SlideShare une entreprise Scribd logo
1  sur  24
Télécharger pour lire hors ligne
Equity Fund 
Economic 
Stock 
Mutual Fund 
Finance 
Macroeconomic 
1. ทิศทาง-แนวโน้ม เศรษฐกิจไทย ปี 2557… … … … … … … … … … .. 2 
โดย ดร.สมชัย สัจจพงษ 
2. ทิศทางการเติบโตของเศรษฐValue กิจไทยผ่าInvestor 
นภาคธนาคาร ปี 2557… . 4 
โดย ดร.กอบศักดิ์ ภูMicroeconomic 
ตระกูล 
3. ทิศทางการลงทุนในตลาดทุนไทยปี 2557… … … … … … … … … … 6 
โดย ดร.ศุภวุฒิ สายเชื้อ 
4. ทิศทางการลงทุนแบบ VI ปี 2557… … … … … … … … … … … … … 8 
โดย ดร.นิเวศน เหมวชิรวรากร 
5. ทิศทางการExchange 
ลงทุนในกองทุนรวม ปี 2557… … … … … … … … … .. 10 
โดย คุณวรวรรณ ธาราภูมิ 
Wealth 
6. ทิศทางการลงทุนในอสังหารþมทรัพย์ ปี 2557… … … … … … … … 12 
โดย คุณทองมา วèจèตรพงศพันธุ 
7. ทิศทางการลงทุนในทองคำ ปี 2557… … … … … … … … … … … .. 14 
โดย นพ.กฤชรัตน หิรัณยศิรè 
8. ทิศทางธุรกิจประกัน ปี 2557… … … … … … … … … … … … … … .. 16 
โดย คุณสาระ ล่ำซำ 
9. ทิศทางการส่งออกอาหารทะเลกระป๋อง 
และผลิตภัณฑ์Economic 
แปรรูปของไทย… … … … … … … … … … … … … … . 18 
โดย คุณธีรพงศ จันศิรè 
9 Guru มองทิศเศรษฐกิจการลงทุน 2557 : 1 
Import 
GNP 
GDP 
GDP 
GDP 
GDP 
GNP 
GNP 
GNP 
GNP 
Insurance 
Finance 
Wealth 
Property 
Bank 
Gold 
Gold 
Economic 
Gold Finance 
Investment 
Investment 
Exchange 
Value Investor 
Value Investor 
Mega Trend 
Mega Trend 
Mega Trend 
Bank 
Investment 
FIF 
Contents 
Insuranc 
nvestment
Inflation 
Macroeconomic 
GNP 
GD 
Tren 
Microeconomi 
ดร.สมชัย สัจจพงษ 
ผูŒอำนวยการ 
สำนักงานเศรษฐกิจการคลัง 
Exchange 
ราคาสินค้าเกษตร ปัจจัยต่างๆ เหล่านี้ส่งผลกระทบต่อความ 
สามารถในการเติบโตทางเศรษฐกิจของเราในปีนี้แทบ 
ทั้งสิ้น 
อย่างไรก็ดี การชะลอตัวลงของเศรษฐกิจรอบนี้ไม่ 
ใช่การไถลลงไปสู่ความตกต่ำหรือกระทั่งวิกฤติเศรษฐกิจ 
รอบใหม่แต่อย่างใด สิ่งที่ทำให้มั่นใจที่จะกล่าวเช่นนั้นคือ 
เสถียรภาพทางเศรษฐกิจมหภาคของไทยมีความแข็งแกร่ง 
อย่างโดดเด่น ไม่ว่าจะเป็นอัตราการว่างงานที่อยู่ในระดับ 
ที่ถือได้ว่าต่ำมาก กล่าวได้ว่าคนไทย 100 คนมีคนว่างงาน 
ไม่ถึง 1 คน เราถือเป็นอันดับต้นๆ ของโลกเมื่อวัดกันด้วย 
มาตรฐานนี้ หรือหากจะมองอัตราเงินเฟ้อก็ยังทรงตัวอยู่ใน 
ระดับต่ำ ถึงแม้จะมีเสียงร้องเรียนว่าอาหารราคาแพง แต่ 
เมื่อพิจารณาในภาพรวมร่วมกับหมวดสินค้าอื่นๆ แล้ว ระดับ 
ราคายังไม่ถือว่ากระทบกำลังซื้อมากนัก เมื่อหันมาดูในฝั่ง 
การเงิน ภาคธนาคารของเราก็มีเงินกองทุนต่อสินทรัพย์ 
เสี่ยงมากเกินกว่าระดับที่กำหนด รวมทั้ง หนี้เสียก็ได้มีการ 
Inflation 
ทิศทาง-แนวโนŒม 
เศรษฐกิจไทย ปี 2557 
ตั้งแต่ช่วงไตรมาสที่ 2 ของปี 2556 เป็นต้นมา 
เราอาจได้เห็นการชะลอตัวของเศรษฐกิจไทยผ่าน 
สัญญาณทางเศรษฐกิจหลายGNP 
ตัว เป็นเหตุให้หลายฝ่าย 
แสดงความกังวลต่อพื้นฐานเศรษฐกิจไทยทั้งในปัจจุบัน 
และอนาคต แต่จริงๆ แล้วเศรษฐกิจไทยในปี 2556 นี้เป็น 
เพียงช่วงเวลาของการปรับฐานเท่านั้น การชะลอตัวที่เห็น 
เป็นผลพวงมาจากการเร่งตัวมากเป็นพิเศษในปีก่อนหน้า 
จากทั้งการฟื้นตัวหลังน้ำท่วมและมาตรการในการกระตุ้น 
เศรษฐกิจของภาครัฐ จึงเป็นเรื่องธรรมดาที่ปีนี้จะมีการปรับ 
ตัวลดความเร็วในการเติบโตลงชั่วคราวเพื่อกลับเข้าสู่ 
สภาวะปกติ โชคไม่ดีอีกประการที่ในช่วงเวลาเดียวกันนี้เรา 
ได้เผชิญกับความไม่สม่ำเสมอของการฟื้นตัวของเศรษฐกิจ 
โลก ไม่ว่าจะเป็นภัยคุกคามจากฟองสบู่ในภาคการเงินของ 
จีน การไหลเข้าและออกของเงินทุนเคลื่อนย้ายระหว่าง 
ประเทศอย่างรวดเร็วและรุนแรง ความผันผวนของราคา 
โภคภัณฑ์ทั้งน้ำมันและทองคำ รวมไปถึงความตกต่ำของ 
ควบคุมอย่างใกล้ชิด นอกจากนี้ ในฝั่งรัฐบาล ภาคการ 
คลังของเราก็ยังมีหนี้ต่ำกว่าเกณฑ์อยู่มาก และอีกประการ 
ที่ผมมองว่าเป็นจุดแข็งของไทยก็คือ ความสามารถของ 
ภาคเอกชนไทยด้านการแข่งขันและปรับตัว อันจะเห็นได้ 
จากวิกฤติการณ์ที่เราพบเจอทั้งวิกฤติแฮมเบอร์เกอร์ และ 
วิกฤติน้ำท่วมในปี 2554 เราใช้เวลาเพียง 1-2 ไตรมาสหลัง 
วิกฤติในการกลับมายืนอยู่จุดเดิม ฉะนั้นแล้ว การชะลอตัว 
ในปี 2556 ที่เป็นสภาวะปรับตัวระยะสั้น จึงไม่ใช่เรื่องเหลือ 
บ่ากว่าแรงที่จะผ่านพ้นเพื่อกลับมาเติบโตอย่างแข็งแรงใน 
ปี 2557 นี้ 
Economic 
2 : 9 Guru มองทิศเศรษฐกิจการลงทุน 2557 
Economic 
Microeconomic 
Microeconomic 
GNP 
GDP 
GDP 
Public 
Debt 
CPI 
GDP 
GNP 
Inflation 
GNP 
Economic 
GDP 
Public Debt 
Public Debt 
Public Debt 
Economic 
Gold 
GDP 
Economic 
Inflation 
Microeconomic 
Value Investor 
CPI 
Mega Trend 
Mega Trend 
Macroeconomic 
สำนักงานเศรษฐกิจการคลัง (สศค.) คาดการณ์ว่า 
เศรษฐกิจไทยในปี 2557 จะกลับมาเติบโตได้ตามศักยภาพ 
การเติบโตดังกล่าวนำโดยโครงการลงทุนใหญ่ของภาครัฐ 
ทั้งโครงการลงทุนเพื่อการบริหารจัดการน้ำภายใต้กรอบ 
วงเงิน 3.5 แสนล้านที่คาดว่าจะกลับมาเดินเครื่องได้ และ 
โครงการลงทุนเพื่อพัฒนาโครงสร้างพื้นฐานด้านการขนส่ง
9 Guru มองทิศเศรษฐกิจการลงทุน 2557 : 3 
GNP 
Debt 
Trend 
GDP 
Debt 
Economic 
GDP 
ภายใต้กรอบวงเงิน 2 ล้านล้านบาทที่เรามั่นใจว่าจะสามารถ 
เริ่มดำเนินการก่อสร้างได้ในปีหน้านี้เช่นกัน สศค. คาดว่า 
ทั้ง 2 โครงการจะมีเม็ดเงินลงในปี 2557 ราว 1.2 แสน 
ล้านบาท โดยเงินจำนวนนี้จะนำไปสู่การก่อสร้าง การ 
จ้างงาน การจับจ่ายใช้สอย และที่สำคัญจะดึงดูดให้นักลง 
ทุนทั้งไทยและต่างประเทศพากันขยับขยายกิจการของตน 
เพ่อืรองรับการลงทุนในอนาคตจากกำลังการผลิตท่จีะขยาย 
ตัวและโอกาสทางเศรษฐกิจที่เปิดกว้างจากการเชื่อมโยง 
เชิงพื้นที่ในภูมิภาคอาเซียน 
ประกอบกับสัญญาณการฟื้นตัวของเศรษฐกิจโลก 
ที่นับวันยิ่งชัดเจนขึ้นเรื่อยๆ เศรษฐกิจโลกจึงฟื้นแน่ในปีหน้า 
นำโดยเศรษฐกิจขาใหญ่อย่างสหรัฐฯ ยุโรป และญี่ปุ่น ทั้ง 
3 เปรียบเสมือนเรือเดินสมุทร ขนาดใหญ่เมื่อเริ่มเดินเครื่อง 
แล้ว แม้จะเดินหน้าไปได้ไม่เร็วแต่แรงขับเคลื่อนอันมหาศาล 
นั้นยากที่จะหยุดยั้ง ซึ่งทั้ง 3 ภูมิภาคค้าขายกับเราเป็น 
สัดส่วนราวร้อยละ 30 จากการค้าขายทั้งหมด และเมื่อผูก 
รวมกับห่วงโซ่มูลค่าผ่านสายพานการผลิตและการบริโภค 
จากทั่วโลก ก็จะยิ่งเป็นตัวเสริมให้เศรษฐกิจไทยเติบโตดีขึ้น 
ผ่านช่องทางการค้าระหว่างประเทศ ด้านจีนคู่ค้าอันดับหนึ่ง 
ของเราที่อยู่ในช่วงปรับตัวเองให้เติบโตอย่างมีเสถียรภาพ 
แม้ว่าอาจจะไม่สามารถเติบโตได้อย่างร้อนแรงในระดับเลข 
2 หลักอย่างในอดีต แต่อัตราการเติบโตที่ร้อยละ 7-8 ที่ 
แลกมาด้วยเสถียรภาพก็เป็นสิ่งที่พึงปรารถนาต่อไทยและ 
คู่ค้าทั่วโลก นอกจากนี้ ตั้งแต่วิกฤติแฮมเบอร์เกอร์เป็นต้น 
มา ผู้ประกอบการไทยบางส่วนได้มีการย้ายตลาดมาค้าขาย 
เพื่อรับประโยชน์จากการขยายตัวของประเทศเพื่อนบ้าน 
มากขึ้น โดยเฉพาะกลุ่ม CLMV (ประกอบด้วยกัมพูชา ลาว 
พม่า และเวียดนาม) ที่กำลังเติบโตและจะยังคงเป็นตลาด 
ที่มีศักยภาพในอนาคต ในส่วนของภาคบริการเราคาดว่า 
จะยังคงมีรายได้เข้ามาจากการท่องเที่ยวอย่างต่อเนื่องและ 
ผมเชื่อมั่นว่าการท่องเที่ยวของเราจะยังสามารถขยายตัว 
ได้ในระดับเลข 2 หลักอีกปีหนึ่ง จากศักยภาพการท่องเที่ยว 
ในไทยที่แข็งแกร่งและเทรนด์ท่องเที่ยวไทยที่ยังถือว่ากำลัง 
อยู่ในช่วงบูมในสายตานักท่องเที่ยวต่างชาติ ด้วยเหตุนี้ 
ภาพการค้าระหว่างประเทศของไทยโดยรวมถือได้ว่ามี 
แนวโน้มที่สดใสในปีหน้า 
อย่างไรก็ดี ในภาวะฟื้นตัวนี้ เรายังคงไม่สามารถ 
ละเลยความเสี่ยงบางประการที่สำคัญไปได้ ความเสี่ยง 
เหล่านั้นประกอบไปด้วย ความผันผวนด้านการเงินระหว่าง 
ประเทศโดยเฉพาะเงินทุนไหลเข้า-ออก ความเสี่ยงด้าน 
ความล่าช้าของโครงการภาครัฐจากการพิจารณาใน 
กระบวนการของวุฒิสภาและศาลรัฐธรรมนูญ ความเสี่ยง 
จากภัยธรรมชาติ ความเสี่ยงของการสะดุดลงของเศรษฐกิจ 
ต่างประเทศ เช่น สหรัฐฯ จากเรื่องหนี้สาธารณะ ญี่ปุ่นจาก 
เรื่องการขึ้นภาษีมูลค่าเพิ่ม หรือยูโรโซนจากการว่างงานที่ 
ยังอยู่ในระดับสูง อย่างไรก็ดี ถึงที่สุดแล้วผมเชื่อว่าด้วย 
ความสามารถของภาคเอกชนไทย และความพร้อมในการ 
ดำเนินนโยบายของภาครัฐและธนาคารกลางซึ่งตระหนักถึง 
ความเสี่ยงเหล่านั้นเป็นอย่างดี จะช่วยกันนำพาเศรษฐกิจ 
ไทยให้ข้ามพ้นภัยคุกคามเหล่านั้นไปได้ 
ท้ายที่สุด ผมเชื่อว่าเศรษฐกิจไทยในปี 2557 นี้ 
จะเป็นปีแห่งการกลับสู่ศักยภาพ ทั้งแรงส่งจากใน 
ประเทศนำโดยโครงการลงทุนจากภาครัฐ และแรงส่ง 
จากนอกประเทศจากการฟื้นตัวของเศรษฐกิจโลก 
และปี 2557 นี้จะยังเป็นรากฐานของเศรษฐกิจไทย 
สำหรับการเติบโตต่อไปในระยะข้างหน้าด้วยเช่นกัน
Inflation 
Macroeconomic 
Inflation 
Bank Mega Trend 
GNP 
Exchange 
ทิศทางการเติบโตของเศรษฐกิจไทย 
ผ‹านภาคธนาคาร ปี 2557 
ปี 56 ที่กำลังจะผ่านไป นับเป็นอีกปีที่มากด้วย 
สีสันในเชิงเศรษฐกิจ จากต้นปี ที่เงินบาทแข็งค่าอย่าง 
รวดเร็ว พอกลางปี มีปัญหาเงิGNP 
นไหลออก หุ้นตก เงินบาท 
อ่อนยวบ กำลังซื้อหดหาย มีปัญหาความไม่แน่นอน 
เรื่องโครงการลงทุนขนาดใหญ่ของภาครัฐ ครั้นปลายปี 
เกิดน้ำท่วม การเมืองเริ่มคุกรุ่นอีกรอบ 
Finance 
Economic 
4 : 9 Guru มองทิศเศรษฐกิจการลงทุน 2557 
Finance 
Microeconomic 
Microeconomic 
GNP 
Bank 
GNP 
Bank 
Finance 
Bank Bank 
Finance 
Bank 
Finance 
Bank 
Public Debt 
Public Debt 
Public Debt 
Economic 
Bank 
GDP 
Economic 
Bank 
Microeconomic 
Value Investor 
Macroeconomic 
จึงไม่น่าแปลกใจว่า เศรษฐกิจไทยที่เคยคาดกันไว้ 
เมื่อต้นปีว่า จะเป็นอีกปีที่มีความคึกคัก ขยายตัวสูงกว่า 5% 
ท้ายสุดกลับแผ่วลงกว่าที่หลายคนคาด ลดมาอยู่ที่ประมาณ 
3.5% กระทบต่อภาคเศรษฐกิจต่างๆ รวมไปถึงการขยายสิน 
เชื่อและระดมเงินฝากโดยรวมของภาคธนาคาร 
ประเด็นสำคัญ 4 ข้อ เกี่ยวกับเศรษฐกิจไทย 
1. การชะลอตัวทางเศรษฐกิจเป็นผลมาจากปัจจัย 
ระยะสั้น ทั้งจากแรงต้านในต่างประเทศและในประเทศ โดย 
ภาคส่งออกของไทย ได้รับผลกระทบจากการที่เศรษฐกิจ 
สหรัฐและยุโรปยังฟื้นตัวได้ไม่ดีนัก ตลอดจนจากจีนที่ชะลอ 
ลงกว่าที่หลายคาด ทำให้ปีนี้ภาคการส่งออกที่เคยคิดว่าจะ 
ขยายตัวได้ 8-9% กลับขยายตัวจริงๆ เพียงแค่ 1-2% เท่านั้น 
สำหรับแรงต้านในประเทศ สิ่งที่เกิดขึ้น ก็นับว่าเกิน 
ความคาดหมายของหลายคน โดยเรามักจะได้ยินผู้ประ 
กอบการบ่นตรงกันว่า “ปีนี้ กำลังซื้อหายไป ทำเป้าไม่ได้” 
แม้กระทั่งภาคอสังหาฯ ที่เคยเฟื่องฟูมากในช่วงต้นปี ก็กลับ 
แผ่วลงในช่วงครึ่งหลัง ที่เป็นเช่นนี้ก็เพราะ ผู้บริโภคส่วน 
หนึ่งมีภาระเพิ่มขึ้นจากการผ่อนชำระรถที่เร่งซื้อกันไปกว่า 
1 ล้านกว่าคันเมื่อปีที่ผ่านมา รวมไปถึงค่าใช้จ่ายจากการ 
ดูแลรถ น้ำมัน ค่ากรมธรรม์ รวมแล้วเป็นกำลังซื้อที่หายไป 
ในแต่ละเดือนไม่ต่ำกว่า 15,000 ล้านบาท พร้อมกันนี้ 
กลุ่มคนที่รวยขึ้นมาหน่อย มีเงินพอที่จะไปลงทุนในตลาดหุ้น 
(โดยเฉพาะหน้าใหม่ที่ดาหน้าเข้าลงทุนในปีนี้) ก็เผชิญ 
ปัญหาหุ้นที่ตกหลายรอบ ทำให้ความสามารถในการจับจ่าย 
ลงทุนในสินทรัพย์ต่างๆ ลดลงไปมาก 
ดร.กอบศักดิ์ ภูตระกูล 
ผูŒช‹วยผูŒจัดการใหญ‹ 
ธนาคารกรุงเทพ จำกัด (มหาชน) 
ในประเด็นนี้ เราคงต้องให้เวลาอีกระยะเพื่อ 
เศรษฐกิจโลกจะปรับตัวดีขึ้น และรายได้ผู้บริโภคของไทย 
เพิ่มขึ้น อันจะเอื้อให้สามารถดูแลภาระหนี้ต่างๆ พร้อมมี 
กำลังซื้อไปขับเคลื่อนยอดขายในระบบอีกรอบ 
2. ท่ามกลางความผันผวน เศรษฐกิจไทยบางส่วน 
ยังขยายตัวได้ดี และ Potential ในระยะยาวของไทยยังคง 
ดีอยู่ โดยเฉพาะ (1) ภาคท่องเที่ยวขยายตัวได้ดีมาก จาก 
นักท่องเที่ยวจีน รัสเซีย และมาเลเซีย (2) ต่างจังหวัดที่ 
เจริญขึ้นมาอย่างต่อเนื่อง ดังเห็นได้จากยอดคงค้างสินเชื่อ 
ในพื้นที่ดังกล่าวในเดือนสิงหาคม ซึ่งขยายตัวได้ถึง 12.6% 
เทียบกับเมื่อปลายปี 56 และ 20.3% เทียบกับเมื่อ 12 
เดือนก่อนหน้า ขณะที่ตัวเลขดังกล่าวของกรุงเทพขยาย 
ตัวได้เพียง 3.9% และ 6.7% ตามลำดับ (3) กิจการค้า 
ชายแดนกับประเทศในลุ่มแม่น้ำโขงที่คึกคัก ได้รับอานิสงส์ 
จากความเชื่อมโยงทางการคมนาคม ถนนหนทางที่ดีขึ้น 
เรื่อยๆ และ (4) การลงทุนจากต่างประเทศมายังไทย ทั้ง
9 Guru มองทิศเศรษฐกิจการลงทุน 2557 : 5 
GNP 
Debt 
Bank 
Debt 
Bank 
Economic 
GDP 
จากนักลงทุนชาวญี่ปุ่น จีน สหรัฐ ยุโรป ซึ่งในช่วง 8 เดือน 
แรก ยอดมูลค่าของโครงการที่มีการยืนคำขอรับการส่งเสริม 
จาก BOI เพิ่มขึ้นประมาณ 15% โดยนักลงทุนบางส่วน 
นอกจากมุ่งผลิตเพื่อขายในประเทศและส่งออกแล้วยัง 
ใช้ไทยเป็นฐานในการบุกเข้าสู่อาเซียนและประเทศใน 
ลุ่มแม่น้ำโขงอีกด้วย 
ทั้งนี้ สำหรับภายในประเทศ เมื่อโครงการลงทุน 
ขนาดใหญ่ของภาครัฐมีความชัดเจนขึ้น นำไปสู่การลงทุน 
จริง ภาคเอกชนก็จะเริ่มกระบวนการลงทุน เพื่อรองรับ 
โครงการต่างๆ ดังกล่าว ซึ่งจะช่วยนำพาไทยเข้าสู่ยุคการ 
ลงทุนรอบใหม่ ที่จะเชื่อมโยงภูมิภาค จังหวัดต่างๆ ของ 
ไทยเข้าด้วยกัน และเปิดโอกาสใหม่ทางธุรกิจในพื้นที่ต่างๆ 
และเปิดโอกาสให้กับแบงก์ในส่วนของสินเชื่อธุรกิจทั้ง 
ขนาดใหญ่ กลาง เล็ก 
ส่วนในภูมิภาค window ที่เปิดขึ้นทางธุรกิจสำหรับ 
การก้าวออกไปลงทุนใน AEC ยังคงดีอยู่เช่นเดิม โดยประเทศ 
รอบๆ ข้างไทย อย่างลาว กัมพูชา พม่า เวียดนาม รวม 
ไปถึงจีนตะวันตก กำลังขยายตัวอย่างดียิ่ง โดยใน 2 ปี 
ข้างหน้า จะขยายตัวได้ประมาณ 8% 7% 7% 5.5% 
และมากกว่า 7% ตามลำดับ จึงกล่าวได้ว่า รอบนี้เป็น 
ช่วงที่ดีที่สุดในเชิงธุรกิจในหลายๆ สิบปีที่ผ่านมา ที่บริษัท 
ไทยจะนำข้อได้เปรียบในเชิงเทคโนโลยี ความรู้ เครือข่าย 
และการบริหารจัดการธุรกิจ ที่เราสั่งสมมาและนำหน้า 
ประเทศอื่นๆ เกือบ 15-20 ปี มาใช้ยึดหัวหาด วางหลัก 
ปักฐานในภูมิภาคนี้ ซึ่งจะช่วยเปิดโอกาสให้แบงก์ไทยรุก 
เข้าสู่ภูมิภาคและ AEC เช่นกัน 
3. คุณภาพสินทรัพย์ที่หลายคนเริ่มกังวลใจว่าจะมี 
ปัญหานั้น ก่อตัวขึ้นเพียงบางจุด และอยู่ในช่วงเริ่มแรก 
เท่านั้น โดยหนี้เสียในระบบยังคงอยู่ในระดับต่ำที่ประมาณ 
2.2% โดยจุดที่หนี้เสียมีการเพิ่มขึ้น ก็คือ ในกลุ่มสินเชื่อ 
อุปโภคบริโภค ที่เพิ่มขึ้นเล็กน้อย จากเดิมที่ 1.9% ในปี 55 
มาที่ 2.1% ในไตรมาสที่ 2 ของปี 56 โดยเฉพาะในส่วน 
สินเชื่อเพื่อเช่าซื้อรถยนต์และสินเชื่อส่วนบุคคล ที่มีหนี้เสีย 
และสินเชื่อจัดชั้นกล่าวถึงเป็นพิเศษเพิ่มขึ้นบ้างในช่วงที่ 
ผ่านมา ทั้งนี้ เมื่อประกอบกับข้อมูลแบงก์ชาติที่พบว่า 
สัดส่วนหนี้ครัวเรือนในระบบได้เพิ่มขึ้นต่อเนื่อง ล่าสุดอยู่ที่ 
ประมาณ 80% ของ GDP อันจะทำให้ความสามารถในกา 
รกู้ยืมและชำระหนี้ของผู้บริโภคลดลง ซึ่งหมายความต่อว่า 
เราต้องติดตามจับตามองประเด็นนี้อย่างใกล้ชิดในช่วง 
ต่อไป 
4. ความเสี่ยงหลักที่เราต้องกังวลใจจริงๆ ในปี 57 
อยู่ที่การชะลอการอัดฉีดสภาพคล่องของธนาคารกลาง 
สหรัฐ และปัญหาการเมืองของไทย โดยเศรษฐกิจสหรัฐที่ 
ปรับตัวดีขึ้นต่อเนื่อง ท้ายสุดจะนำมาซึ่งการปรับลดการอัด 
ฉีดสภาพคล่องเข้าสู่ระบบหรือที่เรียกกันว่า QE Tapering 
อันจะเป็นจุดเปลี่ยนสำคัญ นำมาซึ่งความผันผวนของราคา 
สินทรัพย์ต่างๆ ค่าเงิน และกระทบต่อประเทศที่พึ่งพาเงินที่ 
ไหลเข้ามาลงทุน และมีความเปราะบางสะสมไว้ในระบบ 
อย่างเช่น อินเดีย อินโดนีเซีย และตลาดประเทศเกิดใหม่ 
อย่างหลีกเลี่ยงไม่ได้ ดังที่ได้เกิดขึ้นมาแล้วรอบหนึ่งในช่วง 
ครึ่งหลังของปีนี้ 
ส่วนปัญหาการเมืองในประเทศ ซึ่งเริ่มคุกรุ่นขึ้นใน 
ช่วงปลายปี หากไม่สามารถตกลงกันได้ ลุกลาม บานปลาย 
จะส่งผลกระทบต่อภาคการท่องเที่ยว การบริโภคภาคเอกชน 
ความน่าสนใจของไทยในสายตานักลงทุนต่างชาติ 
รวมทั้ง จะมีนัยต่อไปถึงความสามารถของรัฐบาลในการ 
ขับเคลื่อนโครงการลงทุนในโครงสร้างพื้นฐาน การบริหาร 
จัดการน้ำ และการลงทุนของภาคเอกชนที่จะเข้ามาสนับสนุน 
ได้แต่หวังว่า ประเทศไทยจะสามารถประคอง 
ตัวเองได้ภายใต้ความเสี่ยงทั้งสอง โดยฐานะการเงินที่ 
เข้มแข็งของภาคธุรกิจแบงก์ เศรษฐกิจไทยจะช่วย 
รองรับกับแรงกระแทกต่างๆ ที่จะเกิดขึ้น และนำพาเรา 
ฟันฝ่ามรสุมจากนอกและในประเทศไปยังฟ้าหลังฝน 
ที่สดใสของ AEC ที่รอเราอยู่ก็ขอเอาใจช่วยครับ
Macroeconomic 
GNP 
GD 
Equity Market 
Investmen 
Marke 
ดร.ศุภวุฒิ สายเชื้อ 
กรรมการผูŒจัดการ หัวหนŒาสายงานวèจัย 
บรèษัทหลักทรัพย ภัทร จำกัด (มหาชน) 
ทิศทางการลงทุน 
ในตลาดทุนไทPublic 
Debt 
ยปี 2557 
Exchange 
Investment 
ทิศทางเศรษฐกิจและการลงทุนในปี 2557 นั้น 
มีความไม่แน่นอนและความเสี่ยงค่อนข้างสูง 
โดยเฉพาะในครึ่งแรกของปี 2557 GNP 
ทั้งจากปัจจัยการเมือง 
และเศรษฐกิจทั้งภายในและภายนอก ซึ่งจะมีผลในการ 
กำหนดทิศทางของตลาดหุ้น (top-down factors) ดังนี้ 
Economic 
6 : 9 Guru มองทิศเศรษฐกิจการลงทุน 2557 
Equity Market 
Investment 
Microeconomic 
GNP 
GDP 
GDP 
CPI 
GDP 
GNP 
Investment 
GNP 
Inflation 
GDP 
Public Debt 
Public Debt 
Public Debt 
Economic 
Gold 
GDP 
Equity Market 
Investment 
Microeconomic 
Value Investor 
CPI 
Mega Trend 
Mega Trend 
Equity Market 
1. ปัจจัยทางการเมือง 
ปัจจัยทางการเมืองเป็นเรื่องการคาดการณ์ได้ยาก 
ลำบากที่สุด แต่อาจสรุปได้ว่าสถานะทางการเมืองของ 
รัฐบาลด้อยลงอันเป็นผลพวงจากความพยายามผ่านร่าง 
กฎหมายนิรโทษกรรมแบบ “เหมาเข่ง” และในที่สุดก็ต้อง 
ยุติการผลักดันร่างกฎหมายดังกล่าว เพราะกระแสต่อต้าน 
อย่างมากทั้งจากฝ่ายที่เป็นปรปักษ์กับรัฐบาลอยู่ก่อนแล้ว 
และฝ่ายที่เคยสนับสนุนรัฐบาล ตลอดจนกลุ่มบุคคลและ 
องค์กรต่างๆ อย่างแพร่หลาย โดยอาจสรุปได้ว่ารัฐบาลคง 
จะต้องเพียรพยามอย่างมากที่จะทำให้ความเชื่อมั่นทาง 
การเมืองกลับคืนมาในปี 2557 และหากไม่สำเร็จก็มีความ 
เป็นไปได้ที่การเมืองจะมีความผันผวนต่อไป โดยอาจมีความ 
จำเป็นต้องยุบสภาซึ่งจะทำให้เกิดสุญญากาศทางการเมือง 
และการขับเคลื่อนนโยบายเศรษฐกิจล่าช้าเกินกว่าคาดได้ 
2. ปัจจัยภายในประเทศด้านเศรษฐกิจ 
เศรษฐกิจไทยในปี 2556 นั้นมิได้ฟื้นตัวจากจุดต่ำ 
สุดในไตรมาส 2 มากนัก ทำให้คาดว่าเศรษฐกิจไทยขยายตัว 
เพียง 3% และปี 2557 จะขยายตัวประมาณ 4.5-5.0% แต่ 
ก็มีความเสี่ยงว่าจะขยายตัวได้ต่ำกว่านั้น เพราะการคาด 
การณ์ดังกล่าวตั้งอยู่บนเงื่อนไขหลัก 2 ประการคือ การส่ง 
ออกของไทยจะต้องขยายตัวประมาณ 7% เมื่อคิดเป็นเงิน 
เหรียญ และการลงทุนภาครัฐ (โดยเฉพาะการลงทุนใน 
โครงสร้างพื้นฐานด้านการขนส่ง 2 ล้านล้านบาท) จะต้อง 
เกิดขึ้นภายในกลางปีหน้าเป็นอย่างช้า ซึ่งปัจจัยทั้งสองยังมี 
ความไม่แน่นอนสูง โดยการส่งออกนั้นแม้ว่าเศรษฐกิจโลก
9 Guru มองทิศเศรษฐกิจการลงทุน 2557 : 7 
Market 
GNP 
Debt 
Trend 
GDP 
Debt 
Economic 
GDP 
จะปรับตัวดีขึ้นเป็นลำดับแต่การส่งออกของไทยนั้นขยาย 
ตัวต่ำผิดคาดและทำให้ผิดหวังติดต่อกันมา 2 ปีแล้ว ส่วน 
การลงทุนภาครัฐก็ขึ้นอยู่กับเสถียรภาพของรัฐบาล ซึ่งถูก 
สั่นคลอนด้วยปัจจัยทางการเมืองที่คาดการณ์ได้ยาก ขณะ 
ที่การลงทุนที่ผ่านมาก็ล่าช้าไม่เป็นไปตามกำหนดการ เช่น 
การลงทุนในโครงการบริหารจัดการน้ำมูลค่า 350,000 ล้าน 
บาท เป็นต้น 
3. ปัจจัยด้านนโยบายเศรษฐกิจมหภาค 
ปัจจัยนโยบายเศรษฐกิจมหภาคนั้นอาจเป็นปัจจัย 
ที่จะส่งผลกระทบต่อตลาดทุนมากที่สุดในปี 2557 โดย 
นโยบายมหภาคที่น่าจะกระทบกับแนวโน้มการลงทุนใน 
ตลาดทุนมากที่สุด คือการลดทอนนโยบายการเงินเชิงปริมาณ 
(หรือคิวอี) ของธนาคารกลางของสหรัฐ ทั้งนี้นักลงทุนอาจ 
วางใจมากเกินไป ว่าธนาคารกลางสหรัฐจะยังพิมพ์เงินออก 
มาซื้อพันธบัตรอย่างต่อเนื่องและลดทอนคิวอีอย่าง 
เชื่องช้า แต่หากเศรษฐกิจสหรัฐพลิกฟื้นได้เร็วก็อาจเห็นการ 
ลดทอนคิวอีในอัตราเร่งกว่าที่ตลาดคาดการณ์ก็เป็นได้ 
ซึ่งจะส่งผลกระทบต่อประเทศตลาดเกิดใหม่อย่างไทยเป็น 
ทวีคูณผ่านการไหลออกอย่างรวดเร็วของเงินทุนทั้งจาก 
ตลาดพันธบัตรและตลาดหุ้น กล่าวคือการลดทอนคิวอีที่ผิด 
ความคาดหมายอาจทำให้ดอกเบี้ยระยะยาวของไทยปรับ 
ตัวสูงขึ้นอย่างฉับพลันพร้อมกับการอ่อนตัวของค่าเงินบาท 
ทำให้ต่างชาติขายหุ้นไทยออกมาอย่างรวดเร็ว ซึ่งจะยิ่งทำ 
ให้ความผันผวนเพิ่มขึ้น นอกจากนั้นปัญหาความขัดแย้ง 
ด้านนโยบายการคลังของสหรัฐก็อาจปะทุขึ้นอีกได้ในครึ่ง 
แรกของปี 2557 ซึ่งจะเพิ่มความผันผวนให้กับตลาดทุน 
ทั่วโลกรวมทั้งไทย 
สำหรับนโยบายเศรษฐกิจมหภาคของไทยนั้นก็ 
ไม่อาจเป็นปัจจัยที่จะเกื้อกูลตลาดทุนได้มากนัก เพราะนัก 
ลงทุนได้คาดการณ์ไว้แล้วว่ารัฐบาลจะต้องเร่งการลงทุน 
ของภาครัฐดังที่กล่าวข้างต้น แต่ในระหว่างที่การลงทุนยัง 
ไม่สามารถเกิดขึ้นได้ในทางปฏิบัติ ไม่น่าจะมีมาตรการ 
กระตุ้นเศรษฐกิจอื่นๆออกมาได้ เพราะมาตรการกระตุ้น 
ต่างๆ ก็ได้ทำมาจนครบถ้วนแล้วและบางนโยบายเช่น 
มาตรการจำนำข้าวก็เป็นสิ่งที่รัฐบาลพยายามลดขนาดลง 
มากกว่าเพิ่ม ส่วนนโยบายการเงินก็มิได้ต้องการกระตุ้น 
เศรษฐกิจ เพราะธนาคารแห่งประเทศไทย (ธปท.) มีจุดยืน 
ที่ชัดเจนว่าดอกเบี้ยนโยบายอยู่ในระดับที่เหมาะสมในการ 
สนับสนุนการฟื้นตัวของเศรษฐกิจแล้ว (แม้ว่าเศรษฐกิจ 
จะฟื้นตัวช้ากว่าที่คาดการณ์เอาไว้และเงินเฟ้อปรับลด 
ลง ทำให้ดอกเบี้ย “จริง” ปรับเพิ่มขึ้น) ที่สำคัญคือธปท. 
เห็นว่าครัวเรือนมีหนี้สินสูงถึงขีดที่น่าเป็นห่วงแล้วจึงไม่ควร 
สนับสนุน นอกจากนั้นธปท.ก็ยังคาดการณ์ว่าประเทศไทย 
จะขาดดุลบัญชีเดินสะพัดประมาณ 1.5-2.0% ของจีดีพี 
ทำให้ต้องดำเนินนโยบายทางการเงินที่เน้นเสถียรภาพมาก 
กว่าการสนับสนุนให้เศรษฐกิจขยายตัวเพิ่มขึ้น ซึ่งจะไม่ 
เอื้ออำนวยมากนักให้ราคาหุ้นปรับตัวเพิ่มขึ้น 
4. ข้อสรุปด้านการลงทุน 
การลงทุนในตลาดหุ้นในปี 2557 น่าจะยังมีความ 
ผันผวนสูงและได้ผลตอบแทนที่จำกัด แต่ก็ยังจะมีโอกาส 
ที่จะให้ผลตอบแทนสูงกว่าการลงทุนในพันธบัตร เพราะ 
ราคาพันธบัตรน่าจะปรับลดลงจากผลของการลดทอนคิวอี 
ที่จะเกิดขึ้นอย่างต่อเนื่องในปี 2557 อุตสาหกรรมที่ยัง 
โดดเด่นต่อไปในประเทศไทยคืออุตสาหกรรมท่องเที่ยวและ 
อุตสาหกรรมชิ้นส่วนรถยนต์และอุตสาหกรรมอาหาร ซึ่ง 
น่าจะได้อานิสงค์จากการฟื้นตัวของการส่งออก แต่บริษัท 
ต่างๆ ในตลาดหลักทรัพย์นั้นอาจมีผลประกอบการที่ขยาย 
ตัวไม่สูงมากนักในปี 2557 ซึ่งจะทำให้ราคาหุ้นโดยรวม 
ปรับตัวเพิ่มขึ้นได้ในขอบเขตที่จำกัด 
นอกจากนั้นปัจจัยมหภาคดังที่กล่าวข้างต้น 
จะเป็นปัจจัยในเชิงลบมากกว่าปัจจัยในเชิงบวกและ 
น่าจะทำให้ตลาดหุ้นมีความผันผวนสูงโดยเฉพาะใน 
ครึ่งแรกของปี 2557
Inflation 
Macroeconomic 
ROE 
ดร.นิเวศน เหมวชิรวรากร 
นักลงทุนเนŒนคุณค‹า 
Exchange 
Investment 
ทิศทางการลงทุน 
แบบ VI ปี 2557 
การลงทุนในปี 2557 ที่จะถึงนี้คงจะเป็นปีที่น่า 
ท้าทายสำหรับ Value Investor อยู่ไม่น้อย เหตุผลนั้น 
มีอยู่หลายประการ 
GNP 
Margin 
ประการแรกที่ผมคิดว่าสำคัญกว่าเรื่องอื่น ๆ ก็คือ 
Return 
8 : 9 Guru มองทิศเศรษฐกิจการลงทุน 2557 
DCA 
VI 
Microeconomic 
GNP 
VI 
EPS 
Capital 
Stock 
GDP 
PE 
Inflation 
DCA 
Economic 
ROE 
Yield 
Yield 
Investment 
Public Debt 
Economic 
ROE 
Profit 
Economic 
Inflation 
Capital 
Value Investor 
CPI 
Stock Mega Trend 
Wealth 
ปีหน้าอาจเป็นปีที่ตลาดหุ้นไทยได้ปรับตัวขึ้นมาสูงมาก 
ติดต่อกันมาถึง 5 ปี จากดัชนีที่ 450 จุดเมื่อสิ้นปี 2551 
ขึ้นมาเป็นประมาณ 1450 จุดในปลายปี 2556 หรือขึ้นมา 
ถึงกว่า 3 เท่าในเวลาเพียง 5 ปี คิดเป็นการเพิ่มขึ้นแบบ 
ทบต้นปีละประมาณ 26% ซึ่งถือว่าเป็นช่วงที่ตลาดหุ้นบูม 
อย่างหนัก ในอดีตนั้น ตลาดหุ้นไทยค่อนข้างจะผันผวนมาก 
ดัชนีตลาดหุ้นมักจะขึ้นลงค่อนข้างเร็วปีต่อปี เวลาที่หุ้นขึ้น 
ไปปีหรือสองสามปีมันก็มักจะปรับตัวลงกลายเป็นติดลบ 
สถิติตลาดหุ้นไทยในช่วง 38 ปีที่ผ่านมานั้น มีปีที่ดัชนีเป็น 
บวก 21 ปี และปีที่ดัชนีติดลบ 17 ปี หรือคิดเป็นอัตราส่วน 
ประมาณ 1 ต่อ 1.2 นั่นก็คือ โดยเฉลี่ยตลาดปรับตัวขึ้นไป 
1.2 ปี ก็จะปรับตัวลดลงประมาณ 1 ปี ซึ่งต้องถือว่าในช่วง 
ที่ผ่านมาเร็ว ๆ นี้ ตลาดได้ปรับตัวขึ้นไปยาวเกินกว่าสถิติใน 
อดีต และดังนั้น สำหรับผมแล้ว มันจึงเป็นช่วงอันตราย 
ของตลาดหุ้นที่ดัชนีตลาดอาจจะปรับตัวลงในปี 2557 และ 
ในเมื่อการปรับตัวขึ้นก่อนหน้านี้เป็นการปรับตัวขึ้นไปมาก 
ดังนั้น ก็อาจเป็นไปได้ว่ามันก็อาจจะปรับตัวลงมามากได้ 
เช่นกัน นี่ก็พูดแบบดูจากสถิติซึ่งคนก็อาจจะดูว่าเหตุผลยัง 
ไม่เพียงพอ 
แต่สิ่งที่ทำให้ผมกังวลมากกว่าเรื่องของสถิติก็คือ 
ระดับราคาหุ้นในตลาดที่ค่อนข้างสูงหรือพูดง่าย ๆ ว่าหุ้น 
ค่อนข้างแพงวัดจากค่า PE ของตลาดที่สูงถึงประมาณ 15- 
16 เท่า เทียบกับสถิติค่า PE ตลาดในอดีตที่ประมาณไม่เกิน 
10-12 เท่า การที่หุ้นมีราคาแพงนั้นมักจะเกิดขึ้นเมื่อคนมอง 
หุ้นในแง่ดี คนคิดว่าผลประกอบการของบริษัทจดทะเบียน 
ในอนาคตจะเติบโตได้ดี ยิ่งเติบโตสูง ตลาดก็สามารถมีค่า 
PE ที่สูงขึ้นไปได้มากเท่านั้น นอกจากนั้น ค่า PE ของตลาด 
ยังขึ้นกับอัตราดอกเบี้ยในท้องตลาดด้วย นั่นก็คือ ถ้าอัตรา 
...นนิิิเเเววเเเหหEวชcิิิoรรราาาnรomic
9 Guru มองทิศเศรษฐกิจการลงทุน 2557 : 9 
GNP 
Debt 
Stock GDP 
Yield 
Economic 
VI 
ดอกเบี้ยสูง คนก็มักจะย้ายเงินไปฝากแบงก์เพิ่มขึ้นส่งผล 
ให้หุ้นถูกขายออกมาและทำให้ราคาลดลง ค่า PE จึงต่ำลง 
ในทางตรงกันข้าม ในภาวะที่อัตราดอกเบี้ยค่อนข้างต่ำมาก 
อย่างในช่วงหลายปีมานี้ คนก็มักจะถอนเงินมาลงทุนในหุ้น 
ส่งผลให้ราคาหุ้นปรับตัวขึ้นทำให้ค่า PE ของตลาดสูงขึ้น 
สรุปแล้ว การที่หุ้นในตลาดแพงในช่วงนี้นั้น น่าจะมีสาเหตุ 
จากการที่อัตราดอกเบี้ยต่ำและนักลงทุนคาดการณ์กัน 
ว่าผลประกอบการของบริษัทจดทะเบียนจะเติบโตดีอย่าง 
ที่เป็นมาในช่วง 4-5 ปีที่ผ่านมา อย่างไรก็ตาม ถ้าหากว่า 
ผลประกอบการในปี 2557 นั้นไม่ได้เติบโตดีอย่างที่ตลาด 
คาด และถ้าธนาคารกลางของสหรัฐหรือเฟดลดการทำ QE 
หรือลดการอัดฉีดเงินเข้าสู่ระบบอย่างที่คาดการณ์กันว่า 
จะเกิดขึ้นในต้นปี 2557 ทำให้อัตราดอกเบี้ยปรับตัวขึ้น นัก 
ลงทุนก็อาจจะเทขายหุ้นทำให้ราคาหุ้นลดลงและทำให้ 
ค่า PE ของตลาดหุ้นไทยลดลงมาสู่ระดับปกติ ผลก็คือ 
ดัชนีตลาดอาจจะลดลงได้มากถึง 10-20% ได้อย่างง่าย ๆ 
เหตุผลที่ผลประกอบการของบริษัทจดทะเบียน 
อาจจะไม่โตอย่างที่คิดนั้น อาจจะเกิดขึ้นได้เนื่องจากภาวะ 
เศรษฐกิจของไทยในปี 2557 นั้นอาจจะไม่สดใสนัก เนื่อง 
จากภาวะเศรษฐกิจโลกเองก็อาจจะยังไม่ฟื้นตัวนักทำ 
ให้การส่งออกของไทยไม่ดีและไม่สามารถเป็นตัวเพิ่ม 
การเติบโตของ GDP ได้ นั่นประการหนึ่ง ประการที่สอง 
การใช้จ่ายภาครัฐเองนั้นก็อาจจะไม่สามารถเพิ่มได้เท่าไร 
นักเนื่องจากโครงการลงทุนขนาดใหญ่ต่าง ๆ ที่วางแผนไว้ 
อาจจะเกิดอุปสรรคทางด้านการเมืองและกฎระเบียบ 
ต่าง ๆ ที่ทำให้โครงการล่าช้า ประการที่สาม ด้านของการ 
ลงทุนและการบริโภคของเอกชนเองก็อาจจะไม่เติบโตมาก 
นักเนื่องจากการใช้จ่ายในอดีตที่ทำให้ผู้บริโภคมีภาระ 
หนี้มาก เช่น จากโครงการรถคันแรกและการซื้อบ้าน ซึ่ง 
อาจจะทำให้คนไม่มีกำลังหรืออยากใช้จ่ายมากนัก ผลก็ 
คือเศรษฐกิจไทยอาจจะเติบโตช้าและทำให้บริษัทจด 
ทะเบียนไม่สามารถเพิ่มยอดขายและกำไรได้อย่างที่คาดไว้ 
ถ้าหากเกิดสถานการณ์ดังกล่าวและทำให้ตลาด 
หุ้นปรับตัวลดลง เราจะมีทางออกหรือกลยุทธ์การลงทุน 
อย่างไร? คำตอบของผมก็คือ ถ้าเรารู้จริง เราก็ควรจะขาย 
หุ้นออกไป เพราะในช่วงที่ตลาดหุ้นตกหนักนั้น ก็เป็นเรื่อง 
ยากที่เราจะทำกำไรจากการถือหุ้นได้ แต่ประเด็นก็คือ เรา 
ไม่มีทางรู้อนาคตได้แม่นยำ สิ่งต่าง ๆ ที่เราคาดการณ์และ 
เรากลัวนั้น อาจจะไม่เกิดหรือเกิดก็อาจจะน้อย ตลาดหุ้น 
อาจจะไม่ตกลงมาหรือตกลงมาน้อย และในทางตรงกันข้าม 
ดัชนีอาจจะวิ่งขึ้นไปมากเนื่องจากเราคาดการณ์ภาวะ 
เศรษฐกิจและการเงินผิด ดังนั้น การขายหุ้นออกไปจึงอาจ 
จะไม่ใช่กลยุทธ์ที่ดีก็ได้ สำหรับผมแล้ว ทางเลือกที่อาจจะ 
ดีกว่าก็คือ การเลือกลงทุนในหุ้นที่มีลักษณะ Defensive 
นั่นก็คือการ หาหุ้นที่ปลอดภัยจากภาวะความตกต่ำทาง 
เศรษฐกิจมากกว่าค่าเฉลี่ย นั่นหมายความว่าบริษัทขาย 
สินค้าที่มีความจำเป็นในชีวิตประจำวันและไม่สามารถ 
เลื่อนการบริโภคได้นานนั่นประการหนึ่ง 
ประการที่สองก็คือ หาหุ้นที่เติบโตเนื่องจากการ 
เปลี่ยนแปลงของพฤติกรรมของคน นี่คือบริษัทที่ขายสินค้า 
ที่เป็นเทรนใหม่ของคน และยังมีคนจำนวนไม่น้อยยังไม่ได้ 
ใช้บริการเนื่องจากปัญหาบางอย่างเช่นในเรื่องของ Lgistic 
ซึ่งบริษัทสามารถแก้ไขหรือให้บริการได้ เช่น การขยายสาขา 
ให้เข้าถึงผู้บริโภคเป็นต้น ในลักษณะนี้ บริษัทก็จะยัง 
สามารถรักษายอดขายหรือเติบโตต่อไปได้แม้ว่าเศรษฐกิจ 
จะชะลอตัวลง และดังนั้น แม้ว่าการเติบโตของบริษัทจะ 
ช้าลงถ้าเศรษฐกิจซบเซาแต่มันก็จะยังโตอยู่ และข้อได้ 
เปรียบอีกอย่างหนึ่งก็คือ บริษัทจะสามารถสร้างฐานที่มั่นคง 
ที่จะเติบโตเร็วขึ้นเมื่อเศรษฐกิจฟื้นโดยที่คู่แข่งจะเข้ามาได้ 
ยากขึ้นในอนาคตเพราะตลาดจะถูกยึดกุมมากขึ้น 
หุ้นที่เข้าเกณฑ์สองประการดังกล่าวนั้น 
ผมดูแล้วส่วนใหญ่น่าจะอยู่ในกลุ่มของการบริโภค 
ภายในประเทศที่ขายสินค้าหรือบริการที่เป็นเทรนด์ 
ของคนรุ่นใหม่ และแน่นอน การเลือกหุ้นก็ควรจะเน้น 
บริษัทที่แข็งแรงที่สุดและเหนือกว่าคู่แข่งให้มากเพื่อ 
เป็นหลักประกันว่า ในกรณีที่เลวร้ายที่สุด บริษัทจะยัง 
อยู่ได้ปลอดภัยและมีกำไรอยู่ และเพื่อที่จะเป็นหลัก 
ประกันว่าหลังวิกฤติ บริษัทจะกลับมาด้วยขนาดที่ใหญ่ 
และแข็งแกร่งขึ้นไปอีก
Proper Fund 
Fund Performance 
RMF 
Performan 
Performan 
Inflation 
Mutual Fund 
Mutual Fund 
Fun 
Proper Fund 
ทิศทางการลงทุน 
กองทุนรวม Fund 
ใน RMF 
ปี 2557 
Trigger Fund 
กองทุน ปี 2557 มีแนวโน้มอย่างไร 
กองทุนในเมืองไทยมีจำนวนมากพอแล้ว มีกองทุน 
GNP 
ใหม่ๆ เกิดขึ้นมากในช่วง 4-5 ปีที่ผ่านมา บางกองก็เกิดแล้ว 
รุ่ง บางกองทุนเกิดแล้วแช่ไว้บนหิ้ง จะถอดออกก็ไม่ได้ จึง 
มองว่าจากนี้ไปลูกค้ากองทุนจะคัดเลือกกองทุนมากขึ้น 
ข้อมูลก็มีให้สืบค้นมากขึ้น ดังนั้น การนำเสนอกองทุนใหม่ๆ 
จึงต้องตอบโจทย์ให้ผู้ลงทุนให้ได้ และบลจ.ต้องมั่นใจว่าดี 
จริง เหมาะสมกับลูกค้าและความชำนาญของ บลจ. เอง 
ด้วย 
ProvidentFund 
10 : 9 Guru มองทิศเศรษฐกิจการลงทุน 2557 
LTF 
Finance 
ETF 
FIF 
RMF 
GNP 
Mutual Fund 
RMF 
Inflation 
GDP 
Public Debt 
Public Debt 
Public Debt 
Economic 
FIF 
GDP 
Economic 
Equity Fund 
Microeconomic 
q y 
Infrastructure Fund 
LTF 
Mega Trend 
Fund Performance 
Money Market 
การนำเสนอกองทุนก็น่าจะมีแนวโน้มตอบโจทย์ 
ลูกค้าเฉพาะกลุ่มมากขึ้น มากกว่าเดิมที่คิดว่านโยบายกอง 
ทุนนี้ดีแล้วตั้งกองทุนมาให้ขาย ต่อไปนี้ อุตสาหกรรมน่าจะ 
ขยายตลาดด้วยการนำกองทุนมาให้ผู้ลงทุนเลือก ถ้าชอบ 
ถูกใจ เหมาะกับแผนการลงทุนของตนเอง ลูกค้าก็จะซื้อ 
คือเป็นการเปลี่ยนจาก Product Oriented มาสู่ Clients 
Oriented ซึ่งหมายถึงว่าแต่ก่อนนี้ บลจ.จะผลิตกองทุนแล้ว 
ก็ไปอธิบายผู้ขายเพื่อให้นำสู่ตลาด คือเน้นที่ของๆ เราว่า 
ดีอย่างนั้น อย่างนี้ แต่ต่อไปนี้อุตสาหกรรมน่าจะพัฒนาไป 
ยังการสนองตอบต่อความต้องการของลูกค้ามากขึ้น เพราะ 
ตลาดทุนเน้นเรื่องทำให้ลูกค้ารู้จักวางแผนการเงินตนเอง 
ซึ่งเมื่อลูกค้ารู้จักตนเอง มีแผนการเงินตนเฉพาะเองและ 
ครอบครัวแล้ว เราก็สามารถเสนอกองทุนที่เรามีอยู่ให้เขา 
เลือกให้เหมาะกับตัวเขาได้ ซึ่งจะเป็นพัฒนาการที่ดีขึ้นต่อ 
ลูกค้าและอุตสาหกรรมด้วย ทั้งนี้ การจัดกลุ่มกองทุน การ 
นำเสนอ การโฆษณาประชาสัมพันธ์ และการแข่งขัน น่าจะ 
เน้นในรูปแบบที่ตอบโจทย์ลูกค้าเฉพาะกลุ่มมากขึ้น 
ขนาดที่ใหญ่ เครือข่ายที่กว้างขวาง เป็นข้อได้เปรียบ 
ในการ Penetrate ตลาด แต่ไม่ได้เป็นข้อจำกัดจนทำให้ 
บลจ. เล็กๆ จะเสียเปรียบไปทุกเรื่อง เพราะการทำให้ 
สาธารณชนเชื่อถือใน บลจ. ในหลายๆ มิติเป็นคำตอบ 
สำหรับธุรกิจจัดการกองทุน บลจ.ขนาดเล็กก็จะสามารถทำ 
ธุรกิจได้ดีหากจะขยับไปสู่การสร้าง Niche Market ที่เหมาะ 
คุณวรวรรณ ธาราภูมิ 
ประธานเจŒาหนŒาที่บรèหาร 
บรèษัทหลักทรัพยจัดการกองทุนรวม บัวหลวง จำกัด 
กับความสามารถพิเศษของตนเองให้มากขึ้น ดังนั้น ทุกคน 
ไม่จำเป็นต้องวิ่งแข่งในลู่เดียวกัน หากเสียเปรียบด้านหนึ่ง 
แต่มีจุดเด่นด้านหนึ่งก็สามารถชูจุดที่เหมาะสมของตนเป็น 
กลยุทธ์ธุรกิจได้ ตลาดยังกว้างมาก 
การทำให้สาธารณชนเชื่อถือ บลจ. ในหลายๆ 
มิติ หมายถึงเชื่อมั่นทั้งในผลการดำเนินงานระยะยาวของ 
กองทุนเพราะธุรกิจของเราเป็นการวิ่งมาราธอนไม่ใช่วิ่ง 
100 เมตร รวมไปถึงทำให้เขาเชื่อมั่นในตัวตนของ บลจ. 
ด้วย อุตสาหกรรมจึงน่าจะชูนโยบายกับแนวทางบริหาร 
กองทุนและตัวตนหรือสไตล์ที่ บลจ. เป็นจริงๆ ให้มากขึ้น 
นี่จะเป็นสิ่งที่ให้คุณแก่ธุรกิจ และนี่คือสิ่งที่ลูกค้าจะคาดหวัง 
มากขึ้น 
ที่จริงแล้วมีความเชื่อเป็นส่วนตัวว่า อุตสาหกรรม 
ควรจะตั้งโจทย์ในการทำธุรกิจเป็น “ทำอย่างไรถึงจะให้ผู้ 
คนบริหารเงินของตนและครอบครัวให้เป็น ทำอย่างไรถึงจะ
9 Guru มองทิศเศรษฐกิจการลงทุน 2557 : 11 
LTF 
Debt 
Trend 
RMF 
Debt 
Economic 
GDP 
ช่วยให้พวกเขาประสบผลสำเร็จตามเป้าหมายการเงินที่เขา 
ต้องการ” หากตั้งโจทย์ในการกำหนด Business Model 
แบบนี้เชื่อมั่นว่าจะดีต่อผู้ลงทุนและดีต่อทุกฝ่ายที่เกี่ยวข้อง 
ในระยะยาว ทั้งยังมีความยั่งยืนทางธุรกิจมากกว่าจะไป 
ตั้งโจทย์ว่า “ปีนี้เราต้องขายกองทุนเพิ่มอีก 30% หรือต้อง 
เพิ่มส่วนแบ่งตลาดอีกเท่าตัว” ฯลฯ คือเราควรมองไปที่ 
ประโยชน์ต่อลูกค้ามากกว่ามองมาที่กระเป๋าเงินเรา เพราะ 
โดยธรรมชาติของธุรกิจนี้คนที่จะยืนอยู่ได้ตลอดเส้นทาง 
ระยะยาวจะต้องคิดถึงประโยชน์ของลูกค้าเป็นที่ตั้ง 
การคัดเลือกกองทุนให้ชนะตลาด มีเทคนิคอย่างไร 
เวลาเปรียบเทียบผลงานมักจะใช้กับกองทุนหุ้น 
กองทุนผสม เน้นหุ้น หรือกองทุนทองคำ แต่อย่าลืมว่าสิ่งที่ 
ดีที่สุดคือสิ่งที่เหมาะกับตัวเรามากที่สุด ไม่จำเป็นต้องเลือก 
อะไรที่ได้ที่หนึ่ง หากมันไม่เหมาะกับเรา หมายถึงผู้ลงทุน 
ควรเริ่มที่การจัดสัดส่วนการลงทุนของตนเองก่อน 
กองทุนรวมเหมาะสำหรับการลงทุนในระยะยาว 
การเลือกกองทุนที่ดี ควรเป็นกองทุนที่ให้ผลตอบแทนที่ดีได้ 
ในระยะยาว มากกว่าที่ชนะในช่วงสั้น 
การเลือกลงทุนในกองทุนตราสารหนี้ หรือจะลงทุน 
เองโดยตรงโดยไม่ผ่านกองทุน รวมไปถึงการฝากเงินนั้นผู้ 
ลงทุนควรเน้นไปที่เรื่องความปลอดภัยของเงินต้นมากกว่า 
จะมองเพียงอัตราดอกเบี้ยสูงๆ เป็นที่ตั้ง ตัวอย่างเช่นฝากเงิน 
3 ปี อัตราดอกเบี้ย 3.75% กับธนาคารที่มีอันดับเครดิต A ไม่ 
ได้แปลว่าจะแย่กว่าซื้อหุ้นกู้เอกชนอันดับเครดิต B 3 ปี 
อัตราดอกเบี้ย 5.75% เสมอไป เพราะระดับความสามารถ 
ในการคืนเงินต้นและชำระดอกเบี้ยของธนาคารในตัวอย่าง 
นี้ดีกว่าหุ้นกู้ที่ว่า ซึ่งหากเกิดอะไรขึ้นหุ้นกู้ที่ว่าก็จะชำระคืน 
เงินผู้ลงทุนไม่ได้ (Default) และมีความเสี่ยงสูงกว่าหุ้น 
ไปเลย เพราะถ้าลูกค้ายอมขายตัดขาดทุนก็มักหาคนซื้อไม่ 
ได้ การเลือกลงทุนกองทุนตราสารหนี้ก็เช่นกัน ให้ดูใส้ใน 
ด้วยว่ากองทุนเขาลงทุนในอะไร อย่าดูแค่ให้ผลตอบแทนที่ 
สูงกว่าเพียงอย่างเดียว 
ปัจจุบันมีหน่วยงานกลางจัดอันดับ ให้ Rating 
กองทุนมากขึ้น จึงเลือกดู เลือกกองทุนที่เหมาะกับแผน 
การเงินได้ดีขึ้น แต่พิจารณาด้วยว่าผู้จัดอันดับหรือรางวัล 
นั้นๆ น่าเชื่อถือเพียงใด ใช้เกณฑ์แบบไหนในการวัด 
ตลาดหุ้นผันผวนควรมีวิธีการลงทุนกองทุนอย่างไร 
การลงทุนที่ดีควรทำตามลำดับ ดังนี้ 
1. ประเมินตนเองและกำหนดเป้าหมายการลงทุน 
ของเราก่อน (รู้จักตัวเองให้ดีเสียก่อน) 
2. กำหนดสัดส่วนลงทุนให้รับกับข้อ 1 เช่น แบ่งเป็น 
หุ้น ทองคำ ตราสารหนี้ อสังหาฯ กี่ % เป็นต้น 
3. เลือก บลจ. ที่มีนโยบายทำธุรกิจ มีผลงานกองทุน 
ในระยะยาวดี มีสไตล์การบริหารที่ตรงใจไว้ 2-3 บลจ. 
4. เลือกกองทุนจาก บลจ. ต่างๆ ให้สอดรับกับ 
สัดส่วนลงทุนของเรา โดยดูผลงานระยะยาวเป็นหลัก 
5. ลงทุนเป็นประจำทุกเดือนโดยสม่ำเสมอ เพราะ 
ช่วยลดปัญหาเรื่องตลาดผันผวนในช่วงสั้นๆ ได้ 
6. อย่าหวั่นไหวกับสภาพตลาดระยะสั้น ให้มุ่ง 
เป้าหมายทางการเงินระยะยาวของเรา และดูผลงานกองทุน 
ได้แต่อย่ายึดติดกับช่วงสั้นที่อารมณ์ตลาดมักอยู่เหนือ 
เหตุผล ถ้าตั้งหลักดีแล้วเราจะไม่กลัวตลาดผันผวนในระยะ 
สั้น ยังหัวถึงหมอนนอนหลับสบาย และมองเห็นเป็นโอกาส 
มากกว่าอุปสรรค
Real Estate 
Macroeconomic 
Property 
GNP 
Microeconomic 
Microeconomic 
ทิศทางการลงทุอสังหารþมทรัReal 
น 
ใน Estate 
พย์ ปี 2557 
แนวโน้มภาคธุรกิจอสังหาริมทรัพย์ ปี 2557 
Exchange 
Real Estate 
ภาพรวมตลาดที่อยู่อาศัยในประเทศไทยปี 2557 
GNP 
คาดว่ามีการเติบโตเพิ่มขึ้นจากปี 2556 อยู่ที่ 5% คิดเป็น 
มูลค่า 640,000 ล้านบาท โดยต่างจังหวัดหัวเมืองใหญ่มี 
การเติบโตอย่างต่อเนื่อง ซึ่งมีปัจจัยสนับสนุนจากการพัฒนา 
ระบบโครงข่ายคมนาคมภายใต้งบประมาณ 2 ล้านล้านบาท 
โดยมีเป้าหมายในการเชื่อมโยงตลาดระหว่างกรุงเทพ- 
มหานครกับต่างจังหวัดเข้าด้วยกัน ส่งผลให้มีการขยายตัว 
ด้านการลงทุน มีการเติบโตด้านเศรษฐกิจสูง คนต่างจังหวัด 
มีรายได้ต่อครัวเรือนเพิ่มขึ้น แรงงานกลับสู่ท้องถิ่นมากขึ้น 
ส่งผลให้ความต้องการที่อยู่อาศัยในต่างจังหวัดเพิ่มมากขึ้น 
ด้วย โดยเฉพาะจังหวัดที่เป็นแหล่งท่องเที่ยวและมีความ 
สำคัญทางด้านเศรษฐกิจ เช่น เชียงใหม่ เชียงราย อุดรธานี 
นครราชสีมา ขอนแก่น ชลบุรี ระยอง นครศรีธรรมราช ภูเก็ต 
สงขลา เป็นต้น 
Economic 
12 : 9 Guru มองทิศเศรษฐกิจการลงทุน 2557 
GNP 
GDP 
Real Estate 
CPI 
GNP 
Property 
Property 
Inflation 
GDP 
Real Estate 
Public Debt 
Real Estate 
Public Debt 
Economic 
Property 
GDP 
Economic 
Property 
Microeconomic 
Value Investor 
Property 
ขณะที่ตลาดที่อยู่อาศัยในกรุงเทพฯ และปริมณฑล 
Estat 
Propert 
ในปี 2557 มีขนาดตลาดประมาณ 340,000 ล้านบาท โดย 
โครงการคอนโดมิเนียมยังครองส่วนแบ่งในตลาดคิดเป็น 
55% แต่ราคาเฉลี่ยต่อยูนิตลดลง เนื่องจากโครงการระดับ 
กลาง-ล่าง (Economy – Middle) มีการเปิดตัวมากกว่าปี 
2556 ประกอบกับผู้ประกอบการรายใหญ่หลายรายมีการ 
ปรับแผนธุรกิจมาพัฒนาโครงการคอนโดมิเนียมราคาถูก 
(Budget) เข้าสู่ตลาดมากขึ้น ขณะที่โครงการคอนโดมิเนียม 
ระดับ กลาง-บน (Middle – Luxury) คาดว่ายังคงได้รับการ 
ตอบรับที่ดี เนื่องจากตลาดกลุ่มนี้ได้รับผลกระทบจากความ 
ผันผวนทางเศรษฐกิจค่อนข้างต่ำ ส่วนโครงการที่อยู่อาศัย 
แนวราบราคาเฉลี่ยจะสูงขึ้น ผันแปรตามต้นทุนที่ดินที่ปรับ 
ตัวสูงขึ้น โดยเฉพาะทำเลในแนวเส้นทางรถไฟฟ้า ส่วน 
ทาวน์เฮาส์จะขยับเข้าสู่เมืองมากขึ้น ขณะที่บ้านเดี่ยวระดับ 
ราคา 3-5 ล้านบาท ยังคงมีความต้องการมากที่สุด แต่ใน 
การพัฒนาโครงการ อาจจะกระจายตัวอยู่ห่างจากเขตเมือง 
ออกไปสำหรับตลาดที่อยู่อาศัยระดับราคาสูงขึ้นไป 
คุณทองมา วèจèตรพงศพันธุ 
ประธานกรรมการบรèหาร และกรรมการผูŒจัดการ 
บรèษัท พฤกษา เรéยลเอสเตท จำกัด (มหาชน)
9 Guru มองทิศเศรษฐกิจการลงทุน 2557 : 13 
GNP 
Debt 
Estate 
Debt 
Economic 
GDP 
(Upscale– Luxury) จะได้ผลกระทบน้อยที่สุด เนื่องจากลูก 
ค้ามีความมั่นคงทางด้านรายได้ 
ธุรกิจอสังหาริมทรัพย์มีผลต่อการขับเคลื่อน 
เศรษฐกิจไทยในปี 2557 
ภาพรวมภาคธุรกิจอสังหาริมทรัพย์ในช่วง 5 ปีที่ 
ผ่านมา มีการเติบโตไม่ต่ำกว่า 7% ขณะที่ภาพรวมของ 
เศรษฐกิจไทยขยายตัวเฉลี่ย 3% ซึ่งมีการเติบโตไปในทิศ 
ทางเดียวกันกับเศรษฐกิจไทย และมีอัตราการเติบโตที่สูง 
กว่าเศรษฐกิจไทยมาโดยตลอด สำหรับภาคธุรกิจอสังหา 
ริมทรัพย์ปี 2557 คาดการณ์ว่ามีแนวโน้มการเติบโตอยู่ที่ 
5% ในขณะที่เศรษฐกิจไทยปี 2557 นักเศรษฐศาสตร์คาด 
การณ์ว่ามีแนวโน้มการขยายตัวอยู่ในช่วง 4.5 – 5% 
ทั้งนี้ภาคธุรกิจอสังหาริมทรัพย์ เป็นตัวหลักสำคัญ 
ในการขับเคลื่อนเศรษฐกิจของประเทศ ซึ่งก่อให้เกิดหน่วย 
ธุรกิจอื่นๆ เช่น การจ้างแรงงาน การผลิตและการบริโภค 
ตลอดจนการพัฒนาที่ดินทำให้ขยายความเจริญออกไปสู่ 
บริเวณโดยรอบก่อให้เกิดการสร้างชุมชนสร้างสังคม และยัง 
ก่อให้เกิดการลงทุนในประเทศ 
แนวโน้มการลงทุนอสังหาริมทรัพย์ในปี 2557 
•คอนโดมิเนียมที่อยู่อาศัยตามแนวเส้นทางของ 
รถไฟฟ้าส่วนต่อขยาย และตามแนวเส้นทางของรถไฟความ 
เร็วสูง รวมถึงจังหวัดที่เป็นแหล่งท่องเที่ยว 
•ที่อยู่อาศัยแนวราบและคอนโดมิเนียมระดับ 
ราคาไม่เกิน 2 ล้านบาท ซึ่งเป็นระดับราคาที่คนส่วนใหญ่มี 
กำลังซื้อ 
ปัจจัยความเสี่ยงต่อภาคธุรกิจอสังหาริมทรัพย์ 
• ความเข้มงวดในการอนุมัติสินเชื่อที่อยู่อาศัย 
ของธนาคารพาณิชย์ 
– สาเหตุมาจากการที่หนี้ภาคครัวเรือนเพิ่มสูงขึ้น ประกอบ 
กับลูกค้ามีการผิดชำระหนี้เพิ่มมากขึ้น เป็นเหตุให้ธนาคาร 
พาณิชย์ต้องเข้มงวดและระมัดระวังในการอนุมัติสินเชื่อที่ 
อยู่อาศัยมากขึ้นด้วย 
• อัตราดอกเบี้ยมีแนวโน้มปรับตัวเพิ่มขึ้นและ 
มีความผันผวนตามภาวะการเงินของโลก 
– ส่งผลต่อต้นทุนทางการเงินของผู้ประกอบการของธุรกิจ 
อสังหาริมทรัพย์ และอัตราดอกเบี้ยการกู้ซื้อที่อยู่อาศัยของ 
ลูกค้าที่ปรับตัวและผันผวนเพิ่มขึ้นตามไปด้วย 
• การประเมิน EIA 
– การประเมิน EIA มีกระบวนการและขั้นตอนที่ใช้เวลานาน 
ส่งผลให้การก่อสร้างล่าช้าและอาจต้องเลื่อนแผนการส่งมอ 
บอาคารชุดให้แก่ลูกค้าได้ 
• การขาดแคลนแรงงาน 
– เนื่องจากผู้ประกอบการเร่งเปิดโครงการใหม่เป็นจำนวน 
มาก ประกอบกับมีการลงทุนโครงสร้างพื้นฐานของภาครัฐฯ 
จึงทำให้แนวโน้มจะเกิดปัญหาขาดแคลนแรงงาน 
• ต้นทุนที่ดินและค่าก่อสร้างมีแนวโน้มเพิ่มขึ้น 
อย่างต่อเนื่อง 
– จากการที่ผู้ประกอบการมีการแข่งขันที่รุนแรง รวมถึงการ 
ขยายเสน้ทางของรถไฟฟา้ทำใหม้กีารเกง็กำไรในทดี่นิบรเิวณ 
ดังกล่าวเกินความเป็นจริง 
Tips ในการลงทุนอสังหาริมทรัพย์ 
• เลือกลงทุนในอสังหาริมทรัพย์ที่เป็นความต้อง 
การของกลุ่ม Real Demandหรือ First Home 
• พิจารณาถึงศักยภาพของทำเลที่ตั้งที่มีการเจริญ 
เติบโตของเศรษฐกิจ หรือทำเลที่มีโครงสร้างพื้นฐานและ 
ระบบสาธารณูปโภคที่ดีและครอบคลุมถึง 
• เลือกซื้อหุ้นของบริษัทพัฒนาอสังหาริมทรัพย์ที่มี 
ผลประกอบการที่ดี มีการบริหารงานด้วยทีมProfessional 
Management Team รวมทั้งมีการเติบโตที่ยั่งยืน 
(Sustainable Growth) และจ่ายเงินปันผลอย่างต่อเนื่อง 
รวมถึงบริษัทที่มีนโยบายเน้นการพัฒนาที่อยู่อาศัยที่เป็น 
กลุ่ม Real Demand ของผู้บริโภคอย่างแท้จริง
GOLD 
Macroeconomic 
GNP 
GO 
Exchange 
ใใใใใสสนนัััััเเเเเนนนืืืืื่่่่่จจาาาาารราาาาาคคาาาาาคคำำำำำไไไไไปปผผูููููตติิิิิกกัััััตตัััััเเเเเลลเเเเเศศทิศทางการลงทุน 
ใน ทองคำำำ คคำ ปปี ปีีี 222555555t777 
2557 
สภาพตลาดทองคำที่ผ่านมา 
GขขOอองสหรรัััััฐอเเเเเLมมรริิิิิกกาาาาา Dนนนััััักววิิิิิเเเเเคครราาาาาะะะะะหห์์์์์โโโโโดดยททััััั่่่่่วไไไไไปปมมีีีีีคววาาาาามเเเเเหหห็็็็็นวว่่่่่าาาาา ใใในนปปีีีหนน้้้าาาตตัััวเเเลลขเเเศศรษฐกกิิิจของสหรรัััฐอเเเมมรริิิกกาาานน่่่าาาจจะะะดดีีีขขึึึ้้้น แแแลลละะะ ในปีน้าตัเลเศกิรัเมริกาน่าจะดีขึ้และ 
ในปี 2556 ที่ผ่านมา ราคาทองคำปรับตัวลดลง 
GNP 
ต่อเนื่องในช่วง 4 เดือนแรกจากความกังวลในการที่จะลด 
หรือยกเลิก QE ของสหรัฐอเมริกา จึงเกิดการปรับตัวตกอย่าง 
มากในช่วงสงกรานต์บ้านเรา คือภายในช่วงเวลา 3 วัน ราคา 
ทองคำปรับตัวลดลงรวมแล้วเท่ากับ 220 เหรียญ ทำให้ราคา 
ทองคำไทยในช่วง 4 เดือนแรกปรับตัวลดลงกว่า 20% จาก 
สาเหตุดังกล่าวข้างต้น รวมถึงการแข็งค่าของเงินบาทที่ 
แข็งค่าจากระดับ 31.50 บาท/ดอลลาร์ ลงมาที่ระดับ 28.80 
บาท/ดอลลาร์นั่นเอง ในขณะที่ช่วงเดือน 5 และเดือน 6 เป็น 
ช่วงที่ราคาทองคำปรับตัวสูงขึ้นจาก Technical Rebound 
โดยปรับตัวสูงขึ้นมา 100 กว่าเหรียญ มายืนอยู่ที่บริเวณ 
1,430 เหรียญ และอย่างไรก็ดีกลับมาปรับตัวลดลงอีกจาก 
ความกังวลที่มีการจะทยอยลด QE ที่เข้ามาซ้ำอีก 
Economic 
14 : 9 Guru มองทิศเศรษฐกิจการลงทุน 2557 
Economic 
Microeconomic 
Microeconomic 
GOLD 
ublic LD 
GDP 
GOLD 
Public 
Debt 
GOLD 
GDP 
GOLD 
Inflation 
GOLD 
Economic 
GOLD 
Public Debt 
Public Debt 
Public Debt 
Economic 
Gold 
GDP 
Economic 
Gold 
Microeconomic 
Value Investor 
GOLD 
Mega Trend 
Mega Trend 
Macroeconomic 
ปัจจัยหลักของปี 2556 ที่ทำให้ทองคำตกลงมาคือ 
ตัวเลขสหรัฐที่ดีขึ้นมาในเรื่องของคนว่างงาน จากระดับ 
7.9% มาอยู่ที่ระดับ 7.5% ในช่วงเดือน 10 ส่งผลทำให้ 
นักลงทุนค่อยๆ ถอนเงินออกจากตลาดทองคำโดยเฉพาะ 
อย่างยิ่ง จาก SPDR ที่เป็นผู้ถือทองคำ Gold ETF 
รายใหญ่ของโลก ก็มีการขายออกมา จากต้นปีอยู่ที่ระดับ 
1350.82 ตัน ในต้นปี 2556 เหลือเพียงประมาณ 882.23 
ตันในช่วงกลางเดือนตุลาคม และยังมีแนวโน้มที่จะมีการ 
เทขายอย่างต่อเนื่องตลอดมา เรียกว่าใน 10 เดือนแรกของ 
ปี 2556 SPDR เทขายทองคำออกมาแล้วกว่า 35% ใน 
สภาวะของเดือนตุลาคม Debt Ceiling เป็นจุดสำคัญของ 
ตลาดที่จะให้ความสนใจและมีผลต่อราคาทองคำอย่าง 
ยิ่ง (ในขณะที่เขียนยังรอคำตอบของรัฐบาลโอบามาในการ 
แก้ไขปัญหา Debt Ceiling) อย่างไรก็ดีนักวิเคราะห์โดย 
ทั่วไปมองว่าน่าจะสามารถตกลงกันได้ คือการขยายเพดาน 
หนี้จากระดับ 16.7 ล้านล้านเหรียญสหรัฐอเมริกา รวมทั้ง 
ขยายระยะเวลาออกไป 
แนวโน้มราคาทองคำในปี 2557 
MTS Gold คาดว่าแนวโน้มราคาทองคำน่าจะไม่ 
สดใสนัก เนื่องจากราคาทองคำไปผูกติดกับตัวเลขเศรษฐกิจ 
น.พ.กฤชรัตน หิรัณยศิรè 
ประธานกรรมการ 
บรèษัท เอ็มทีเอส โกลด จำกัด 
รัเมริกา นัวิเคราะห์โดทั่ไปมีวาเห็ว่า 
แน่นอนการทำ QE ก็น่าจะมีการลดน้อยถอยลงไปจนถึง 
หยุดในช่วงปลายปี 2557 นั่นหมายความว่า เงินที่จะสนับ 
สนุนการซื้อขายทองคำของฝั่งสหรัฐอเมริกาน่าจะหายไป 
รวมทั้งนักลงทุนใน ETF ของอเมริกาโดยเฉพาะอย่างยิ่งใน 
SPDR ที่ยังคงลดทอนการถือครองทองคำอย่างต่อเนื่อง ทำ 
ให้ Demand ซื้อทองคำในปี 2557 น่าจะปรับตัวลดลง แต่ 
อย่างไรก็ดีสิ่งที่จะเห็นได้ชัดคือ Demand ซื้อซึ่งได้โยกจาก 
ซีกโลกตะวันตกมายังซีกโลกตะวันออกนั่นก็คือ จีนและ 
อินเดียที่กลายเป็นผู้ซื้อและผู้สะสมทองคำมากในระดับโลก 
โดยเฉพาะอย่างยิ่งกำลังซื้อมาจากทางฝ่ายประชาชนที่เป็น 
นักลงทุน ไม่ได้มาจากกลุ่ม Central Bank 
ในภาวะการเงินของโลกปีหน้า ก็น่าจะยังคงมี 
ความผันผวนอย่างมาก นั่นหมายถึงค่าเงินดอลลาร์สหรัฐฯ 
น่าจะยังคงมีความผันผวนมากขึ้นและมากขึ้นเรื่อยๆ
งานธุรการ
งานธุรการ
งานธุรการ
งานธุรการ
งานธุรการ
งานธุรการ
งานธุรการ
งานธุรการ

Contenu connexe

Tendances

World Think Tank Monitors l ตุลาคม 2559
World Think Tank Monitors l ตุลาคม 2559World Think Tank Monitors l ตุลาคม 2559
World Think Tank Monitors l ตุลาคม 2559Klangpanya
 
ยุทธศาสตร์การขับเคลื่อนเศรษฐกิจประเทศ
ยุทธศาสตร์การขับเคลื่อนเศรษฐกิจประเทศยุทธศาสตร์การขับเคลื่อนเศรษฐกิจประเทศ
ยุทธศาสตร์การขับเคลื่อนเศรษฐกิจประเทศKlangpanya
 
งานนำเสนอbm702
งานนำเสนอbm702งานนำเสนอbm702
งานนำเสนอbm702Tanapon_V
 
ภาวะผันผวนของเศรษฐกิจโลก54 55
ภาวะผันผวนของเศรษฐกิจโลก54 55ภาวะผันผวนของเศรษฐกิจโลก54 55
ภาวะผันผวนของเศรษฐกิจโลก54 55Alisa Singtongla
 
ร่างยุทธศาสตร์ชาติ ระยะ 20 ปี (พ.ศ2560 2579)
ร่างยุทธศาสตร์ชาติ ระยะ 20 ปี (พ.ศ2560   2579)ร่างยุทธศาสตร์ชาติ ระยะ 20 ปี (พ.ศ2560   2579)
ร่างยุทธศาสตร์ชาติ ระยะ 20 ปี (พ.ศ2560 2579)Utai Sukviwatsirikul
 
K bank multi asset strategies apr 2011 thai
K bank multi asset strategies apr 2011 thaiK bank multi asset strategies apr 2011 thai
K bank multi asset strategies apr 2011 thaiKBank Fx Dealing Room
 
EXTalk @ Maruey - จับชีพจรเศรษฐกิจโลก ปี 2559
EXTalk @ Maruey - จับชีพจรเศรษฐกิจโลก ปี 2559EXTalk @ Maruey - จับชีพจรเศรษฐกิจโลก ปี 2559
EXTalk @ Maruey - จับชีพจรเศรษฐกิจโลก ปี 2559MarueyLibrary
 
ชุมนุมสหกรณ์ 22 ม ค 56
ชุมนุมสหกรณ์ 22 ม ค 56ชุมนุมสหกรณ์ 22 ม ค 56
ชุมนุมสหกรณ์ 22 ม ค 56nachol_fsct
 
World Think Tank Monitors l มิถุนายน 2559
World Think Tank Monitors l มิถุนายน 2559World Think Tank Monitors l มิถุนายน 2559
World Think Tank Monitors l มิถุนายน 2559Klangpanya
 
รายงานการประชุมเวทียุทธศาสตร์ ครั้งที่ 4 "ทิศทางการปรับตัวของไทย ภายใต้สถานกา...
รายงานการประชุมเวทียุทธศาสตร์ ครั้งที่ 4 "ทิศทางการปรับตัวของไทย ภายใต้สถานกา...รายงานการประชุมเวทียุทธศาสตร์ ครั้งที่ 4 "ทิศทางการปรับตัวของไทย ภายใต้สถานกา...
รายงานการประชุมเวทียุทธศาสตร์ ครั้งที่ 4 "ทิศทางการปรับตัวของไทย ภายใต้สถานกา...Klangpanya
 

Tendances (14)

World Think Tank Monitors l ตุลาคม 2559
World Think Tank Monitors l ตุลาคม 2559World Think Tank Monitors l ตุลาคม 2559
World Think Tank Monitors l ตุลาคม 2559
 
ยุทธศาสตร์การขับเคลื่อนเศรษฐกิจประเทศ
ยุทธศาสตร์การขับเคลื่อนเศรษฐกิจประเทศยุทธศาสตร์การขับเคลื่อนเศรษฐกิจประเทศ
ยุทธศาสตร์การขับเคลื่อนเศรษฐกิจประเทศ
 
งานนำเสนอbm702
งานนำเสนอbm702งานนำเสนอbm702
งานนำเสนอbm702
 
Asia2030 mam
Asia2030 mamAsia2030 mam
Asia2030 mam
 
ภาวะผันผวนของเศรษฐกิจโลก54 55
ภาวะผันผวนของเศรษฐกิจโลก54 55ภาวะผันผวนของเศรษฐกิจโลก54 55
ภาวะผันผวนของเศรษฐกิจโลก54 55
 
ร่างยุทธศาสตร์ชาติ ระยะ 20 ปี (พ.ศ2560 2579)
ร่างยุทธศาสตร์ชาติ ระยะ 20 ปี (พ.ศ2560   2579)ร่างยุทธศาสตร์ชาติ ระยะ 20 ปี (พ.ศ2560   2579)
ร่างยุทธศาสตร์ชาติ ระยะ 20 ปี (พ.ศ2560 2579)
 
K bank multi asset strategies apr 2011 thai
K bank multi asset strategies apr 2011 thaiK bank multi asset strategies apr 2011 thai
K bank multi asset strategies apr 2011 thai
 
EXTalk @ Maruey - จับชีพจรเศรษฐกิจโลก ปี 2559
EXTalk @ Maruey - จับชีพจรเศรษฐกิจโลก ปี 2559EXTalk @ Maruey - จับชีพจรเศรษฐกิจโลก ปี 2559
EXTalk @ Maruey - จับชีพจรเศรษฐกิจโลก ปี 2559
 
ชุมนุมสหกรณ์ 22 ม ค 56
ชุมนุมสหกรณ์ 22 ม ค 56ชุมนุมสหกรณ์ 22 ม ค 56
ชุมนุมสหกรณ์ 22 ม ค 56
 
Ptt energy choices
Ptt energy choicesPtt energy choices
Ptt energy choices
 
The Global Middle Class
The Global Middle ClassThe Global Middle Class
The Global Middle Class
 
Ptt energy choices
Ptt energy choicesPtt energy choices
Ptt energy choices
 
World Think Tank Monitors l มิถุนายน 2559
World Think Tank Monitors l มิถุนายน 2559World Think Tank Monitors l มิถุนายน 2559
World Think Tank Monitors l มิถุนายน 2559
 
รายงานการประชุมเวทียุทธศาสตร์ ครั้งที่ 4 "ทิศทางการปรับตัวของไทย ภายใต้สถานกา...
รายงานการประชุมเวทียุทธศาสตร์ ครั้งที่ 4 "ทิศทางการปรับตัวของไทย ภายใต้สถานกา...รายงานการประชุมเวทียุทธศาสตร์ ครั้งที่ 4 "ทิศทางการปรับตัวของไทย ภายใต้สถานกา...
รายงานการประชุมเวทียุทธศาสตร์ ครั้งที่ 4 "ทิศทางการปรับตัวของไทย ภายใต้สถานกา...
 

Similaire à งานธุรการ

ปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง
ปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียงปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง
ปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียงKowin Butdawong
 
ชุมนุมสหกรณ์ 22 ม ค 56
ชุมนุมสหกรณ์ 22 ม ค 56ชุมนุมสหกรณ์ 22 ม ค 56
ชุมนุมสหกรณ์ 22 ม ค 56nachol_fsct
 
การบริหารสหกรณ์ออมทรัพย์ในภาวะเศรษฐกิจโลกมีปัญหาและเศรษฐกิจไทยปรับโครงสร้าง
การบริหารสหกรณ์ออมทรัพย์ในภาวะเศรษฐกิจโลกมีปัญหาและเศรษฐกิจไทยปรับโครงสร้างการบริหารสหกรณ์ออมทรัพย์ในภาวะเศรษฐกิจโลกมีปัญหาและเศรษฐกิจไทยปรับโครงสร้าง
การบริหารสหกรณ์ออมทรัพย์ในภาวะเศรษฐกิจโลกมีปัญหาและเศรษฐกิจไทยปรับโครงสร้างnachol_fsct
 
การบริหารสหกรณ์ออมทรัพย์ในภาวะเศรษฐกิจโลกมีปัญหาและเศรษฐกิจไทยปรับโครงสร้าง
การบริหารสหกรณ์ออมทรัพย์ในภาวะเศรษฐกิจโลกมีปัญหาและเศรษฐกิจไทยปรับโครงสร้างการบริหารสหกรณ์ออมทรัพย์ในภาวะเศรษฐกิจโลกมีปัญหาและเศรษฐกิจไทยปรับโครงสร้าง
การบริหารสหกรณ์ออมทรัพย์ในภาวะเศรษฐกิจโลกมีปัญหาและเศรษฐกิจไทยปรับโครงสร้างnachol_fsct
 
แผนพัฒนาการศึกษา 11
แผนพัฒนาการศึกษา 11แผนพัฒนาการศึกษา 11
แผนพัฒนาการศึกษา 11Ch Khankluay
 
ปรัชญศรษฐกิจพอเพียง
ปรัชญศรษฐกิจพอเพียงปรัชญศรษฐกิจพอเพียง
ปรัชญศรษฐกิจพอเพียงUltraman Sure
 
Powerpoint เศรษฐกิจพอเพียง
Powerpoint เศรษฐกิจพอเพียงPowerpoint เศรษฐกิจพอเพียง
Powerpoint เศรษฐกิจพอเพียงChanon Mala
 
ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับการบริหารการคลัง และงบประมาณ
ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับการบริหารการคลัง และงบประมาณความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับการบริหารการคลัง และงบประมาณ
ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับการบริหารการคลัง และงบประมาณชญานิษฐ์ ทบวัน
 
ปรัชญศรษฐกิจพอเพียง
ปรัชญศรษฐกิจพอเพียงปรัชญศรษฐกิจพอเพียง
ปรัชญศรษฐกิจพอเพียงUltraman Sure
 
งานนำเสนออ.สุวรัส
งานนำเสนออ.สุวรัสงานนำเสนออ.สุวรัส
งานนำเสนออ.สุวรัสขอ พรดาว
 
งานนำเสนออ.สุวรัส
งานนำเสนออ.สุวรัสงานนำเสนออ.สุวรัส
งานนำเสนออ.สุวรัสmaysupaporn
 
งานนำเสนออ.สุวรัส
งานนำเสนออ.สุวรัสงานนำเสนออ.สุวรัส
งานนำเสนออ.สุวรัสmaysupaporn
 
กลุ่มหมูหมี --เทคโนโลยีและนวัตกรรมเพื่อการพัฒนาที่ยั่งยืน
กลุ่มหมูหมี --เทคโนโลยีและนวัตกรรมเพื่อการพัฒนาที่ยั่งยืนกลุ่มหมูหมี --เทคโนโลยีและนวัตกรรมเพื่อการพัฒนาที่ยั่งยืน
กลุ่มหมูหมี --เทคโนโลยีและนวัตกรรมเพื่อการพัฒนาที่ยั่งยืนfreelance
 
บทที่ 5 นโยบายมหาภาค
บทที่ 5 นโยบายมหาภาคบทที่ 5 นโยบายมหาภาค
บทที่ 5 นโยบายมหาภาคThida Noodaeng
 
สารสมอง ปฐมฤกษ์
สารสมอง ปฐมฤกษ์ สารสมอง ปฐมฤกษ์
สารสมอง ปฐมฤกษ์ Surapol Sriboonsong
 
บทวิเคราะห์ 171251
บทวิเคราะห์ 171251บทวิเคราะห์ 171251
บทวิเคราะห์ 171251Usani
 

Similaire à งานธุรการ (20)

ปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง
ปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียงปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง
ปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง
 
ชุมนุมสหกรณ์ 22 ม ค 56
ชุมนุมสหกรณ์ 22 ม ค 56ชุมนุมสหกรณ์ 22 ม ค 56
ชุมนุมสหกรณ์ 22 ม ค 56
 
การบริหารสหกรณ์ออมทรัพย์ในภาวะเศรษฐกิจโลกมีปัญหาและเศรษฐกิจไทยปรับโครงสร้าง
การบริหารสหกรณ์ออมทรัพย์ในภาวะเศรษฐกิจโลกมีปัญหาและเศรษฐกิจไทยปรับโครงสร้างการบริหารสหกรณ์ออมทรัพย์ในภาวะเศรษฐกิจโลกมีปัญหาและเศรษฐกิจไทยปรับโครงสร้าง
การบริหารสหกรณ์ออมทรัพย์ในภาวะเศรษฐกิจโลกมีปัญหาและเศรษฐกิจไทยปรับโครงสร้าง
 
การบริหารสหกรณ์ออมทรัพย์ในภาวะเศรษฐกิจโลกมีปัญหาและเศรษฐกิจไทยปรับโครงสร้าง
การบริหารสหกรณ์ออมทรัพย์ในภาวะเศรษฐกิจโลกมีปัญหาและเศรษฐกิจไทยปรับโครงสร้างการบริหารสหกรณ์ออมทรัพย์ในภาวะเศรษฐกิจโลกมีปัญหาและเศรษฐกิจไทยปรับโครงสร้าง
การบริหารสหกรณ์ออมทรัพย์ในภาวะเศรษฐกิจโลกมีปัญหาและเศรษฐกิจไทยปรับโครงสร้าง
 
Thai Education Master Plan # 11
Thai Education Master Plan # 11Thai Education Master Plan # 11
Thai Education Master Plan # 11
 
แผนพัฒนาการศึกษา 11
แผนพัฒนาการศึกษา 11แผนพัฒนาการศึกษา 11
แผนพัฒนาการศึกษา 11
 
ปรัชญศรษฐกิจพอเพียง
ปรัชญศรษฐกิจพอเพียงปรัชญศรษฐกิจพอเพียง
ปรัชญศรษฐกิจพอเพียง
 
1111
11111111
1111
 
Powerpoint เศรษฐกิจพอเพียง
Powerpoint เศรษฐกิจพอเพียงPowerpoint เศรษฐกิจพอเพียง
Powerpoint เศรษฐกิจพอเพียง
 
ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับการบริหารการคลัง และงบประมาณ
ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับการบริหารการคลัง และงบประมาณความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับการบริหารการคลัง และงบประมาณ
ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับการบริหารการคลัง และงบประมาณ
 
ปรัชญศรษฐกิจพอเพียง
ปรัชญศรษฐกิจพอเพียงปรัชญศรษฐกิจพอเพียง
ปรัชญศรษฐกิจพอเพียง
 
งานนำเสนออ.สุวรัส
งานนำเสนออ.สุวรัสงานนำเสนออ.สุวรัส
งานนำเสนออ.สุวรัส
 
งานนำเสนออ.สุวรัส
งานนำเสนออ.สุวรัสงานนำเสนออ.สุวรัส
งานนำเสนออ.สุวรัส
 
งานนำเสนออ.สุวรัส
งานนำเสนออ.สุวรัสงานนำเสนออ.สุวรัส
งานนำเสนออ.สุวรัส
 
กลุ่มหมูหมี --เทคโนโลยีและนวัตกรรมเพื่อการพัฒนาที่ยั่งยืน
กลุ่มหมูหมี --เทคโนโลยีและนวัตกรรมเพื่อการพัฒนาที่ยั่งยืนกลุ่มหมูหมี --เทคโนโลยีและนวัตกรรมเพื่อการพัฒนาที่ยั่งยืน
กลุ่มหมูหมี --เทคโนโลยีและนวัตกรรมเพื่อการพัฒนาที่ยั่งยืน
 
บทที่ 5 นโยบายมหาภาค
บทที่ 5 นโยบายมหาภาคบทที่ 5 นโยบายมหาภาค
บทที่ 5 นโยบายมหาภาค
 
สารสมอง ปฐมฤกษ์
สารสมอง ปฐมฤกษ์ สารสมอง ปฐมฤกษ์
สารสมอง ปฐมฤกษ์
 
เศรษฐกิจพอเพียง
เศรษฐกิจพอเพียงเศรษฐกิจพอเพียง
เศรษฐกิจพอเพียง
 
บทวิเคราะห์ 171251
บทวิเคราะห์ 171251บทวิเคราะห์ 171251
บทวิเคราะห์ 171251
 
National Consultation on PMTCT option B plus in Thailand
National Consultation on PMTCT option B plus in ThailandNational Consultation on PMTCT option B plus in Thailand
National Consultation on PMTCT option B plus in Thailand
 

งานธุรการ

  • 1.
  • 2.
  • 3. Equity Fund Economic Stock Mutual Fund Finance Macroeconomic 1. ทิศทาง-แนวโน้ม เศรษฐกิจไทย ปี 2557… … … … … … … … … … .. 2 โดย ดร.สมชัย สัจจพงษ 2. ทิศทางการเติบโตของเศรษฐValue กิจไทยผ่าInvestor นภาคธนาคาร ปี 2557… . 4 โดย ดร.กอบศักดิ์ ภูMicroeconomic ตระกูล 3. ทิศทางการลงทุนในตลาดทุนไทยปี 2557… … … … … … … … … … 6 โดย ดร.ศุภวุฒิ สายเชื้อ 4. ทิศทางการลงทุนแบบ VI ปี 2557… … … … … … … … … … … … … 8 โดย ดร.นิเวศน เหมวชิรวรากร 5. ทิศทางการExchange ลงทุนในกองทุนรวม ปี 2557… … … … … … … … … .. 10 โดย คุณวรวรรณ ธาราภูมิ Wealth 6. ทิศทางการลงทุนในอสังหารþมทรัพย์ ปี 2557… … … … … … … … 12 โดย คุณทองมา วèจèตรพงศพันธุ 7. ทิศทางการลงทุนในทองคำ ปี 2557… … … … … … … … … … … .. 14 โดย นพ.กฤชรัตน หิรัณยศิรè 8. ทิศทางธุรกิจประกัน ปี 2557… … … … … … … … … … … … … … .. 16 โดย คุณสาระ ล่ำซำ 9. ทิศทางการส่งออกอาหารทะเลกระป๋อง และผลิตภัณฑ์Economic แปรรูปของไทย… … … … … … … … … … … … … … . 18 โดย คุณธีรพงศ จันศิรè 9 Guru มองทิศเศรษฐกิจการลงทุน 2557 : 1 Import GNP GDP GDP GDP GDP GNP GNP GNP GNP Insurance Finance Wealth Property Bank Gold Gold Economic Gold Finance Investment Investment Exchange Value Investor Value Investor Mega Trend Mega Trend Mega Trend Bank Investment FIF Contents Insuranc nvestment
  • 4. Inflation Macroeconomic GNP GD Tren Microeconomi ดร.สมชัย สัจจพงษ ผูŒอำนวยการ สำนักงานเศรษฐกิจการคลัง Exchange ราคาสินค้าเกษตร ปัจจัยต่างๆ เหล่านี้ส่งผลกระทบต่อความ สามารถในการเติบโตทางเศรษฐกิจของเราในปีนี้แทบ ทั้งสิ้น อย่างไรก็ดี การชะลอตัวลงของเศรษฐกิจรอบนี้ไม่ ใช่การไถลลงไปสู่ความตกต่ำหรือกระทั่งวิกฤติเศรษฐกิจ รอบใหม่แต่อย่างใด สิ่งที่ทำให้มั่นใจที่จะกล่าวเช่นนั้นคือ เสถียรภาพทางเศรษฐกิจมหภาคของไทยมีความแข็งแกร่ง อย่างโดดเด่น ไม่ว่าจะเป็นอัตราการว่างงานที่อยู่ในระดับ ที่ถือได้ว่าต่ำมาก กล่าวได้ว่าคนไทย 100 คนมีคนว่างงาน ไม่ถึง 1 คน เราถือเป็นอันดับต้นๆ ของโลกเมื่อวัดกันด้วย มาตรฐานนี้ หรือหากจะมองอัตราเงินเฟ้อก็ยังทรงตัวอยู่ใน ระดับต่ำ ถึงแม้จะมีเสียงร้องเรียนว่าอาหารราคาแพง แต่ เมื่อพิจารณาในภาพรวมร่วมกับหมวดสินค้าอื่นๆ แล้ว ระดับ ราคายังไม่ถือว่ากระทบกำลังซื้อมากนัก เมื่อหันมาดูในฝั่ง การเงิน ภาคธนาคารของเราก็มีเงินกองทุนต่อสินทรัพย์ เสี่ยงมากเกินกว่าระดับที่กำหนด รวมทั้ง หนี้เสียก็ได้มีการ Inflation ทิศทาง-แนวโนŒม เศรษฐกิจไทย ปี 2557 ตั้งแต่ช่วงไตรมาสที่ 2 ของปี 2556 เป็นต้นมา เราอาจได้เห็นการชะลอตัวของเศรษฐกิจไทยผ่าน สัญญาณทางเศรษฐกิจหลายGNP ตัว เป็นเหตุให้หลายฝ่าย แสดงความกังวลต่อพื้นฐานเศรษฐกิจไทยทั้งในปัจจุบัน และอนาคต แต่จริงๆ แล้วเศรษฐกิจไทยในปี 2556 นี้เป็น เพียงช่วงเวลาของการปรับฐานเท่านั้น การชะลอตัวที่เห็น เป็นผลพวงมาจากการเร่งตัวมากเป็นพิเศษในปีก่อนหน้า จากทั้งการฟื้นตัวหลังน้ำท่วมและมาตรการในการกระตุ้น เศรษฐกิจของภาครัฐ จึงเป็นเรื่องธรรมดาที่ปีนี้จะมีการปรับ ตัวลดความเร็วในการเติบโตลงชั่วคราวเพื่อกลับเข้าสู่ สภาวะปกติ โชคไม่ดีอีกประการที่ในช่วงเวลาเดียวกันนี้เรา ได้เผชิญกับความไม่สม่ำเสมอของการฟื้นตัวของเศรษฐกิจ โลก ไม่ว่าจะเป็นภัยคุกคามจากฟองสบู่ในภาคการเงินของ จีน การไหลเข้าและออกของเงินทุนเคลื่อนย้ายระหว่าง ประเทศอย่างรวดเร็วและรุนแรง ความผันผวนของราคา โภคภัณฑ์ทั้งน้ำมันและทองคำ รวมไปถึงความตกต่ำของ ควบคุมอย่างใกล้ชิด นอกจากนี้ ในฝั่งรัฐบาล ภาคการ คลังของเราก็ยังมีหนี้ต่ำกว่าเกณฑ์อยู่มาก และอีกประการ ที่ผมมองว่าเป็นจุดแข็งของไทยก็คือ ความสามารถของ ภาคเอกชนไทยด้านการแข่งขันและปรับตัว อันจะเห็นได้ จากวิกฤติการณ์ที่เราพบเจอทั้งวิกฤติแฮมเบอร์เกอร์ และ วิกฤติน้ำท่วมในปี 2554 เราใช้เวลาเพียง 1-2 ไตรมาสหลัง วิกฤติในการกลับมายืนอยู่จุดเดิม ฉะนั้นแล้ว การชะลอตัว ในปี 2556 ที่เป็นสภาวะปรับตัวระยะสั้น จึงไม่ใช่เรื่องเหลือ บ่ากว่าแรงที่จะผ่านพ้นเพื่อกลับมาเติบโตอย่างแข็งแรงใน ปี 2557 นี้ Economic 2 : 9 Guru มองทิศเศรษฐกิจการลงทุน 2557 Economic Microeconomic Microeconomic GNP GDP GDP Public Debt CPI GDP GNP Inflation GNP Economic GDP Public Debt Public Debt Public Debt Economic Gold GDP Economic Inflation Microeconomic Value Investor CPI Mega Trend Mega Trend Macroeconomic สำนักงานเศรษฐกิจการคลัง (สศค.) คาดการณ์ว่า เศรษฐกิจไทยในปี 2557 จะกลับมาเติบโตได้ตามศักยภาพ การเติบโตดังกล่าวนำโดยโครงการลงทุนใหญ่ของภาครัฐ ทั้งโครงการลงทุนเพื่อการบริหารจัดการน้ำภายใต้กรอบ วงเงิน 3.5 แสนล้านที่คาดว่าจะกลับมาเดินเครื่องได้ และ โครงการลงทุนเพื่อพัฒนาโครงสร้างพื้นฐานด้านการขนส่ง
  • 5. 9 Guru มองทิศเศรษฐกิจการลงทุน 2557 : 3 GNP Debt Trend GDP Debt Economic GDP ภายใต้กรอบวงเงิน 2 ล้านล้านบาทที่เรามั่นใจว่าจะสามารถ เริ่มดำเนินการก่อสร้างได้ในปีหน้านี้เช่นกัน สศค. คาดว่า ทั้ง 2 โครงการจะมีเม็ดเงินลงในปี 2557 ราว 1.2 แสน ล้านบาท โดยเงินจำนวนนี้จะนำไปสู่การก่อสร้าง การ จ้างงาน การจับจ่ายใช้สอย และที่สำคัญจะดึงดูดให้นักลง ทุนทั้งไทยและต่างประเทศพากันขยับขยายกิจการของตน เพ่อืรองรับการลงทุนในอนาคตจากกำลังการผลิตท่จีะขยาย ตัวและโอกาสทางเศรษฐกิจที่เปิดกว้างจากการเชื่อมโยง เชิงพื้นที่ในภูมิภาคอาเซียน ประกอบกับสัญญาณการฟื้นตัวของเศรษฐกิจโลก ที่นับวันยิ่งชัดเจนขึ้นเรื่อยๆ เศรษฐกิจโลกจึงฟื้นแน่ในปีหน้า นำโดยเศรษฐกิจขาใหญ่อย่างสหรัฐฯ ยุโรป และญี่ปุ่น ทั้ง 3 เปรียบเสมือนเรือเดินสมุทร ขนาดใหญ่เมื่อเริ่มเดินเครื่อง แล้ว แม้จะเดินหน้าไปได้ไม่เร็วแต่แรงขับเคลื่อนอันมหาศาล นั้นยากที่จะหยุดยั้ง ซึ่งทั้ง 3 ภูมิภาคค้าขายกับเราเป็น สัดส่วนราวร้อยละ 30 จากการค้าขายทั้งหมด และเมื่อผูก รวมกับห่วงโซ่มูลค่าผ่านสายพานการผลิตและการบริโภค จากทั่วโลก ก็จะยิ่งเป็นตัวเสริมให้เศรษฐกิจไทยเติบโตดีขึ้น ผ่านช่องทางการค้าระหว่างประเทศ ด้านจีนคู่ค้าอันดับหนึ่ง ของเราที่อยู่ในช่วงปรับตัวเองให้เติบโตอย่างมีเสถียรภาพ แม้ว่าอาจจะไม่สามารถเติบโตได้อย่างร้อนแรงในระดับเลข 2 หลักอย่างในอดีต แต่อัตราการเติบโตที่ร้อยละ 7-8 ที่ แลกมาด้วยเสถียรภาพก็เป็นสิ่งที่พึงปรารถนาต่อไทยและ คู่ค้าทั่วโลก นอกจากนี้ ตั้งแต่วิกฤติแฮมเบอร์เกอร์เป็นต้น มา ผู้ประกอบการไทยบางส่วนได้มีการย้ายตลาดมาค้าขาย เพื่อรับประโยชน์จากการขยายตัวของประเทศเพื่อนบ้าน มากขึ้น โดยเฉพาะกลุ่ม CLMV (ประกอบด้วยกัมพูชา ลาว พม่า และเวียดนาม) ที่กำลังเติบโตและจะยังคงเป็นตลาด ที่มีศักยภาพในอนาคต ในส่วนของภาคบริการเราคาดว่า จะยังคงมีรายได้เข้ามาจากการท่องเที่ยวอย่างต่อเนื่องและ ผมเชื่อมั่นว่าการท่องเที่ยวของเราจะยังสามารถขยายตัว ได้ในระดับเลข 2 หลักอีกปีหนึ่ง จากศักยภาพการท่องเที่ยว ในไทยที่แข็งแกร่งและเทรนด์ท่องเที่ยวไทยที่ยังถือว่ากำลัง อยู่ในช่วงบูมในสายตานักท่องเที่ยวต่างชาติ ด้วยเหตุนี้ ภาพการค้าระหว่างประเทศของไทยโดยรวมถือได้ว่ามี แนวโน้มที่สดใสในปีหน้า อย่างไรก็ดี ในภาวะฟื้นตัวนี้ เรายังคงไม่สามารถ ละเลยความเสี่ยงบางประการที่สำคัญไปได้ ความเสี่ยง เหล่านั้นประกอบไปด้วย ความผันผวนด้านการเงินระหว่าง ประเทศโดยเฉพาะเงินทุนไหลเข้า-ออก ความเสี่ยงด้าน ความล่าช้าของโครงการภาครัฐจากการพิจารณาใน กระบวนการของวุฒิสภาและศาลรัฐธรรมนูญ ความเสี่ยง จากภัยธรรมชาติ ความเสี่ยงของการสะดุดลงของเศรษฐกิจ ต่างประเทศ เช่น สหรัฐฯ จากเรื่องหนี้สาธารณะ ญี่ปุ่นจาก เรื่องการขึ้นภาษีมูลค่าเพิ่ม หรือยูโรโซนจากการว่างงานที่ ยังอยู่ในระดับสูง อย่างไรก็ดี ถึงที่สุดแล้วผมเชื่อว่าด้วย ความสามารถของภาคเอกชนไทย และความพร้อมในการ ดำเนินนโยบายของภาครัฐและธนาคารกลางซึ่งตระหนักถึง ความเสี่ยงเหล่านั้นเป็นอย่างดี จะช่วยกันนำพาเศรษฐกิจ ไทยให้ข้ามพ้นภัยคุกคามเหล่านั้นไปได้ ท้ายที่สุด ผมเชื่อว่าเศรษฐกิจไทยในปี 2557 นี้ จะเป็นปีแห่งการกลับสู่ศักยภาพ ทั้งแรงส่งจากใน ประเทศนำโดยโครงการลงทุนจากภาครัฐ และแรงส่ง จากนอกประเทศจากการฟื้นตัวของเศรษฐกิจโลก และปี 2557 นี้จะยังเป็นรากฐานของเศรษฐกิจไทย สำหรับการเติบโตต่อไปในระยะข้างหน้าด้วยเช่นกัน
  • 6. Inflation Macroeconomic Inflation Bank Mega Trend GNP Exchange ทิศทางการเติบโตของเศรษฐกิจไทย ผ‹านภาคธนาคาร ปี 2557 ปี 56 ที่กำลังจะผ่านไป นับเป็นอีกปีที่มากด้วย สีสันในเชิงเศรษฐกิจ จากต้นปี ที่เงินบาทแข็งค่าอย่าง รวดเร็ว พอกลางปี มีปัญหาเงิGNP นไหลออก หุ้นตก เงินบาท อ่อนยวบ กำลังซื้อหดหาย มีปัญหาความไม่แน่นอน เรื่องโครงการลงทุนขนาดใหญ่ของภาครัฐ ครั้นปลายปี เกิดน้ำท่วม การเมืองเริ่มคุกรุ่นอีกรอบ Finance Economic 4 : 9 Guru มองทิศเศรษฐกิจการลงทุน 2557 Finance Microeconomic Microeconomic GNP Bank GNP Bank Finance Bank Bank Finance Bank Finance Bank Public Debt Public Debt Public Debt Economic Bank GDP Economic Bank Microeconomic Value Investor Macroeconomic จึงไม่น่าแปลกใจว่า เศรษฐกิจไทยที่เคยคาดกันไว้ เมื่อต้นปีว่า จะเป็นอีกปีที่มีความคึกคัก ขยายตัวสูงกว่า 5% ท้ายสุดกลับแผ่วลงกว่าที่หลายคนคาด ลดมาอยู่ที่ประมาณ 3.5% กระทบต่อภาคเศรษฐกิจต่างๆ รวมไปถึงการขยายสิน เชื่อและระดมเงินฝากโดยรวมของภาคธนาคาร ประเด็นสำคัญ 4 ข้อ เกี่ยวกับเศรษฐกิจไทย 1. การชะลอตัวทางเศรษฐกิจเป็นผลมาจากปัจจัย ระยะสั้น ทั้งจากแรงต้านในต่างประเทศและในประเทศ โดย ภาคส่งออกของไทย ได้รับผลกระทบจากการที่เศรษฐกิจ สหรัฐและยุโรปยังฟื้นตัวได้ไม่ดีนัก ตลอดจนจากจีนที่ชะลอ ลงกว่าที่หลายคาด ทำให้ปีนี้ภาคการส่งออกที่เคยคิดว่าจะ ขยายตัวได้ 8-9% กลับขยายตัวจริงๆ เพียงแค่ 1-2% เท่านั้น สำหรับแรงต้านในประเทศ สิ่งที่เกิดขึ้น ก็นับว่าเกิน ความคาดหมายของหลายคน โดยเรามักจะได้ยินผู้ประ กอบการบ่นตรงกันว่า “ปีนี้ กำลังซื้อหายไป ทำเป้าไม่ได้” แม้กระทั่งภาคอสังหาฯ ที่เคยเฟื่องฟูมากในช่วงต้นปี ก็กลับ แผ่วลงในช่วงครึ่งหลัง ที่เป็นเช่นนี้ก็เพราะ ผู้บริโภคส่วน หนึ่งมีภาระเพิ่มขึ้นจากการผ่อนชำระรถที่เร่งซื้อกันไปกว่า 1 ล้านกว่าคันเมื่อปีที่ผ่านมา รวมไปถึงค่าใช้จ่ายจากการ ดูแลรถ น้ำมัน ค่ากรมธรรม์ รวมแล้วเป็นกำลังซื้อที่หายไป ในแต่ละเดือนไม่ต่ำกว่า 15,000 ล้านบาท พร้อมกันนี้ กลุ่มคนที่รวยขึ้นมาหน่อย มีเงินพอที่จะไปลงทุนในตลาดหุ้น (โดยเฉพาะหน้าใหม่ที่ดาหน้าเข้าลงทุนในปีนี้) ก็เผชิญ ปัญหาหุ้นที่ตกหลายรอบ ทำให้ความสามารถในการจับจ่าย ลงทุนในสินทรัพย์ต่างๆ ลดลงไปมาก ดร.กอบศักดิ์ ภูตระกูล ผูŒช‹วยผูŒจัดการใหญ‹ ธนาคารกรุงเทพ จำกัด (มหาชน) ในประเด็นนี้ เราคงต้องให้เวลาอีกระยะเพื่อ เศรษฐกิจโลกจะปรับตัวดีขึ้น และรายได้ผู้บริโภคของไทย เพิ่มขึ้น อันจะเอื้อให้สามารถดูแลภาระหนี้ต่างๆ พร้อมมี กำลังซื้อไปขับเคลื่อนยอดขายในระบบอีกรอบ 2. ท่ามกลางความผันผวน เศรษฐกิจไทยบางส่วน ยังขยายตัวได้ดี และ Potential ในระยะยาวของไทยยังคง ดีอยู่ โดยเฉพาะ (1) ภาคท่องเที่ยวขยายตัวได้ดีมาก จาก นักท่องเที่ยวจีน รัสเซีย และมาเลเซีย (2) ต่างจังหวัดที่ เจริญขึ้นมาอย่างต่อเนื่อง ดังเห็นได้จากยอดคงค้างสินเชื่อ ในพื้นที่ดังกล่าวในเดือนสิงหาคม ซึ่งขยายตัวได้ถึง 12.6% เทียบกับเมื่อปลายปี 56 และ 20.3% เทียบกับเมื่อ 12 เดือนก่อนหน้า ขณะที่ตัวเลขดังกล่าวของกรุงเทพขยาย ตัวได้เพียง 3.9% และ 6.7% ตามลำดับ (3) กิจการค้า ชายแดนกับประเทศในลุ่มแม่น้ำโขงที่คึกคัก ได้รับอานิสงส์ จากความเชื่อมโยงทางการคมนาคม ถนนหนทางที่ดีขึ้น เรื่อยๆ และ (4) การลงทุนจากต่างประเทศมายังไทย ทั้ง
  • 7. 9 Guru มองทิศเศรษฐกิจการลงทุน 2557 : 5 GNP Debt Bank Debt Bank Economic GDP จากนักลงทุนชาวญี่ปุ่น จีน สหรัฐ ยุโรป ซึ่งในช่วง 8 เดือน แรก ยอดมูลค่าของโครงการที่มีการยืนคำขอรับการส่งเสริม จาก BOI เพิ่มขึ้นประมาณ 15% โดยนักลงทุนบางส่วน นอกจากมุ่งผลิตเพื่อขายในประเทศและส่งออกแล้วยัง ใช้ไทยเป็นฐานในการบุกเข้าสู่อาเซียนและประเทศใน ลุ่มแม่น้ำโขงอีกด้วย ทั้งนี้ สำหรับภายในประเทศ เมื่อโครงการลงทุน ขนาดใหญ่ของภาครัฐมีความชัดเจนขึ้น นำไปสู่การลงทุน จริง ภาคเอกชนก็จะเริ่มกระบวนการลงทุน เพื่อรองรับ โครงการต่างๆ ดังกล่าว ซึ่งจะช่วยนำพาไทยเข้าสู่ยุคการ ลงทุนรอบใหม่ ที่จะเชื่อมโยงภูมิภาค จังหวัดต่างๆ ของ ไทยเข้าด้วยกัน และเปิดโอกาสใหม่ทางธุรกิจในพื้นที่ต่างๆ และเปิดโอกาสให้กับแบงก์ในส่วนของสินเชื่อธุรกิจทั้ง ขนาดใหญ่ กลาง เล็ก ส่วนในภูมิภาค window ที่เปิดขึ้นทางธุรกิจสำหรับ การก้าวออกไปลงทุนใน AEC ยังคงดีอยู่เช่นเดิม โดยประเทศ รอบๆ ข้างไทย อย่างลาว กัมพูชา พม่า เวียดนาม รวม ไปถึงจีนตะวันตก กำลังขยายตัวอย่างดียิ่ง โดยใน 2 ปี ข้างหน้า จะขยายตัวได้ประมาณ 8% 7% 7% 5.5% และมากกว่า 7% ตามลำดับ จึงกล่าวได้ว่า รอบนี้เป็น ช่วงที่ดีที่สุดในเชิงธุรกิจในหลายๆ สิบปีที่ผ่านมา ที่บริษัท ไทยจะนำข้อได้เปรียบในเชิงเทคโนโลยี ความรู้ เครือข่าย และการบริหารจัดการธุรกิจ ที่เราสั่งสมมาและนำหน้า ประเทศอื่นๆ เกือบ 15-20 ปี มาใช้ยึดหัวหาด วางหลัก ปักฐานในภูมิภาคนี้ ซึ่งจะช่วยเปิดโอกาสให้แบงก์ไทยรุก เข้าสู่ภูมิภาคและ AEC เช่นกัน 3. คุณภาพสินทรัพย์ที่หลายคนเริ่มกังวลใจว่าจะมี ปัญหานั้น ก่อตัวขึ้นเพียงบางจุด และอยู่ในช่วงเริ่มแรก เท่านั้น โดยหนี้เสียในระบบยังคงอยู่ในระดับต่ำที่ประมาณ 2.2% โดยจุดที่หนี้เสียมีการเพิ่มขึ้น ก็คือ ในกลุ่มสินเชื่อ อุปโภคบริโภค ที่เพิ่มขึ้นเล็กน้อย จากเดิมที่ 1.9% ในปี 55 มาที่ 2.1% ในไตรมาสที่ 2 ของปี 56 โดยเฉพาะในส่วน สินเชื่อเพื่อเช่าซื้อรถยนต์และสินเชื่อส่วนบุคคล ที่มีหนี้เสีย และสินเชื่อจัดชั้นกล่าวถึงเป็นพิเศษเพิ่มขึ้นบ้างในช่วงที่ ผ่านมา ทั้งนี้ เมื่อประกอบกับข้อมูลแบงก์ชาติที่พบว่า สัดส่วนหนี้ครัวเรือนในระบบได้เพิ่มขึ้นต่อเนื่อง ล่าสุดอยู่ที่ ประมาณ 80% ของ GDP อันจะทำให้ความสามารถในกา รกู้ยืมและชำระหนี้ของผู้บริโภคลดลง ซึ่งหมายความต่อว่า เราต้องติดตามจับตามองประเด็นนี้อย่างใกล้ชิดในช่วง ต่อไป 4. ความเสี่ยงหลักที่เราต้องกังวลใจจริงๆ ในปี 57 อยู่ที่การชะลอการอัดฉีดสภาพคล่องของธนาคารกลาง สหรัฐ และปัญหาการเมืองของไทย โดยเศรษฐกิจสหรัฐที่ ปรับตัวดีขึ้นต่อเนื่อง ท้ายสุดจะนำมาซึ่งการปรับลดการอัด ฉีดสภาพคล่องเข้าสู่ระบบหรือที่เรียกกันว่า QE Tapering อันจะเป็นจุดเปลี่ยนสำคัญ นำมาซึ่งความผันผวนของราคา สินทรัพย์ต่างๆ ค่าเงิน และกระทบต่อประเทศที่พึ่งพาเงินที่ ไหลเข้ามาลงทุน และมีความเปราะบางสะสมไว้ในระบบ อย่างเช่น อินเดีย อินโดนีเซีย และตลาดประเทศเกิดใหม่ อย่างหลีกเลี่ยงไม่ได้ ดังที่ได้เกิดขึ้นมาแล้วรอบหนึ่งในช่วง ครึ่งหลังของปีนี้ ส่วนปัญหาการเมืองในประเทศ ซึ่งเริ่มคุกรุ่นขึ้นใน ช่วงปลายปี หากไม่สามารถตกลงกันได้ ลุกลาม บานปลาย จะส่งผลกระทบต่อภาคการท่องเที่ยว การบริโภคภาคเอกชน ความน่าสนใจของไทยในสายตานักลงทุนต่างชาติ รวมทั้ง จะมีนัยต่อไปถึงความสามารถของรัฐบาลในการ ขับเคลื่อนโครงการลงทุนในโครงสร้างพื้นฐาน การบริหาร จัดการน้ำ และการลงทุนของภาคเอกชนที่จะเข้ามาสนับสนุน ได้แต่หวังว่า ประเทศไทยจะสามารถประคอง ตัวเองได้ภายใต้ความเสี่ยงทั้งสอง โดยฐานะการเงินที่ เข้มแข็งของภาคธุรกิจแบงก์ เศรษฐกิจไทยจะช่วย รองรับกับแรงกระแทกต่างๆ ที่จะเกิดขึ้น และนำพาเรา ฟันฝ่ามรสุมจากนอกและในประเทศไปยังฟ้าหลังฝน ที่สดใสของ AEC ที่รอเราอยู่ก็ขอเอาใจช่วยครับ
  • 8. Macroeconomic GNP GD Equity Market Investmen Marke ดร.ศุภวุฒิ สายเชื้อ กรรมการผูŒจัดการ หัวหนŒาสายงานวèจัย บรèษัทหลักทรัพย ภัทร จำกัด (มหาชน) ทิศทางการลงทุน ในตลาดทุนไทPublic Debt ยปี 2557 Exchange Investment ทิศทางเศรษฐกิจและการลงทุนในปี 2557 นั้น มีความไม่แน่นอนและความเสี่ยงค่อนข้างสูง โดยเฉพาะในครึ่งแรกของปี 2557 GNP ทั้งจากปัจจัยการเมือง และเศรษฐกิจทั้งภายในและภายนอก ซึ่งจะมีผลในการ กำหนดทิศทางของตลาดหุ้น (top-down factors) ดังนี้ Economic 6 : 9 Guru มองทิศเศรษฐกิจการลงทุน 2557 Equity Market Investment Microeconomic GNP GDP GDP CPI GDP GNP Investment GNP Inflation GDP Public Debt Public Debt Public Debt Economic Gold GDP Equity Market Investment Microeconomic Value Investor CPI Mega Trend Mega Trend Equity Market 1. ปัจจัยทางการเมือง ปัจจัยทางการเมืองเป็นเรื่องการคาดการณ์ได้ยาก ลำบากที่สุด แต่อาจสรุปได้ว่าสถานะทางการเมืองของ รัฐบาลด้อยลงอันเป็นผลพวงจากความพยายามผ่านร่าง กฎหมายนิรโทษกรรมแบบ “เหมาเข่ง” และในที่สุดก็ต้อง ยุติการผลักดันร่างกฎหมายดังกล่าว เพราะกระแสต่อต้าน อย่างมากทั้งจากฝ่ายที่เป็นปรปักษ์กับรัฐบาลอยู่ก่อนแล้ว และฝ่ายที่เคยสนับสนุนรัฐบาล ตลอดจนกลุ่มบุคคลและ องค์กรต่างๆ อย่างแพร่หลาย โดยอาจสรุปได้ว่ารัฐบาลคง จะต้องเพียรพยามอย่างมากที่จะทำให้ความเชื่อมั่นทาง การเมืองกลับคืนมาในปี 2557 และหากไม่สำเร็จก็มีความ เป็นไปได้ที่การเมืองจะมีความผันผวนต่อไป โดยอาจมีความ จำเป็นต้องยุบสภาซึ่งจะทำให้เกิดสุญญากาศทางการเมือง และการขับเคลื่อนนโยบายเศรษฐกิจล่าช้าเกินกว่าคาดได้ 2. ปัจจัยภายในประเทศด้านเศรษฐกิจ เศรษฐกิจไทยในปี 2556 นั้นมิได้ฟื้นตัวจากจุดต่ำ สุดในไตรมาส 2 มากนัก ทำให้คาดว่าเศรษฐกิจไทยขยายตัว เพียง 3% และปี 2557 จะขยายตัวประมาณ 4.5-5.0% แต่ ก็มีความเสี่ยงว่าจะขยายตัวได้ต่ำกว่านั้น เพราะการคาด การณ์ดังกล่าวตั้งอยู่บนเงื่อนไขหลัก 2 ประการคือ การส่ง ออกของไทยจะต้องขยายตัวประมาณ 7% เมื่อคิดเป็นเงิน เหรียญ และการลงทุนภาครัฐ (โดยเฉพาะการลงทุนใน โครงสร้างพื้นฐานด้านการขนส่ง 2 ล้านล้านบาท) จะต้อง เกิดขึ้นภายในกลางปีหน้าเป็นอย่างช้า ซึ่งปัจจัยทั้งสองยังมี ความไม่แน่นอนสูง โดยการส่งออกนั้นแม้ว่าเศรษฐกิจโลก
  • 9. 9 Guru มองทิศเศรษฐกิจการลงทุน 2557 : 7 Market GNP Debt Trend GDP Debt Economic GDP จะปรับตัวดีขึ้นเป็นลำดับแต่การส่งออกของไทยนั้นขยาย ตัวต่ำผิดคาดและทำให้ผิดหวังติดต่อกันมา 2 ปีแล้ว ส่วน การลงทุนภาครัฐก็ขึ้นอยู่กับเสถียรภาพของรัฐบาล ซึ่งถูก สั่นคลอนด้วยปัจจัยทางการเมืองที่คาดการณ์ได้ยาก ขณะ ที่การลงทุนที่ผ่านมาก็ล่าช้าไม่เป็นไปตามกำหนดการ เช่น การลงทุนในโครงการบริหารจัดการน้ำมูลค่า 350,000 ล้าน บาท เป็นต้น 3. ปัจจัยด้านนโยบายเศรษฐกิจมหภาค ปัจจัยนโยบายเศรษฐกิจมหภาคนั้นอาจเป็นปัจจัย ที่จะส่งผลกระทบต่อตลาดทุนมากที่สุดในปี 2557 โดย นโยบายมหภาคที่น่าจะกระทบกับแนวโน้มการลงทุนใน ตลาดทุนมากที่สุด คือการลดทอนนโยบายการเงินเชิงปริมาณ (หรือคิวอี) ของธนาคารกลางของสหรัฐ ทั้งนี้นักลงทุนอาจ วางใจมากเกินไป ว่าธนาคารกลางสหรัฐจะยังพิมพ์เงินออก มาซื้อพันธบัตรอย่างต่อเนื่องและลดทอนคิวอีอย่าง เชื่องช้า แต่หากเศรษฐกิจสหรัฐพลิกฟื้นได้เร็วก็อาจเห็นการ ลดทอนคิวอีในอัตราเร่งกว่าที่ตลาดคาดการณ์ก็เป็นได้ ซึ่งจะส่งผลกระทบต่อประเทศตลาดเกิดใหม่อย่างไทยเป็น ทวีคูณผ่านการไหลออกอย่างรวดเร็วของเงินทุนทั้งจาก ตลาดพันธบัตรและตลาดหุ้น กล่าวคือการลดทอนคิวอีที่ผิด ความคาดหมายอาจทำให้ดอกเบี้ยระยะยาวของไทยปรับ ตัวสูงขึ้นอย่างฉับพลันพร้อมกับการอ่อนตัวของค่าเงินบาท ทำให้ต่างชาติขายหุ้นไทยออกมาอย่างรวดเร็ว ซึ่งจะยิ่งทำ ให้ความผันผวนเพิ่มขึ้น นอกจากนั้นปัญหาความขัดแย้ง ด้านนโยบายการคลังของสหรัฐก็อาจปะทุขึ้นอีกได้ในครึ่ง แรกของปี 2557 ซึ่งจะเพิ่มความผันผวนให้กับตลาดทุน ทั่วโลกรวมทั้งไทย สำหรับนโยบายเศรษฐกิจมหภาคของไทยนั้นก็ ไม่อาจเป็นปัจจัยที่จะเกื้อกูลตลาดทุนได้มากนัก เพราะนัก ลงทุนได้คาดการณ์ไว้แล้วว่ารัฐบาลจะต้องเร่งการลงทุน ของภาครัฐดังที่กล่าวข้างต้น แต่ในระหว่างที่การลงทุนยัง ไม่สามารถเกิดขึ้นได้ในทางปฏิบัติ ไม่น่าจะมีมาตรการ กระตุ้นเศรษฐกิจอื่นๆออกมาได้ เพราะมาตรการกระตุ้น ต่างๆ ก็ได้ทำมาจนครบถ้วนแล้วและบางนโยบายเช่น มาตรการจำนำข้าวก็เป็นสิ่งที่รัฐบาลพยายามลดขนาดลง มากกว่าเพิ่ม ส่วนนโยบายการเงินก็มิได้ต้องการกระตุ้น เศรษฐกิจ เพราะธนาคารแห่งประเทศไทย (ธปท.) มีจุดยืน ที่ชัดเจนว่าดอกเบี้ยนโยบายอยู่ในระดับที่เหมาะสมในการ สนับสนุนการฟื้นตัวของเศรษฐกิจแล้ว (แม้ว่าเศรษฐกิจ จะฟื้นตัวช้ากว่าที่คาดการณ์เอาไว้และเงินเฟ้อปรับลด ลง ทำให้ดอกเบี้ย “จริง” ปรับเพิ่มขึ้น) ที่สำคัญคือธปท. เห็นว่าครัวเรือนมีหนี้สินสูงถึงขีดที่น่าเป็นห่วงแล้วจึงไม่ควร สนับสนุน นอกจากนั้นธปท.ก็ยังคาดการณ์ว่าประเทศไทย จะขาดดุลบัญชีเดินสะพัดประมาณ 1.5-2.0% ของจีดีพี ทำให้ต้องดำเนินนโยบายทางการเงินที่เน้นเสถียรภาพมาก กว่าการสนับสนุนให้เศรษฐกิจขยายตัวเพิ่มขึ้น ซึ่งจะไม่ เอื้ออำนวยมากนักให้ราคาหุ้นปรับตัวเพิ่มขึ้น 4. ข้อสรุปด้านการลงทุน การลงทุนในตลาดหุ้นในปี 2557 น่าจะยังมีความ ผันผวนสูงและได้ผลตอบแทนที่จำกัด แต่ก็ยังจะมีโอกาส ที่จะให้ผลตอบแทนสูงกว่าการลงทุนในพันธบัตร เพราะ ราคาพันธบัตรน่าจะปรับลดลงจากผลของการลดทอนคิวอี ที่จะเกิดขึ้นอย่างต่อเนื่องในปี 2557 อุตสาหกรรมที่ยัง โดดเด่นต่อไปในประเทศไทยคืออุตสาหกรรมท่องเที่ยวและ อุตสาหกรรมชิ้นส่วนรถยนต์และอุตสาหกรรมอาหาร ซึ่ง น่าจะได้อานิสงค์จากการฟื้นตัวของการส่งออก แต่บริษัท ต่างๆ ในตลาดหลักทรัพย์นั้นอาจมีผลประกอบการที่ขยาย ตัวไม่สูงมากนักในปี 2557 ซึ่งจะทำให้ราคาหุ้นโดยรวม ปรับตัวเพิ่มขึ้นได้ในขอบเขตที่จำกัด นอกจากนั้นปัจจัยมหภาคดังที่กล่าวข้างต้น จะเป็นปัจจัยในเชิงลบมากกว่าปัจจัยในเชิงบวกและ น่าจะทำให้ตลาดหุ้นมีความผันผวนสูงโดยเฉพาะใน ครึ่งแรกของปี 2557
  • 10. Inflation Macroeconomic ROE ดร.นิเวศน เหมวชิรวรากร นักลงทุนเนŒนคุณค‹า Exchange Investment ทิศทางการลงทุน แบบ VI ปี 2557 การลงทุนในปี 2557 ที่จะถึงนี้คงจะเป็นปีที่น่า ท้าทายสำหรับ Value Investor อยู่ไม่น้อย เหตุผลนั้น มีอยู่หลายประการ GNP Margin ประการแรกที่ผมคิดว่าสำคัญกว่าเรื่องอื่น ๆ ก็คือ Return 8 : 9 Guru มองทิศเศรษฐกิจการลงทุน 2557 DCA VI Microeconomic GNP VI EPS Capital Stock GDP PE Inflation DCA Economic ROE Yield Yield Investment Public Debt Economic ROE Profit Economic Inflation Capital Value Investor CPI Stock Mega Trend Wealth ปีหน้าอาจเป็นปีที่ตลาดหุ้นไทยได้ปรับตัวขึ้นมาสูงมาก ติดต่อกันมาถึง 5 ปี จากดัชนีที่ 450 จุดเมื่อสิ้นปี 2551 ขึ้นมาเป็นประมาณ 1450 จุดในปลายปี 2556 หรือขึ้นมา ถึงกว่า 3 เท่าในเวลาเพียง 5 ปี คิดเป็นการเพิ่มขึ้นแบบ ทบต้นปีละประมาณ 26% ซึ่งถือว่าเป็นช่วงที่ตลาดหุ้นบูม อย่างหนัก ในอดีตนั้น ตลาดหุ้นไทยค่อนข้างจะผันผวนมาก ดัชนีตลาดหุ้นมักจะขึ้นลงค่อนข้างเร็วปีต่อปี เวลาที่หุ้นขึ้น ไปปีหรือสองสามปีมันก็มักจะปรับตัวลงกลายเป็นติดลบ สถิติตลาดหุ้นไทยในช่วง 38 ปีที่ผ่านมานั้น มีปีที่ดัชนีเป็น บวก 21 ปี และปีที่ดัชนีติดลบ 17 ปี หรือคิดเป็นอัตราส่วน ประมาณ 1 ต่อ 1.2 นั่นก็คือ โดยเฉลี่ยตลาดปรับตัวขึ้นไป 1.2 ปี ก็จะปรับตัวลดลงประมาณ 1 ปี ซึ่งต้องถือว่าในช่วง ที่ผ่านมาเร็ว ๆ นี้ ตลาดได้ปรับตัวขึ้นไปยาวเกินกว่าสถิติใน อดีต และดังนั้น สำหรับผมแล้ว มันจึงเป็นช่วงอันตราย ของตลาดหุ้นที่ดัชนีตลาดอาจจะปรับตัวลงในปี 2557 และ ในเมื่อการปรับตัวขึ้นก่อนหน้านี้เป็นการปรับตัวขึ้นไปมาก ดังนั้น ก็อาจเป็นไปได้ว่ามันก็อาจจะปรับตัวลงมามากได้ เช่นกัน นี่ก็พูดแบบดูจากสถิติซึ่งคนก็อาจจะดูว่าเหตุผลยัง ไม่เพียงพอ แต่สิ่งที่ทำให้ผมกังวลมากกว่าเรื่องของสถิติก็คือ ระดับราคาหุ้นในตลาดที่ค่อนข้างสูงหรือพูดง่าย ๆ ว่าหุ้น ค่อนข้างแพงวัดจากค่า PE ของตลาดที่สูงถึงประมาณ 15- 16 เท่า เทียบกับสถิติค่า PE ตลาดในอดีตที่ประมาณไม่เกิน 10-12 เท่า การที่หุ้นมีราคาแพงนั้นมักจะเกิดขึ้นเมื่อคนมอง หุ้นในแง่ดี คนคิดว่าผลประกอบการของบริษัทจดทะเบียน ในอนาคตจะเติบโตได้ดี ยิ่งเติบโตสูง ตลาดก็สามารถมีค่า PE ที่สูงขึ้นไปได้มากเท่านั้น นอกจากนั้น ค่า PE ของตลาด ยังขึ้นกับอัตราดอกเบี้ยในท้องตลาดด้วย นั่นก็คือ ถ้าอัตรา ...นนิิิเเเววเเเหหEวชcิิิoรรราาาnรomic
  • 11. 9 Guru มองทิศเศรษฐกิจการลงทุน 2557 : 9 GNP Debt Stock GDP Yield Economic VI ดอกเบี้ยสูง คนก็มักจะย้ายเงินไปฝากแบงก์เพิ่มขึ้นส่งผล ให้หุ้นถูกขายออกมาและทำให้ราคาลดลง ค่า PE จึงต่ำลง ในทางตรงกันข้าม ในภาวะที่อัตราดอกเบี้ยค่อนข้างต่ำมาก อย่างในช่วงหลายปีมานี้ คนก็มักจะถอนเงินมาลงทุนในหุ้น ส่งผลให้ราคาหุ้นปรับตัวขึ้นทำให้ค่า PE ของตลาดสูงขึ้น สรุปแล้ว การที่หุ้นในตลาดแพงในช่วงนี้นั้น น่าจะมีสาเหตุ จากการที่อัตราดอกเบี้ยต่ำและนักลงทุนคาดการณ์กัน ว่าผลประกอบการของบริษัทจดทะเบียนจะเติบโตดีอย่าง ที่เป็นมาในช่วง 4-5 ปีที่ผ่านมา อย่างไรก็ตาม ถ้าหากว่า ผลประกอบการในปี 2557 นั้นไม่ได้เติบโตดีอย่างที่ตลาด คาด และถ้าธนาคารกลางของสหรัฐหรือเฟดลดการทำ QE หรือลดการอัดฉีดเงินเข้าสู่ระบบอย่างที่คาดการณ์กันว่า จะเกิดขึ้นในต้นปี 2557 ทำให้อัตราดอกเบี้ยปรับตัวขึ้น นัก ลงทุนก็อาจจะเทขายหุ้นทำให้ราคาหุ้นลดลงและทำให้ ค่า PE ของตลาดหุ้นไทยลดลงมาสู่ระดับปกติ ผลก็คือ ดัชนีตลาดอาจจะลดลงได้มากถึง 10-20% ได้อย่างง่าย ๆ เหตุผลที่ผลประกอบการของบริษัทจดทะเบียน อาจจะไม่โตอย่างที่คิดนั้น อาจจะเกิดขึ้นได้เนื่องจากภาวะ เศรษฐกิจของไทยในปี 2557 นั้นอาจจะไม่สดใสนัก เนื่อง จากภาวะเศรษฐกิจโลกเองก็อาจจะยังไม่ฟื้นตัวนักทำ ให้การส่งออกของไทยไม่ดีและไม่สามารถเป็นตัวเพิ่ม การเติบโตของ GDP ได้ นั่นประการหนึ่ง ประการที่สอง การใช้จ่ายภาครัฐเองนั้นก็อาจจะไม่สามารถเพิ่มได้เท่าไร นักเนื่องจากโครงการลงทุนขนาดใหญ่ต่าง ๆ ที่วางแผนไว้ อาจจะเกิดอุปสรรคทางด้านการเมืองและกฎระเบียบ ต่าง ๆ ที่ทำให้โครงการล่าช้า ประการที่สาม ด้านของการ ลงทุนและการบริโภคของเอกชนเองก็อาจจะไม่เติบโตมาก นักเนื่องจากการใช้จ่ายในอดีตที่ทำให้ผู้บริโภคมีภาระ หนี้มาก เช่น จากโครงการรถคันแรกและการซื้อบ้าน ซึ่ง อาจจะทำให้คนไม่มีกำลังหรืออยากใช้จ่ายมากนัก ผลก็ คือเศรษฐกิจไทยอาจจะเติบโตช้าและทำให้บริษัทจด ทะเบียนไม่สามารถเพิ่มยอดขายและกำไรได้อย่างที่คาดไว้ ถ้าหากเกิดสถานการณ์ดังกล่าวและทำให้ตลาด หุ้นปรับตัวลดลง เราจะมีทางออกหรือกลยุทธ์การลงทุน อย่างไร? คำตอบของผมก็คือ ถ้าเรารู้จริง เราก็ควรจะขาย หุ้นออกไป เพราะในช่วงที่ตลาดหุ้นตกหนักนั้น ก็เป็นเรื่อง ยากที่เราจะทำกำไรจากการถือหุ้นได้ แต่ประเด็นก็คือ เรา ไม่มีทางรู้อนาคตได้แม่นยำ สิ่งต่าง ๆ ที่เราคาดการณ์และ เรากลัวนั้น อาจจะไม่เกิดหรือเกิดก็อาจจะน้อย ตลาดหุ้น อาจจะไม่ตกลงมาหรือตกลงมาน้อย และในทางตรงกันข้าม ดัชนีอาจจะวิ่งขึ้นไปมากเนื่องจากเราคาดการณ์ภาวะ เศรษฐกิจและการเงินผิด ดังนั้น การขายหุ้นออกไปจึงอาจ จะไม่ใช่กลยุทธ์ที่ดีก็ได้ สำหรับผมแล้ว ทางเลือกที่อาจจะ ดีกว่าก็คือ การเลือกลงทุนในหุ้นที่มีลักษณะ Defensive นั่นก็คือการ หาหุ้นที่ปลอดภัยจากภาวะความตกต่ำทาง เศรษฐกิจมากกว่าค่าเฉลี่ย นั่นหมายความว่าบริษัทขาย สินค้าที่มีความจำเป็นในชีวิตประจำวันและไม่สามารถ เลื่อนการบริโภคได้นานนั่นประการหนึ่ง ประการที่สองก็คือ หาหุ้นที่เติบโตเนื่องจากการ เปลี่ยนแปลงของพฤติกรรมของคน นี่คือบริษัทที่ขายสินค้า ที่เป็นเทรนใหม่ของคน และยังมีคนจำนวนไม่น้อยยังไม่ได้ ใช้บริการเนื่องจากปัญหาบางอย่างเช่นในเรื่องของ Lgistic ซึ่งบริษัทสามารถแก้ไขหรือให้บริการได้ เช่น การขยายสาขา ให้เข้าถึงผู้บริโภคเป็นต้น ในลักษณะนี้ บริษัทก็จะยัง สามารถรักษายอดขายหรือเติบโตต่อไปได้แม้ว่าเศรษฐกิจ จะชะลอตัวลง และดังนั้น แม้ว่าการเติบโตของบริษัทจะ ช้าลงถ้าเศรษฐกิจซบเซาแต่มันก็จะยังโตอยู่ และข้อได้ เปรียบอีกอย่างหนึ่งก็คือ บริษัทจะสามารถสร้างฐานที่มั่นคง ที่จะเติบโตเร็วขึ้นเมื่อเศรษฐกิจฟื้นโดยที่คู่แข่งจะเข้ามาได้ ยากขึ้นในอนาคตเพราะตลาดจะถูกยึดกุมมากขึ้น หุ้นที่เข้าเกณฑ์สองประการดังกล่าวนั้น ผมดูแล้วส่วนใหญ่น่าจะอยู่ในกลุ่มของการบริโภค ภายในประเทศที่ขายสินค้าหรือบริการที่เป็นเทรนด์ ของคนรุ่นใหม่ และแน่นอน การเลือกหุ้นก็ควรจะเน้น บริษัทที่แข็งแรงที่สุดและเหนือกว่าคู่แข่งให้มากเพื่อ เป็นหลักประกันว่า ในกรณีที่เลวร้ายที่สุด บริษัทจะยัง อยู่ได้ปลอดภัยและมีกำไรอยู่ และเพื่อที่จะเป็นหลัก ประกันว่าหลังวิกฤติ บริษัทจะกลับมาด้วยขนาดที่ใหญ่ และแข็งแกร่งขึ้นไปอีก
  • 12. Proper Fund Fund Performance RMF Performan Performan Inflation Mutual Fund Mutual Fund Fun Proper Fund ทิศทางการลงทุน กองทุนรวม Fund ใน RMF ปี 2557 Trigger Fund กองทุน ปี 2557 มีแนวโน้มอย่างไร กองทุนในเมืองไทยมีจำนวนมากพอแล้ว มีกองทุน GNP ใหม่ๆ เกิดขึ้นมากในช่วง 4-5 ปีที่ผ่านมา บางกองก็เกิดแล้ว รุ่ง บางกองทุนเกิดแล้วแช่ไว้บนหิ้ง จะถอดออกก็ไม่ได้ จึง มองว่าจากนี้ไปลูกค้ากองทุนจะคัดเลือกกองทุนมากขึ้น ข้อมูลก็มีให้สืบค้นมากขึ้น ดังนั้น การนำเสนอกองทุนใหม่ๆ จึงต้องตอบโจทย์ให้ผู้ลงทุนให้ได้ และบลจ.ต้องมั่นใจว่าดี จริง เหมาะสมกับลูกค้าและความชำนาญของ บลจ. เอง ด้วย ProvidentFund 10 : 9 Guru มองทิศเศรษฐกิจการลงทุน 2557 LTF Finance ETF FIF RMF GNP Mutual Fund RMF Inflation GDP Public Debt Public Debt Public Debt Economic FIF GDP Economic Equity Fund Microeconomic q y Infrastructure Fund LTF Mega Trend Fund Performance Money Market การนำเสนอกองทุนก็น่าจะมีแนวโน้มตอบโจทย์ ลูกค้าเฉพาะกลุ่มมากขึ้น มากกว่าเดิมที่คิดว่านโยบายกอง ทุนนี้ดีแล้วตั้งกองทุนมาให้ขาย ต่อไปนี้ อุตสาหกรรมน่าจะ ขยายตลาดด้วยการนำกองทุนมาให้ผู้ลงทุนเลือก ถ้าชอบ ถูกใจ เหมาะกับแผนการลงทุนของตนเอง ลูกค้าก็จะซื้อ คือเป็นการเปลี่ยนจาก Product Oriented มาสู่ Clients Oriented ซึ่งหมายถึงว่าแต่ก่อนนี้ บลจ.จะผลิตกองทุนแล้ว ก็ไปอธิบายผู้ขายเพื่อให้นำสู่ตลาด คือเน้นที่ของๆ เราว่า ดีอย่างนั้น อย่างนี้ แต่ต่อไปนี้อุตสาหกรรมน่าจะพัฒนาไป ยังการสนองตอบต่อความต้องการของลูกค้ามากขึ้น เพราะ ตลาดทุนเน้นเรื่องทำให้ลูกค้ารู้จักวางแผนการเงินตนเอง ซึ่งเมื่อลูกค้ารู้จักตนเอง มีแผนการเงินตนเฉพาะเองและ ครอบครัวแล้ว เราก็สามารถเสนอกองทุนที่เรามีอยู่ให้เขา เลือกให้เหมาะกับตัวเขาได้ ซึ่งจะเป็นพัฒนาการที่ดีขึ้นต่อ ลูกค้าและอุตสาหกรรมด้วย ทั้งนี้ การจัดกลุ่มกองทุน การ นำเสนอ การโฆษณาประชาสัมพันธ์ และการแข่งขัน น่าจะ เน้นในรูปแบบที่ตอบโจทย์ลูกค้าเฉพาะกลุ่มมากขึ้น ขนาดที่ใหญ่ เครือข่ายที่กว้างขวาง เป็นข้อได้เปรียบ ในการ Penetrate ตลาด แต่ไม่ได้เป็นข้อจำกัดจนทำให้ บลจ. เล็กๆ จะเสียเปรียบไปทุกเรื่อง เพราะการทำให้ สาธารณชนเชื่อถือใน บลจ. ในหลายๆ มิติเป็นคำตอบ สำหรับธุรกิจจัดการกองทุน บลจ.ขนาดเล็กก็จะสามารถทำ ธุรกิจได้ดีหากจะขยับไปสู่การสร้าง Niche Market ที่เหมาะ คุณวรวรรณ ธาราภูมิ ประธานเจŒาหนŒาที่บรèหาร บรèษัทหลักทรัพยจัดการกองทุนรวม บัวหลวง จำกัด กับความสามารถพิเศษของตนเองให้มากขึ้น ดังนั้น ทุกคน ไม่จำเป็นต้องวิ่งแข่งในลู่เดียวกัน หากเสียเปรียบด้านหนึ่ง แต่มีจุดเด่นด้านหนึ่งก็สามารถชูจุดที่เหมาะสมของตนเป็น กลยุทธ์ธุรกิจได้ ตลาดยังกว้างมาก การทำให้สาธารณชนเชื่อถือ บลจ. ในหลายๆ มิติ หมายถึงเชื่อมั่นทั้งในผลการดำเนินงานระยะยาวของ กองทุนเพราะธุรกิจของเราเป็นการวิ่งมาราธอนไม่ใช่วิ่ง 100 เมตร รวมไปถึงทำให้เขาเชื่อมั่นในตัวตนของ บลจ. ด้วย อุตสาหกรรมจึงน่าจะชูนโยบายกับแนวทางบริหาร กองทุนและตัวตนหรือสไตล์ที่ บลจ. เป็นจริงๆ ให้มากขึ้น นี่จะเป็นสิ่งที่ให้คุณแก่ธุรกิจ และนี่คือสิ่งที่ลูกค้าจะคาดหวัง มากขึ้น ที่จริงแล้วมีความเชื่อเป็นส่วนตัวว่า อุตสาหกรรม ควรจะตั้งโจทย์ในการทำธุรกิจเป็น “ทำอย่างไรถึงจะให้ผู้ คนบริหารเงินของตนและครอบครัวให้เป็น ทำอย่างไรถึงจะ
  • 13. 9 Guru มองทิศเศรษฐกิจการลงทุน 2557 : 11 LTF Debt Trend RMF Debt Economic GDP ช่วยให้พวกเขาประสบผลสำเร็จตามเป้าหมายการเงินที่เขา ต้องการ” หากตั้งโจทย์ในการกำหนด Business Model แบบนี้เชื่อมั่นว่าจะดีต่อผู้ลงทุนและดีต่อทุกฝ่ายที่เกี่ยวข้อง ในระยะยาว ทั้งยังมีความยั่งยืนทางธุรกิจมากกว่าจะไป ตั้งโจทย์ว่า “ปีนี้เราต้องขายกองทุนเพิ่มอีก 30% หรือต้อง เพิ่มส่วนแบ่งตลาดอีกเท่าตัว” ฯลฯ คือเราควรมองไปที่ ประโยชน์ต่อลูกค้ามากกว่ามองมาที่กระเป๋าเงินเรา เพราะ โดยธรรมชาติของธุรกิจนี้คนที่จะยืนอยู่ได้ตลอดเส้นทาง ระยะยาวจะต้องคิดถึงประโยชน์ของลูกค้าเป็นที่ตั้ง การคัดเลือกกองทุนให้ชนะตลาด มีเทคนิคอย่างไร เวลาเปรียบเทียบผลงานมักจะใช้กับกองทุนหุ้น กองทุนผสม เน้นหุ้น หรือกองทุนทองคำ แต่อย่าลืมว่าสิ่งที่ ดีที่สุดคือสิ่งที่เหมาะกับตัวเรามากที่สุด ไม่จำเป็นต้องเลือก อะไรที่ได้ที่หนึ่ง หากมันไม่เหมาะกับเรา หมายถึงผู้ลงทุน ควรเริ่มที่การจัดสัดส่วนการลงทุนของตนเองก่อน กองทุนรวมเหมาะสำหรับการลงทุนในระยะยาว การเลือกกองทุนที่ดี ควรเป็นกองทุนที่ให้ผลตอบแทนที่ดีได้ ในระยะยาว มากกว่าที่ชนะในช่วงสั้น การเลือกลงทุนในกองทุนตราสารหนี้ หรือจะลงทุน เองโดยตรงโดยไม่ผ่านกองทุน รวมไปถึงการฝากเงินนั้นผู้ ลงทุนควรเน้นไปที่เรื่องความปลอดภัยของเงินต้นมากกว่า จะมองเพียงอัตราดอกเบี้ยสูงๆ เป็นที่ตั้ง ตัวอย่างเช่นฝากเงิน 3 ปี อัตราดอกเบี้ย 3.75% กับธนาคารที่มีอันดับเครดิต A ไม่ ได้แปลว่าจะแย่กว่าซื้อหุ้นกู้เอกชนอันดับเครดิต B 3 ปี อัตราดอกเบี้ย 5.75% เสมอไป เพราะระดับความสามารถ ในการคืนเงินต้นและชำระดอกเบี้ยของธนาคารในตัวอย่าง นี้ดีกว่าหุ้นกู้ที่ว่า ซึ่งหากเกิดอะไรขึ้นหุ้นกู้ที่ว่าก็จะชำระคืน เงินผู้ลงทุนไม่ได้ (Default) และมีความเสี่ยงสูงกว่าหุ้น ไปเลย เพราะถ้าลูกค้ายอมขายตัดขาดทุนก็มักหาคนซื้อไม่ ได้ การเลือกลงทุนกองทุนตราสารหนี้ก็เช่นกัน ให้ดูใส้ใน ด้วยว่ากองทุนเขาลงทุนในอะไร อย่าดูแค่ให้ผลตอบแทนที่ สูงกว่าเพียงอย่างเดียว ปัจจุบันมีหน่วยงานกลางจัดอันดับ ให้ Rating กองทุนมากขึ้น จึงเลือกดู เลือกกองทุนที่เหมาะกับแผน การเงินได้ดีขึ้น แต่พิจารณาด้วยว่าผู้จัดอันดับหรือรางวัล นั้นๆ น่าเชื่อถือเพียงใด ใช้เกณฑ์แบบไหนในการวัด ตลาดหุ้นผันผวนควรมีวิธีการลงทุนกองทุนอย่างไร การลงทุนที่ดีควรทำตามลำดับ ดังนี้ 1. ประเมินตนเองและกำหนดเป้าหมายการลงทุน ของเราก่อน (รู้จักตัวเองให้ดีเสียก่อน) 2. กำหนดสัดส่วนลงทุนให้รับกับข้อ 1 เช่น แบ่งเป็น หุ้น ทองคำ ตราสารหนี้ อสังหาฯ กี่ % เป็นต้น 3. เลือก บลจ. ที่มีนโยบายทำธุรกิจ มีผลงานกองทุน ในระยะยาวดี มีสไตล์การบริหารที่ตรงใจไว้ 2-3 บลจ. 4. เลือกกองทุนจาก บลจ. ต่างๆ ให้สอดรับกับ สัดส่วนลงทุนของเรา โดยดูผลงานระยะยาวเป็นหลัก 5. ลงทุนเป็นประจำทุกเดือนโดยสม่ำเสมอ เพราะ ช่วยลดปัญหาเรื่องตลาดผันผวนในช่วงสั้นๆ ได้ 6. อย่าหวั่นไหวกับสภาพตลาดระยะสั้น ให้มุ่ง เป้าหมายทางการเงินระยะยาวของเรา และดูผลงานกองทุน ได้แต่อย่ายึดติดกับช่วงสั้นที่อารมณ์ตลาดมักอยู่เหนือ เหตุผล ถ้าตั้งหลักดีแล้วเราจะไม่กลัวตลาดผันผวนในระยะ สั้น ยังหัวถึงหมอนนอนหลับสบาย และมองเห็นเป็นโอกาส มากกว่าอุปสรรค
  • 14. Real Estate Macroeconomic Property GNP Microeconomic Microeconomic ทิศทางการลงทุอสังหารþมทรัReal น ใน Estate พย์ ปี 2557 แนวโน้มภาคธุรกิจอสังหาริมทรัพย์ ปี 2557 Exchange Real Estate ภาพรวมตลาดที่อยู่อาศัยในประเทศไทยปี 2557 GNP คาดว่ามีการเติบโตเพิ่มขึ้นจากปี 2556 อยู่ที่ 5% คิดเป็น มูลค่า 640,000 ล้านบาท โดยต่างจังหวัดหัวเมืองใหญ่มี การเติบโตอย่างต่อเนื่อง ซึ่งมีปัจจัยสนับสนุนจากการพัฒนา ระบบโครงข่ายคมนาคมภายใต้งบประมาณ 2 ล้านล้านบาท โดยมีเป้าหมายในการเชื่อมโยงตลาดระหว่างกรุงเทพ- มหานครกับต่างจังหวัดเข้าด้วยกัน ส่งผลให้มีการขยายตัว ด้านการลงทุน มีการเติบโตด้านเศรษฐกิจสูง คนต่างจังหวัด มีรายได้ต่อครัวเรือนเพิ่มขึ้น แรงงานกลับสู่ท้องถิ่นมากขึ้น ส่งผลให้ความต้องการที่อยู่อาศัยในต่างจังหวัดเพิ่มมากขึ้น ด้วย โดยเฉพาะจังหวัดที่เป็นแหล่งท่องเที่ยวและมีความ สำคัญทางด้านเศรษฐกิจ เช่น เชียงใหม่ เชียงราย อุดรธานี นครราชสีมา ขอนแก่น ชลบุรี ระยอง นครศรีธรรมราช ภูเก็ต สงขลา เป็นต้น Economic 12 : 9 Guru มองทิศเศรษฐกิจการลงทุน 2557 GNP GDP Real Estate CPI GNP Property Property Inflation GDP Real Estate Public Debt Real Estate Public Debt Economic Property GDP Economic Property Microeconomic Value Investor Property ขณะที่ตลาดที่อยู่อาศัยในกรุงเทพฯ และปริมณฑล Estat Propert ในปี 2557 มีขนาดตลาดประมาณ 340,000 ล้านบาท โดย โครงการคอนโดมิเนียมยังครองส่วนแบ่งในตลาดคิดเป็น 55% แต่ราคาเฉลี่ยต่อยูนิตลดลง เนื่องจากโครงการระดับ กลาง-ล่าง (Economy – Middle) มีการเปิดตัวมากกว่าปี 2556 ประกอบกับผู้ประกอบการรายใหญ่หลายรายมีการ ปรับแผนธุรกิจมาพัฒนาโครงการคอนโดมิเนียมราคาถูก (Budget) เข้าสู่ตลาดมากขึ้น ขณะที่โครงการคอนโดมิเนียม ระดับ กลาง-บน (Middle – Luxury) คาดว่ายังคงได้รับการ ตอบรับที่ดี เนื่องจากตลาดกลุ่มนี้ได้รับผลกระทบจากความ ผันผวนทางเศรษฐกิจค่อนข้างต่ำ ส่วนโครงการที่อยู่อาศัย แนวราบราคาเฉลี่ยจะสูงขึ้น ผันแปรตามต้นทุนที่ดินที่ปรับ ตัวสูงขึ้น โดยเฉพาะทำเลในแนวเส้นทางรถไฟฟ้า ส่วน ทาวน์เฮาส์จะขยับเข้าสู่เมืองมากขึ้น ขณะที่บ้านเดี่ยวระดับ ราคา 3-5 ล้านบาท ยังคงมีความต้องการมากที่สุด แต่ใน การพัฒนาโครงการ อาจจะกระจายตัวอยู่ห่างจากเขตเมือง ออกไปสำหรับตลาดที่อยู่อาศัยระดับราคาสูงขึ้นไป คุณทองมา วèจèตรพงศพันธุ ประธานกรรมการบรèหาร และกรรมการผูŒจัดการ บรèษัท พฤกษา เรéยลเอสเตท จำกัด (มหาชน)
  • 15. 9 Guru มองทิศเศรษฐกิจการลงทุน 2557 : 13 GNP Debt Estate Debt Economic GDP (Upscale– Luxury) จะได้ผลกระทบน้อยที่สุด เนื่องจากลูก ค้ามีความมั่นคงทางด้านรายได้ ธุรกิจอสังหาริมทรัพย์มีผลต่อการขับเคลื่อน เศรษฐกิจไทยในปี 2557 ภาพรวมภาคธุรกิจอสังหาริมทรัพย์ในช่วง 5 ปีที่ ผ่านมา มีการเติบโตไม่ต่ำกว่า 7% ขณะที่ภาพรวมของ เศรษฐกิจไทยขยายตัวเฉลี่ย 3% ซึ่งมีการเติบโตไปในทิศ ทางเดียวกันกับเศรษฐกิจไทย และมีอัตราการเติบโตที่สูง กว่าเศรษฐกิจไทยมาโดยตลอด สำหรับภาคธุรกิจอสังหา ริมทรัพย์ปี 2557 คาดการณ์ว่ามีแนวโน้มการเติบโตอยู่ที่ 5% ในขณะที่เศรษฐกิจไทยปี 2557 นักเศรษฐศาสตร์คาด การณ์ว่ามีแนวโน้มการขยายตัวอยู่ในช่วง 4.5 – 5% ทั้งนี้ภาคธุรกิจอสังหาริมทรัพย์ เป็นตัวหลักสำคัญ ในการขับเคลื่อนเศรษฐกิจของประเทศ ซึ่งก่อให้เกิดหน่วย ธุรกิจอื่นๆ เช่น การจ้างแรงงาน การผลิตและการบริโภค ตลอดจนการพัฒนาที่ดินทำให้ขยายความเจริญออกไปสู่ บริเวณโดยรอบก่อให้เกิดการสร้างชุมชนสร้างสังคม และยัง ก่อให้เกิดการลงทุนในประเทศ แนวโน้มการลงทุนอสังหาริมทรัพย์ในปี 2557 •คอนโดมิเนียมที่อยู่อาศัยตามแนวเส้นทางของ รถไฟฟ้าส่วนต่อขยาย และตามแนวเส้นทางของรถไฟความ เร็วสูง รวมถึงจังหวัดที่เป็นแหล่งท่องเที่ยว •ที่อยู่อาศัยแนวราบและคอนโดมิเนียมระดับ ราคาไม่เกิน 2 ล้านบาท ซึ่งเป็นระดับราคาที่คนส่วนใหญ่มี กำลังซื้อ ปัจจัยความเสี่ยงต่อภาคธุรกิจอสังหาริมทรัพย์ • ความเข้มงวดในการอนุมัติสินเชื่อที่อยู่อาศัย ของธนาคารพาณิชย์ – สาเหตุมาจากการที่หนี้ภาคครัวเรือนเพิ่มสูงขึ้น ประกอบ กับลูกค้ามีการผิดชำระหนี้เพิ่มมากขึ้น เป็นเหตุให้ธนาคาร พาณิชย์ต้องเข้มงวดและระมัดระวังในการอนุมัติสินเชื่อที่ อยู่อาศัยมากขึ้นด้วย • อัตราดอกเบี้ยมีแนวโน้มปรับตัวเพิ่มขึ้นและ มีความผันผวนตามภาวะการเงินของโลก – ส่งผลต่อต้นทุนทางการเงินของผู้ประกอบการของธุรกิจ อสังหาริมทรัพย์ และอัตราดอกเบี้ยการกู้ซื้อที่อยู่อาศัยของ ลูกค้าที่ปรับตัวและผันผวนเพิ่มขึ้นตามไปด้วย • การประเมิน EIA – การประเมิน EIA มีกระบวนการและขั้นตอนที่ใช้เวลานาน ส่งผลให้การก่อสร้างล่าช้าและอาจต้องเลื่อนแผนการส่งมอ บอาคารชุดให้แก่ลูกค้าได้ • การขาดแคลนแรงงาน – เนื่องจากผู้ประกอบการเร่งเปิดโครงการใหม่เป็นจำนวน มาก ประกอบกับมีการลงทุนโครงสร้างพื้นฐานของภาครัฐฯ จึงทำให้แนวโน้มจะเกิดปัญหาขาดแคลนแรงงาน • ต้นทุนที่ดินและค่าก่อสร้างมีแนวโน้มเพิ่มขึ้น อย่างต่อเนื่อง – จากการที่ผู้ประกอบการมีการแข่งขันที่รุนแรง รวมถึงการ ขยายเสน้ทางของรถไฟฟา้ทำใหม้กีารเกง็กำไรในทดี่นิบรเิวณ ดังกล่าวเกินความเป็นจริง Tips ในการลงทุนอสังหาริมทรัพย์ • เลือกลงทุนในอสังหาริมทรัพย์ที่เป็นความต้อง การของกลุ่ม Real Demandหรือ First Home • พิจารณาถึงศักยภาพของทำเลที่ตั้งที่มีการเจริญ เติบโตของเศรษฐกิจ หรือทำเลที่มีโครงสร้างพื้นฐานและ ระบบสาธารณูปโภคที่ดีและครอบคลุมถึง • เลือกซื้อหุ้นของบริษัทพัฒนาอสังหาริมทรัพย์ที่มี ผลประกอบการที่ดี มีการบริหารงานด้วยทีมProfessional Management Team รวมทั้งมีการเติบโตที่ยั่งยืน (Sustainable Growth) และจ่ายเงินปันผลอย่างต่อเนื่อง รวมถึงบริษัทที่มีนโยบายเน้นการพัฒนาที่อยู่อาศัยที่เป็น กลุ่ม Real Demand ของผู้บริโภคอย่างแท้จริง
  • 16. GOLD Macroeconomic GNP GO Exchange ใใใใใสสนนัััััเเเเเนนนืืืืื่่่่่จจาาาาารราาาาาคคาาาาาคคำำำำำไไไไไปปผผูููููตติิิิิกกัััััตตัััััเเเเเลลเเเเเศศทิศทางการลงทุน ใน ทองคำำำ คคำ ปปี ปีีี 222555555t777 2557 สภาพตลาดทองคำที่ผ่านมา GขขOอองสหรรัััััฐอเเเเเLมมรริิิิิกกาาาาา Dนนนััััักววิิิิิเเเเเคครราาาาาะะะะะหห์์์์์โโโโโดดยททััััั่่่่่วไไไไไปปมมีีีีีคววาาาาามเเเเเหหห็็็็็นวว่่่่่าาาาา ใใในนปปีีีหนน้้้าาาตตัััวเเเลลขเเเศศรษฐกกิิิจของสหรรัััฐอเเเมมรริิิกกาาานน่่่าาาจจะะะดดีีีขขึึึ้้้น แแแลลละะะ ในปีน้าตัเลเศกิรัเมริกาน่าจะดีขึ้และ ในปี 2556 ที่ผ่านมา ราคาทองคำปรับตัวลดลง GNP ต่อเนื่องในช่วง 4 เดือนแรกจากความกังวลในการที่จะลด หรือยกเลิก QE ของสหรัฐอเมริกา จึงเกิดการปรับตัวตกอย่าง มากในช่วงสงกรานต์บ้านเรา คือภายในช่วงเวลา 3 วัน ราคา ทองคำปรับตัวลดลงรวมแล้วเท่ากับ 220 เหรียญ ทำให้ราคา ทองคำไทยในช่วง 4 เดือนแรกปรับตัวลดลงกว่า 20% จาก สาเหตุดังกล่าวข้างต้น รวมถึงการแข็งค่าของเงินบาทที่ แข็งค่าจากระดับ 31.50 บาท/ดอลลาร์ ลงมาที่ระดับ 28.80 บาท/ดอลลาร์นั่นเอง ในขณะที่ช่วงเดือน 5 และเดือน 6 เป็น ช่วงที่ราคาทองคำปรับตัวสูงขึ้นจาก Technical Rebound โดยปรับตัวสูงขึ้นมา 100 กว่าเหรียญ มายืนอยู่ที่บริเวณ 1,430 เหรียญ และอย่างไรก็ดีกลับมาปรับตัวลดลงอีกจาก ความกังวลที่มีการจะทยอยลด QE ที่เข้ามาซ้ำอีก Economic 14 : 9 Guru มองทิศเศรษฐกิจการลงทุน 2557 Economic Microeconomic Microeconomic GOLD ublic LD GDP GOLD Public Debt GOLD GDP GOLD Inflation GOLD Economic GOLD Public Debt Public Debt Public Debt Economic Gold GDP Economic Gold Microeconomic Value Investor GOLD Mega Trend Mega Trend Macroeconomic ปัจจัยหลักของปี 2556 ที่ทำให้ทองคำตกลงมาคือ ตัวเลขสหรัฐที่ดีขึ้นมาในเรื่องของคนว่างงาน จากระดับ 7.9% มาอยู่ที่ระดับ 7.5% ในช่วงเดือน 10 ส่งผลทำให้ นักลงทุนค่อยๆ ถอนเงินออกจากตลาดทองคำโดยเฉพาะ อย่างยิ่ง จาก SPDR ที่เป็นผู้ถือทองคำ Gold ETF รายใหญ่ของโลก ก็มีการขายออกมา จากต้นปีอยู่ที่ระดับ 1350.82 ตัน ในต้นปี 2556 เหลือเพียงประมาณ 882.23 ตันในช่วงกลางเดือนตุลาคม และยังมีแนวโน้มที่จะมีการ เทขายอย่างต่อเนื่องตลอดมา เรียกว่าใน 10 เดือนแรกของ ปี 2556 SPDR เทขายทองคำออกมาแล้วกว่า 35% ใน สภาวะของเดือนตุลาคม Debt Ceiling เป็นจุดสำคัญของ ตลาดที่จะให้ความสนใจและมีผลต่อราคาทองคำอย่าง ยิ่ง (ในขณะที่เขียนยังรอคำตอบของรัฐบาลโอบามาในการ แก้ไขปัญหา Debt Ceiling) อย่างไรก็ดีนักวิเคราะห์โดย ทั่วไปมองว่าน่าจะสามารถตกลงกันได้ คือการขยายเพดาน หนี้จากระดับ 16.7 ล้านล้านเหรียญสหรัฐอเมริกา รวมทั้ง ขยายระยะเวลาออกไป แนวโน้มราคาทองคำในปี 2557 MTS Gold คาดว่าแนวโน้มราคาทองคำน่าจะไม่ สดใสนัก เนื่องจากราคาทองคำไปผูกติดกับตัวเลขเศรษฐกิจ น.พ.กฤชรัตน หิรัณยศิรè ประธานกรรมการ บรèษัท เอ็มทีเอส โกลด จำกัด รัเมริกา นัวิเคราะห์โดทั่ไปมีวาเห็ว่า แน่นอนการทำ QE ก็น่าจะมีการลดน้อยถอยลงไปจนถึง หยุดในช่วงปลายปี 2557 นั่นหมายความว่า เงินที่จะสนับ สนุนการซื้อขายทองคำของฝั่งสหรัฐอเมริกาน่าจะหายไป รวมทั้งนักลงทุนใน ETF ของอเมริกาโดยเฉพาะอย่างยิ่งใน SPDR ที่ยังคงลดทอนการถือครองทองคำอย่างต่อเนื่อง ทำ ให้ Demand ซื้อทองคำในปี 2557 น่าจะปรับตัวลดลง แต่ อย่างไรก็ดีสิ่งที่จะเห็นได้ชัดคือ Demand ซื้อซึ่งได้โยกจาก ซีกโลกตะวันตกมายังซีกโลกตะวันออกนั่นก็คือ จีนและ อินเดียที่กลายเป็นผู้ซื้อและผู้สะสมทองคำมากในระดับโลก โดยเฉพาะอย่างยิ่งกำลังซื้อมาจากทางฝ่ายประชาชนที่เป็น นักลงทุน ไม่ได้มาจากกลุ่ม Central Bank ในภาวะการเงินของโลกปีหน้า ก็น่าจะยังคงมี ความผันผวนอย่างมาก นั่นหมายถึงค่าเงินดอลลาร์สหรัฐฯ น่าจะยังคงมีความผันผวนมากขึ้นและมากขึ้นเรื่อยๆ