงาน เป็นความรู้ที่ง่ายา่อการอ์ิบายถ่ายทอด ซึ่งทําให้ผู้อื่นสามารถเข้าถึง ความรู้นั้นได้ง่าย จึงเปรียบได้กับาูเขานํ้าแข็งส่วนที่โผล่พ้นนํ้าขึ้นมามองเห็นได้ชัดเจน มีปริมาณ 20% ของ ความรู้ทั้งหมดของคนเรา 2. ความรู้ฝังลึก คือ ความรู้เชิงประสบการณเที่ซ่อนอยู่ในาัวคน ในลักษณะของความชํานาญ หรือ ความเชี่ยวชาญ ซึ่งเป็นความสามารถพิเศษเฉพาะบุคคล หรือพรสวรรคเ ซึ่งยากแก่การอ์ิบายถ่ายทอดให้เป็น ลายลักษณเอักษร ด้วยเหาุที่เป็นความรู้ที่ซ่อนอยู่ในาัวคน มองไม่เห็นชัดเจน จึงเปรียบได้กับาูเขานํ้าแข็ง ส่วน ที่จมอยู่ใา้นํ้าซึ่งมองไม่เห็น มีปริมาณ 80% ของความรู้ทั้งหมดของคนเรา
  • 8.
  • 9. โมเดลปลาทู (Tuna Model:thai-UNAids Model) คิดขึ้นโดย ดร.ประพน์เ ผาสุก ยืด เป็นแนวทางเบื้องา้นในการจัดการความรู้ และในการทําความเข้าใจ 3 ส่วนหลักของการจัดการความรู้ว่า สัมพัน์เกับบุคคล 3 กลุ่ม ในการดําเนินการจัดการความรู้เปรียบการจัดการความรู้ เหมือนกับปลาทูหนึ่งาัวที่ มี 3 ส่วน
  • 10. 1. ส่วนหัวปลา (Knowledge Vision : KV) ส่วนที่เป็นเป้าหมาย คือเป้าหมาย วิสัยทัศนเ หรือทิศทางของการจัดการความรู้ มองหาเส้นทางที่เดินทางไป แล้วคิดวิเคราะหเว่า จุดหมายอยู่ที่ไหนา้องว่าย แบบใดไปในเส้นทางไหน และไปอย่างไร ในที่นี้เราจะเปรียบเป็น การบ่งชี้ความรู้ (Knowledge Identification) ก่อนที่เราจะทํางานอะไรซักอย่างเราา้องรู้ก่อนว่าเราา้องการอะไร จุดหมายคืออะไร และา้องทําอย่างไรบ้าง า้องสอดคล้องกับวิสัยทัศนเขององคเกร
  • 11. 2. ส่วนกลางลําาัว (Knowledge Sharing : KS) เป็นส่วนกิจกรรม คือ ส่วนลําาัวที่มี หัวใจของปลาอยู่ทําหน้าที่สูบฉีดเลือดไปเลี้ยงส่วนา่างๆของร่างกาย ในกระบวนการแลกเปลี่ยนเรียนรู้ที่แนบ แน่นอยู่กับการทํางานนี้เราแลกเปลี่ยนเรียนรู้กันสาาพจิาทั้ง 3 ระดับ คือ ระดับมีสาิรู้สํานึก ระดับจิาใา้สํานึก และระดับจิาเหนือสํานึกอย่างซับซ้อน โดยที่จิาของสมาชิกทุกคนมีอิสระในการคิด การาีความาามพื้นฐาน ของาน การแลกเปลี่ยนเรียนรู้นี้อาศัยพลังความแากา่างของสมาชิก โดยมีจุดร่วมอยู่ที่การบรรลุ “หัวปลา” ของการจัดการความรู้ และ “หัวปลา” ขององคเกร
  • 12. 3. ส่วนที่เป็นหางปลา (Knowledge Assets : KA) เป็นส่วนการจดบันทึก คือ องคเ ความรู้ที่องคเกรได้เก็บสะสมไว้เป็นคลังความรู้หรือขุมความรู้ การจัดการความรู้ในส่วนนี้เป็นส่วนที่า้องพึ่งพา เทคโนโลยีสารสนเทศช่วยในการจัดเก็บ จัดหมวดหมู่ เพื่อสะดวกในการเข้าถึง และปรับปรุงความรู้ให้ทันสมัย อยู่เสมอ (Update) ช่วยทําหน้าที่เป็นพื้นที่เสมือน (Virtual Space) ให้คนที่อยู่ไกลกันสามารถ แลกเปลี่ยนเรียนรู้ (Share and Learn) ได้อย่างกว้างขวางยิ่งขึ้น
  • 13.
  • 14. “การจัดการความรู้ในแนว สคส. นั้นเน้นการเรียนรู้จากการปฏิบัาินําผลสําเร็จจากการปฏิบัาิมา แลกเปลี่ยนเรียนรู้กัน เสริมพลังของการแลกเปลี่ยนเรียนรู้ด้วยการชื่นชม ทําให้เป็นกระบวนการแห่งความสุข ความาูมิใจ และการเคารพเห็นคุณค่าซึ่งกันและกัน ทักษะเหล่านี้นําไปสู่การสร้างนิสัยคิดบวกทําบวก มองโลก ในแง่ดี และสร้างวัฒน์รรมในองคเกร ที่ผู้คนสัมพัน์เกันด้วยเรื่องราวดีๆ ด้วยการแบ่งปันความรู้และ แลกเปลี่ยนเรียนรู้จากประสบการณเของกันและกัน โดยที่กิจกรรมเหล่านี้สอดแทรกอยู่ในการทํางานประจําทุก เรื่อง ทุกเวลา”
  • 15. แบ่งออกเป็น 2 ประเาท ดังนี้ 1. ความรู้เด่นชัด (Explicit Knowledge) เป็นความรู้ที่อยู่ในรูปแบบที่เป็นเอกสาร หรือ วิชาการ อยู่ในาํารา คู่มือปฏิบัาิงาน 2. ความรู้ซ่อนเร้น/ความรู้ฝังลึก (Tacit Knowledge) เป็นความรู้ที่แฝงอยู่ในาัวคน เป็น ประสบการณเที่สั่งสมมายาวนาน เป็นาูมิปัญญา โดยที่ความรู้ทั้ง 2 ประเาทนี้มีวิ์ีการจัดการที่แากา่างกัน การจัดการ “ความรู้เด่นชัด” จะเน้นไปที่การเข้าถึงแหล่งความรู้ ารวจสอบ และาีความได้ เมื่อนําไปใช้ แล้วเกิดความรู้ใหม่ ก็นํามาสรุปไว้ เพื่อใช้อ้างอิง “ความรู้ซ่อนเร้น” นั้นจะเน้นไปที่การจัดเวทีเพื่อให้มีการ แบ่งปันความรู้ที่อยู่ในาัวผู้ปฏิบัาิ ทําให้เกิดการเรียนรู้ร่วมกัน ที่แา่ละคนสามารถนําไปใช้ในการปฏิบัาิงานได้
  • 16.
  • 17. การจัดการความรู้ (กพร.) คือ การรวบรวมองคเความรู้ที่มีอยู่ในองคเกร ซึ่งกระจัดกระจายอยู่ในาัว บุคคลหรือเอกสาร มาพัฒนาให้เป็นระบบ เพื่อให้ทุกคนในองคเกรสามารถเข้าถึงความรู้ และพัฒนาานเองให้ เป็นผู้รู้รวมทั้งปฏิบัาิงานได้อย่างมีประสิท์ิาาพ
  • 18. สามารถแบ่งกระบวนการจัดการความรู้ได้ 7 กระบวนการ 1. การบ่งชี้ความรู้ เป็นการพิจารณาว่าจะทําอย่างไรให้องคเกรบรรลุเป้าหมาย โดยจะคัดเลือกว่าจะ ใช้เครื่องมืออะไร และขณะนี้เรามีความรู้อะไรบ้าง อยู่ในรูปแบบใด อยู่ที่ใคร โดยอาจจะพิจารณาว่าองคเกรมี วิสัยทัศนเ พัน์กิจ ยุท์ศาสารเ เป้าหมายคืออะไร 2. การสร้างและแสวงหาความรู้ ซึ่งสามารถทําได้หลายทาง เช่น การสร้างความรู้ใหม่ แสวงหา ความรู้จากาายนอก รักษาความรู้เก่า กําจัดความรู้ที่ใช้ไม่ได้แล้ว 3. การจัดความรู้ให้เป็นระบบ เป็นการวางโครงสร้างความรู้ เพื่อเารียมพร้อมสําหรับการเก็บความรู้ อย่างเป็นระบบเพื่อการเรียกใช้งานได้อย่างรวดเร็วและถูกา้องในอนาคา
  • 19. 4. การประมวลและกลั่นกรองความรู้ เช่น การปรับปรุงรูปแบบเอกสารให้เป็นมาารฐาน ใช้าาษา เดียวกัน และปรับปรุงเนื้อหาให้สมบูรณเและเหมาะสม 5. การเข้าถึงความรู้ เป็นการทําให้ผู้ใช้ความรู้เข้าถึงความรู้ที่า้องการได้ง่ายและสะดวก โดยการใช้ พวกระบบเทคโนโลยีสารสนเทศ(IT) หรือการประชาสัมพัน์เบน Web boardการจัดการความรู้ใน องคเกร 6. การแบ่งปันแลกเปลี่ยนความรู้ ทําได้หลายวิ์ีการซึ่งจะแบ่งได้สองกรณีได้แก่ Explicit Knowledge อาจจะจัดทําเป็นเอกสาร และเทคโนโลยีสารสนเทศา่างๆ หรือTacit Knowledge จัดทําเป็นระบบ กิจกรรมกลุ่มคุณาาพและนวัากรรม ชุมชนแห่งการเรียนรู้ การสับเปลี่ยนงาน การยืมาัว เป็น า้น 7. การเรียนรู้ ควรทําให้การเรียนรู้เป็นส่วนหนึ่งของงาน เช่น การเรียนรู้จากสร้างองคเความรู้ การนํา
  • 20.
  • 21. เป็นวงจรความรู้ ที่นําเสนอโดย Ikujiro Nonaka และ Takeuchi กล่าวถึง การ เปลี่ยนแปลงความรู้ (Knowledge conversion) ระหว่าง Tacit knowledge และ Explicit knowledge ทําให้เกิดความรู้ใหม่ขึ้น หมุนเป็นเกลียวไปเรื่อยๆ อย่างไม่มีที่สิ้นสุด เพราะ การเรียนรู้เกิดขึ้นได้าลอดเวลา การสร้างความรู้จะเกิดขึ้นได้ 4 รูปแบบ คือ Socialization, Externalization, Combination และ Internalization
  • 22. จากโมเดล SECI ของ Nonaka และ Takeuchi ที่เป็นที่รู้จักกันอย่างแพร่หลายและมุ่งเน้น การสร้างความรู้ขององคเกรให้เาิบโาขึ้น โดยการเชื่อมโยงการสร้างองคเความรู้ทั้งในรูปแบบความรู้โดยนัย และ ความรู้ที่ชัดแจ้ง ให้เหมาะสมกับลักษณะของกลุ่มคนในองคเกรให้มีส่วนร่วมในการสร้างความรู้ มีวิ์ีการ 4 ลักษณะ ได้แก่ S = Socialization คือ การสร้างความรู้ด้วยการแบ่งปันประสบการณเโดยการพบปะสมาคม และพูดคุยกับผู้อื่น ซึ่งจะเป็นการถ่ายทอดแบ่งปัน ความรู้ที่อยู่ในาัวบุคคลไปให้ผู้อื่น E = Externalization คือ การนําความรู้ในาัวบุคคลที่ได้นํามาพูดคุยกันถ่ายทอดออกมาให้ เป็นสิ่งที่จับา้องได้หรือเป็นลายลักษณเอักษร
  • 23. C = Combination คือ การผสมผสานความรู้ที่ชัดแจ้งมารวมกัน และสร้างสรรคเสิ่งใหม่ๆ เพื่อให้สามารถนําความรู้นั้นไปใช้ในทางปฏิบัาิได้ I = Internalization คือ การนําความรู้ที่ได้มาใหม่ไปใช้ปฏิบัาิหรือลงมือทําจริง การนําไป ปฏิบัาิจริงสามารถนํามาใช้แก้ไขปัญหา โดยการนําเอาความรู้ที่มีและความรู้ที่ได้ใหม่มาา่อยอดเพื่อช่วยกัน หาทางแก้ไขปัญหาที่เกิดขึ้น
  • 24.
  • 25. PeterSenge’s ได้เสนอแนวความคิดของการสร้างองคเกรแห่งการเรียนรู้ที่เรียกว่า The five disciplines (วินัย 5 ประการ) ซึ่งเป็นแนวทางสําคัญ 5 ประการที่จะผลักดันและสนับสนุนให้เกิด องคเกรแห่งการเรียนรู้ทฤษฎีการจัดการความรู้ของ (Peter M. Senge’s) จะมุ่งเน้นไปที่คน เพราะ Peter Senge’s มีความคิดว่าการพัฒนาองคเกรแห่งการเรียนรู้จะาองเริ่มการพัฒนาคนก่อน องคเกรแห่งการเรียนรู้ (Learning Organization: LO) คือองคเกรที่เรียนรู้อยู่าลอดเวลา เรียนรู้ที่ว่าทั้งองคเกรเรียนรู้ในกิจกรรมทุกอย่างเป็นองคเกรที่มีการเปลี่ยนแปลงอยู่าลอดเวลามีความ เป็นพลวัา อยู่าลอดเวลา
  • 26. องคเประกอบที่สําคัญ ซึ่งนับว่าเป็นหัวใจของการเป็น “องคเกรแห่งการเรียนรู้ คือ วินัย 5 ประการ ประกอบด้วย 1. การคิดเชิงระบบ (Systems Thinking) 2. แบบแผนทางจิาใจที่มองโลกาามความเป็นจริง (Mental Model) 3. ความเชี่ยวชาญเป็นพิเศษของบุคคล(Personal Mastery) 4. การมีวิสัยทัศนเร่วมกัน (Shared Vision) 5. การเรียนรู้ร่วมกันเป็นทีม (Team Learning)
  • 27. จากหลัก 5 ประการนี้เกื้อกูลและพึ่งพาอาศัยซึ่งกันและกัน อาศัยพลังแห่งการเรียนรู้เป็นกลุ่ม พลัง แห่งการมองาาพรวม มองความเชื่อมโยง มองความเคลื่อนไหวเปลี่ยนแปลงเป็นพลวัา มองอนาคา มองเชิง บวก มองเห็นสาาพความเป็นจริง มองแบบไม่ยึดาิด ลดอัาาาหรือาัว มองที่ประโยชนเหรือความมุ่งมั่นเพื่อ ส่วนรวมหรือคุณค่าอันยิ่งใหญ่ และอาศัยพลังแห่งทักษะของการเรียนรู้ร่วมกัน การเปลี่ยนสาาพหรือสิ่งที่ดู เสมือนเป็นจุดอ่อนหรือปัญหาให้กลายเป็นจุดแข็ง เป็นโอกาสหรือพลังในการดําเนินงานให้ก้าวหน้าไปได้ใน โลกที่เปลี่ยนแปลงไปอย่างรวดเร็ว Systems Thinking Shared Vision Team Learning Personal Mastery Mental Models Dialogue
  • 28.
  • 29. Garvin ได้นําเสนอหลัก 5 ประการในการพัฒนาสู่องคเกรแห่งการเรียนรู้ ซึ่งกิจกรรมแา่ละด้าน จะา้องใช้กรอบความคิด เครื่องมือ และแบบแผนของพฤาิกรรมที่า่างกันออกไป ดังนั้นการสร้างระบบและ กระบวนการสนับสนุนกิจกรรมเหล่านี้ขึ้นมา แล้วรวมสิ่งเหล่านี้เข้าเป็นส่วนหนึ่งของการดําเนินงานปกาิ จะทํา ให้องคเกรสามารถบริหารการเรียนรู้าายในได้อย่างมีประสิท์ิผลยิ่งขึ้น
  • 30. 1. การแก้ปัญหาอย่างเป็นระบบ กิจกรรมนี้สามารถใช้แนวคิดการบริหารคุณาาพ า่างๆ เช่น การคิด วิเคราะหเปัญหาเพื่อแก้ไขาามแนวคิดของ Deming Cycle (PDCA) และการใช้เครื่องมือทางสถิาิ ในการวิเคราะหเกระบวนการ (Statistical Process Control) เป็นา้น 2. การทดลองทําสิ่งา่างๆ ด้วยวิ์ีการ กิจกรรมนี้เกี่ยวข้องกับการค้นหาและการทดสอบความรู้ใหม่ๆ อย่างเป็นระบบ ซึ่งจะา้องใช้วิ์ีที่เป็นวิทยาศาสารเเหมือนกับวิ์ีที่ใช้ในการแก้ปัญหาอย่างเป็นระบบ 3. การเรียนรู้จากประสบการณเและเหาุการณเที่เกิดขึ้นในอดีา องคเกรจําเป็นา้องมีการคิดทบทวน เกี่ยวกับ ความสําเร็จและความล้มเหลวที่ผ่านมา โดยประเมินสิ่งเหล่านี้อย่างเป็นระบบ และบันทึกบทเรียนที่ ได้รับในแบบที่เปิดเผย ง่ายา่อการเข้าถึงสําหรับพนักงาน
  • 31. 4. การเรียนรู้จากบุคคลอื่น การเรียนรู้ไม่ได้มาจากการคิดทบทวนและการวิเคราะหเด้วยาัวเองทั้งหมด ในบางครั้ง ความรู้ความเข้าใจที่มีอิท์ิพลอย่างยิ่งนั้น อาจได้มาจากการมองออกไปนอกสาาพแวดล้อมที่ คุ้นเคย เพื่อให้ได้มุมมองที่แปลกใหม่ การหยิบยืมความคิดจากาายนอกมาอย่างเา็มใจ จะเข้ามาแทนที่การไม่ ยอมรับ ความคิดที่ไม่ได้เกิดขึ้นจากาายในองคเกร โดยอาจเรียกกระบวนการนี้ว่า SISาามแนวทางพัฒนา องคเกรของ XEROX 5. การถ่ายโอนความรู้ทั่วทั้งองคเกรได้อย่างรวดเร็วและมีประสิท์ิาาพ เพื่อไม่ให้การเรียนรู้กระจุกาัว อยู่ในส่วนใดส่วนหนึ่งขององคเกรจึงา้องมีการเผยแพร่ความรู้ออกไปทั่วทั้งองคเกรอย่างรวดเร็วและมี ประสิท์ิาาพ โดยความคิดจะส่งผลกระทบได้มากที่สุดเมื่อมีการเผยแพร่ความคิดนั้นไปในวงกว้าง แทนที่จะ อยู่กับคนเพียงไม่กี่คน
  • 32.
  • 33. 1. องคเการ (Organization Transformation) ระบบขององคเการา้องมีการ วางรากฐานไว้เพื่อสร้างองคเการแห่งการเรียนรู้ซึ่งประกอบด้วยปัจจัยที่เป็นองคเประกอบที่สําคัญ ได้แก่ วิสัยทัศนเ(Vision) ซึ่งเป็นเสมือนเข็มทิศนําองคเการไปยังเป้าหมายที่พึงประสงคเ กลยุท์เ (Strategy) เป็นวิ์ีการที่จะทําให้ไปถึงยังเป้าหมายาามวิสัยทัศนเ โครงสร้างองคเการ (Structure) เป็นปัจจัยสนับสนุนให้มีการทําหน้าที่ในทุกาาคส่วนอย่าง เหมาะสม วัฒน์รรมองคเการ (Organization Culture) ซึ่งเป็นความเชื่อหรือค่านิยมของคนใน องคเการที่า้องเอื้อา่อการสร้างองคเการแห่งการเรียนรู้ เช่น ค่านิยมการทํางานเป็นทีมการบริหารจัดการานเอง การมอบอํานาจ กระจายอํานาจเป็นา้น
  • 34. 2. ผู้ที่เกี่ยวข้องกับองคเการ (People Empowerment) องคเการหนึ่งๆา่างมี ผู้เกี่ยวข้องหลายฝ่ายทั้งาายในองคเการเองเช่น ผู้บริหารา้องมีาาวะผู้นําและมีทักษะทางด้านการบริหาร เช่น การสอนงาน การเป็นพี่เลี้ยง และที่สําคัญา้องเป็นแบบอย่างที่ดีแก่ผู้ใา้บังคับบัญชา พนักงานระดับปฏิบัาิ า้องมีนิสัยใฝ่รู้ และพัฒนาศักยาาพของานเองอยู่เสมอ ลูกค้าที่ใช้บริการก็า้องมีการให้ข้อมูลย้อนกลับในด้าน ของความา้องการแก่องคเการเช่นเดียวกับพัน์มิารทาง์ุรกิจ ที่า้องให้ความร่วมมือในการแลกเปลี่ยนความรู้ซึ่ง กันและกันอย่างจริงใจ ทั้งนี้จะเห็นได้ว่าผู้เกี่ยวข้องฝ่ายา่างๆ ก็มีส่วนในการสร้างองคเการแห่งการเรียนรู้ทั้งสิ้น
  • 35. 3. เทคโนโลยี (Technology Application) การมีเครื่องมือหรือเทคโนโลยีที่ทันสมัย ถือเป็นสิ่งอํานวยความสะดวกที่ช่วยให้การสร้างองคเการแห่งการเรียนรู้มีความสะดวกมากยิ่งขึ้น โดยประเาท ของเทคโนโลยีที่ช่วยในการสร้างองคเการแห่งการเรียนรู้มี 2 ประเาทคือ เทคโนโลยีสําหรับการบริหารจัดการ ความรู้ คือการใช้เพื่อการจัดเก็บและแลกเปลี่ยนความรู้แก่กัน ประเาทที่สองคือ เทคโนโลยีที่ใช้ในการเพิ่มพูน ความรู้ คือการใช้เครื่องมืออุปกรณเในการสร้างการเรียนรู้แก่ผู้เรียนได้อย่างสะดวกมากขึ้น
  • 36. 4. ความรู้ (Knowledge Management) ความรู้ที่มีในองคเการจําเป็นอย่างยิ่งา้องมี การบริหารจัดการอย่างเป็นระบบทั้งนี้เพื่อนํามาใช้ให้เกิดประโยชนเสูงสุดา่อองคเการ โดยกระบวนการให้การ จัดการความรู้ มีกระบวนการเริ่มาั้งแา่การระบุความรู้ที่จําเป็นา่อองคเการ การเสาะแสวงหาหรือสร้างความรู้ ขึ้นมาใหม่ การจัดเก็บความรู้ การแบ่งบันความรู้ และการนําความรู้ไปประยุกาเใช้ในการทํางาน ซึ่งแนวคิดนี้ เองคงเป็นการสร้างความกระจ่างถึงความสัมพัน์เระหว่างองคเการแห่งการเรียนรู้ กับการจัดการความรู้ เพราะว่าในแนวคิดของ Michael J.Marquardt ถือว่าการจัดการความรู้เป็นระบบย่อยระบบหนึ่งที่ มีความสําคัญในการสร้างองคเการแห่งการเรียนรู้ให้เกิดขึ้นนั่นเอง
  • 37. 5. การเรียนรู้(Learning Dynmics) การเรียนรู้ถือเป็นระบบหลักที่เป็นแกนสําคัญของการ สร้างองคเการแห่งการเรียนรู้ซึ่งสามารถจําแนก การเรียนรู้ได้ 3-ระดับคือ-ระดับบุคคล-ระดับกลุ่ม-และระดับ องคเการ ซึ่งในแา่ละระดับของการเรียนรู้ นั้นา้องเริ่มที่ทักษะของาัวบุคลากรแา่ละคนซึ่งา้องมี 5-ประการเพื่อ สามารถเรียนรู้ได้อย่างมีประสิท์ิาาพ ได้แก่ ความคิดเชิงระบบ(Systematic Thinking) การมีาัวแบบทางความคิด (Mental Model) ความเชี่ยวชาญรอบรู้ (Personal Mastery) การเรียนรู้ด้วยานเอง (Self-directed learning) การสนทนาสื่อสารกัน (Dialogue)