SlideShare une entreprise Scribd logo
1  sur  12
Télécharger pour lire hors ligne
2



                            บัตรเนือหาที่ 1.1 เรื่อง สมบัติของเส้ นขนาน
                                   ้

บทนิยาม เส้ นตรงสองเส้ นทีอยู่บนระนาบเดียวกัน ขนานกัน ก็ต่อเมื่อ เส้ นตรงทั้งสองเส้ นนั้น
                          ่
               ไม่ ตัดกัน
1.                                                   2.                  F
                                                                                      H
           A                             B

                                                          E
                                                                           G
          C                                 D

เราสามารถเขียนสั ญลักษณ์ แทนเส้ นขนานได้ ดังนี้
         
1. AB//CD อ่านว่า เส้ นตรง AB ขนานกับเส้ นตรง CD
         
2. EF// GH อ่านว่า เส้ นตรง EF ขนานกับเส้ นตรง GH
จากบทนิยามจะเห็นว่าอาจไม่ สะดวกในการพิจารณาว่า เส้ นตรงสองเส้ นขนานกันหรือไม่
เพราะจะต้ องต่ อเส้ นตรงออกไปยาวมาก กว่าจะพบว่ามันจะตัดกันหรือไม่ จึงใช้ สมบัติอน ๆ มาช่ วย
                                                                                ื่
ในการตรวจสอบ เช่ น การหาระยะระหว่างส่ วนของเส้ นตรงสองเส้ น
                                                                      
          A         E             G    B                                  ่
                                                          ให้ ABและ CD อยูบนระนาบเดียวกัน
                                                                                  
                                                          สร้าง EF ตั้งฉากกับ CD
                    a              b                                              
                                                          สร้าง GH ตั้งฉากกับ CD
          C         F             H     D                 ให้ EF ยาว a หน่วย
                                                               GH ยาว b หน่วย
                                               
         เรียก a ว่า ระยะห่ างระหว่าง AB กับ CD ทีวดจากจุด F ไปยังจุด E
                                                  ่ั
                                                
     และ เรียก b ว่า ระยะห่ างระหว่าง AB กับ CD ทีวดจากจุด H ไปยังจุด G
                                                  ่ั
                       
         ถ้ า AB//CD แล้ว a = b
นั่นคือ ถ้ าเส้ นตรงสองเส้ นขนานกัน แล้ วระยะห่ างระหว่ างเส้ นตรงคู่น้ ันจะเท่ ากันเสมอ
ในทางกลับกันถ้ าเส้ นตรงสองเส้ นมีระยะห่ างระหว่างเส้ นตรงเท่ ากันเสมอ แล้ วเส้ นตรงคู่น้ ัน
จะขนานกัน
3




                       บัตรกิจกรรมที่ 1.1 เรื่องสมบัติของเส้ นขนาน

จุดประสงค์ : อธิบายเกียวกับเส้ นตรงสองเส้ นทีกาหนดให้ ขนานกันโดยการหาระยะห่ างระหว่าง
                        ่                     ่
               เส้ นตรงสองเส้ นได้
ให้ นักเรียนพิจารณาว่าส่ วนของเส้ นตรงทั้งสองเส้ นในแต่ ละข้ อต่ อไปนีขนานกันหรือไม่
                                                                      ้

  1.              B                               2.
                                D
                                                            I
                                                                               J



                                                        K                          L
            A

                   C


                            N
       3.                                          4.
                                                        Q                              R
                                    P

       M
                                                        S                          T

            O

ตอบ
……………………………………………………………………………………………………
………………………………………………………………………………………………………
………………………………………………………………………………………………………
สรุ ป เส้ นตรงสองเส้ นจะขนานกันต้ องพิสูจน์ อย่ างไร
………………………………………………………………………………………………………
………………………………………………………………………………………………………
………………………………………………………………………………………………………
………………………………………………………………………………………………………
4



                                เฉลยบัตรกิจกรรมที่ 1.1 เรื่องสมบัติเส้ นขนาน

จุดประสงค์ : อธิบายเกียวกับเส้ นตรงสองเส้ นทีกาหนดให้ ขนานกันโดยการหาระยะห่ างระหว่าง
                        ่                     ่
               เส้ นตรงสองเส้ นได้
ให้ นักเรียนพิจารณาว่าส่ วนของเส้ นตรงทั้งสองเส้ นในแต่ ละข้ อต่ อไปนีขนานกันหรือไม่
                                                                      ้

           เลื่ อนเส้ นตรง UV
    1.                            B                        2. เลื่ อนเส้ นตรง WX
                                               D
                            G                                       I
                                                                                   W
                                                                                       B       J
                                           H
                        U

                                       V                        K                                  L
                    A                      HG = 1.72 ซม.                           X   A
                                           UV = 1.72 ซม.
                                 C                                  WX = 2.01 ซม.
                                                                    AB = 1.77 ซม.


                                       N                    4. เลื่ อนเส้ นตรง XY
         3. เลื่ อนเส้ นตรง YZ    I
                                                                Q             Y            J           R
                    Y                              P

         M                              H
                                                                S                                      T
                                                                             X        K
                            Z           HI = 1.69 ซม.
                                                                        JK = 1.93 ซม.
                O                       YZ = 1.72 ซม.
                                                                        XY = 1.87 ซม.



ตอบ
          ข้ อ 1. ขนานกัน เพราะระยะห่ างระหว่างเส้ นตรงสองเส้ นยาวเท่ ากัน
……………………………………………………………………………………………………
          ข้ อ 2 - 4 ไม่ ข นานกัน เพราะระยะห่ างระหว่างเส้ นตรงสองเส้ นยาวไม่ เท่ ากัน
………………………………………………………………………………………………………
………………………………………………………………………………………………………
สรุ ป เส้ นตรงสองเส้ นจะขนานกันต้ องพิสูจน์ อย่ างไร
          1. ถ้ าลากเส้ นตรงทั้งสองเส้ นไปเรื่อย ๆ แล้ วเส้ นตรงทั้งสองเส้ นจะต้องไม่ ตดกัน
                                                                                       ั
………………………………………………………………………………………………………
          2. ถ้ าวัดระยะห่ างระหว่างเส้ นตรงทั้งสองเส้ นแล้ วต้องมีความยาวเท่ ากัน
………………………………………………………………………………………………………
              โดยให้ ต้งฉากกับเส้ นตรงทั้งสอง
                       ั
………………………………………………………………………………………………………
………………………………………………………………………………………………………
5




                                     บัตรเนือหาที่ 1.2
                                            ้
                      เรื่อง มุมภายในทีอยู่บนข้ างเดียวกันของเส้ นตัด
                                       ่

                                               
กาหนด AB และ CD ขนานกัน มี PQ ตัด AB และ CD ที่จุด E และ F ตามลาดับ
เรี ยก EF ว่าเป็ น เส้นตัด EF
                                   P
                      C           E                D
                                 a c


                                   b d
                  A                  F                        B
                                    Q

จากรู ปจะเกิดมุมภายในเส้ นตรงสองเส้ นทีอยู่บนระนาบเดียวกันอยู่ 4 มุม คือ a,b,c และd
                                       ่
       1. เรียก       a,b,c และd       ว่ า มุมภายในของเส้ นตัด EF
       2. เรียก          a และ b       ว่ า มุมภายในทีอยู่บนข้ างเดียวกันของเส้ นตัด EF
                                                      ่
       3. เรียก          c และ d       ว่ า มุมภายในทีอยู่บนข้ างเดียวกันของเส้ นตัด EF
                                                      ่
หรือ   1. เรียก   CEF,AFE,DEFและBFE ว่า มุมภายในของเส้ นตัด EF
       2. เรียก          CEF และ AFE       ว่ า มุมภายในทีอยู่บนข้ างเดียวกันของเส้ นตัด EF
                                                          ่
       3. เรียก          DEF และ BFE       ว่ า มุมภายในทีอยู่บนข้ างเดียวกันของเส้ นตัด EF
                                                          ่
6




                                          บัตรกิจกรรมที่ 1.2
                               เรื่อง มุมภายในข้ างเดียวกันของเส้ นตัด
ให้ นักเรียนบอกว่ ามุมใดบ้ างทีเ่ ป็ นมุมภายในทีอยู่บนข้ างเดียวกันของเส้ นตัด
                                                ่

        1.
                               Q
              A                                             มุมภายในข้ างเดียวกัน ของเส้ นตัด คือ
                                                  B         1. ...............................
                                                            2. ...............................

               C                        R        D


         2.                                                 มุมภายในข้ างเดียวกัน ของเส้ นตัด คือ
                                    S
                  E                                         1. ...............................
                                                  F
                                                            2. ...............................

                                                      H
                                T
                   G


         3.                                                มุมภายในข้างเดียวกัน ของเส้ นตัด คือ
                           Y                A
                                                           1. ...............................
                                                           2. ...............................
                                            D
                      C



                           Z                B
         4.                      M          O             มุมภายในข้างเดียวกัน ของเส้ นตัด คือ
                                                          1. ...............................
                           B
                                                          2. ...............................

                                     A

                       N
                                P
7




                                        เฉลยบัตรกิจกรรมที่ 1.2
                               เรื่อง มุมภายในข้ างเดียวกันของเส้ นตัด
ให้ นักเรียนบอกว่ ามุมใดบ้ างทีเ่ ป็ นมุมภายในทีอยู่บนข้ างเดียวกันของเส้ นตัด
                                                ่
     1.
                           Q
           A                                             มุมภายในข้ างเดียวกัน ของเส้ นตัด คือ
                                                                                 
                                               B             AQRกับ CRQ
                                                         1. ...............................
                                                                                  
                                                             BQRกับ DRQ
                                                         2. ...............................

            C                       R         D


      2.                                                 มุมภายในข้ างเดี วกัน ของเส้ นตัด คือ
                                                                                  ย
                                S                                
               E                                              ESTกับ GTS
                                                         1. ...............................
                                                                                 
                                               F              FSTกับ HTS
                                                         2. ...............................

                                                   H
                           T
                G
      3.                                                มุมภายในข้างเดียวกัน ของเส้ นตัด คือ
                                        A                                        
                       Y                                    YCDกับ ADC
                                                        1. ...............................
                                                                                 
                                                             ZCDกับ BDC
                                                        2. ...............................
                                        D
                   C



                       Z                B
      4.                   M            O              มุมภายในข้างเดีย น ของเส้ นตัด คือ
                                                                
                                                                                  วกั
                                                           MBAกับ OAB
                                                       1. ...............................
                                                                                
                       B                                    NBAกับ PAB
                                                       2. ...............................

                                 A

                   N
                           P
8



                                      บัตรเนือหาที่ 1.3
                                             ้
                          สมบัติของมุมภายในข้ างเดียวกันของเส้ นตัด

ทฤษฎีบท เมื่อเส้ นตรงสองเส้ นขนานกันและมีเส้ นตัด แล้ วขนาดของมุมภายใน
        ทีอยู่บนข้ างเดียวกันของเส้ นตัดรวมกันเป็ น 180 องศา
          ่
ทฤษฎีบท ถ้ าเส้ นตรงเส้ นหนึ่งตัดเส้ นตรงคู่หนึ่ง ทาให้ ขนาดของมุมภายใน
        ทีอยู่บนข้ างเดียวกันรวมกันได้ 180 องศา แล้ วเส้ นตรงคู่น้ ันจะขนานกัน
            ่

ตัวอย่างที่ 1 กาหนดให้ AB / /CD มี EF เป็ นเส้ นตัด จงหา
                1. ขนาดของมุมภายในของเส้ นตัด
                2. ผลรวมของมุมภายในทีอยู่บนข้ างเดียวกันของเส้ นตัด
                                     ่
                             A                 C



                      E




                                           F


                  B                    D

        1. มุมภายในทีอยู่บนข้ างเดียวกันของเส้ นตัด
                     ่
            1.1. AEF และ CEF ขนาดมุม 107.58 ,72.42
            1.2. BEF และ DEF ขนาดมุม 72.42 ,107.58
        2.ผลบวกของมุมภายในทีอยู่บนข้ างเดียวกันของเส้ นตัด
                                 ่
           2.1) AEF  CEF  180.00
           2.2) BEF  DEF  180.00
9



                                บัตรกิจกรรมที่ 1.3
                     สมบัติของมุมภายในข้ างเดียวกันของเส้ นตัด
  1. จงตรวจดูว่าส่ วนของเส้ นตรงแต่ ละคู่ต่อไปนีขนานกันหรือไม่ พร้ อมบอกเหตุผล
                                                ้
      1.1 K
                                B                ตอบ .......................................................
                        92                 L
                                                 เพราะ ....................................................
                                                 ..............................................................
         M           88                         ..............................................................
                        A                        ..............................................................
      1.2                               N

        J                   K           I       ตอบ .......................................................
                      84                       เพราะ ....................................................
                                                ..............................................................
                    95                         ..............................................................
        G                   L           H       ..............................................................
  2. ให้ นักเรียนสร้ างรู ปโดยใช้ โปรแกรม GSP ตามเงื่อนไขต่ อไปนี้ แล้วตอบคาถาม
     2.1 ลาก CD ผ่ านจุด L ทามุม 130 องศากับ KL ทางด้ าน KB
                       K
        A                  50                  B



                                    L



1. ขนาดของมุมภายในทีอยู่บนข้ างเดียวกันของเส้ นตัดรวมกันได้ กองศา
                        ่                                    ี่
……………………………………………………………………………………………………..
2. วัดระยะห่ างระหว่าง AB กับ CD ได้ เท่ากันโดยตลอดหรือไม่
……………………………………………………………………………………………………..
3. นักเรียนคิดว่า AB กับ CD ขนานกันหรือไม่
……………………………………………………………………………………………………..
10



                              บัตรเฉลยกิจกรรมที่ 1.3
                     สมบัติของมุมภายในข้ างเดียวกันของเส้ นตัด
  3. จงตรวจดูว่าส่ วนของเส้ นตรงแต่ ละคู่ต่อไปนีขนานกันหรื อไม่ พร้ อมบอกเหตุผล
                                                ้
      1.1 K
                                B                                          ขนานกัน
                                                        ตอบ .......................................................
                        92                     L
                                                        เพราะ ....................................................
                                                        ..............................................................น
                                                         ตรวจสอบว่ ามุมภายในข้ างเดียวกั
                                                         ของเส้ นตัดรวมกันได้ 180 องศา
         M           88                                ..............................................................
                                                         92 + 88 = 180 องศา
                        A                               ..............................................................
      1.2                                   N

        J                   K               I                    ไม่ ขนานกัน
                                                    ตอบ .......................................................
                      84                           เพราะ ....................................................
                                                    ..............................................................น
                                                    ตรวจสอบว่ ามุมภายในข้ างเดียวกั

                    95                             ..............................................................องศา
                                                    ของเส้ นตัดรวมกันไม่ เท่ากับ 180
                                                    95 + 84 = 179 องศา
        G                   L           H           ..............................................................
  4. ให้ นักเรียนสร้ างรู ปโดยใช้ โปรแกรม GSP ตามเงื่อนไขต่ อไปนี้ แล้วตอบคาถาม
     2.2 ลาก CD ผ่ านจุด L ทามุม 130 องศากับ KL ทางด้ าน KB
        A      F       K                            B
                            50 
                                                                       เลื่ อนเส้ นตรง EF
                                                                     EF = 2.60 ซม.
                                    13 0           D
        C
               E                    L


1. ขนาดของมุมภายในทีอยู่บนข้ างเดียวกันของเส้ นตัดรวมกันได้ กองศา
                   
                       ่               
                                                             ี่
      BKL  50 ,DLK  130 ,BKL  DLK  180
……………………………………………………………………………………………………..
2. วัดระยะระหว่าง AB และ CD ได้ เท่ากันโดยตลอดหรือไม่
       เท่ากันโดยตลอด
……………………………………………………………………………………………………..
3. นักเรียนคิดว่า AB และ CD ขนานกันหรือไม่
    ขนานกันเพราะ มุมภายในข้ างเดียวกันของเส้ นตัดรวมกันได้ 180องศา
……………………………………………………………………………………………………..
11



                                  บัตรเนือหาที่ 1.4
                                          ้
                   การหาค่ ามุมภายในทีอยู่บนข้ างเดียวกันของเส้ นตัด
                                      ่

ตัวอย่าง 2 กาหนดให้ AB / /CD จงหาค่ า x ในแต่ ละข้ อต่ อไปนี้

  1.                                              2.
                   A                                   A                  F       B
                                                                    72
       C
                                  F
                    0
                                                       C        X + 100           D
                   X            136
              E                              B                        E

                            D




วิธีทา 1) เนื่องจาก AB / /CD มุมภายในข้ างเดียวกันของเส้ นตัดรวมกันได้ 180 องศา
         จะได้           x  136  180
                                x  180  136
                                x  44
       1) เนื่องจาก AB / /CD มุมภายในข้ างเดียวกันของเส้ นตัดรวมกันได้ 180 องศา
         จะได้            x  10   72  180
                                 x  82  180
                                         x  180  82
                                         x  98
12



                                           บัตรกิจกรรมที่ 1.4
                             การหาค่ ามุมภายในทีอยู่บนข้ างเดียวกันของเส้ นตัด
                                                ่
     จุดประสงค์ : สามารถแก้ โจทย์ ปัญหาโดยใช้ ความรู้ เรื่องมุมภายในข้ างเดียวกันของเส้ นขนานได้
     คาชี้แจง เขียนวงกลมล้ อมรอบตัวอักษรหน้ าคาตอบทีถูกต้ อง่
กาหนดให้ AB / /CD,EF เป็ นเส้ นตัด               5. ถ้ า CD / /EF,AB เป็ นเส้ นตัดแล้ว x เท่ากับ
ถ้ า DFE  50 ดังรู ป( ใช้ ตอบคาถาม ข้ อ 1 – 3)        กีองศา
                                                          ่                D             F

   A                           E            B
                            b c
                                                                            2x             4x
                                                              A        C                        E       B
             a
                     50                                ก. 120             ข. 80
   C             F                      D
                                                        ค. 60              ง. 30
1. a เท่ากับกีองศา่                                  6. ถ้ า QR//ST และ PST  48 ,POQ  120
    ก. 50               ข. 120                            แล้ว RQO เท่ากับกีองศา
                                                                            ่
    ค. 130              ง. 140                                          P

2. b เท่ากับกีองศา
                ่                                                 S   48              T


    ก. 50               ข. 120                        O
                                                              120
    ค. 130              ง. 140
3. c เท่ากับกีองศา
              ่                                            Q                                        R

    ก. 50               ข. 120                          ก. 135             ข. 108
    ค. 130              ง. 140                          ค. 75              ง. 65
4. ถ้ า AB / /CD,ON เป็ นเส้ นตัดแล้ว                7. จากรู ป AB//CE แล้ว DCE เท่ากับกีองศา
                                                                                         ่
    x เท่ากับกีองศา ่                                     A
                                                                                            E
                               N
       A                                        B              60
                                   2x
                                                      B                          40
                                                                                       C                D
       C                    72                 D

                     O
                                                           ก. 100                          ข. 80
    ก. 108                    ข. 72                        ค. 60                           ง. 30
    ค. 68                     ง. 54
13



             เฉลยบัตรกิจกรรมที่ 1.4
การหาค่ ามุมภายในทีอยู่บนข้ างเดียวกันของเส้ นตัด
                    ่

      1.   ค
      2.   ก
      3.   ค
      4.   ง
      5.   ง
      6.   ข
      7.   ข

Contenu connexe

Tendances

ตัวอย่างข้อสอบ Gsp งานศิลปะหัตกรรม ปีการศึกษา 2552
ตัวอย่างข้อสอบ Gsp งานศิลปะหัตกรรม ปีการศึกษา 2552ตัวอย่างข้อสอบ Gsp งานศิลปะหัตกรรม ปีการศึกษา 2552
ตัวอย่างข้อสอบ Gsp งานศิลปะหัตกรรม ปีการศึกษา 2552waranyuati
 
ฮิสโทแกรม
ฮิสโทแกรมฮิสโทแกรม
ฮิสโทแกรมkrookay2012
 
เอกสารประกอบการเรียน พหุนาม ม.2
เอกสารประกอบการเรียน พหุนาม ม.2เอกสารประกอบการเรียน พหุนาม ม.2
เอกสารประกอบการเรียน พหุนาม ม.2นายเค ครูกาย
 
คำอธิบายรายวิชาคณิตศาสตร์พื้นฐานม.2เทอม2
คำอธิบายรายวิชาคณิตศาสตร์พื้นฐานม.2เทอม2คำอธิบายรายวิชาคณิตศาสตร์พื้นฐานม.2เทอม2
คำอธิบายรายวิชาคณิตศาสตร์พื้นฐานม.2เทอม2kroojaja
 
ชุดกิจกรรมการเรียนรู้แบบเพื่อนคู่คิด เล่มที่ 4 โจทย์ปัญหาการบวกเศษส่วน
ชุดกิจกรรมการเรียนรู้แบบเพื่อนคู่คิด เล่มที่ 4 โจทย์ปัญหาการบวกเศษส่วนชุดกิจกรรมการเรียนรู้แบบเพื่อนคู่คิด เล่มที่ 4 โจทย์ปัญหาการบวกเศษส่วน
ชุดกิจกรรมการเรียนรู้แบบเพื่อนคู่คิด เล่มที่ 4 โจทย์ปัญหาการบวกเศษส่วนKanlayaratKotaboot
 
เฉลยการวัดตำแหน่งและกระจาย
เฉลยการวัดตำแหน่งและกระจายเฉลยการวัดตำแหน่งและกระจาย
เฉลยการวัดตำแหน่งและกระจายkrurutsamee
 
หน่วยการเรียนรู้ที่ 1 เรื่องทศนิยมและเศษส่วน
หน่วยการเรียนรู้ที่  1   เรื่องทศนิยมและเศษส่วนหน่วยการเรียนรู้ที่  1   เรื่องทศนิยมและเศษส่วน
หน่วยการเรียนรู้ที่ 1 เรื่องทศนิยมและเศษส่วนInmylove Nupad
 
บทที่ 2 ทฤษฎีบทพีทาโกรัส
บทที่ 2 ทฤษฎีบทพีทาโกรัสบทที่ 2 ทฤษฎีบทพีทาโกรัส
บทที่ 2 ทฤษฎีบทพีทาโกรัสsawed kodnara
 
แบบฝึกเสริมทักษะภาคเรียนที่2ป.6
แบบฝึกเสริมทักษะภาคเรียนที่2ป.6แบบฝึกเสริมทักษะภาคเรียนที่2ป.6
แบบฝึกเสริมทักษะภาคเรียนที่2ป.6ทับทิม เจริญตา
 
ใบงาน เศษส่วนกับทศนิยม
ใบงาน เศษส่วนกับทศนิยมใบงาน เศษส่วนกับทศนิยม
ใบงาน เศษส่วนกับทศนิยมkanjana2536
 
กระดาษคำตอบ20ข้อ
กระดาษคำตอบ20ข้อกระดาษคำตอบ20ข้อ
กระดาษคำตอบ20ข้อwisheskerdsilp
 
ชุดที่ 1 แบบรูปและความสัมพันธ์
ชุดที่ 1  แบบรูปและความสัมพันธ์ ชุดที่ 1  แบบรูปและความสัมพันธ์
ชุดที่ 1 แบบรูปและความสัมพันธ์ Aobinta In
 
Slแบบฝึกหัดทบทวน เรื่อง อัตราเร็ว ความเร็ว ระยะทาง และการกระจัด
Slแบบฝึกหัดทบทวน เรื่อง อัตราเร็ว ความเร็ว ระยะทาง และการกระจัดSlแบบฝึกหัดทบทวน เรื่อง อัตราเร็ว ความเร็ว ระยะทาง และการกระจัด
Slแบบฝึกหัดทบทวน เรื่อง อัตราเร็ว ความเร็ว ระยะทาง และการกระจัดkrupornpana55
 
ใบความรู้คู่อันดับและกราฟ
ใบความรู้คู่อันดับและกราฟใบความรู้คู่อันดับและกราฟ
ใบความรู้คู่อันดับและกราฟJiraprapa Suwannajak
 
ใบงานคณิตศาสตร์เรื่อง การบวก การลบ การคูณ การหารเศษส่วน
ใบงานคณิตศาสตร์เรื่อง การบวก การลบ การคูณ การหารเศษส่วนใบงานคณิตศาสตร์เรื่อง การบวก การลบ การคูณ การหารเศษส่วน
ใบงานคณิตศาสตร์เรื่อง การบวก การลบ การคูณ การหารเศษส่วนatunya2530
 
แบบทดสอบวัดผลสัมฤทธ์อัตราส่วนและร้อยละ
แบบทดสอบวัดผลสัมฤทธ์อัตราส่วนและร้อยละแบบทดสอบวัดผลสัมฤทธ์อัตราส่วนและร้อยละ
แบบทดสอบวัดผลสัมฤทธ์อัตราส่วนและร้อยละkroojaja
 
แบบประเมินการนำเสนอผลงาน
แบบประเมินการนำเสนอผลงานแบบประเมินการนำเสนอผลงาน
แบบประเมินการนำเสนอผลงานKhemjira_P
 
โครงสร้างคณิตศาสตร์ เพิ่มเติม ม.ต้น
โครงสร้างคณิตศาสตร์ เพิ่มเติม ม.ต้นโครงสร้างคณิตศาสตร์ เพิ่มเติม ม.ต้น
โครงสร้างคณิตศาสตร์ เพิ่มเติม ม.ต้นInmylove Nupad
 
ข้อสอบ ม.4 ส41101
ข้อสอบ ม.4  ส41101ข้อสอบ ม.4  ส41101
ข้อสอบ ม.4 ส41101thnaporn999
 

Tendances (20)

ตัวอย่างข้อสอบ Gsp งานศิลปะหัตกรรม ปีการศึกษา 2552
ตัวอย่างข้อสอบ Gsp งานศิลปะหัตกรรม ปีการศึกษา 2552ตัวอย่างข้อสอบ Gsp งานศิลปะหัตกรรม ปีการศึกษา 2552
ตัวอย่างข้อสอบ Gsp งานศิลปะหัตกรรม ปีการศึกษา 2552
 
ฮิสโทแกรม
ฮิสโทแกรมฮิสโทแกรม
ฮิสโทแกรม
 
เอกสารประกอบการเรียน พหุนาม ม.2
เอกสารประกอบการเรียน พหุนาม ม.2เอกสารประกอบการเรียน พหุนาม ม.2
เอกสารประกอบการเรียน พหุนาม ม.2
 
คำอธิบายรายวิชาคณิตศาสตร์พื้นฐานม.2เทอม2
คำอธิบายรายวิชาคณิตศาสตร์พื้นฐานม.2เทอม2คำอธิบายรายวิชาคณิตศาสตร์พื้นฐานม.2เทอม2
คำอธิบายรายวิชาคณิตศาสตร์พื้นฐานม.2เทอม2
 
ชุดกิจกรรมการเรียนรู้แบบเพื่อนคู่คิด เล่มที่ 4 โจทย์ปัญหาการบวกเศษส่วน
ชุดกิจกรรมการเรียนรู้แบบเพื่อนคู่คิด เล่มที่ 4 โจทย์ปัญหาการบวกเศษส่วนชุดกิจกรรมการเรียนรู้แบบเพื่อนคู่คิด เล่มที่ 4 โจทย์ปัญหาการบวกเศษส่วน
ชุดกิจกรรมการเรียนรู้แบบเพื่อนคู่คิด เล่มที่ 4 โจทย์ปัญหาการบวกเศษส่วน
 
เฉลยการวัดตำแหน่งและกระจาย
เฉลยการวัดตำแหน่งและกระจายเฉลยการวัดตำแหน่งและกระจาย
เฉลยการวัดตำแหน่งและกระจาย
 
หน่วยการเรียนรู้ที่ 1 เรื่องทศนิยมและเศษส่วน
หน่วยการเรียนรู้ที่  1   เรื่องทศนิยมและเศษส่วนหน่วยการเรียนรู้ที่  1   เรื่องทศนิยมและเศษส่วน
หน่วยการเรียนรู้ที่ 1 เรื่องทศนิยมและเศษส่วน
 
บทที่ 2 ทฤษฎีบทพีทาโกรัส
บทที่ 2 ทฤษฎีบทพีทาโกรัสบทที่ 2 ทฤษฎีบทพีทาโกรัส
บทที่ 2 ทฤษฎีบทพีทาโกรัส
 
แบบฝึกเสริมทักษะภาคเรียนที่2ป.6
แบบฝึกเสริมทักษะภาคเรียนที่2ป.6แบบฝึกเสริมทักษะภาคเรียนที่2ป.6
แบบฝึกเสริมทักษะภาคเรียนที่2ป.6
 
ใบงาน เศษส่วนกับทศนิยม
ใบงาน เศษส่วนกับทศนิยมใบงาน เศษส่วนกับทศนิยม
ใบงาน เศษส่วนกับทศนิยม
 
กระดาษคำตอบ20ข้อ
กระดาษคำตอบ20ข้อกระดาษคำตอบ20ข้อ
กระดาษคำตอบ20ข้อ
 
ชุดที่ 1 แบบรูปและความสัมพันธ์
ชุดที่ 1  แบบรูปและความสัมพันธ์ ชุดที่ 1  แบบรูปและความสัมพันธ์
ชุดที่ 1 แบบรูปและความสัมพันธ์
 
Slแบบฝึกหัดทบทวน เรื่อง อัตราเร็ว ความเร็ว ระยะทาง และการกระจัด
Slแบบฝึกหัดทบทวน เรื่อง อัตราเร็ว ความเร็ว ระยะทาง และการกระจัดSlแบบฝึกหัดทบทวน เรื่อง อัตราเร็ว ความเร็ว ระยะทาง และการกระจัด
Slแบบฝึกหัดทบทวน เรื่อง อัตราเร็ว ความเร็ว ระยะทาง และการกระจัด
 
ใบความรู้คู่อันดับและกราฟ
ใบความรู้คู่อันดับและกราฟใบความรู้คู่อันดับและกราฟ
ใบความรู้คู่อันดับและกราฟ
 
ใบงานคณิตศาสตร์เรื่อง การบวก การลบ การคูณ การหารเศษส่วน
ใบงานคณิตศาสตร์เรื่อง การบวก การลบ การคูณ การหารเศษส่วนใบงานคณิตศาสตร์เรื่อง การบวก การลบ การคูณ การหารเศษส่วน
ใบงานคณิตศาสตร์เรื่อง การบวก การลบ การคูณ การหารเศษส่วน
 
แบบทดสอบวัดผลสัมฤทธ์อัตราส่วนและร้อยละ
แบบทดสอบวัดผลสัมฤทธ์อัตราส่วนและร้อยละแบบทดสอบวัดผลสัมฤทธ์อัตราส่วนและร้อยละ
แบบทดสอบวัดผลสัมฤทธ์อัตราส่วนและร้อยละ
 
แบบประเมินการนำเสนอผลงาน
แบบประเมินการนำเสนอผลงานแบบประเมินการนำเสนอผลงาน
แบบประเมินการนำเสนอผลงาน
 
ความคล้าย
ความคล้ายความคล้าย
ความคล้าย
 
โครงสร้างคณิตศาสตร์ เพิ่มเติม ม.ต้น
โครงสร้างคณิตศาสตร์ เพิ่มเติม ม.ต้นโครงสร้างคณิตศาสตร์ เพิ่มเติม ม.ต้น
โครงสร้างคณิตศาสตร์ เพิ่มเติม ม.ต้น
 
ข้อสอบ ม.4 ส41101
ข้อสอบ ม.4  ส41101ข้อสอบ ม.4  ส41101
ข้อสอบ ม.4 ส41101
 

Plus de วิเชียร กีรติศักดิ์กุล

Plus de วิเชียร กีรติศักดิ์กุล (11)

แบบคำร้องขอสำเร็จการศึกษา ป.โท
แบบคำร้องขอสำเร็จการศึกษา ป.โทแบบคำร้องขอสำเร็จการศึกษา ป.โท
แบบคำร้องขอสำเร็จการศึกษา ป.โท
 
ชุดการสอนที่ 9 การรักษาดุลยภาพด้วยฮอร์โมน
ชุดการสอนที่ 9 การรักษาดุลยภาพด้วยฮอร์โมนชุดการสอนที่ 9 การรักษาดุลยภาพด้วยฮอร์โมน
ชุดการสอนที่ 9 การรักษาดุลยภาพด้วยฮอร์โมน
 
ชุดการสอนที่ 8 ฟีโรโมน
ชุดการสอนที่ 8 ฟีโรโมนชุดการสอนที่ 8 ฟีโรโมน
ชุดการสอนที่ 8 ฟีโรโมน
 
ชุดการสอนที่ 7 ต่อมไทมัสและเนื้อเยื่ออื่นๆ
ชุดการสอนที่ 7 ต่อมไทมัสและเนื้อเยื่ออื่นๆ ชุดการสอนที่ 7 ต่อมไทมัสและเนื้อเยื่ออื่นๆ
ชุดการสอนที่ 7 ต่อมไทมัสและเนื้อเยื่ออื่นๆ
 
ชุดการสอนที่ 6 ต่อมเพศและไพเนียล
ชุดการสอนที่ 6 ต่อมเพศและไพเนียลชุดการสอนที่ 6 ต่อมเพศและไพเนียล
ชุดการสอนที่ 6 ต่อมเพศและไพเนียล
 
ชุดการสอนที่ 5 ต่อมหมวกไต
ชุดการสอนที่ 5 ต่อมหมวกไตชุดการสอนที่ 5 ต่อมหมวกไต
ชุดการสอนที่ 5 ต่อมหมวกไต
 
ชุดการสอนที่ 4 ตับอ่อน (อาบ)
ชุดการสอนที่ 4 ตับอ่อน (อาบ)ชุดการสอนที่ 4 ตับอ่อน (อาบ)
ชุดการสอนที่ 4 ตับอ่อน (อาบ)
 
ชุดการสอนที่ 3 ต่อมไทรอยด์ (อาบ)
ชุดการสอนที่ 3 ต่อมไทรอยด์ (อาบ)ชุดการสอนที่ 3 ต่อมไทรอยด์ (อาบ)
ชุดการสอนที่ 3 ต่อมไทรอยด์ (อาบ)
 
ชุดการสอนที่ 2 ต่อมใต้สมอง อาบ ok
ชุดการสอนที่ 2 ต่อมใต้สมอง อาบ okชุดการสอนที่ 2 ต่อมใต้สมอง อาบ ok
ชุดการสอนที่ 2 ต่อมใต้สมอง อาบ ok
 
ชุดการสอนที่ 1ต่อมไร้ท่อ.ในร่างกาย
ชุดการสอนที่ 1ต่อมไร้ท่อ.ในร่างกายชุดการสอนที่ 1ต่อมไร้ท่อ.ในร่างกาย
ชุดการสอนที่ 1ต่อมไร้ท่อ.ในร่างกาย
 
บทคัดย่อ
บทคัดย่อบทคัดย่อ
บทคัดย่อ
 

ชุดการสอนที่ 1 เรื่อง เส้นขนานและมุมภายใน

  • 1. 2 บัตรเนือหาที่ 1.1 เรื่อง สมบัติของเส้ นขนาน ้ บทนิยาม เส้ นตรงสองเส้ นทีอยู่บนระนาบเดียวกัน ขนานกัน ก็ต่อเมื่อ เส้ นตรงทั้งสองเส้ นนั้น ่ ไม่ ตัดกัน 1. 2. F H A B E G C D เราสามารถเขียนสั ญลักษณ์ แทนเส้ นขนานได้ ดังนี้   1. AB//CD อ่านว่า เส้ นตรง AB ขนานกับเส้ นตรง CD   2. EF// GH อ่านว่า เส้ นตรง EF ขนานกับเส้ นตรง GH จากบทนิยามจะเห็นว่าอาจไม่ สะดวกในการพิจารณาว่า เส้ นตรงสองเส้ นขนานกันหรือไม่ เพราะจะต้ องต่ อเส้ นตรงออกไปยาวมาก กว่าจะพบว่ามันจะตัดกันหรือไม่ จึงใช้ สมบัติอน ๆ มาช่ วย ื่ ในการตรวจสอบ เช่ น การหาระยะระหว่างส่ วนของเส้ นตรงสองเส้ น   A E G B ่ ให้ ABและ CD อยูบนระนาบเดียวกัน  สร้าง EF ตั้งฉากกับ CD a b  สร้าง GH ตั้งฉากกับ CD C F H D ให้ EF ยาว a หน่วย GH ยาว b หน่วย   เรียก a ว่า ระยะห่ างระหว่าง AB กับ CD ทีวดจากจุด F ไปยังจุด E ่ั   และ เรียก b ว่า ระยะห่ างระหว่าง AB กับ CD ทีวดจากจุด H ไปยังจุด G ่ั   ถ้ า AB//CD แล้ว a = b นั่นคือ ถ้ าเส้ นตรงสองเส้ นขนานกัน แล้ วระยะห่ างระหว่ างเส้ นตรงคู่น้ ันจะเท่ ากันเสมอ ในทางกลับกันถ้ าเส้ นตรงสองเส้ นมีระยะห่ างระหว่างเส้ นตรงเท่ ากันเสมอ แล้ วเส้ นตรงคู่น้ ัน จะขนานกัน
  • 2. 3 บัตรกิจกรรมที่ 1.1 เรื่องสมบัติของเส้ นขนาน จุดประสงค์ : อธิบายเกียวกับเส้ นตรงสองเส้ นทีกาหนดให้ ขนานกันโดยการหาระยะห่ างระหว่าง ่ ่ เส้ นตรงสองเส้ นได้ ให้ นักเรียนพิจารณาว่าส่ วนของเส้ นตรงทั้งสองเส้ นในแต่ ละข้ อต่ อไปนีขนานกันหรือไม่ ้ 1. B 2. D I J K L A C N 3. 4. Q R P M S T O ตอบ …………………………………………………………………………………………………… ……………………………………………………………………………………………………… ……………………………………………………………………………………………………… สรุ ป เส้ นตรงสองเส้ นจะขนานกันต้ องพิสูจน์ อย่ างไร ……………………………………………………………………………………………………… ……………………………………………………………………………………………………… ……………………………………………………………………………………………………… ………………………………………………………………………………………………………
  • 3. 4 เฉลยบัตรกิจกรรมที่ 1.1 เรื่องสมบัติเส้ นขนาน จุดประสงค์ : อธิบายเกียวกับเส้ นตรงสองเส้ นทีกาหนดให้ ขนานกันโดยการหาระยะห่ างระหว่าง ่ ่ เส้ นตรงสองเส้ นได้ ให้ นักเรียนพิจารณาว่าส่ วนของเส้ นตรงทั้งสองเส้ นในแต่ ละข้ อต่ อไปนีขนานกันหรือไม่ ้ เลื่ อนเส้ นตรง UV 1. B 2. เลื่ อนเส้ นตรง WX D G I W B J H U V K L A HG = 1.72 ซม. X A UV = 1.72 ซม. C WX = 2.01 ซม. AB = 1.77 ซม. N 4. เลื่ อนเส้ นตรง XY 3. เลื่ อนเส้ นตรง YZ I Q Y J R Y P M H S T X K Z HI = 1.69 ซม. JK = 1.93 ซม. O YZ = 1.72 ซม. XY = 1.87 ซม. ตอบ ข้ อ 1. ขนานกัน เพราะระยะห่ างระหว่างเส้ นตรงสองเส้ นยาวเท่ ากัน …………………………………………………………………………………………………… ข้ อ 2 - 4 ไม่ ข นานกัน เพราะระยะห่ างระหว่างเส้ นตรงสองเส้ นยาวไม่ เท่ ากัน ……………………………………………………………………………………………………… ……………………………………………………………………………………………………… สรุ ป เส้ นตรงสองเส้ นจะขนานกันต้ องพิสูจน์ อย่ างไร 1. ถ้ าลากเส้ นตรงทั้งสองเส้ นไปเรื่อย ๆ แล้ วเส้ นตรงทั้งสองเส้ นจะต้องไม่ ตดกัน ั ……………………………………………………………………………………………………… 2. ถ้ าวัดระยะห่ างระหว่างเส้ นตรงทั้งสองเส้ นแล้ วต้องมีความยาวเท่ ากัน ……………………………………………………………………………………………………… โดยให้ ต้งฉากกับเส้ นตรงทั้งสอง ั ……………………………………………………………………………………………………… ………………………………………………………………………………………………………
  • 4. 5 บัตรเนือหาที่ 1.2 ้ เรื่อง มุมภายในทีอยู่บนข้ างเดียวกันของเส้ นตัด ่      กาหนด AB และ CD ขนานกัน มี PQ ตัด AB และ CD ที่จุด E และ F ตามลาดับ เรี ยก EF ว่าเป็ น เส้นตัด EF P C E D a c b d A F B Q จากรู ปจะเกิดมุมภายในเส้ นตรงสองเส้ นทีอยู่บนระนาบเดียวกันอยู่ 4 มุม คือ a,b,c และd ่ 1. เรียก a,b,c และd ว่ า มุมภายในของเส้ นตัด EF 2. เรียก a และ b ว่ า มุมภายในทีอยู่บนข้ างเดียวกันของเส้ นตัด EF ่ 3. เรียก c และ d ว่ า มุมภายในทีอยู่บนข้ างเดียวกันของเส้ นตัด EF ่ หรือ 1. เรียก CEF,AFE,DEFและBFE ว่า มุมภายในของเส้ นตัด EF 2. เรียก CEF และ AFE ว่ า มุมภายในทีอยู่บนข้ างเดียวกันของเส้ นตัด EF ่ 3. เรียก DEF และ BFE ว่ า มุมภายในทีอยู่บนข้ างเดียวกันของเส้ นตัด EF ่
  • 5. 6 บัตรกิจกรรมที่ 1.2 เรื่อง มุมภายในข้ างเดียวกันของเส้ นตัด ให้ นักเรียนบอกว่ ามุมใดบ้ างทีเ่ ป็ นมุมภายในทีอยู่บนข้ างเดียวกันของเส้ นตัด ่ 1. Q A มุมภายในข้ างเดียวกัน ของเส้ นตัด คือ B 1. ............................... 2. ............................... C R D 2. มุมภายในข้ างเดียวกัน ของเส้ นตัด คือ S E 1. ............................... F 2. ............................... H T G 3. มุมภายในข้างเดียวกัน ของเส้ นตัด คือ Y A 1. ............................... 2. ............................... D C Z B 4. M O มุมภายในข้างเดียวกัน ของเส้ นตัด คือ 1. ............................... B 2. ............................... A N P
  • 6. 7 เฉลยบัตรกิจกรรมที่ 1.2 เรื่อง มุมภายในข้ างเดียวกันของเส้ นตัด ให้ นักเรียนบอกว่ ามุมใดบ้ างทีเ่ ป็ นมุมภายในทีอยู่บนข้ างเดียวกันของเส้ นตัด ่ 1. Q A มุมภายในข้ างเดียวกัน ของเส้ นตัด คือ   B AQRกับ CRQ 1. ...............................   BQRกับ DRQ 2. ............................... C R D 2. มุมภายในข้ างเดี วกัน ของเส้ นตัด คือ ย S  E ESTกับ GTS 1. ...............................   F FSTกับ HTS 2. ............................... H T G 3. มุมภายในข้างเดียวกัน ของเส้ นตัด คือ A   Y YCDกับ ADC 1. ...............................   ZCDกับ BDC 2. ............................... D C Z B 4. M O มุมภายในข้างเดีย น ของเส้ นตัด คือ  วกั MBAกับ OAB 1. ...............................   B NBAกับ PAB 2. ............................... A N P
  • 7. 8 บัตรเนือหาที่ 1.3 ้ สมบัติของมุมภายในข้ างเดียวกันของเส้ นตัด ทฤษฎีบท เมื่อเส้ นตรงสองเส้ นขนานกันและมีเส้ นตัด แล้ วขนาดของมุมภายใน ทีอยู่บนข้ างเดียวกันของเส้ นตัดรวมกันเป็ น 180 องศา ่ ทฤษฎีบท ถ้ าเส้ นตรงเส้ นหนึ่งตัดเส้ นตรงคู่หนึ่ง ทาให้ ขนาดของมุมภายใน ทีอยู่บนข้ างเดียวกันรวมกันได้ 180 องศา แล้ วเส้ นตรงคู่น้ ันจะขนานกัน ่ ตัวอย่างที่ 1 กาหนดให้ AB / /CD มี EF เป็ นเส้ นตัด จงหา 1. ขนาดของมุมภายในของเส้ นตัด 2. ผลรวมของมุมภายในทีอยู่บนข้ างเดียวกันของเส้ นตัด ่ A C E F B D 1. มุมภายในทีอยู่บนข้ างเดียวกันของเส้ นตัด ่ 1.1. AEF และ CEF ขนาดมุม 107.58 ,72.42 1.2. BEF และ DEF ขนาดมุม 72.42 ,107.58 2.ผลบวกของมุมภายในทีอยู่บนข้ างเดียวกันของเส้ นตัด ่ 2.1) AEF  CEF  180.00 2.2) BEF  DEF  180.00
  • 8. 9 บัตรกิจกรรมที่ 1.3 สมบัติของมุมภายในข้ างเดียวกันของเส้ นตัด 1. จงตรวจดูว่าส่ วนของเส้ นตรงแต่ ละคู่ต่อไปนีขนานกันหรือไม่ พร้ อมบอกเหตุผล ้ 1.1 K B ตอบ ....................................................... 92 L เพราะ .................................................... .............................................................. M 88 .............................................................. A .............................................................. 1.2 N J K I ตอบ ....................................................... 84 เพราะ .................................................... .............................................................. 95 .............................................................. G L H .............................................................. 2. ให้ นักเรียนสร้ างรู ปโดยใช้ โปรแกรม GSP ตามเงื่อนไขต่ อไปนี้ แล้วตอบคาถาม 2.1 ลาก CD ผ่ านจุด L ทามุม 130 องศากับ KL ทางด้ าน KB K A 50 B L 1. ขนาดของมุมภายในทีอยู่บนข้ างเดียวกันของเส้ นตัดรวมกันได้ กองศา ่ ี่ …………………………………………………………………………………………………….. 2. วัดระยะห่ างระหว่าง AB กับ CD ได้ เท่ากันโดยตลอดหรือไม่ …………………………………………………………………………………………………….. 3. นักเรียนคิดว่า AB กับ CD ขนานกันหรือไม่ ……………………………………………………………………………………………………..
  • 9. 10 บัตรเฉลยกิจกรรมที่ 1.3 สมบัติของมุมภายในข้ างเดียวกันของเส้ นตัด 3. จงตรวจดูว่าส่ วนของเส้ นตรงแต่ ละคู่ต่อไปนีขนานกันหรื อไม่ พร้ อมบอกเหตุผล ้ 1.1 K B ขนานกัน ตอบ ....................................................... 92 L เพราะ .................................................... ..............................................................น ตรวจสอบว่ ามุมภายในข้ างเดียวกั ของเส้ นตัดรวมกันได้ 180 องศา M 88 .............................................................. 92 + 88 = 180 องศา A .............................................................. 1.2 N J K I ไม่ ขนานกัน ตอบ ....................................................... 84 เพราะ .................................................... ..............................................................น ตรวจสอบว่ ามุมภายในข้ างเดียวกั 95 ..............................................................องศา ของเส้ นตัดรวมกันไม่ เท่ากับ 180 95 + 84 = 179 องศา G L H .............................................................. 4. ให้ นักเรียนสร้ างรู ปโดยใช้ โปรแกรม GSP ตามเงื่อนไขต่ อไปนี้ แล้วตอบคาถาม 2.2 ลาก CD ผ่ านจุด L ทามุม 130 องศากับ KL ทางด้ าน KB A F K B 50  เลื่ อนเส้ นตรง EF EF = 2.60 ซม. 13 0 D C E L 1. ขนาดของมุมภายในทีอยู่บนข้ างเดียวกันของเส้ นตัดรวมกันได้ กองศา   ่   ี่ BKL  50 ,DLK  130 ,BKL  DLK  180 …………………………………………………………………………………………………….. 2. วัดระยะระหว่าง AB และ CD ได้ เท่ากันโดยตลอดหรือไม่ เท่ากันโดยตลอด …………………………………………………………………………………………………….. 3. นักเรียนคิดว่า AB และ CD ขนานกันหรือไม่ ขนานกันเพราะ มุมภายในข้ างเดียวกันของเส้ นตัดรวมกันได้ 180องศา ……………………………………………………………………………………………………..
  • 10. 11 บัตรเนือหาที่ 1.4 ้ การหาค่ ามุมภายในทีอยู่บนข้ างเดียวกันของเส้ นตัด ่ ตัวอย่าง 2 กาหนดให้ AB / /CD จงหาค่ า x ในแต่ ละข้ อต่ อไปนี้ 1. 2. A A F B 72 C F 0 C X + 100 D X 136 E B E D วิธีทา 1) เนื่องจาก AB / /CD มุมภายในข้ างเดียวกันของเส้ นตัดรวมกันได้ 180 องศา จะได้ x  136  180 x  180  136 x  44 1) เนื่องจาก AB / /CD มุมภายในข้ างเดียวกันของเส้ นตัดรวมกันได้ 180 องศา จะได้  x  10   72  180 x  82  180 x  180  82 x  98
  • 11. 12 บัตรกิจกรรมที่ 1.4 การหาค่ ามุมภายในทีอยู่บนข้ างเดียวกันของเส้ นตัด ่ จุดประสงค์ : สามารถแก้ โจทย์ ปัญหาโดยใช้ ความรู้ เรื่องมุมภายในข้ างเดียวกันของเส้ นขนานได้ คาชี้แจง เขียนวงกลมล้ อมรอบตัวอักษรหน้ าคาตอบทีถูกต้ อง่ กาหนดให้ AB / /CD,EF เป็ นเส้ นตัด 5. ถ้ า CD / /EF,AB เป็ นเส้ นตัดแล้ว x เท่ากับ ถ้ า DFE  50 ดังรู ป( ใช้ ตอบคาถาม ข้ อ 1 – 3) กีองศา ่ D F A E B b c 2x 4x A C E B a 50  ก. 120 ข. 80 C F D ค. 60 ง. 30 1. a เท่ากับกีองศา่ 6. ถ้ า QR//ST และ PST  48 ,POQ  120 ก. 50 ข. 120 แล้ว RQO เท่ากับกีองศา ่ ค. 130 ง. 140 P 2. b เท่ากับกีองศา ่ S 48 T ก. 50 ข. 120 O 120 ค. 130 ง. 140 3. c เท่ากับกีองศา ่ Q R ก. 50 ข. 120 ก. 135 ข. 108 ค. 130 ง. 140 ค. 75 ง. 65 4. ถ้ า AB / /CD,ON เป็ นเส้ นตัดแล้ว 7. จากรู ป AB//CE แล้ว DCE เท่ากับกีองศา ่ x เท่ากับกีองศา ่ A E N A B 60 2x B 40 C D C 72  D O ก. 100 ข. 80 ก. 108 ข. 72 ค. 60 ง. 30 ค. 68 ง. 54
  • 12. 13 เฉลยบัตรกิจกรรมที่ 1.4 การหาค่ ามุมภายในทีอยู่บนข้ างเดียวกันของเส้ นตัด ่ 1. ค 2. ก 3. ค 4. ง 5. ง 6. ข 7. ข