SlideShare une entreprise Scribd logo
1  sur  34
Télécharger pour lire hors ligne
diaphragm
หากาลังขยายของกล้อง = กาลังขยายเลนส์ใกล้วัตถุ x กาลังขยายเลนส์ใกล้ตา
หาขนาดจริงของวัตถุ = ขนาดภาพที่ปรากฏในกล้องจุลทรรศน์
กาลังขยายของกล้องจุลทรรศน์
1. วางตัวกล้องบนพื้นราบที่มีความแข็งแรงและมีแสงสว่างเพียงพอ โดยให้ลากล้องตั้งตรง
2. หมุนเลนส์ใกล้วัตถุ โดยเลือกเลนส์ที่มีกาลังขยายต่าสุดมาใช้ก่อน
3. เปิดสวิตซ์หลอดไฟให้แสงส่องผ่านเข้าสู่ลากล้องได้เต็มที่ โดยมองผ่านเลนส์ใกล้ตาจะเห็นวงกลมสว่างที่สุด
4. วางแผ่นสไลด์ที่เตรียมไว้บนแท่นวางวัตถุ จัดวัตถุให้อยู่ตรงตาแหน่งที่มีแสงส่องผ่านได้ แล้วใช้ที่หนีบสไลด์
จับแผ่นสไลด์ให้แน่น
5. หมุนปุ่มปรับภาพหยาบจนเลนส์ใกล้วัตถุเลื่อนลงมาต่าสุด โดยไม่ชนแผ่นสไลด์
6. มองผ่านเลนส์ใกล้ตาแล้วค่อยๆ หมุนปุ่มปรับภาพหยาบเลื่อนขึ้นจนมองเห็นภาพของวัตถุปรากฏขึ้นชัดเจน
ที่สุด แล้วจึงหมุนปุ่มปรับภาพละเอียด ขณะนี้อาจเลื่อนแผ่นสไลด์เพื่อให้มองเห็นวัตถุในตาแหน่งที่เราสนใจ
อยู่ตรงกลางภาพพอดี
7. ถ้าต้องการขยายภาพให้มีขนาดใหญ่ขึ้น ให้หมุนเลนส์ใกล้วัตถุที่มีกาลังขยายสูงมาแทนที่ โดยไม่ต้องเลื่อน
แผ่นสไลด์ แล้วให้หมุนปุ่มปรับภาพละเอียด เพื่อปรับภาพให้ชัดเจนมากขึ้น (ห้ามใช้ปุ่มปรับภาพหยาบ)
8. ลักษณะภาพที่มองเห็นจากกล้องจุลทรรศน์ ภาพที่มองเห็นจะเป็นภาพเสมือนหัวกลับ
กับวัตถุ ดังนั้นถ้าต้องการเลื่อนภาพขึ้นด้านบนจะต้องเลื่อนสไลด์ลงด้านล่าง และเมื่อ
ต้องการเลื่อนภาพไปทางขวาต้องเลื่อนสไลด์ไปทางซ้าย
1. การยกกล้องเพื่อเคลื่อนย้าย ให้ใช้มือหนึ่งจับที่แขนของกล้อง อีกมือหนึ่งใช้รองที่ใต้ฐาน
และยกกล้องในลักษณะตั้งตรง
2. ขณะที่หมุนปุ่มปรับภาพหยาบเพื่อเลื่อนเลนส์ใกล้วัตถุลงใกล้แผ่นสไลด์ให้คอยมอง
ด้านข้างของเลนส์ใกล้วัตถุไม่ให้ชนสไลด์
3. การมองภาพในกล้องจุลทรรศน์ควรลืมตาทั้งสองข้าง
4. การเช็ดเลนส์ให้ใช้กระดาษเช็ดเลนส์เท่านั้น
5. การเก็บกล้องจุลทรรศน์เมื่อใช้งานเสร็จแล้ว ควรปฏิบัติดังนี้
- ใช้ผ้าแห้งนุ่มทาความสะอาดตัวกล้อง
- เลื่อนที่หนีบสไลด์ให้ขนานกัน
- หมุนเลนส์ใกล้วัตถุที่มีกาลังขยายต่าสุดให้ตรงกับลากล้อง และเลื่อนให้อยู่ใน
ระดับต่าสุด
บทที่ 2 เซลล์และการทำงานของเซลล์ I (กล้องจุลทรรศน์)
บทที่ 2 เซลล์และการทำงานของเซลล์ I (กล้องจุลทรรศน์)
บทที่ 2 เซลล์และการทำงานของเซลล์ I (กล้องจุลทรรศน์)
บทที่ 2 เซลล์และการทำงานของเซลล์ I (กล้องจุลทรรศน์)
บทที่ 2 เซลล์และการทำงานของเซลล์ I (กล้องจุลทรรศน์)
บทที่ 2 เซลล์และการทำงานของเซลล์ I (กล้องจุลทรรศน์)
บทที่ 2 เซลล์และการทำงานของเซลล์ I (กล้องจุลทรรศน์)
บทที่ 2 เซลล์และการทำงานของเซลล์ I (กล้องจุลทรรศน์)
บทที่ 2 เซลล์และการทำงานของเซลล์ I (กล้องจุลทรรศน์)
บทที่ 2 เซลล์และการทำงานของเซลล์ I (กล้องจุลทรรศน์)
บทที่ 2 เซลล์และการทำงานของเซลล์ I (กล้องจุลทรรศน์)
บทที่ 2 เซลล์และการทำงานของเซลล์ I (กล้องจุลทรรศน์)

Contenu connexe

Tendances

การแลกเปลี่ยนแก๊สและการคายน้ำ
การแลกเปลี่ยนแก๊สและการคายน้ำการแลกเปลี่ยนแก๊สและการคายน้ำ
การแลกเปลี่ยนแก๊สและการคายน้ำ
Anana Anana
 
G biology bio5
G biology bio5G biology bio5
G biology bio5
Bios Logos
 
ข้อใดไม่ถูกต้องเกี่ยวกับโรคธาลัสซีเมีย
ข้อใดไม่ถูกต้องเกี่ยวกับโรคธาลัสซีเมียข้อใดไม่ถูกต้องเกี่ยวกับโรคธาลัสซีเมีย
ข้อใดไม่ถูกต้องเกี่ยวกับโรคธาลัสซีเมีย
Supamas Trunkaew
 
สารควบคุมการเจริญเติบโตของพืช
สารควบคุมการเจริญเติบโตของพืชสารควบคุมการเจริญเติบโตของพืช
สารควบคุมการเจริญเติบโตของพืช
Anana Anana
 
โครงสร้างและหน้าที่ของใบ
โครงสร้างและหน้าที่ของใบโครงสร้างและหน้าที่ของใบ
โครงสร้างและหน้าที่ของใบ
Thanyamon Chat.
 
14.พืช C4 and CAM
14.พืช C4 and CAM14.พืช C4 and CAM
14.พืช C4 and CAM
Wichai Likitponrak
 
อนุกรมวิธาน+อาณาจักรสัตว์
อนุกรมวิธาน+อาณาจักรสัตว์อนุกรมวิธาน+อาณาจักรสัตว์
อนุกรมวิธาน+อาณาจักรสัตว์
feeonameray
 
แบบฝึกหัดที่ 2 เซลล์พืช และเซลล์สัตว์
แบบฝึกหัดที่ 2 เซลล์พืช และเซลล์สัตว์แบบฝึกหัดที่ 2 เซลล์พืช และเซลล์สัตว์
แบบฝึกหัดที่ 2 เซลล์พืช และเซลล์สัตว์
Wann Rattiya
 
โครงสร้างและหน้าที่ของรากลำต้น
โครงสร้างและหน้าที่ของรากลำต้นโครงสร้างและหน้าที่ของรากลำต้น
โครงสร้างและหน้าที่ของรากลำต้น
Thanyamon Chat.
 

Tendances (20)

เล่มที่ 2 โครงสร้างของราก
เล่มที่ 2 โครงสร้างของรากเล่มที่ 2 โครงสร้างของราก
เล่มที่ 2 โครงสร้างของราก
 
การแลกเปลี่ยนแก๊สและการคายน้ำ
การแลกเปลี่ยนแก๊สและการคายน้ำการแลกเปลี่ยนแก๊สและการคายน้ำ
การแลกเปลี่ยนแก๊สและการคายน้ำ
 
เนื้อเยื่อพืช (T)
เนื้อเยื่อพืช (T)เนื้อเยื่อพืช (T)
เนื้อเยื่อพืช (T)
 
G biology bio5
G biology bio5G biology bio5
G biology bio5
 
การสืบพันธุ์ของพืชดอกโครงสร้างดอก
การสืบพันธุ์ของพืชดอกโครงสร้างดอกการสืบพันธุ์ของพืชดอกโครงสร้างดอก
การสืบพันธุ์ของพืชดอกโครงสร้างดอก
 
ข้อใดไม่ถูกต้องเกี่ยวกับโรคธาลัสซีเมีย
ข้อใดไม่ถูกต้องเกี่ยวกับโรคธาลัสซีเมียข้อใดไม่ถูกต้องเกี่ยวกับโรคธาลัสซีเมีย
ข้อใดไม่ถูกต้องเกี่ยวกับโรคธาลัสซีเมีย
 
บบที่ 1 การศึกษาชีววิทยา
บบที่ 1 การศึกษาชีววิทยาบบที่ 1 การศึกษาชีววิทยา
บบที่ 1 การศึกษาชีววิทยา
 
สารควบคุมการเจริญเติบโตของพืช
สารควบคุมการเจริญเติบโตของพืชสารควบคุมการเจริญเติบโตของพืช
สารควบคุมการเจริญเติบโตของพืช
 
เซลล์หน่วยของสิ่งมีชีวิต
เซลล์หน่วยของสิ่งมีชีวิตเซลล์หน่วยของสิ่งมีชีวิต
เซลล์หน่วยของสิ่งมีชีวิต
 
โครงสร้างและหน้าที่ของใบ
โครงสร้างและหน้าที่ของใบโครงสร้างและหน้าที่ของใบ
โครงสร้างและหน้าที่ของใบ
 
บทที่ 2 ดุลยภาพของสิ่งมีชีวิต
บทที่ 2 ดุลยภาพของสิ่งมีชีวิตบทที่ 2 ดุลยภาพของสิ่งมีชีวิต
บทที่ 2 ดุลยภาพของสิ่งมีชีวิต
 
14.พืช C4 and CAM
14.พืช C4 and CAM14.พืช C4 and CAM
14.พืช C4 and CAM
 
8. ชุดที่ 5 การลำเลียง
8. ชุดที่ 5 การลำเลียง8. ชุดที่ 5 การลำเลียง
8. ชุดที่ 5 การลำเลียง
 
อนุกรมวิธาน+อาณาจักรสัตว์
อนุกรมวิธาน+อาณาจักรสัตว์อนุกรมวิธาน+อาณาจักรสัตว์
อนุกรมวิธาน+อาณาจักรสัตว์
 
แบบฝึกหัดที่ 2 เซลล์พืช และเซลล์สัตว์
แบบฝึกหัดที่ 2 เซลล์พืช และเซลล์สัตว์แบบฝึกหัดที่ 2 เซลล์พืช และเซลล์สัตว์
แบบฝึกหัดที่ 2 เซลล์พืช และเซลล์สัตว์
 
ชีววิทยาเรื่องระบบไหลเวียนเลือด circulatory system
ชีววิทยาเรื่องระบบไหลเวียนเลือด circulatory systemชีววิทยาเรื่องระบบไหลเวียนเลือด circulatory system
ชีววิทยาเรื่องระบบไหลเวียนเลือด circulatory system
 
บทที่ 1 ชีวิตกับสิ่งแวดล้อม
บทที่ 1 ชีวิตกับสิ่งแวดล้อมบทที่ 1 ชีวิตกับสิ่งแวดล้อม
บทที่ 1 ชีวิตกับสิ่งแวดล้อม
 
ระบบขับถ่าย
ระบบขับถ่าย ระบบขับถ่าย
ระบบขับถ่าย
 
Lesson2 plantrepro2
Lesson2 plantrepro2Lesson2 plantrepro2
Lesson2 plantrepro2
 
โครงสร้างและหน้าที่ของรากลำต้น
โครงสร้างและหน้าที่ของรากลำต้นโครงสร้างและหน้าที่ของรากลำต้น
โครงสร้างและหน้าที่ของรากลำต้น
 

Similaire à บทที่ 2 เซลล์และการทำงานของเซลล์ I (กล้องจุลทรรศน์)

Similaire à บทที่ 2 เซลล์และการทำงานของเซลล์ I (กล้องจุลทรรศน์) (6)

Microscope
MicroscopeMicroscope
Microscope
 
ชีววิทยา เรื่อง กล้องจุลทรรศน์ " Microscope"
ชีววิทยา เรื่อง กล้องจุลทรรศน์ " Microscope"ชีววิทยา เรื่อง กล้องจุลทรรศน์ " Microscope"
ชีววิทยา เรื่อง กล้องจุลทรรศน์ " Microscope"
 
กล้องจุลทรรศน์ เซลล์และการค้นพบเซลล์
กล้องจุลทรรศน์ เซลล์และการค้นพบเซลล์กล้องจุลทรรศน์ เซลล์และการค้นพบเซลล์
กล้องจุลทรรศน์ เซลล์และการค้นพบเซลล์
 
แบบทดสอบ เซลล์
แบบทดสอบ เซลล์แบบทดสอบ เซลล์
แบบทดสอบ เซลล์
 
กล้องจุลทรรศน์ (Microscope)
กล้องจุลทรรศน์ (Microscope)กล้องจุลทรรศน์ (Microscope)
กล้องจุลทรรศน์ (Microscope)
 
กล้องจุลทรรศน์ (Microscope)
กล้องจุลทรรศน์ (Microscope)กล้องจุลทรรศน์ (Microscope)
กล้องจุลทรรศน์ (Microscope)
 

บทที่ 2 เซลล์และการทำงานของเซลล์ I (กล้องจุลทรรศน์)

  • 1.
  • 2.
  • 3.
  • 4.
  • 5.
  • 6.
  • 7.
  • 8.
  • 10.
  • 11.
  • 12.
  • 13. หากาลังขยายของกล้อง = กาลังขยายเลนส์ใกล้วัตถุ x กาลังขยายเลนส์ใกล้ตา หาขนาดจริงของวัตถุ = ขนาดภาพที่ปรากฏในกล้องจุลทรรศน์ กาลังขยายของกล้องจุลทรรศน์
  • 14.
  • 15.
  • 16.
  • 17.
  • 18.
  • 19.
  • 20.
  • 21. 1. วางตัวกล้องบนพื้นราบที่มีความแข็งแรงและมีแสงสว่างเพียงพอ โดยให้ลากล้องตั้งตรง 2. หมุนเลนส์ใกล้วัตถุ โดยเลือกเลนส์ที่มีกาลังขยายต่าสุดมาใช้ก่อน 3. เปิดสวิตซ์หลอดไฟให้แสงส่องผ่านเข้าสู่ลากล้องได้เต็มที่ โดยมองผ่านเลนส์ใกล้ตาจะเห็นวงกลมสว่างที่สุด 4. วางแผ่นสไลด์ที่เตรียมไว้บนแท่นวางวัตถุ จัดวัตถุให้อยู่ตรงตาแหน่งที่มีแสงส่องผ่านได้ แล้วใช้ที่หนีบสไลด์ จับแผ่นสไลด์ให้แน่น 5. หมุนปุ่มปรับภาพหยาบจนเลนส์ใกล้วัตถุเลื่อนลงมาต่าสุด โดยไม่ชนแผ่นสไลด์ 6. มองผ่านเลนส์ใกล้ตาแล้วค่อยๆ หมุนปุ่มปรับภาพหยาบเลื่อนขึ้นจนมองเห็นภาพของวัตถุปรากฏขึ้นชัดเจน ที่สุด แล้วจึงหมุนปุ่มปรับภาพละเอียด ขณะนี้อาจเลื่อนแผ่นสไลด์เพื่อให้มองเห็นวัตถุในตาแหน่งที่เราสนใจ อยู่ตรงกลางภาพพอดี 7. ถ้าต้องการขยายภาพให้มีขนาดใหญ่ขึ้น ให้หมุนเลนส์ใกล้วัตถุที่มีกาลังขยายสูงมาแทนที่ โดยไม่ต้องเลื่อน แผ่นสไลด์ แล้วให้หมุนปุ่มปรับภาพละเอียด เพื่อปรับภาพให้ชัดเจนมากขึ้น (ห้ามใช้ปุ่มปรับภาพหยาบ) 8. ลักษณะภาพที่มองเห็นจากกล้องจุลทรรศน์ ภาพที่มองเห็นจะเป็นภาพเสมือนหัวกลับ กับวัตถุ ดังนั้นถ้าต้องการเลื่อนภาพขึ้นด้านบนจะต้องเลื่อนสไลด์ลงด้านล่าง และเมื่อ ต้องการเลื่อนภาพไปทางขวาต้องเลื่อนสไลด์ไปทางซ้าย
  • 22. 1. การยกกล้องเพื่อเคลื่อนย้าย ให้ใช้มือหนึ่งจับที่แขนของกล้อง อีกมือหนึ่งใช้รองที่ใต้ฐาน และยกกล้องในลักษณะตั้งตรง 2. ขณะที่หมุนปุ่มปรับภาพหยาบเพื่อเลื่อนเลนส์ใกล้วัตถุลงใกล้แผ่นสไลด์ให้คอยมอง ด้านข้างของเลนส์ใกล้วัตถุไม่ให้ชนสไลด์ 3. การมองภาพในกล้องจุลทรรศน์ควรลืมตาทั้งสองข้าง 4. การเช็ดเลนส์ให้ใช้กระดาษเช็ดเลนส์เท่านั้น 5. การเก็บกล้องจุลทรรศน์เมื่อใช้งานเสร็จแล้ว ควรปฏิบัติดังนี้ - ใช้ผ้าแห้งนุ่มทาความสะอาดตัวกล้อง - เลื่อนที่หนีบสไลด์ให้ขนานกัน - หมุนเลนส์ใกล้วัตถุที่มีกาลังขยายต่าสุดให้ตรงกับลากล้อง และเลื่อนให้อยู่ใน ระดับต่าสุด