SlideShare une entreprise Scribd logo
1  sur  43
เศรษฐกิจพอเพียง
เ ศ ร ษ ฐ กิ จ พ อ เ พี ย ง เ ป็ น ป รั ช ญ า ที่ ชี้ แ น ว ท า ง ก า ร ด า ร ง ชี วิ ต
ที่พระบาทสมเด็จพระปรมินทรมหาภูมิพ ลอดุลยเดชมีพ ระราชดารัสแก่ชาวไทยนับตั้งแต่ปี
พ .ศ . 2517เ ป็ น ต้ น ม า แ ล ะ ถู ก พู ด ถึ ง อ ย่า ง ชั ด เ จ น ใ น วั น ที่ 4ธั น ว า ค ม
พ .ศ . 2540เ พื่ อ เป็ น แ น ว ท า ง ก า ร แ ก้ ไ ข ปั ญ ห า เ ศ ร ษ ฐ กิ จ ข อ ง ป ร ะ เ ท ศ ไ ท ย
ให้สามารถดารงอยู่ได้อย่างมั่นคงและยั่งยืนในกระแสโลกาภิวัตน์และความเปลี่ยนแปลงต่าง ๆ
เศ ร ษ ฐ กิจพ อ เพี ยง มีบ ท บ าท ต่อ การ ก าห น ด อุ ด มก ารณ์ ก ารพั ฒ น าข อ ง ป ระ เท ศ
โดยปัญญาชนในสังคมไทยหลายท่านได้ร่วมแสดงความคิดเห็น อย่างเช่น ศ.นพ.ประเวศ วะสี,ศ.เสน่ห์
จ า ม ริ ก ,ศ .อ ภิ ชั ย พั น ธ เ ส น ,แ ล ะ ศ .ฉั ต ร ทิ พ ย์ น า ถ สุ ภ า
โ ด ย เ ชื่ อ ม โ ย ง แ น ว คิ ด เ ศ ร ษ ฐ กิ จ พ อ เ พี ย ง เ ข้ า กั บ วั ฒ น ธ ร ร ม ชุ ม ช น
ซึ่งเคยถูกเสนอมาก่อนหน้าโดยองค์กรพัฒนาเอกชนจานวนหนึ่งนับตั้งแต่พุทธทศวรรษ 2520และได้ช่วยให้
แนวคิดเศรษฐกิจพอเพียงเป็นที่รู้จักอย่างกว้างขวางในสังคมไทย
สานักงานคณะกรรมการพัฒนาการเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติได้เชิญผู้ทรงคุณวุฒิในทางเศรษฐกิ
จ แ ล ะ ส า ข า อื่ น ๆ
มาร่วมกันประมวลและกลั่นกรองพระราชดารัสเรื่องเศรษฐกิจพอเพียงเพื่อบรรจุในแผนพัฒนาเศรษฐกิจและ
สังคมแห่งชาติ ฉบับที่ 9และ ได้จัดทาเป็ น บทความเรื่ อง "ปรัช ญาของเศรษฐกิจพอเพียง"
และได้นาความกราบบังคลทูลพระกรุณาขอพระราชทานพระบรมราชวินิจฉัย เมื่อวันที่ 22ตุลาคม
พ.ศ. 2542โดยทรงพ ระ กรุณาปรับปรุงแก้ไขพระ ราช ทาน และทรงพ ระ กรุณาโปรดเกล้าฯ
พ ร ะ ร าช ท าน พ ระ บ รมราช านุ ญ าต ใ ห้ น าบ ท ค ว ามที่ ท รง แก้ไข แ ล้วไ ป เผ ยแ พ ร่
เพื่อเป็นแนวทางปฏิบัติของสานักงานคณะกรรมการพัฒนาการเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติและทุกฝ่ายที่เกี่ย
วข้อง ตลอดจนประชาชนโดยทั่วไป เมื่อวันที่ 21 พฤศจิกายน พ.ศ. 2542
ปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียงนี้ ได้รับการเชิดชูเป็ น อย่างสูงจากองค์การสห ประชาชาติ
ว่า เ ป็ น ป รั ช ญ า ที่ มี ป ร ะ โ ย ช น์ ต่ อ ป ร ะ เ ท ศ ไ ท ย แ ล ะ น า น า ป ร ะ เ ท ศ
แ ล ะ ส นั บ ส นุ น ใ ห้ ป ร ะ เท ศ ส ม า ชิ ก ยึ ด เ ป็ น แ น ว ท าง สู่ ก าร พั ฒ น า แ บ บ ยั่ง ยื น
โดยมีนักวิชาการและนักเศรษฐศาสตร์หลายคนเห็นด้วยกับแนวทางเศรษฐกิจพอเพียง แต่ในขณะเดียวกัน
บ า ง สื่ อ ไ ด้ มี ก า ร ตั้ ง ค า ถ า ม ถึ ง ก า ร ย ก ย่อ ง ข อ ง อ ง ค์ ก า ร ส ห ป ร ะ ช า ช า ติ
รวมทั้งความน่าเชื่อถือของรายงานศึกษาและท่าทีขององค์การ
พ ร ะ บ า ท ส ม เ ด็ จ พ ร ะ เ จ้ า อ ยู่ หั ว ภู มิ พ ล อ ดุ ล ย เ ด ช
ได้พัฒนาหลักปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียงเพื่อที่จะให้พสกนิกรชาวไทยได้เข้าถึงทางสายกลางของชีวิตและเพื่
อคงไว้ซึ่งทฤษฏีของการพัฒนาที่ยั่งยืน ทฤษฎีนี้ เป็ นพื้น ฐานของการดารงชีวิตซึ่งอยู่ระหว่าง
สังคมระ ดับท้องถิ่น และ ตลอดระ ดับสากล จุดเด่น ของแนวปรัชญานี้ คือ แน วทางที่สมดุล
โดยชาติสามารถทันสมัย และก้าวสู่ความเป็นสากลได้ โดยปราศจากการต่อต้านกระแสโลกาภิวัตน์
และการอยู่รวมกันของทุกคนในสังคม
หลักปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียงมีความสาคัญในช่วงปี พ.ศ. 2540ซึ่งเป็นช่วงที่ประเทศไทย
ต้องประสบปั ญ ห าภ าวะทาง เศรษฐกิจ และ ต้องการรักษาความมั่น คงและ เสถียรภ าพ
เพื่อที่จะยืนหยัดในการไม่พึ่งพาผู้อื่น และ พัฒนานโยบายที่สาคัญเพื่อการฟื้นฟูเศรษฐกิจของประเทศ
พ ร ะ บ า ท ส ม เ ด็ จ พ ร ะ เ จ้ า อ ยู่ หั ว มี พ ร ะ ร า ช ด า ริ ว่ า
มันไม่ได้มีความจาเป็ นที่เราจะกลายเป็ นประเทศอุตสาหกรรมใหม่พระองค์ได้ทรงอธิบายว่า
ค ว า ม พ อ เ พี ย ง แ ล ะ ก า ร พึ่ ง ต น เ อ ง คื อ
ทางสายกลางที่จะป้องกันการเปลี่ยนแปลงความไม่มั่นคงของประเทศได้
เศรษฐกิจพอเพียงเชื่อว่าจะสามารถปรับเปลี่ยนโครงสร้างทางสังคมของชมชุนให้ดีขึ้นโดยมีปัจจัย 2อย่างคือ
1.การผลิตจะต้องมีความสัมพันธ์กันระหว่าง ปริมาณผลผลิตและการบริโภค
2.ชุมชนจะต้องมีความสามารถในการจัดการทรัพยากรของตนเอง
ผลที่เกิดขึ้นคือ
■เศรษฐกิจพอเพียงสามารถที่จะคงไว้ซึ่งขนาดของประชากรที่ได้สัดส่วน
■ใช้เทคโนโลยีได้อย่างเหมาะสม
■รักษาสมดุลของระบบนิเวศ และปราศจากการแทรกแซงจากปัจจัยภายนอก
หลักปรัชญา
...การพัฒน าประ เทศจาเป็ น ต้องทาตามลาดับขั้น ต้องสร้างพื้น ฐาน คือ ความพ อมีพ อกิน
พอใช้ของประชาชน ส่วนให ญ่เป็ นเบื้องต้น ก่อน โดยใช้วิธี การและใช้อุปกรณ์ที่ประห ยัด
แต่ถู ก ต้อง ต าม ห ลัก วิช า เมื่อ ได้พื้ น ฐาน มั่น ค ง พ ร้อ ม พ อ ค วร แล ะ ป ฏิ บัติ ได้แ ล้ว
จึง ค่อยส ร้าง ค่อ ยเส ริ มความเจริ ญ แล ะ ฐาน ะ เศรษ ฐกิจขั้น ที่ สู งขึ้ น โดยลาดับ ต่อ ไป
ห ากมุ่ง แ ต่จะ ทุ่มเท ส ร้าง ค วามเจริ ญ ยกเศ รษ ฐกิจขึ้ น ใ ห้ รวด เร็ วแต่ป ระ การเดีย ว
โดยไม่ให้แผนปฏิบัติการสัมพันธ์กับสภาวะของประเทศและของประชาชนโดยสอดคล้องด้วย
ก็จะเกิดความไม่สมดุลในเรื่องต่าง ๆ ขึ้น ซึ่งอาจกลายเป็นความยุ่งยากล้มเหลวได้ในที่สุด...
—พระบรมราโช วาท ใน พิธีพ ระราช ทาน ปริญญาบัตรของ มห าวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ ณ
หอประชุมมหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ วันพฤหัสบดีที่ 18กรกฎาคม พ.ศ. 2517[1]
เ ศ ร ษ ฐ กิ จ พ อ เ พี ย ง เ ป็ น ป รั ช ญ า ที่ ยึ ด ห ลั ก ท า ง ส า ย ก ล า ง
ที่ชี้แนวทางการดารงอยู่และปฏิบัติของประชาชนในทุกระดับให้ดาเนินไปในทางสายกลาง มีความพอเพียง
และมีความพร้อมที่จะจัดการต่อผลกระทบจากการเปลี่ยนแปลง ซึ่งจะต้องอาศัยความรอบรู้ รอบคอบ
แ ล ะ ร ะ มั ด ร ะ วัง ใ น ก า ร ว า ง แ ผ น แ ล ะ ด า เ นิ น ก า ร ทุ ก ขั้ น ต อ น ทั้ ง นี้
เ ศ ร ษ ฐ กิ จ พ อ เ พี ย ง เ ป็ น ก า ร ด า เ นิ น ชี วิ ต อ ย่ า ง ส ม ดุ ล แ ล ะ ยั่ ง ยื น
เพื่อให้สามารถอยู่ได้แม้ในโลกโลกาภิวัตน์ที่มีการแข่งขันสูง
แผนภาพแสดงแนวคิดเศรษฐกิจพอเพียง 3 ห่วง 2เงื่อนไข
แผนภาพแสดงแนวคิดเศรษฐกิจพอเพียง 3 ห่วง 2เงื่อนไข
ปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียงที่ทรงปรับปรุงพระราชทานเป็นที่มาของนิยาม"3ห่วง 2เงื่อนไข"
ที่ ค ณ ะ อ นุ ก ร ร ม ก า ร ขั บ เ ค ลื่ อ น เ ศ ร ษ ฐ กิ จ พ อ เ พี ย ง
ส า นั ก ง า น ค ณ ะ ก ร ร ม ก า ร พั ฒ น า ก า ร เ ศ ร ษ ฐ กิ จ แ ล ะ สั ง ค ม แ ห่ ง ช า ติ
นามาใช้ในการรณรงค์เผยแพร่ปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียงผ่านช่องทางสื่อต่าง ๆ อยู่ในปั จจุบัน
ซึ่งประกอบด้วยความ "พอประมาณ มีเหตุผล มีภูมิคุ้มกัน" บนเงื่อนไข "ความรู้" และ "คุณธรรม"
ดร.จิรายุ อิศรางกูร ณ อยุธยา ประธาน คณะอนุกรรมการขับเคลื่อน เศรษฐกิจพ อเพียง
อ ธิ บ า ย ถึ ง ก า ร พั ฒ น า ต า ม ห ลั ก เ ศ ร ษ ฐ กิ จ พ อ เ พี ย ง ว่ า
เป็นการพัฒนาที่ตั้งอยู่บนพื้นฐานของทางสายกลางและความไม่ประมาท โดยคานึงถึง ความพอประมาณ
ค ว า ม มีเ ห ตุ ผ ล แ ล ะ ก า ร ส ร้ า ง ภู มิคุ้ ม กัน ที่ ดี ใ น ตั ว ต ล อ ด จ น ก า ร ใ ช้ ค ว า ม รู้
ความรอบคอบละคุณธรรมประกอบการวางแผน การตัดสินใจและการกระทาต่างๆ ความพอประมาณ
ห มายถึง ความพ อดี ที่ไม่มากและ ไม่น้อยจน เกิน ไป ไม่เบียดเบียน ตน เองและผู้อื่ น เช่น
การผลิตและการบริโภคที่พอประมาณ ความมีเหตุผล หมายถึง การใช้หลักเหตุผลในการตัดสินใจเรื่องต่างๆ
โดยพิจารณาจากเหตุปัจจัยที่เกี่ยวข้อง ตลอดจนผลที่คาดว่าจะเกิดขึ้นอย่างรอบคอบ การมีภูมิคุ้มกันที่ดี
ห มายถึง การเตรียมตัวให้ พ ร้อมรับต่อผลกระ ทบที่เกิดขึ้น จากการเปลี่ยน แปลงรอบตัว
ปัจจัยเหล่านี้จะเกิดขึ้นได้นั้น จะต้องอาศัยความรู้และคุณธรรม เป็นเงื่อนไขพื้นฐาน กล่าวคือเงื่อนไขความรู้
หมายถึง ความรอบรู้ ความรอบคอบ และความระมัดระวังในการดาเนินชีวิตและการประกอบการงาน
ส่วนเงื่อนไขคุณธรรม คือ การยึดถือคุณธรรมต่างๆ อาทิ ความซื่อสัตย์สุจริต ความอดทน ความเพียร
การมุ่งต่อประโยชน์ส่วนรวมและการแบ่งปัน ฯลฯ ตลอดเวลาที่ประยุกต์ใช้ปรัชญา
อภิชัย พันธเสน ผู้อานวยการสถาบันการจัดการเพื่อชนบทและสังคม
ได้จัดแนวคิดเศรษฐกิจพอเพียงว่าเป็น
"ข้อเสนอในการดาเนินกิจกรรมทางเศรษฐกิจตามแนวทางของพุทธธรรมอย่างแท้จริง"
ทั้งนี้เนื่องจากในพระราชดารัสหนึ่ง ได้ให้คาอธิบายถึง เศรษฐกิจพอเพียง ว่า "คือความพอประมาณ ซื่อตรง
ไม่โลภมาก และต้องไม่เบียดเบียนผู้อื่น"
ระบบเศรษฐกิจพ อเพี ยงมุ่งเน้น ใ ห้บุคคลสามารถประกอบอาชีพ ได้อย่าง ยั่งยืน
และ ใช้จ่ายเงิน ให้ ได้มาอย่างพ อเพียงและ ประ ห ยัด ตามกาลัง ของ เงิ น ของบุ คคลนั้ น
โดยปราศจากการกู้หนี้ ยืมสิน ถ้ามีเงินเหลือ ก็แบ่งเก็บออมไว้บางส่วน ช่วยเหลือผู้อื่นบางส่วน
และอาจจะใช้จ่ายมาเพื่อปัจจัยเสริมอีกบางส่วน สาเหตุที่แนวทางการดารงชีวิตอย่างพอเพียง
ไ ด้ ถู ก ก ล่ า ว ถึ ง อ ย่ า ง ก ว้ า ง ข ว า ง ใ น ข ณ ะ นี้
เพราะสภาพ การดารงชีวิตของสังคมทุน นิ ยมใน ปั จจุบัน ได้ถูกปลูกฝัง สร้าง ห รือกระตุ้น
ให้เกิดการใช้จ่ายอย่างเกินตัว ในเรื่องที่ไม่เกี่ยวข้องหรือเกิน กว่าปั จจัยในการดารงชีวิต เช่น
การบริโภคเกินตัว ความบัน เทิงหลากหลายรูปแบบ ความสวยความงาม การแต่งตัวตามแฟชั่น
การพนันหรือเสี่ยงโชค เป็นต้น จนทาให้ไม่มีเงินเพียงพอเพื่อตอบสนองความต้องการเหล่านั้น
ส่งผลใ ห้เกิดการกู้ห นี้ ยืมสิ น เกิดเป็ น วัฏ จักรที่บุคคลห นึ่ ง ไม่ส ามารถห ลุดออกมาได้
ถ้าไม่เปลี่ยน แน วทาง ใน การดารงชีวิต ซึ่ ง ดร. สุ เมธ ตัน ติเวช กุล ได้กล่าวว่า "ห ลาย ๆ
คนกลับมาใช้ชีวิตอย่างคนจน ซึ่งเป็นการปรับตัวเข้าสู่คุณภาพ" และ "การลงมือทาด้วยความมีเหตุมีผล
เป็นคุณค่าของเศรษฐกิจพอเพียง"
การนาไปใช้
ป รั ช ญ า เ ศ ร ษ ฐ กิ จ พ อ เ พี ย ง นี้
ถูกใช้เป็ นกรอบแนวความคิดและทิศทางการพัฒนาระบบเศรษฐกิจมหภาคของไทย ซึ่งบรรจุอยู่ใน
แผนพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติ ฉบับที่ 10เพื่อมุ่งสู่การพัฒนาที่สมดุล ยั่งยืน และมีภูมิคุ้มกัน
เพื่อความอยู่ดีมีสุข มุ่งสู่สังคมที่มีความสุขอย่างยั่งยืน หรือที่เรียกว่า "สังคมสีเขียว" ด้วยหลักการดังกล่าว
แผนพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติฉบับที่ 10นี้จะไม่เน้นเรื่องตัวเลขการเจริญเติบโตทางเศรษฐกิจ
แ ต่ ยั ง ค ง ใ ห้ ค ว า ม ส า คั ญ ต่ อ ร ะ บ บ เ ศ ร ษ ฐ กิ จ แ บ บ ท วิ ลั ก ษ ณ์
ห รื อระ บบ เศรษฐกิจที่ มีความแตกต่าง กัน ระ ห ว่าง เศรษ ฐกิจชุมช น เมือง และ ช น บ ท
แนวปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง ยังถูกบรรจุในรัฐธรรมนูญของไทยเช่น รัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย
พุทธศักราช 2550ในส่วนที่ 3แนวนโยบายด้านการบริหารราชการแผ่นดิน มาตรา 78 (1) ความว่า:
"บริหารราชการแผ่นดินให้เป็นไปเพื่อการพัฒนาสังคมเศรษฐกิจ และความมั่นคง ของประเทศอย่างยั่งยืน
โดยต้องส่งเสริมการดาเนินการตามปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียงและคานึงถึงผลประโยชน์ของประเทศชาติในภ
าพรวมเป็นสาคัญ"
นายสุรเกียรติเสถียรไทยในฐานะรัฐมนตรีกระทรวงต่างประเทศ ได้กล่าวเมื่อวันที่ 24พฤศจิกายน
พ .ศ . 2547ใ น ก ารป ระ ชุมสุ ดยอ ด The Francophonie Ouagadougou ครั้ ง ที่ 10ที่ Burkina Faso ว่า
ประ เท ศ ไทยได้ยึดแ น วท าง เศรษ ฐ กิจพ อ เพี ยง ควบ คู่กับ " การพั ฒ น าแ บบ ยั่ง ยืน "
ใ น การพั ฒ น าป ร ะ เท ศ ทั้ ง ท าง ด้าน การเก ษ ต รก ร รม เศ รษ ฐ กิจ แล ะ ก ารแ ข่ง ขัน
ซึ่ ง เป็ น ก า ร ส อ ด ค ล้อ ง เป้ า ห ม าย แ น ว ท าง ข อ ง น า น า ช าติ ใ น ป ร ะ ช า ค ม โ ล ก
โ ด ย ย ก ตั ว อ ย่ า ง ก า ร แ ก้ ปั ญ ห า วิ ก ฤ ต เ ศ ร ษ ฐ กิ จ
พ.ศ.2540ซึ่งเมื่อยึดหลักปรัชญาในการแก้ปัญหาสามารถทาให้ผลิตภัณฑ์มวลรวมภายในประเทศ
ของไทยเติบโตได้ถึงร้อยละ 6.7
เศรษฐกิจพอเพียง เวปไซต์แห่งนี้
ได้รวบรวมข้อมูลและเนื้อหาที่เกี่ยวข้องกับเศรษฐกิจพอเพียง ไว้อย่างครอบคลุม
ไม่ว่าจะเป็นในด้านประวัติความเป็นมา หรือจุดเริ่มต้นที่ก่อเกิดเศรษฐกิจพอเพียงขึ้นมา
ในด้านความหมายของเศรษฐกิจพอเพียง พระราชดารัสเศรษฐกิจพอเพียง ปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง
โครงการต่างๆที่เนื่องมาจากปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง และเราได้รวมเอาบุคคลตัวอย่าง ข้อสอบ
บทกลอน และเรียงความเศรษฐกิจพอเพียง มาใว้ที่นี่ที่เดียว โดยเนื้อหาต่างๆดังที่กล่าวมา
ท่านสามารถเลือกหาหัวข้อที่ท่านสนใจที่เมนูด้านซ้ายมือได้เลย
เศรษฐกิจพอเพียง
ในส่วนของบทความเกี่ยวกับการเกษตร เราได้รวมเอาเทคนิค
และวิธีการในการทาการเกษตร ไม่ว่าจะเป็น ทั้งในด้านการปลูกพืช และด้านการเลี้ยงสัตว์
ยกตัวอย่าง เช่น การเลี้ยงปลาดุกในบ่ซีเมนต์ การเลี้ยงหมูหลุม การเลี้ยงเป็ด การเลี้ยงไก่การเลี้ยงหมู
การเลี้ยงสัตว์เศรษฐกิจต่างๆ การปลูกผักหวานป่า การปลูกกล้วย การปลูกไผ่หวาน
การปลูกพืชเศรษฐกิจต่างๆ รวมถึง วิธีการดูแลจัดการต่างๆ
ที่ได้รับการถ่ายทอดมาจากเกษตรกรที่ได้ทดลองแล้วได้ผล หรือที่เรียกว่า ปราชญ์ชาวบ้าน เช่น
การทาปุ๋ยหมักชีวภาพ ไว้ใช้เอง เพื่อลดต้นทุน การทาจุลินทรีย์ในการปลูกพืชเพื่อเพิ่มผลผลิต
และลดต้นทุนในการทาการเกษตร รวมทั้งการใช้วิธีธรรมชาติ ในการจัดการกับโรค แมลง
เพื่อความสมดุลย์
เศรษฐกิจพอเพียง
ในส่วนของ เวปบอร์ดนั้น จะเป็นแหล่งแลกเปลี่ยนความรู้ของเกษตรกร
และบุคคลทั่วไปที่สนใจในด้านการเกษตร ที่นามาแลกเปลี่ยนกัน รวมทั้งจะมี
ในส่วนของการซื้อขายแลกเปลี่ยน สินค้าเกษตร เช่น ขายเมล็ดพันธุ์ เป็นต้น และในส่วนเวปบอร์ด
นี้จะจัดให้มีส่วน ความรู้ทั่วๆไป ข่าวสาร และในส่วนของการสนทนาทั่วๆไป
เพื่อความเป็นกันเองของท่านสมาชิก และถ้าสมาชิกท่านใด ต้องการในส่วนใหนเพิ่มเติม
ก็ส่งข้อความมาหาเวปมาสเตอร์ได้เลย
เนื้อหาสาระเกี่ยวกับ เศรษฐกิจพอเพียง และในส่วนอื่นๆที่กล่าวมาข้างต้น
เพื่อความสะดวกในการค้นหา ท่านสามารถเลือกอ่านได้ที่ เมนูด้านซ้ายมือได้เลย
“เศรษฐกิจพอเพียงเป็นเสมือนรากฐานของชีวิต รากฐานความมั่นคงของแผ่นดิน
เปรียบเสมือนเสาเข็มที่ถูกตอกรองรับบ้านเรือนตัวอาคารไว้นั่นเอง
สิ่งก่อสร้างจะมั่นคงได้ก็อยู่ที่เสาเข็มแต่คนส่วนมากมองไม่เห็นเสาเข็ม
และลืมเสาเข็มเสียด้วยซ้าไป”(พระราชดารัสพระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัว จากวารสารชัยพัฒนา)
“เศรษฐกิจพอเพียงแปลว่า SufficiencyEconomy คาว่าSufficiencyEconomy นี้
ไม่มีในตาราเศรษฐกิจ. จะมีได้อย่างไร เพราะว่าเป็นทฤษฎีใหม่ SufficiencyEconomy นั้น
ไม่มีในตาราเพราะหมายความว่าเรามีความคิดใหม่…และโดยที่ท่านผู้เชี่ยวชาญสนใจ ก็หมายความว่า
เราก็สามารถที่จะไปปรับปรุง
หรือไปใช้หลักการเพื่อที่จะให้เศรษฐกิจของประเทศและของโลกพัฒนาดีขึ้น” (พระราชดารัสเนื่องในโอกา
สวันเฉลิมพระชนมพรรษา ๒๓ ธันวาคม ๒๕๔๒)
เศรษฐกิจพอเพียง (Sufficiency Economy)
เป็นปรัชญาที่พระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัวทรงมีพระราชดารัสชี้แนะแนวทางการดาเนินชีวิตแก่พสกนิกรชา
วไทยมาโดยตลอดรวมถึงการพัฒนาและบริหารประเทศ ที่ตั้งอยู่บนพื้นฐานของ ทางสายกลาง คานึงถึง
ความพอประมาณ ความมีเหตุผล การสร้างภูมิคุ้มกันที่ดีในตัว ตลอดจนใช้ความรู้ ความรอบคอบ
และคุณธรรม ประกอบการวางแผน การตัดสินใจ และการกระทา
อย่างไรก็ตาม ประชาชนส่วนใหญ่ยังมีความเข้าใจที่หลากหลายและไม่ชัดเจน
ถึงความหมายและหลักแนวคิดที่แท้จริงของปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง
ที่มุ่งเน้นความมั่นคงและความยั่งยืนของการพัฒนา อันมีคุณลักษณะ ที่สาคัญ คือ
สามารถประยุกต์ใช้ได้ในทุกระดับ คานิยามของความพอเพียงคือความพอประมาณ ความมีเหตุมีผล
มีภูมิคุ้มกันที่ดีในตัว
ภายใต้เงื่อนไขของการตัดสินใจและการดาเนินกิจกรรมที่ต้องอาศัยเงื่อนไขความรู้และเงื่อนไขคุณธรรม
ปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง
เศรษฐกิจพอเพียง เป็นปรัชญาชี้ถึงแนวการดารงอยู่และปฏิบัติตนของประชาชนในทุกระดับตั้งแต่ระ
ดับครอบครัวระดับชุมชน จนถึงระดับรัฐ ทั้งในการพัฒนาและบริหารประเทศให้ดาเนินไปใน ทางสายกลาง
โดยเฉพาะการพัฒนาเศรษฐกิจเพื่อให้ก้าวทันต่อโลกยุคโลกาภิวัตน์ ความพอเพียง หมายถึง
ความพอประมาณ ความมีเหตุผล รวมถึงความจาเป็นที่จะต้องมีระบบภูมิคุ้มกันในตัวที่ดีพอสมควร
ต่อการมีผลกระทบใดๆ อันเกิดจากการเปลี่ยนแปลงทั้งภายนอกและภายใน ทั้งนี้ จะต้องอาศัยความรอบรู้
ความรอบคอบ
และความระมัดระวังอย่างยิ่งในการนาวิชาการต่างๆมาใช้ในการวางแผนและการดาเนินการทุกขั้นตอน
และขณะเดียวกันจะต้องเสริมสร้างพื้นฐานจิตใจของคนในชาติ โดยเฉพาะเจ้าหน้าที่ของรัฐ
นักทฤษฎีและนักธุรกิจในทุกระดับให้มีสานึกในคุณธรรม
ความซื่อสัตย์สุจริต และให้มีความรอบรู้ที่เหมาะสม ดาเนินชีวิตด้วยความอดทน ความเพียร มีสติ
ปัญญา และความรอบคอบ
เพื่อให้สมดุลและพร้อมต่อการรองรับการเปลี่ยนแปลงอย่างรวดเร็วและกว้างขวางทั้งด้านวัตถุ สังคม
สิ่งแวดล้อม และวัฒนธรรมจากโลกภายนอกได้เป็นอย่างดี
หลักแนวคิดของเศรษฐกิจพอเพียง
การพัฒนาตามหลักเศรษฐกิจพอเพียง คือ
การพัฒนาที่ตั้งอยู่บนพื้นฐานของทางสายกลางและความไม่ประมาท โดยคานึงถึง ความพอประมาณ
ความมีเหตุผล การสร้างภูมิคุ้มกันที่ดีในตัว ตลอดจนใช้ความรู้ ความรอบคอบ และคุณธรรม
ประกอบการตัดสินใจ และการกระทา
“ถ้าพอมีพอกิน คือพอมีพอกินของตัวเองนั้น
ไม่ใช่เศรษฐกิจพอเพียง เป็นเศรษฐกิจสมัยหิน.
สมัยหินนั้นเป็นเศรษฐกิจพอเพียงเหมือนกัน
แต่ว่าค่อยๆพัฒนาขึ้นมา ต้องมีการแลกเปลี่ยนกัน
มีการช่วยระหว่างหมู่บ้าน
หรือระหว่างจะเรียกว่าอาเภอ จังหวัด ประเทศ
จะต้องมีการแลกเปลี่ยน มีการไม่พอเพียง
จึงบอกว่าถ้ามีเศรษฐกิจพอเพียง
เพียงเศษหนึ่งส่วนสี่ก็จะพอแล้ว จะใช้ได้.”
(พระราชดารัสเนื่องในโอกาสวันเฉลิมพระชนมพรรษา
๒๓ ธันวาคม ๒๕๔๒)
ข้อมูลจาก www.okmd.or.th
หลักพิจารณาปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง
ปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง มีหลักพิจารณาอยู่ด้วยกัน ๕ ส่วน ดังนี้
1. กรอบแนวคิด เป็นปรัชญาที่ชี้แนะแนวทางการดารงอยู่และปฏิบัติตนในทางที่ควรจะเป็น
โดยมีพื้นฐานมาจากวิถีชีวิตดั้งเดิมของสังคมไทย
สามารถนามาประยุกต์ใช้ได้ตลอดเวลาและเป็นการมองโลกเชิงระบบที่มีลักษณะพลวัตร
มุ่งเน้นการรอดพ้นจากภัยและวิกฤต เพื่อความมั่นคงและความยั่งยืนของการพัฒนา
คุณลักษณะ เศรษฐกิจพอเพียงสามารถนามาประยุกต์ใช้กับการปฏิบัติตนได้ในทุกระดับ
โดยเน้นการปฏิบัติบนทางสายกลาง และการพัฒนา อย่างเป็นขั้นตอน
2. คานิยาม ความพอเพียง (Sufficiency) จะต้องประกอบด้วย ๓ คุณลักษณะ พร้อมๆ กัน ดังนี้
ความพอประมาณ หมายถึง ความพอดี ที่ไม่น้อยเกินไปและไม่มากเกินไปโดยไม่เบียดเบียนตนเองและผู้อื่น
เช่น การผลิตและการบริโภค ที่อยู่ในระดับพอประมาณ
3. ความมีเหตุผล หมายถึง การตัดสินใจเกี่ยวกับระดับของความพอเพียงนั้น
จะต้องเป็นไปอย่างมีเหตุผล โดยพิจารณาจากเหตุปัจจัยที่เกี่ยวข้อง
ตลอดจนคานึงถึงผลที่คาดว่าจะเกิดขึ้นจากการกระทานั้นๆอย่างรอบคอบ
การมีภูมิคุ้มกันที่ดีในตัว หมายถึง การเตรียมตัวให้พร้อมรับผลกระทบและการเปลี่ยนแปลงด้านต่างๆ
ที่จะเกิดขึ้น โดยคานึงถึงความเป็นไปได้ของสถานการณ์ต่างๆ ที่คาดว่าจะเกิดขึ้นในอนาคตทั้งใกล้และไกล
4. เงื่อนไข การตัดสินใจและการดาเนินกิจกรรมต่างๆให้อยู่ในระดับพอเพียงนั้น ต้องอาศัยทั้งความรู้
และคุณธรรมเป็นพื้นฐาน กล่าวคือ
- เงื่อนไขความรู้ ประกอบด้วย ความรอบรู้เกี่ยวกับวิชาการต่างๆ อย่างรอบด้าน
ความรอบคอบที่จะนาความรู้เหล่านั้นมาพิจารณาให้เชื่อมโยงกันเพื่อประกอบการวางแผน
และความระมัดระวังในขั้นปฏิบัติ
- เงื่อนไขคุณธรรม ที่จะต้องเสริมสร้าง ประกอบด้วย มีความตระหนักในคุณธรรม
มีความซื่อสัตย์สุจริต และมีความอดทน มีความเพียร ใช้สติปัญญาในการดาเนินชีวิต
5. แนวทางปฏิบัติ/ผลที่คาดว่าจะได้รับ จากการนาปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียงมาประยุกต์ใช้
คือการพัฒนาที่สมดุลและสามารถพร้อมต่อการเปลี่ยนแปลง ในทุกด้าน ทั้งด้านเศรษฐกิจ สังคม สิ่งแวดล้อม
และ ความรู้และเทคโนโลยี
“ถ้าไม่มีเศรษฐกิจพอเพียงเวลาไฟดับ…
จะพังหมดจะทาอย่างไร. ที่ที่ต้องใช้ไฟฟ้าก็ต้องแย่ไป.
…หากมีเศรษฐกิจพอเพียงแบบไม่เต็มที่
ถ้าเรามีเครื่องปั่นไฟ ก็ใช้ปั่นไฟ
หรือถ้าขั้นโบราณกว่า มืดก็จุดเทียน
คือมีทางแก้ไขปัญหาเสมอ
…ฉะนั้นเศรษฐกิจพอเพียงนี้ ก็มีเป็นขั้นๆ
แต่จะบอกว่าเศรษฐกิจพอเพียงนี้
ให้พอเพียงเฉพาะตัวเองร้อยเปอร์เซ็นต์ นี่เป็นสิ่งที่ทาไม่ได้
จะต้องมีการแลกเปลี่ยน ต้องมีการช่วยกัน
พอเพียงในทฤษฎีในหลวงนี้ คือให้สามารถที่ดาเนินงานได้”
(พระราชดารัสเนื่องในโอกาสวันเฉลิมพระชนมพรรษา
๒๓ ธันวาคม ๒๕๔๒)
ความหมายของเศรษฐกิจพอเพียง
เศรษฐกิจพอเพียง เป็นปรัชญาชี้ถึงแนวการดารงอยู่
และปฏิบัติตนของประชาชนในทุกระดับตั้งแต่ระดับครอบครัว ระดับชุมชนจนถึงระดับรัฐ ทั้งในการพัฒนา
และบริหารประเทศให้ดาเนินไปใน ทางสายกลาง
โดยเฉพาะการพัฒนาเศรษฐกิจเพื่อให้ก้าวทันต่อโลกยุคโลกาภิวัตน์
ความพอเพียง หมายถึง ความพอประมาณ ความมีเหตุผล
รวมถึงความจาเป็นที่จะต้องมีระบบภูมิคุ้มกันในตัวที่ดีพอสมควร ต่อการมีผลกระทบใดๆ
อันเกิดจากการเปลี่ยนแปลงทั้งภายนอก และภายใน ทั้งนี้จะต้องอาศัยความรอบรู้ ความรอบคอบ
และความระมัดระวังอย่างยิ่ง ในการนาวิชาการต่าง ๆ มาใช้ในการวางแผน และการดาเนินการทุกขั้นตอน
และขณะเดียวกันจะต้องเสริมสร้างพื้นฐานจิตใจของคนในชาติโดยเฉพาะเจ้าหน้าที่ของรัฐ นักทฤษฎี
และนักธุรกิจในทุกระดับให้มีสานึกในคุณธรรม ความซื่อสัตย์สุจริต และให้มีความรอบรู้ที่เหมาะสม
ดาเนินชีวิต ด้วยความอดทน ความเพียร มีสติ ปัญญา และความรอบคอบ เพื่อให้สมดุล
และพร้อมต่อการรองรับการเปลี่ยนแปลงอย่างรวดเร็ว และกว้างขวางทั้งด้านวัตถุ สิ่งแวดล้อม
และวัฒนธรรมจากโลกภายนอกได้เป็นอย่างดี
การนาปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียงไปใช้
ปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียงนี้ เป็นกรอบแนวความคิดและทิศทางการพัฒนาระบบเศรษฐกิจมหภาคของไทย
ซึ่งบรรจุอยู่ในแผนพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติ ฉบับที่ 10(พ.ศ. 2550-
2554)เพื่อมุ่งสู่การพัฒนาที่สมดุล ยั่งยืน และมีภูมิคุ้มกัน เพื่อความอยู่ดีมีสุข
มุ่งสู่สังคมที่มีความสุขอย่างยั่งยืน หรือที่เรียกว่า สังคมสีเขียว (Green Society) ด้วยหลักการดังกล่าว
แผนพัฒนาฯฉบับที่ 10 นี้จะไม่เน้นเรื่องตัวเลขการเจริญเติบโตทางเศรษฐกิจ
แต่ยังคงให้ความสาคัญต่อระบบเศรษฐกิจแบบทวิลักษณ์
หรือระบบเศรษฐกิจที่มีความแตกต่างกันระหว่างเศรษฐกิจชุมชนเมืองและชนบท
ดร.สมเกียรติ อ่อนวิมล เรียกสิ่งนี้ว่า วิกฤตเศรษฐกิจพอเพียง คือ ความไม่รู้ว่าจะนาปรัชญานี้ไปใช้ทาอะไร
กลายเป็นว่าผู้นาสังคมทุกคน ทั้งนักการเมืองและรัฐบาลใช้คาว่า เศรษฐกิจพอเพียง
เป็นข้ออ้างในการทากิจกรรมใด ๆเพื่อให้รู้สึกว่าได้สนองพระราชดารัสและให้เกิดภาพลักษณ์ที่ดี
หรือพูดง่ายๆ ก็คือ เศรษฐกิจพอเพียง ถูกใช้เพื่อเป็นเครื่องมือเพื่อตัวเอง
ซึ่งความไม่เข้าใจนี้อาจเกิดจากการสับสนว่าเศรษฐกิจพอเพียงกับทฤษฎีใหม่นั้นเป็นเรื่องเดียวกัน
ทาให้มีความเข้าใจว่า เศรษฐกิจพอเพียงหมายถึงการปฏิเสธอุตสาหกรรมแล้วกลับไปสู่เกษตรกรรม
ซึ่งเป็นความเข้าใจที่ผิด
ปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียงนี้ ได้รับการเชิดชูสูงสุด จาก สหประชาชาติ (UN)โดยนายโคฟี อันนัน
ในฐานะเลขาธิการองค์การสหประชาชาติ ได้ทูลเกล้าฯถวายรางวัล The Human Development Lifetime
Achievement Award แก่พระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัว เมื่อ 26พฤษภาคม 2549
และได้มีปาฐกถาถึงปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียงว่าเป็นปรัชญาที่สามารถเริ่มได้จากการสร้างภูมิคุ้มกันในตนเอ
ง สู่หมู่บ้าน และสู่เศรษฐกิจในวงกว้างขึ้นในที่สุด
เป็นปรัชญาที่มีประโยชน์ต่อประเทศไทยและนานาประเทศ
โดยที่องค์การสหประชาชาติได้สนับสนุนให้ประเทศต่างๆที่เป็นสมาชิก 166
ประเทศยึดเป็นแนวทางสู่การพัฒนาประเทศแบบยั่งยืน
หลักแนวคิดของเศรษฐกิจพอเพียง
การพัฒนาตามหลักเศรษฐกิจพอเพียง คือการพัฒนาที่ตั้งอยู่บนพื้นฐานของทางสายกลาง
และความไม่ประมาท โดยคานึงถึง ความพอประมาณ ความมีเหตุผล การสร้างภูมิคุ้มกันที่ดีในตัว
ตลอดจนใช้ความรู้ความรอบคอบ และคุณธรรม ประกอบการวางแผน การตัดสินใจ และการกระทา
ปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง มีหลักพิจารณาอยู่ 5ส่วน ดังนี้
กรอบแนวคิด เป็นปรัชญาที่ชี้แนะแนวทางการดารงอยู่ และปฏิบัติตนในทางที่ควรจะเป็น
โดยมีพื้นฐานมาจากวิถีชีวิตดั้งเดิมของสังคมไทย สามารถนามาประยุกต์ใช้ได้ตลอดเวลา
และเป็นการมองโลกเชิงระบบที่มีการเปลี่ยนแปลงอยู่ตลอดเวลา
และเป็นการมองโลกเชิงระบบที่มีการเปลี่ยนแปลงอยู่ตลอดเวลา มุ่งเน้นการรอดพ้นจากภัย และวิกฤต
เพื่อความมั่นคง และความยั่งยืนของการพัฒนา
คุณลักษณะ เศรษฐกิจพอเพียงสามารถนามาประยุกต์ใช้กับการปฏิบัติตนได้ในทุกระดับ
โดยเน้นการปฏิบัติบนทางสายกลาง และการพัฒนาอย่างเป็นขั้นตอน
คานิยาม ความพอเพียงจะต้องประกอบด้วย 3 คุณลักษณะ พร้อม ๆ กันดังนี้
ความพอประมาณ หมายถึง ความพอดีที่ไม่น้อยเกินไป และไม่มากเกินไปโดยไม่เบียดเบียนตนเอง และผู้อื่น
เช่นการผลติ และการบริโภคที่อยู่ในระดับพอประมาณ
ความมีเหตุผล หมายถึง การตัดสินใจเกี่ยวกับระดับของความพอเพียงนั้น จะต้องเป็นไปอย่างมีเหตุผล
โดยพิจารณาจากเหตุปัจจัยที่เกี่ยวข้องตลอดจนคานึงถึงผลที่คาดว่าจะเกิดขึ้นจากการกระทานั้น ๆ
อย่างรอบคอบ
การมีภูมิคุ้มกันที่ดีในตัว หมายถึง การเตรียมตัวให้พร้อมรับผลกระทบ และการเปลี่ยนแปลงด้านต่าง ๆ
ที่จะเกิดขึ้นโดยคานึงถึงความเป็นไปได้ของสถานการณ์ ต่าง ๆ ที่คาดว่าจะเกิดขึ้นในอนาคตทั้งใกล้ และไกล
เงื่อนไข การตัดสินใจและการดาเนินกิจกรรมต่าง ๆให้อยู่ในระดับพอเพียงนั้น ต้องอาศัยทั้งความรู้
และคุณธรรมเป็นพื้นฐาน กล่าวคือ
เงื่อนไขความรู้ ประกอบด้วย ความรอบรู้เกี่ยวกับวิชาการต่าง ๆ ที่เกี่ยวข้องอย่างรอบด้าน
ความรอบคอบที่จะนาความรู้เหล่านั้นมาพิจารณาให้เชื่อมโยงกัน เพื่อประกอบการวางแผน
และความระมัดระวังในขั้นปฏิบัติ
เงื่อนไขคุณธรรม ที่จะต้องเสริมสร้างประกอบด้วย มีความตระหนักในคุณธรรม มีความซื่อสัตย์สุจริต
และมีความอดทน มีความเพียร ใช้สติปัญญาในการดาเนินชีวิต
แนวทางปฏิบัติ / ผลที่คาดว่าจะได้รับ จากการนาปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียงมาประยุกต์ใช้ คือ
การพัฒนาที่สมดุล และยั่งยืน พร้อมรับต่อการเปลี่ยนแปลงในทุกด้าน ทั้งด้านเศรษฐกิจ สังคม สิ่งแวดล้อม
ความรู้ และเทคโนโลยี
เศรษฐกิจพอเพียงกับทฤษฎีใหม่ตามแนวพระราชดาริ
เศรษฐกิจพอเพียง และแนวทางปฏิบัติของทฤษฎีใหม่
เป็นแนวทางในการพัฒนาที่นาไปสู่ความสามารถในการพึ่งตนเอง ในระดับต่าง ๆอย่างเป็นขั้นตอน
โดยลดความเสียงเกี่ยวกับความผันแปรของธรรมชาติ หรือการเปลี่ยนแปลงจากปัจจัยต่าง ๆ
โดยอาศัยความพอประมาณ และความมีเหตุผล การสร้างภูมิคุ้มกันที่ดี มีความรู้ ความเพียร และความอดทน
สติ และปัญญา การช่วยเหลือซึ่งกันและกัน และความสามัคคี
เศรษฐกิจพอเพียงความหมายกว้างกว่าทฤษฎีใหม่
โดยที่เศรษฐกิจพอเพียงเป็นกรอบแนวคิดที่ชี้บอกหลักการ และแนวทางปฏิบัติของทฤษฎีใหม่ ในขณะที่
แนวพระราชดาริเกี่ยวกับทฤษฎีใหม่ หรือเกษตรทฤษฎีใหม่
ซึ่งเป็นแนวทางการพัฒนาการเกษตรอย่างเป็นขั้นตอนนั้น
เป็นตัวอย่างการใช้หลักเศรษฐกิจพอเพียงในทางปฏิบัติ ที่เป็นรูปธรรม เฉพาะในพื้นที่ที่เหมาะสม
ทฤษฎีใหม่ตามแนวพระราชดาริ อาจเปรียบเทียบกับหลักเศรษฐกิจพอเพียง ซึ่งมีอยู่2 แบบ คือ แบบพื้นฐาน
กับ แบบก้าวหน้า
ขั้นที่ 1 ที่มุ่งแก้ปัญหาของเกษตรกรที่อยู่ห่างไกลแหล่งน้า ต้องพึ่งน้าฝน
และประสบความเสี่ยงจากการที่น้าไม่พอเพียง แม้กระทั่งสาหรับการปลูกข้าวเพื่อบริโภค และมีข้อสมมติว่า
มีที่ดินพอเพียงในการขุดบ่อเพื่อแก้ปัญหาในเรื่องดังกล่าว จากการแก้ปัญหาความเสี่ยงเรื่องน้า
จะทาให้เกษตรกรสามารถมีข้าวเพื่อการบริโภคยังชีพในระดับหนึ่ง และใช้ที่ดินส่วนอื่น ๆ
สนองความต้องการพื้นฐานของครอบครัว รวมทั้งขายในส่วนที่เหลือเพื่อมีรายได้ที่จะใช้เป็นค่าใช้จ่ายอื่น ๆ
ที่ไม่สามารถผลิตเองได้ ทั้งหมดนี้เป็นการสร้างภูมิคุ้มกันในตัวให้เกิดขึ้นในระดับครอบครัว อย่างไรก็ตาม
แม้กระทั่ง ในทฤษฎีใหม่ขั้นที่ 1ก็จาเป็นที่เกษตรกรจะต้องได้รับความช่วยเหลือจากชุมชนราชการ มูลนิธิ
และภาคเอกชน ตามความเหมาะสมความพอเพียงในระดับชุมชน
และระดับองค์กรเป็นเศรษฐกิจพอเพียงแบบก้าวหน้า ซึ่งครอบคลุมทฤษฎีใหม่
ขั้นที่ 2 เป็นเรื่องของการสนับสนุนให้เกษตรกรรวมพลังกันในรูปกลุ่มหรือสหกรณ์ หรือการที่ธุรกิจต่าง ๆ
รวมตัวกันในลักษณะเครือข่ายวิสาหกิจ กล่าวคือ เมื่อสมาชิกในแต่ละครอบครัว หรือองค์กรต่าง ๆ
มีความพอเพียงขั้นพื้นฐานเป็นเบื้องต้นแล้วก็จะรวมกลุ่มกันเพื่อร่วมมือกันสร้างประโยชน์ให้แก่กลุ่ม
และส่วนรวมบนพื้นฐานของการไม่เบียดเบียนกัน การแบ่งปันช่วยเหลือซึ่งกันและกัน
ตามกาลังและความสามารถของตน ซึ่งจะสามารถทาให้ ชุมชนโดยรวม หรือเครือข่ายวิสาหกิจนั้น ๆ
เกิดความพอเพียงในวิถีปฏิบัติอย่างแท้จริงความพอเพียงในระดับประเทศ
เป็นเศรษฐกิจพอเพียงแบบก้าวหน้า ซึ่งครอบคลุมทฤษฎีใหม่
ขั้นที่ 3 ซึ่งส่งเสริมให้ชุมชน หรือเครือข่ายวิสาหกิจ สร้างความร่วมมือกับองค์กรอื่น ๆ ในประเทศ เช่น
บริษัทขนาดใหญ่ ธนาคาร สถาบันวิจัย เป็นต้น
การสร้างเครือข่ายความร่วมมือในลักษณะเช่นนี้ จะเป็นประโยชน์ในการสืบทอดภูมิปัญญา
แลกเปลี่ยนความรู้ เทคโนโลยี และบทเรียนจากการพัฒนา หรือ ร่วมมือกันพัฒนา
ตามแนวทางเศรษฐกิจพอเพียงทาให้ประเทศอันเป็นสังคมใหญ่อันประกอบด้วยชุมชน องค์กร
และธุรกิจต่าง ๆ
ที่ดาเนินชีวิตอย่างพอเพียงกลายเป็นเครือข่ายชุมชนพอเพียงที่เชื่อมโยงกันด้วยหลักไม่เบียดเบียน แบ่งปัน
และช่วยเหลือซึ่งกันและกันได้ในที่สุด
ประการที่สาคัญของเศรษฐกิจพอเพียง
พอมีพอกิน ปลูกพืชสวนครัวไว้กินเองบ้าง ปลูกไม้ผลไว้หลังบ้าน 2-3ต้น พอที่จะมีไว้กินเองในครัวเรือน
เหลือจึงขายไป
พออยู่พอใช้ทาให้บ้านน่าอยู่ปราศจากสารเคมี กลิ่นเหม็น ใช้แต่ของที่เป็นธรรมชาติ
(ใช้จุลินทรีย์ผสมน้าถูพื้นบ้าน จะสะอาดกว่าใช้น้ายาเคมี) รายจ่ายลดลง สุขภาพจะดีขึ้น
(ประหยัดค่ารักษาพยาบาล)
พออกพอใจ เราต้องรู้จักพอ รู้จักประมาณตน ไม่ใคร่อยากใคร่มีเช่นผู้อื่น เพราะเราจะหลงติดกับวัตถุ
ปัญญาจะไม่เกิด
"การจะเป็นเสือนั้นมันไม่สาคัญ สาคัญอยู่ที่เราพออยู่พอกิน
และมีเศรษฐกิจการเป็นอยู่แบบพอมีพอกิน แบบพอมีพอกิน หมายความว่า อุ้มชูตัวเองได้
ให้มีพอเพียงกับตัวเอง" พระราชดารัสในพระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัวฯ
เศรษฐกิจพอเพียง ความหมายเศรษฐกิจพอเพียง
ความหมายเศรษฐกิจพอเพียง
จุดเริ่มต้นแนวคิดเศรษฐกิจพอเพียง
ผลจากการใช้แนวทางการพัฒนาประเทศไปสู่ความทันสมัย
ได้ก่อให้เกิดการเปลี่ยนแปลงแก่สังคมไทยอย่างมากในทุกด้าน ไม่ว่าจะเป็นด้านเศรษฐกิจ การเมือง
วัฒนธรรม สังคมและสิ่งแวดล้อม
อีกทั้งกระบวนการของความเปลี่ยนแปลงมีความสลับซับซ้อนจนยากที่จะอธิบายใน
เชิงสาเหตุและผลลัพธ์ได้ เพราะการเปลี่ยนแปลงทั้งหมดต่างเป็นปัจจัยเชื่อมโยงซึ่งกันและกัน
สาหรับผลของการพัฒนาในด้านบวกนั้น ได้แก่การเพิ่มขึ้นของอัตราการเจริญเติบโตทางเศรษฐกิจ
ความเจริญทางวัตถุ และสาธารณูปโภคต่างๆ ระบบสื่อสารที่ทันสมัย
หรือการขยายปริมาณและกระจายการศึกษาอย่างทั่วถึงมากขึ้น
แต่ผลด้านบวกเหล่านี้ส่วนใหญ่กระจายไปถึงคนในชนบท หรือผู้ด้อยโอกาสในสังคมน้อย
แต่ว่า กระบวนการเปลี่ยนแปลงของสังคมได้เกิดผลลบติดตามมาด้วย เช่น
การขยายตัวของรัฐเข้าไปในชนบท ได้ส่งผลให้ชนบทเกิดความอ่อนแอในหลายด้าน
ทั้งการต้องพึ่งพิงตลาดและพ่อค้าคนกลางในการสั่งสินค้าทุน ความเสื่อมโทรมของทรัพยากรธรรมชาติ
ระบบความสัมพันธ์แบบเครือญาติ
และการรวมกลุ่มกันตามประเพณีเพื่อการจัดการทรัพยากรที่เคยมีอยู่แต่เดิมแตก สลายลง
ภูมิความรู้ที่เคยใช้แก้ปัญหาและสั่งสมปรับเปลี่ยนกันมาถูกลืมเลือนและเริ่ม สูญหายไป
สิ่งสาคัญ ก็คือ ความพอเพียงในการดารงชีวิต ซึ่งเป็นเงื่อนไขพื้นฐานที่ทาให้คนไทยสามารถพึ่งตนเอง
และดาเนินชีวิตไปได้อย่างมีศักดิ์ศรีภายใต้อานาจและความมีอิสระในการกาหนด ชะตาชีวิตของตนเอง
ความสามารถในการควบคุมและจัดการเพื่อให้ตนเองได้รับการสนองตอบต่อความต้อง การต่างๆ
รวมทั้งความสามารถในการจัดการปัญหาต่างๆ ได้ด้วยตนเอง
ซึ่งทั้งหมดนี้ถือว่าเป็นศักยภาพพื้นฐานที่คนไทยและสังคมไทยเคยมีอยู่แต่ เดิม ต้องถูกกระทบกระเทือน
ซึ่งวิกฤตเศรษฐกิจจากปัญหาฟองสบู่และปัญหาความอ่อนแอของชนบท รวมทั้งปัญหาอื่นๆ ที่เกิดขึ้น
ล้วนแต่เป็นข้อพิสูจน์และยืนยันปรากฎการณ์นี้ได้เป็นอย่างดี
พระราชดาริว่าด้วยเศรษฐกิจพอเพียง
“...การพัฒนาประเทศจาเป็นต้องทาตามลาดับขั้น ต้องสร้างพื้นฐานคือ ความพอมี พอกิน
พอใช้ของประชาชนส่วนใหญ่เบื้องต้นก่อน
โดยใช้วิธีการและอุปกรณ์ที่ประหยัดแต่ถูกต้องตามหลักวิชาการ เมื่อได้พื้นฐานความมั่นคงพร้อมพอสมควร
และปฏิบัติได้แล้ว จึงค่อยสร้างค่อยเสริมความเจริญ และฐานะทางเศรษฐกิจขั้นที่สูงขึ้นโดยลาดับต่อไป...”
(๑๘ กรกฎาคม ๒๕๑๗)
“เศรษฐกิจพอเพียง” เป็นแนวพระราชดาริในพระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัว ที่พระราชทานมานานกว่า ๓๐
ปี เป็นแนวคิดที่ตั้งอยู่บนรากฐานของวัฒนธรรมไทย เป็นแนวทางการพัฒนาที่ตั้งบนพื้นฐานของทางสายกล
าง และความไม่ประมาท คานึงถึงความพอประมาณ ความมีเหตุผล การสร้างภูมิคุ้มกันในตัวเอง
ตลอดจนใช้ความรู้และคุณธรรม เป็นพื้นฐานในการดารงชีวิต ที่สาคัญจะต้องมี “สติปัญญา
และความเพียร” ซึ่งจะนาไปสู่ “ความสุข”ในการดาเนินชีวิตอย่างแท้จริง
“...คนอื่นจะว่าอย่างไรก็ช่างเขา จะว่าเมืองไทยล้าสมัย ว่าเมืองไทยเชย ว่าเมืองไทยไม่มีสิ่งที่สมัยใหม่
แต่เราอยู่พอมีพอกิน และขอให้ทุกคนมีความปรารถนาที่จะให้เมืองไทย พออยู่พอกิน มีความสงบ
และทางานตั้งจิตอธิษฐานตั้งปณิธาน ในทางนี้ที่จะให้เมืองไทยอยู่แบบพออยู่พอกิน
ไม่ใช่ว่าจะรุ่งเรืองอย่างยอด แต่ว่ามีความพออยู่พอกิน มีความสงบ เปรียบเทียบกับประเทศอื่นๆ
ถ้าเรารักษาความพออยู่พอกินนี้ได้ เราก็จะยอดยิ่งยวดได้...” (๔ ธันวาคม ๒๕๑๗)
พระบรมราโชวาทนี้ ทรงเห็นว่าแนวทางการพัฒนาที่เน้นการขยายตัวทางเศรษฐกิจของประเทศเป็นหลักแต่
เพียงอย่างเดียวอาจจะเกิดปัญหาได้ จึงทรงเน้นการมีพอกินพอใช้ของประชาชนส่วนใหญ่ในเบื้องต้นก่อน เมื่
อมีพื้นฐานความมั่นคงพร้อมพอสมควรแล้ว จึงสร้างความเจริญและฐานะทางเศรษฐกิจให้สูงขึ้น
ซึ่งหมายถึง แทนที่จะเน้นการขยายตัวของภาคอุตสาหกรรมนาการพัฒนาประเทศ
ควรที่จะสร้างความมั่นคงทางเศรษฐกิจพื้นฐานก่อน
นั่นคือ ทาให้ประชาชนในชนบทส่วนใหญ่พอมีพอกินก่อน เป็นแนวทางการพัฒนาที่เน้นการกระจายรายได้
เพื่อสร้างพื้นฐานและความมั่นงคงทางเศรษฐกิจโดยรวมของประเทศ ก่อนเน้นการพัฒนาในระดับสูงขึ้นไป
ทรงเตือนเรื่องพออยู่พอกิน ตั้งแต่ปี ๒๕๑๗คือ เมื่อ๓๐ กว่าปีที่แล้ว
แต่ทิศทางการพัฒนามิได้เปลี่ยนแปลง
“...เมื่อปี ๒๕๑๗ วันนั้นได้พูดถึงว่า เราควรปฏิบัติให้พอมีพอกิน พอมีพอกินนี้ก็แปลว่า
เศรษฐกิจพอเพียงนั่นเอง ถ้าแต่ละคนมีพอมีพอกิน ก็ใช้ได้ ยิ่งถ้าทั้งประเทศพอมีพอกินก็ยิ่งดี
และประเทศไทยเวลานั้นก็เริ่มจะเป็นไม่พอมีพอกิน บางคนก็มีมาก บางคนก็ไม่มีเลย...” (๔ ธันวาคม
๒๕๔๑)
เศรษฐกิจพอเพียง
“เศรษฐกิจพอเพียง” เป็นปรัชญาที่พระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัวพระราชทานพระราชดาริชี้แนะแนวทาง
การดาเนินชีวิตแก่พสกนิกรชาวไทยมาโดยตลอดนานกว่า ๒๕ ปี ตั้งแต่ก่อนเกิดวิกฤตการณ์ทางเศรษฐกิจ
และเมื่อภายหลังได้ทรงเน้นย้าแนวทางการแก้ไขเพื่อให้รอดพ้น
และสามารถดารงอยู่ได้อย่างมั่นคงและยั่งยืนภายใต้กระแสโลกาภิวัตน์และความ เปลี่ยนแปลงต่างๆ
ปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง
เศรษฐกิจพอเพียง เป็นปรัชญาชี้ถึงแนวการดารงอยู่และปฏิบัติตนของประชาชนในทุกระดับ
ตั้งแต่ระดับครอบครัว ระดับชุมชน จนถึงระดับรัฐ
ทั้งในการพัฒนาและบริหารประเทศให้ดาเนินไปในทางสายกลาง โดยเฉพาะการพัฒนาเศรษฐกิจ
เพื่อให้ก้าวทันต่อโลกยุคโลกาภิวัตน์ ความพอเพียง หมายถึง ความพอประมาณ ความมีเหตุผล
รวมถึงความจาเป็นที่จะต้องมีระบบภูมิคุ้มกันในตัวที่ดีพอสมควร ต่อการกระทบใดๆ
อันเกิดจากการเปลี่ยนแปลงทั้งภายในภายนอก ทั้งนี้ จะต้องอาศัยความรอบรู้ ความรอบคอบ
และความระมัดระวังอย่างยิ่งในการนาวิชาการต่างๆ มาใช้ในการวางแผนและการดาเนินการ ทุกขั้นตอน
และขณะเดียวกัน จะต้องเสริมสร้างพื้นฐานจิตใจของคนในชาติ โดยเฉพาะเจ้าหน้าที่ของรัฐ นักทฤษฎี
และนักธุรกิจในทุกระดับ ให้มีสานึกในคุณธรรม ความซื่อสัตย์สุจริต และให้มีความรอบรู้ที่เหมาะสม
ดาเนินชีวิตด้วยความอดทน ความเพียร มีสติ ปัญญา และความรอบคอบ
เพื่อให้สมดุลและพร้อมต่อการรองรับการเปลี่ยนแปลงอย่างรวดเร็วและกว้างขวาง ทั้งด้านวัตถุ สังคม
สิ่งแวดล้อม และวัฒนธรรมจากโลกภายนอกได้เป็นอย่างดี
ความหมายของเศรษฐกิจพอเพียง จึงประกอบด้วยคุณสมบัติ ดังนี้
๑. ความพอประมาณ หมายถึง ความพอดีที่ไม่น้อยเกินไปและไม่มากเกินไป
โดยไม่เบียดเบียนตนเองและผู้อื่น เช่น การผลิตและการบริโภคที่อยู่ในระดับพอประมาณ
๒. ความมีเหตุผล หมายถึง การตัดสินใจเกี่ยวกับระดับความพอเพียงนั้น จะต้องเป็นไปอย่างมีเหตุผล
โดยพิจารณาจากเหตุปัจจัยที่เกี่ยวข้อง ตลอดจนคานึงถึงผลที่คาดว่าจะเกิดขึ้นจากการกระทานั้นๆ
อย่างรอบคอบ
๓. ภูมิคุ้มกัน หมายถึง การเตรียมตัวให้พร้อมรับผลกระทบและการเปลี่ยนแปลงด้านต่างๆ ที่จะเกิดขึ้น
โดยคานึงถึงความเป็นไปได้ของสถานการณ์ต่างๆ ที่คาดว่าจะเกิดขึ้นในอนาคต
โดยมี เงื่อนไข ของการตัดสินใจและดาเนินกิจกรรมต่างๆ ให้อยู่ในระดับพอเพียง ๒
ประการ ดังนี้
๑. เงื่อนไขความรู้ ประกอบด้วย ความรอบรู้เกี่ยวกับวิชาการต่างๆ ที่เกี่ยวข้องรอบด้าน
ความรอบคอบที่จะนาความรู้เหล่านั้นมาพิจารณาให้เชื่อมโยงกัน
เพื่อประกอบการวางแผนและความระมัดระวังในการปฏิบัติ
๒. เงื่อนไขคุณธรรม ที่จะต้องเสริมสร้าง ประกอบด้วย มีความตระหนักใน คุณธรรม
มีความซื่อสัตย์สุจริตและมีความอดทน มีความเพียร ใช้สติปัญญาในการดาเนินชีวิต
จุดเริ่มต้นแนวคิดเศรษฐกิจพอเพียง
ผลจากการใช้แนวทางการพัฒนาประเทศไปสู่ความทันสมัย
ได้ก่อให้เกิดการเปลี่ยนแปลงแก่สังคมไทยอย่างมากในทุกด้าน ไม่ว่าจะเป็นด้านเศรษฐกิจ การเมือง
วัฒนธรรม สังคมและสิ่งแวดล้อม
อีกทั้งกระบวนการของความเปลี่ยนแปลงมีความสลับซับซ้อนจนยากที่จะอธิบายใน
เชิงสาเหตุและผลลัพธ์ได้ เพราะการเปลี่ยนแปลงทั้งหมดต่างเป็นปัจจัยเชื่อมโยงซึ่งกันและกัน
สาหรับผลของการพัฒนาในด้านบวกนั้น ได้แก่การเพิ่มขึ้นของอัตราการเจริญเติบโตทางเศรษฐกิจ
ความเจริญทางวัตถุ และสาธารณูปโภคต่างๆ ระบบสื่อสารที่ทันสมัย
หรือการขยายปริมาณและกระจายการศึกษาอย่างทั่วถึงมากขึ้น
แต่ผลด้านบวกเหล่านี้ส่วนใหญ่กระจายไปถึงคนในชนบท หรือผู้ด้อยโอกาสในสังคมน้อย
แต่ว่า กระบวนการเปลี่ยนแปลงของสังคมได้เกิดผลลบติดตามมาด้วย เช่น
การขยายตัวของรัฐเข้าไปในชนบท ได้ส่งผลให้ชนบทเกิดความอ่อนแอในหลายด้าน
ทั้งการต้องพึ่งพิงตลาดและพ่อค้าคนกลางในการสั่งสินค้าทุน ความเสื่อมโทรมของทรัพยากรธรรมชาติ
ระบบความสัมพันธ์แบบเครือญาติ
และการรวมกลุ่มกันตามประเพณีเพื่อการจัดการทรัพยากรที่เคยมีอยู่แต่เดิมแตก สลายลง
ภูมิความรู้ที่เคยใช้แก้ปัญหาและสั่งสมปรับเปลี่ยนกันมาถูกลืมเลือนและเริ่ม สูญหายไป
สิ่งสาคัญ ก็คือ ความพอเพียงในการดารงชีวิต ซึ่งเป็นเงื่อนไขพื้นฐานที่ทาให้คนไทยสามารถพึ่งตนเอง
และดาเนินชีวิตไปได้อย่างมีศักดิ์ศรีภายใต้อานาจและความมีอิสระในการกาหนด ชะตาชีวิตของตนเอง
ความสามารถในการควบคุมและจัดการเพื่อให้ตนเองได้รับการสนองตอบต่อความต้อง การต่างๆ
รวมทั้งความสามารถในการจัดการปัญหาต่างๆ ได้ด้วยตนเอง
ซึ่งทั้งหมดนี้ถือว่าเป็นศักยภาพพื้นฐานที่คนไทยและสังคมไทยเคยมีอยู่แต่ เดิม ต้องถูกกระทบกระเทือน
ซึ่งวิกฤตเศรษฐกิจจากปัญหาฟองสบู่และปัญหาความอ่อนแอของชนบท รวมทั้งปัญหาอื่นๆ ที่เกิดขึ้น
ล้วนแต่เป็นข้อพิสูจน์และยืนยันปรากฎการณ์นี้ได้เป็นอย่างดี
พระราชดาริว่าด้วยเศรษฐกิจพอเพียง
“...การพัฒนาประเทศจาเป็นต้องทาตามลาดับขั้น ต้องสร้างพื้นฐานคือ ความพอมี พอกิน
พอใช้ของประชาชนส่วนใหญ่เบื้องต้นก่อน
โดยใช้วิธีการและอุปกรณ์ที่ประหยัดแต่ถูกต้องตามหลักวิชาการ เมื่อได้พื้นฐานความมั่นคงพร้อมพอสมควร
และปฏิบัติได้แล้ว จึงค่อยสร้างค่อยเสริมความเจริญ และฐานะทางเศรษฐกิจขั้นที่สูงขึ้นโดยลาดับต่อไป...”
(๑๘ กรกฎาคม ๒๕๑๗)
“เศรษฐกิจพอเพียง” เป็นแนวพระราชดาริในพระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัว ที่พระราชทานมานานกว่า ๓๐
ปี เป็นแนวคิดที่ตั้งอยู่บนรากฐานของวัฒนธรรมไทย เป็นแนวทางการพัฒนาที่ตั้งบนพื้นฐานของทางสายกล
าง และความไม่ประมาท คานึงถึงความพอประมาณ ความมีเหตุผล การสร้างภูมิคุ้มกันในตัวเอง
ตลอดจนใช้ความรู้และคุณธรรม เป็นพื้นฐานในการดารงชีวิต ที่สาคัญจะต้องมี “สติ ปัญญา
และความเพียร” ซึ่งจะนาไปสู่“ความสุข” ในการดาเนินชีวิตอย่างแท้จริง
“...คนอื่นจะว่าอย่างไรก็ช่างเขา จะว่าเมืองไทยล้าสมัย ว่าเมืองไทยเชย ว่าเมืองไทยไม่มีสิ่งที่สมัยใหม่
แต่เราอยู่พอมีพอกิน และขอให้ทุกคนมีความปรารถนาที่จะให้เมืองไทย พออยู่พอกิน มีความสงบ
และทางานตั้งจิตอธิษฐานตั้งปณิธาน ในทางนี้ที่จะให้เมืองไทยอยู่แบบพออยู่พอกิน
ไม่ใช่ว่าจะรุ่งเรืองอย่างยอด แต่ว่ามีความพออยู่พอกิน มีความสงบ เปรียบเทียบกับประเทศอื่นๆ
ถ้าเรารักษาความพออยู่พอกินนี้ได้ เราก็จะยอดยิ่งยวดได้...” (๔ ธันวาคม ๒๕๑๗)
พระบรมราโชวาทนี้ ทรงเห็นว่าแนวทางการพัฒนาที่เน้นการขยายตัวทางเศรษฐกิจของประเทศเป็นหลักแต่
เพียงอย่างเดียวอาจจะเกิดปัญหาได้ จึงทรงเน้นการมีพอกินพอใช้ของประชาชนส่วนใหญ่ในเบื้องต้นก่อนเมื่
อมีพื้นฐานความมั่นคงพร้อมพอสมควรแล้ว จึงสร้างความเจริญและฐานะทางเศรษฐกิจให้สูงขึ้น
ซึ่งหมายถึง แทนที่จะเน้นการขยายตัวของภาคอุตสาหกรรมนาการพัฒนาประเทศ
ควรที่จะสร้างความมั่นคงทางเศรษฐกิจพื้นฐานก่อน
นั่นคือ ทาให้ประชาชนในชนบทส่วนใหญ่พอมีพอกินก่อน เป็นแนวทางการพัฒนาที่เน้นการกระจายรายได้
เพื่อสร้างพื้นฐานและความมั่นงคงทางเศรษฐกิจโดยรวมของประเทศ ก่อนเน้นการพัฒนาในระดับสูงขึ้นไป
ทรงเตือนเรื่องพออยู่พอกิน ตั้งแต่ปี ๒๕๑๗ คือ เมื่อ ๓๐ กว่าปีที่แล้ว
เศรษฐกิจพอเพียง
เศรษฐกิจพอเพียง
เศรษฐกิจพอเพียง
เศรษฐกิจพอเพียง
เศรษฐกิจพอเพียง
เศรษฐกิจพอเพียง
เศรษฐกิจพอเพียง
เศรษฐกิจพอเพียง
เศรษฐกิจพอเพียง
เศรษฐกิจพอเพียง
เศรษฐกิจพอเพียง
เศรษฐกิจพอเพียง
เศรษฐกิจพอเพียง
เศรษฐกิจพอเพียง
เศรษฐกิจพอเพียง
เศรษฐกิจพอเพียง
เศรษฐกิจพอเพียง
เศรษฐกิจพอเพียง
เศรษฐกิจพอเพียง
เศรษฐกิจพอเพียง

Contenu connexe

Tendances

โครงงานสร้างสื่อการเรียนรู้ตามหลักปรัชญาทฤษฎีใหม่ (โมเดล)
โครงงานสร้างสื่อการเรียนรู้ตามหลักปรัชญาทฤษฎีใหม่ (โมเดล)โครงงานสร้างสื่อการเรียนรู้ตามหลักปรัชญาทฤษฎีใหม่ (โมเดล)
โครงงานสร้างสื่อการเรียนรู้ตามหลักปรัชญาทฤษฎีใหม่ (โมเดล)TIt KhawThong
 
ปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง
ปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียงปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง
ปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียงKruwaw-ru Kan
 
นำเสนอเศรษฐกิจพอเพียง
นำเสนอเศรษฐกิจพอเพียงนำเสนอเศรษฐกิจพอเพียง
นำเสนอเศรษฐกิจพอเพียงwilai2510
 
1942 เศรษฐกิจพอเพียง
1942 เศรษฐกิจพอเพียง1942 เศรษฐกิจพอเพียง
1942 เศรษฐกิจพอเพียงseri_101
 
ปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง ผลสะท้อนจากหลักธรรมในพุทธศาสนาเถรวาท
ปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง  ผลสะท้อนจากหลักธรรมในพุทธศาสนาเถรวาทปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง  ผลสะท้อนจากหลักธรรมในพุทธศาสนาเถรวาท
ปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง ผลสะท้อนจากหลักธรรมในพุทธศาสนาเถรวาทpentanino
 
หน่วยที่ 3 เศรษฐกิจพอเพียงกับการพัฒนาเศรษฐกิจไทย
หน่วยที่ 3 เศรษฐกิจพอเพียงกับการพัฒนาเศรษฐกิจไทยหน่วยที่ 3 เศรษฐกิจพอเพียงกับการพัฒนาเศรษฐกิจไทย
หน่วยที่ 3 เศรษฐกิจพอเพียงกับการพัฒนาเศรษฐกิจไทยPaew Tongpanya
 
เศรษฐกิจพอเพียงกับการผลิตสินค้าและบริการในท้องถิ่น
เศรษฐกิจพอเพียงกับการผลิตสินค้าและบริการในท้องถิ่นเศรษฐกิจพอเพียงกับการผลิตสินค้าและบริการในท้องถิ่น
เศรษฐกิจพอเพียงกับการผลิตสินค้าและบริการในท้องถิ่นพจีกานต์ หว่านพืช
 
งานนำเสนอเศรษฐกิจพอเพียง
งานนำเสนอเศรษฐกิจพอเพียงงานนำเสนอเศรษฐกิจพอเพียง
งานนำเสนอเศรษฐกิจพอเพียงSuttipong Pratumvee
 
เพ้าเวอร์พ้อยโครงการปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง
เพ้าเวอร์พ้อยโครงการปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียงเพ้าเวอร์พ้อยโครงการปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง
เพ้าเวอร์พ้อยโครงการปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียงpatcharapornfilmmii
 
คำนำ สารบัญ รายงานประเมินตนเองสถานศึกษาพอเพียง ปี ๕๗ จักราวุธ คำทวี
คำนำ สารบัญ รายงานประเมินตนเองสถานศึกษาพอเพียง ปี ๕๗ จักราวุธ คำทวีคำนำ สารบัญ รายงานประเมินตนเองสถานศึกษาพอเพียง ปี ๕๗ จักราวุธ คำทวี
คำนำ สารบัญ รายงานประเมินตนเองสถานศึกษาพอเพียง ปี ๕๗ จักราวุธ คำทวีนายจักราวุธ คำทวี
 
ทฤษฎีการจัดการแบบวิทยาศาสตร์
ทฤษฎีการจัดการแบบวิทยาศาสตร์ทฤษฎีการจัดการแบบวิทยาศาสตร์
ทฤษฎีการจัดการแบบวิทยาศาสตร์wiraja
 
Powerpoint เศรษฐกิจพอเพียง
Powerpoint เศรษฐกิจพอเพียงPowerpoint เศรษฐกิจพอเพียง
Powerpoint เศรษฐกิจพอเพียงChanon Mala
 
การออมและการลงทุน ม.2
การออมและการลงทุน ม.2การออมและการลงทุน ม.2
การออมและการลงทุน ม.2พัน พัน
 
อารยธรรมเมโสโปเตเมีย
อารยธรรมเมโสโปเตเมียอารยธรรมเมโสโปเตเมีย
อารยธรรมเมโสโปเตเมียKran Sirikran
 
เศรษฐกิจพอเพียง ตามแนวพระราชดำริ
เศรษฐกิจพอเพียง  ตามแนวพระราชดำริเศรษฐกิจพอเพียง  ตามแนวพระราชดำริ
เศรษฐกิจพอเพียง ตามแนวพระราชดำริKawow
 
บทที่ 6 การใช้ภาษาบาลีและการใช้คำภาษาบาลีในภาษาไทย
บทที่ 6 การใช้ภาษาบาลีและการใช้คำภาษาบาลีในภาษาไทยบทที่ 6 การใช้ภาษาบาลีและการใช้คำภาษาบาลีในภาษาไทย
บทที่ 6 การใช้ภาษาบาลีและการใช้คำภาษาบาลีในภาษาไทยGawewat Dechaapinun
 

Tendances (20)

โครงงานสร้างสื่อการเรียนรู้ตามหลักปรัชญาทฤษฎีใหม่ (โมเดล)
โครงงานสร้างสื่อการเรียนรู้ตามหลักปรัชญาทฤษฎีใหม่ (โมเดล)โครงงานสร้างสื่อการเรียนรู้ตามหลักปรัชญาทฤษฎีใหม่ (โมเดล)
โครงงานสร้างสื่อการเรียนรู้ตามหลักปรัชญาทฤษฎีใหม่ (โมเดล)
 
ปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง
ปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียงปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง
ปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง
 
นำเสนอเศรษฐกิจพอเพียง
นำเสนอเศรษฐกิจพอเพียงนำเสนอเศรษฐกิจพอเพียง
นำเสนอเศรษฐกิจพอเพียง
 
คำนำ
คำนำคำนำ
คำนำ
 
เศรษฐกิจพอเพียง
เศรษฐกิจพอเพียงเศรษฐกิจพอเพียง
เศรษฐกิจพอเพียง
 
1942 เศรษฐกิจพอเพียง
1942 เศรษฐกิจพอเพียง1942 เศรษฐกิจพอเพียง
1942 เศรษฐกิจพอเพียง
 
ปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง ผลสะท้อนจากหลักธรรมในพุทธศาสนาเถรวาท
ปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง  ผลสะท้อนจากหลักธรรมในพุทธศาสนาเถรวาทปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง  ผลสะท้อนจากหลักธรรมในพุทธศาสนาเถรวาท
ปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง ผลสะท้อนจากหลักธรรมในพุทธศาสนาเถรวาท
 
หน่วยที่ 3 เศรษฐกิจพอเพียงกับการพัฒนาเศรษฐกิจไทย
หน่วยที่ 3 เศรษฐกิจพอเพียงกับการพัฒนาเศรษฐกิจไทยหน่วยที่ 3 เศรษฐกิจพอเพียงกับการพัฒนาเศรษฐกิจไทย
หน่วยที่ 3 เศรษฐกิจพอเพียงกับการพัฒนาเศรษฐกิจไทย
 
เศรษฐกิจพอเพียงกับการผลิตสินค้าและบริการในท้องถิ่น
เศรษฐกิจพอเพียงกับการผลิตสินค้าและบริการในท้องถิ่นเศรษฐกิจพอเพียงกับการผลิตสินค้าและบริการในท้องถิ่น
เศรษฐกิจพอเพียงกับการผลิตสินค้าและบริการในท้องถิ่น
 
งานนำเสนอเศรษฐกิจพอเพียง
งานนำเสนอเศรษฐกิจพอเพียงงานนำเสนอเศรษฐกิจพอเพียง
งานนำเสนอเศรษฐกิจพอเพียง
 
เพ้าเวอร์พ้อยโครงการปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง
เพ้าเวอร์พ้อยโครงการปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียงเพ้าเวอร์พ้อยโครงการปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง
เพ้าเวอร์พ้อยโครงการปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง
 
คำนำ สารบัญ รายงานประเมินตนเองสถานศึกษาพอเพียง ปี ๕๗ จักราวุธ คำทวี
คำนำ สารบัญ รายงานประเมินตนเองสถานศึกษาพอเพียง ปี ๕๗ จักราวุธ คำทวีคำนำ สารบัญ รายงานประเมินตนเองสถานศึกษาพอเพียง ปี ๕๗ จักราวุธ คำทวี
คำนำ สารบัญ รายงานประเมินตนเองสถานศึกษาพอเพียง ปี ๕๗ จักราวุธ คำทวี
 
ทฤษฎีการจัดการแบบวิทยาศาสตร์
ทฤษฎีการจัดการแบบวิทยาศาสตร์ทฤษฎีการจัดการแบบวิทยาศาสตร์
ทฤษฎีการจัดการแบบวิทยาศาสตร์
 
Powerpoint เศรษฐกิจพอเพียง
Powerpoint เศรษฐกิจพอเพียงPowerpoint เศรษฐกิจพอเพียง
Powerpoint เศรษฐกิจพอเพียง
 
การออมและการลงทุน ม.2
การออมและการลงทุน ม.2การออมและการลงทุน ม.2
การออมและการลงทุน ม.2
 
อารยธรรมเมโสโปเตเมีย
อารยธรรมเมโสโปเตเมียอารยธรรมเมโสโปเตเมีย
อารยธรรมเมโสโปเตเมีย
 
เศรษฐกิจพอเพียง ตามแนวพระราชดำริ
เศรษฐกิจพอเพียง  ตามแนวพระราชดำริเศรษฐกิจพอเพียง  ตามแนวพระราชดำริ
เศรษฐกิจพอเพียง ตามแนวพระราชดำริ
 
การนำนโยบายไปสู่การปฏิบัติ
การนำนโยบายไปสู่การปฏิบัติการนำนโยบายไปสู่การปฏิบัติ
การนำนโยบายไปสู่การปฏิบัติ
 
15 เขียนคำขวัญ 1
15 เขียนคำขวัญ 115 เขียนคำขวัญ 1
15 เขียนคำขวัญ 1
 
บทที่ 6 การใช้ภาษาบาลีและการใช้คำภาษาบาลีในภาษาไทย
บทที่ 6 การใช้ภาษาบาลีและการใช้คำภาษาบาลีในภาษาไทยบทที่ 6 การใช้ภาษาบาลีและการใช้คำภาษาบาลีในภาษาไทย
บทที่ 6 การใช้ภาษาบาลีและการใช้คำภาษาบาลีในภาษาไทย
 

Similaire à เศรษฐกิจพอเพียง

เศรษฐกิจพอเพียง
เศรษฐกิจพอเพียงเศรษฐกิจพอเพียง
เศรษฐกิจพอเพียงbanlangkhao
 
เอกสารเรื่องเศรษฐกิจพอเพียง
เอกสารเรื่องเศรษฐกิจพอเพียงเอกสารเรื่องเศรษฐกิจพอเพียง
เอกสารเรื่องเศรษฐกิจพอเพียงDaungthip Pansomboon
 
ปรัชญศรษฐกิจพอเพียง
ปรัชญศรษฐกิจพอเพียงปรัชญศรษฐกิจพอเพียง
ปรัชญศรษฐกิจพอเพียงUltraman Sure
 
เศรษฐกิจพอเพียง
เศรษฐกิจพอเพียงเศรษฐกิจพอเพียง
เศรษฐกิจพอเพียงyeen_28175
 
ปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง
ปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียงปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง
ปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียงWongduean Phumnoi
 
เศรษฐกิจพอเพียง
เศรษฐกิจพอเพียงเศรษฐกิจพอเพียง
เศรษฐกิจพอเพียงsudza
 
เศรษฐกิจพอเพียง
เศรษฐกิจพอเพียงเศรษฐกิจพอเพียง
เศรษฐกิจพอเพียงnarudon
 
เศรษฐกิจพอเพียง
เศรษฐกิจพอเพียง เศรษฐกิจพอเพียง
เศรษฐกิจพอเพียง sapay
 
เศรษฐกิจพอเพียง
เศรษฐกิจพอเพียงเศรษฐกิจพอเพียง
เศรษฐกิจพอเพียงjo
 
งานนำเสนอ..
งานนำเสนอ..งานนำเสนอ..
งานนำเสนอ..Pornthip Tanamai
 
ปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง
ปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียงปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง
ปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียงENooilada
 
เศรษฐกิจพอเพียง
เศรษฐกิจพอเพียงเศรษฐกิจพอเพียง
เศรษฐกิจพอเพียงVilaporn Khankasikam
 
เศรษฐกิจพอเพียง
เศรษฐกิจพอเพียงเศรษฐกิจพอเพียง
เศรษฐกิจพอเพียงJiraprapa Suwannajak
 
เศรษฐกิจพอเพียง
เศรษฐกิจพอเพียง  เศรษฐกิจพอเพียง
เศรษฐกิจพอเพียง jaebarae
 

Similaire à เศรษฐกิจพอเพียง (20)

เศรษฐกิจพอเพียง
เศรษฐกิจพอเพียงเศรษฐกิจพอเพียง
เศรษฐกิจพอเพียง
 
183356
183356183356
183356
 
เอกสารเรื่องเศรษฐกิจพอเพียง
เอกสารเรื่องเศรษฐกิจพอเพียงเอกสารเรื่องเศรษฐกิจพอเพียง
เอกสารเรื่องเศรษฐกิจพอเพียง
 
ปรัชญศรษฐกิจพอเพียง
ปรัชญศรษฐกิจพอเพียงปรัชญศรษฐกิจพอเพียง
ปรัชญศรษฐกิจพอเพียง
 
เศรษฐกิจพอเพียง
เศรษฐกิจพอเพียงเศรษฐกิจพอเพียง
เศรษฐกิจพอเพียง
 
ปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง
ปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียงปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง
ปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง
 
ปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง
ปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียงปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง
ปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง
 
เศรษฐกิจพอเพียง
เศรษฐกิจพอเพียงเศรษฐกิจพอเพียง
เศรษฐกิจพอเพียง
 
เศรษฐกิจพอเพียง
เศรษฐกิจพอเพียงเศรษฐกิจพอเพียง
เศรษฐกิจพอเพียง
 
เศรษฐกิจพอเพียง
เศรษฐกิจพอเพียง เศรษฐกิจพอเพียง
เศรษฐกิจพอเพียง
 
เศรษฐกิจพอเพียง
เศรษฐกิจพอเพียงเศรษฐกิจพอเพียง
เศรษฐกิจพอเพียง
 
งานนำเสนอ..
งานนำเสนอ..งานนำเสนอ..
งานนำเสนอ..
 
โรงเรียนบ้านสวนส้ม
โรงเรียนบ้านสวนส้มโรงเรียนบ้านสวนส้ม
โรงเรียนบ้านสวนส้ม
 
ปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง
ปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียงปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง
ปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง
 
เศรษฐกิจพอเพียง
เศรษฐกิจพอเพียงเศรษฐกิจพอเพียง
เศรษฐกิจพอเพียง
 
เศรษฐกิจพอเพียง
เศรษฐกิจพอเพียงเศรษฐกิจพอเพียง
เศรษฐกิจพอเพียง
 
Sufficiency
SufficiencySufficiency
Sufficiency
 
เศรษฐกิจพอเพียง
เศรษฐกิจพอเพียง  เศรษฐกิจพอเพียง
เศรษฐกิจพอเพียง
 
Econ
EconEcon
Econ
 
Econ
EconEcon
Econ
 

เศรษฐกิจพอเพียง

  • 1. เศรษฐกิจพอเพียง เ ศ ร ษ ฐ กิ จ พ อ เ พี ย ง เ ป็ น ป รั ช ญ า ที่ ชี้ แ น ว ท า ง ก า ร ด า ร ง ชี วิ ต ที่พระบาทสมเด็จพระปรมินทรมหาภูมิพ ลอดุลยเดชมีพ ระราชดารัสแก่ชาวไทยนับตั้งแต่ปี พ .ศ . 2517เ ป็ น ต้ น ม า แ ล ะ ถู ก พู ด ถึ ง อ ย่า ง ชั ด เ จ น ใ น วั น ที่ 4ธั น ว า ค ม พ .ศ . 2540เ พื่ อ เป็ น แ น ว ท า ง ก า ร แ ก้ ไ ข ปั ญ ห า เ ศ ร ษ ฐ กิ จ ข อ ง ป ร ะ เ ท ศ ไ ท ย ให้สามารถดารงอยู่ได้อย่างมั่นคงและยั่งยืนในกระแสโลกาภิวัตน์และความเปลี่ยนแปลงต่าง ๆ เศ ร ษ ฐ กิจพ อ เพี ยง มีบ ท บ าท ต่อ การ ก าห น ด อุ ด มก ารณ์ ก ารพั ฒ น าข อ ง ป ระ เท ศ โดยปัญญาชนในสังคมไทยหลายท่านได้ร่วมแสดงความคิดเห็น อย่างเช่น ศ.นพ.ประเวศ วะสี,ศ.เสน่ห์ จ า ม ริ ก ,ศ .อ ภิ ชั ย พั น ธ เ ส น ,แ ล ะ ศ .ฉั ต ร ทิ พ ย์ น า ถ สุ ภ า โ ด ย เ ชื่ อ ม โ ย ง แ น ว คิ ด เ ศ ร ษ ฐ กิ จ พ อ เ พี ย ง เ ข้ า กั บ วั ฒ น ธ ร ร ม ชุ ม ช น ซึ่งเคยถูกเสนอมาก่อนหน้าโดยองค์กรพัฒนาเอกชนจานวนหนึ่งนับตั้งแต่พุทธทศวรรษ 2520และได้ช่วยให้ แนวคิดเศรษฐกิจพอเพียงเป็นที่รู้จักอย่างกว้างขวางในสังคมไทย สานักงานคณะกรรมการพัฒนาการเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติได้เชิญผู้ทรงคุณวุฒิในทางเศรษฐกิ จ แ ล ะ ส า ข า อื่ น ๆ มาร่วมกันประมวลและกลั่นกรองพระราชดารัสเรื่องเศรษฐกิจพอเพียงเพื่อบรรจุในแผนพัฒนาเศรษฐกิจและ สังคมแห่งชาติ ฉบับที่ 9และ ได้จัดทาเป็ น บทความเรื่ อง "ปรัช ญาของเศรษฐกิจพอเพียง" และได้นาความกราบบังคลทูลพระกรุณาขอพระราชทานพระบรมราชวินิจฉัย เมื่อวันที่ 22ตุลาคม พ.ศ. 2542โดยทรงพ ระ กรุณาปรับปรุงแก้ไขพระ ราช ทาน และทรงพ ระ กรุณาโปรดเกล้าฯ พ ร ะ ร าช ท าน พ ระ บ รมราช านุ ญ าต ใ ห้ น าบ ท ค ว ามที่ ท รง แก้ไข แ ล้วไ ป เผ ยแ พ ร่ เพื่อเป็นแนวทางปฏิบัติของสานักงานคณะกรรมการพัฒนาการเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติและทุกฝ่ายที่เกี่ย วข้อง ตลอดจนประชาชนโดยทั่วไป เมื่อวันที่ 21 พฤศจิกายน พ.ศ. 2542 ปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียงนี้ ได้รับการเชิดชูเป็ น อย่างสูงจากองค์การสห ประชาชาติ ว่า เ ป็ น ป รั ช ญ า ที่ มี ป ร ะ โ ย ช น์ ต่ อ ป ร ะ เ ท ศ ไ ท ย แ ล ะ น า น า ป ร ะ เ ท ศ แ ล ะ ส นั บ ส นุ น ใ ห้ ป ร ะ เท ศ ส ม า ชิ ก ยึ ด เ ป็ น แ น ว ท าง สู่ ก าร พั ฒ น า แ บ บ ยั่ง ยื น โดยมีนักวิชาการและนักเศรษฐศาสตร์หลายคนเห็นด้วยกับแนวทางเศรษฐกิจพอเพียง แต่ในขณะเดียวกัน บ า ง สื่ อ ไ ด้ มี ก า ร ตั้ ง ค า ถ า ม ถึ ง ก า ร ย ก ย่อ ง ข อ ง อ ง ค์ ก า ร ส ห ป ร ะ ช า ช า ติ รวมทั้งความน่าเชื่อถือของรายงานศึกษาและท่าทีขององค์การ พ ร ะ บ า ท ส ม เ ด็ จ พ ร ะ เ จ้ า อ ยู่ หั ว ภู มิ พ ล อ ดุ ล ย เ ด ช ได้พัฒนาหลักปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียงเพื่อที่จะให้พสกนิกรชาวไทยได้เข้าถึงทางสายกลางของชีวิตและเพื่ อคงไว้ซึ่งทฤษฏีของการพัฒนาที่ยั่งยืน ทฤษฎีนี้ เป็ นพื้น ฐานของการดารงชีวิตซึ่งอยู่ระหว่าง สังคมระ ดับท้องถิ่น และ ตลอดระ ดับสากล จุดเด่น ของแนวปรัชญานี้ คือ แน วทางที่สมดุล
  • 2. โดยชาติสามารถทันสมัย และก้าวสู่ความเป็นสากลได้ โดยปราศจากการต่อต้านกระแสโลกาภิวัตน์ และการอยู่รวมกันของทุกคนในสังคม หลักปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียงมีความสาคัญในช่วงปี พ.ศ. 2540ซึ่งเป็นช่วงที่ประเทศไทย ต้องประสบปั ญ ห าภ าวะทาง เศรษฐกิจ และ ต้องการรักษาความมั่น คงและ เสถียรภ าพ เพื่อที่จะยืนหยัดในการไม่พึ่งพาผู้อื่น และ พัฒนานโยบายที่สาคัญเพื่อการฟื้นฟูเศรษฐกิจของประเทศ พ ร ะ บ า ท ส ม เ ด็ จ พ ร ะ เ จ้ า อ ยู่ หั ว มี พ ร ะ ร า ช ด า ริ ว่ า มันไม่ได้มีความจาเป็ นที่เราจะกลายเป็ นประเทศอุตสาหกรรมใหม่พระองค์ได้ทรงอธิบายว่า ค ว า ม พ อ เ พี ย ง แ ล ะ ก า ร พึ่ ง ต น เ อ ง คื อ ทางสายกลางที่จะป้องกันการเปลี่ยนแปลงความไม่มั่นคงของประเทศได้ เศรษฐกิจพอเพียงเชื่อว่าจะสามารถปรับเปลี่ยนโครงสร้างทางสังคมของชมชุนให้ดีขึ้นโดยมีปัจจัย 2อย่างคือ 1.การผลิตจะต้องมีความสัมพันธ์กันระหว่าง ปริมาณผลผลิตและการบริโภค 2.ชุมชนจะต้องมีความสามารถในการจัดการทรัพยากรของตนเอง ผลที่เกิดขึ้นคือ ■เศรษฐกิจพอเพียงสามารถที่จะคงไว้ซึ่งขนาดของประชากรที่ได้สัดส่วน ■ใช้เทคโนโลยีได้อย่างเหมาะสม ■รักษาสมดุลของระบบนิเวศ และปราศจากการแทรกแซงจากปัจจัยภายนอก หลักปรัชญา ...การพัฒน าประ เทศจาเป็ น ต้องทาตามลาดับขั้น ต้องสร้างพื้น ฐาน คือ ความพ อมีพ อกิน พอใช้ของประชาชน ส่วนให ญ่เป็ นเบื้องต้น ก่อน โดยใช้วิธี การและใช้อุปกรณ์ที่ประห ยัด แต่ถู ก ต้อง ต าม ห ลัก วิช า เมื่อ ได้พื้ น ฐาน มั่น ค ง พ ร้อ ม พ อ ค วร แล ะ ป ฏิ บัติ ได้แ ล้ว จึง ค่อยส ร้าง ค่อ ยเส ริ มความเจริ ญ แล ะ ฐาน ะ เศรษ ฐกิจขั้น ที่ สู งขึ้ น โดยลาดับ ต่อ ไป ห ากมุ่ง แ ต่จะ ทุ่มเท ส ร้าง ค วามเจริ ญ ยกเศ รษ ฐกิจขึ้ น ใ ห้ รวด เร็ วแต่ป ระ การเดีย ว โดยไม่ให้แผนปฏิบัติการสัมพันธ์กับสภาวะของประเทศและของประชาชนโดยสอดคล้องด้วย ก็จะเกิดความไม่สมดุลในเรื่องต่าง ๆ ขึ้น ซึ่งอาจกลายเป็นความยุ่งยากล้มเหลวได้ในที่สุด... —พระบรมราโช วาท ใน พิธีพ ระราช ทาน ปริญญาบัตรของ มห าวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ ณ หอประชุมมหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ วันพฤหัสบดีที่ 18กรกฎาคม พ.ศ. 2517[1] เ ศ ร ษ ฐ กิ จ พ อ เ พี ย ง เ ป็ น ป รั ช ญ า ที่ ยึ ด ห ลั ก ท า ง ส า ย ก ล า ง ที่ชี้แนวทางการดารงอยู่และปฏิบัติของประชาชนในทุกระดับให้ดาเนินไปในทางสายกลาง มีความพอเพียง และมีความพร้อมที่จะจัดการต่อผลกระทบจากการเปลี่ยนแปลง ซึ่งจะต้องอาศัยความรอบรู้ รอบคอบ แ ล ะ ร ะ มั ด ร ะ วัง ใ น ก า ร ว า ง แ ผ น แ ล ะ ด า เ นิ น ก า ร ทุ ก ขั้ น ต อ น ทั้ ง นี้ เ ศ ร ษ ฐ กิ จ พ อ เ พี ย ง เ ป็ น ก า ร ด า เ นิ น ชี วิ ต อ ย่ า ง ส ม ดุ ล แ ล ะ ยั่ ง ยื น เพื่อให้สามารถอยู่ได้แม้ในโลกโลกาภิวัตน์ที่มีการแข่งขันสูง
  • 3. แผนภาพแสดงแนวคิดเศรษฐกิจพอเพียง 3 ห่วง 2เงื่อนไข แผนภาพแสดงแนวคิดเศรษฐกิจพอเพียง 3 ห่วง 2เงื่อนไข ปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียงที่ทรงปรับปรุงพระราชทานเป็นที่มาของนิยาม"3ห่วง 2เงื่อนไข" ที่ ค ณ ะ อ นุ ก ร ร ม ก า ร ขั บ เ ค ลื่ อ น เ ศ ร ษ ฐ กิ จ พ อ เ พี ย ง ส า นั ก ง า น ค ณ ะ ก ร ร ม ก า ร พั ฒ น า ก า ร เ ศ ร ษ ฐ กิ จ แ ล ะ สั ง ค ม แ ห่ ง ช า ติ นามาใช้ในการรณรงค์เผยแพร่ปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียงผ่านช่องทางสื่อต่าง ๆ อยู่ในปั จจุบัน ซึ่งประกอบด้วยความ "พอประมาณ มีเหตุผล มีภูมิคุ้มกัน" บนเงื่อนไข "ความรู้" และ "คุณธรรม" ดร.จิรายุ อิศรางกูร ณ อยุธยา ประธาน คณะอนุกรรมการขับเคลื่อน เศรษฐกิจพ อเพียง อ ธิ บ า ย ถึ ง ก า ร พั ฒ น า ต า ม ห ลั ก เ ศ ร ษ ฐ กิ จ พ อ เ พี ย ง ว่ า เป็นการพัฒนาที่ตั้งอยู่บนพื้นฐานของทางสายกลางและความไม่ประมาท โดยคานึงถึง ความพอประมาณ ค ว า ม มีเ ห ตุ ผ ล แ ล ะ ก า ร ส ร้ า ง ภู มิคุ้ ม กัน ที่ ดี ใ น ตั ว ต ล อ ด จ น ก า ร ใ ช้ ค ว า ม รู้ ความรอบคอบละคุณธรรมประกอบการวางแผน การตัดสินใจและการกระทาต่างๆ ความพอประมาณ ห มายถึง ความพ อดี ที่ไม่มากและ ไม่น้อยจน เกิน ไป ไม่เบียดเบียน ตน เองและผู้อื่ น เช่น
  • 4. การผลิตและการบริโภคที่พอประมาณ ความมีเหตุผล หมายถึง การใช้หลักเหตุผลในการตัดสินใจเรื่องต่างๆ โดยพิจารณาจากเหตุปัจจัยที่เกี่ยวข้อง ตลอดจนผลที่คาดว่าจะเกิดขึ้นอย่างรอบคอบ การมีภูมิคุ้มกันที่ดี ห มายถึง การเตรียมตัวให้ พ ร้อมรับต่อผลกระ ทบที่เกิดขึ้น จากการเปลี่ยน แปลงรอบตัว ปัจจัยเหล่านี้จะเกิดขึ้นได้นั้น จะต้องอาศัยความรู้และคุณธรรม เป็นเงื่อนไขพื้นฐาน กล่าวคือเงื่อนไขความรู้ หมายถึง ความรอบรู้ ความรอบคอบ และความระมัดระวังในการดาเนินชีวิตและการประกอบการงาน ส่วนเงื่อนไขคุณธรรม คือ การยึดถือคุณธรรมต่างๆ อาทิ ความซื่อสัตย์สุจริต ความอดทน ความเพียร การมุ่งต่อประโยชน์ส่วนรวมและการแบ่งปัน ฯลฯ ตลอดเวลาที่ประยุกต์ใช้ปรัชญา อภิชัย พันธเสน ผู้อานวยการสถาบันการจัดการเพื่อชนบทและสังคม ได้จัดแนวคิดเศรษฐกิจพอเพียงว่าเป็น "ข้อเสนอในการดาเนินกิจกรรมทางเศรษฐกิจตามแนวทางของพุทธธรรมอย่างแท้จริง" ทั้งนี้เนื่องจากในพระราชดารัสหนึ่ง ได้ให้คาอธิบายถึง เศรษฐกิจพอเพียง ว่า "คือความพอประมาณ ซื่อตรง ไม่โลภมาก และต้องไม่เบียดเบียนผู้อื่น" ระบบเศรษฐกิจพ อเพี ยงมุ่งเน้น ใ ห้บุคคลสามารถประกอบอาชีพ ได้อย่าง ยั่งยืน และ ใช้จ่ายเงิน ให้ ได้มาอย่างพ อเพียงและ ประ ห ยัด ตามกาลัง ของ เงิ น ของบุ คคลนั้ น โดยปราศจากการกู้หนี้ ยืมสิน ถ้ามีเงินเหลือ ก็แบ่งเก็บออมไว้บางส่วน ช่วยเหลือผู้อื่นบางส่วน และอาจจะใช้จ่ายมาเพื่อปัจจัยเสริมอีกบางส่วน สาเหตุที่แนวทางการดารงชีวิตอย่างพอเพียง ไ ด้ ถู ก ก ล่ า ว ถึ ง อ ย่ า ง ก ว้ า ง ข ว า ง ใ น ข ณ ะ นี้ เพราะสภาพ การดารงชีวิตของสังคมทุน นิ ยมใน ปั จจุบัน ได้ถูกปลูกฝัง สร้าง ห รือกระตุ้น ให้เกิดการใช้จ่ายอย่างเกินตัว ในเรื่องที่ไม่เกี่ยวข้องหรือเกิน กว่าปั จจัยในการดารงชีวิต เช่น การบริโภคเกินตัว ความบัน เทิงหลากหลายรูปแบบ ความสวยความงาม การแต่งตัวตามแฟชั่น การพนันหรือเสี่ยงโชค เป็นต้น จนทาให้ไม่มีเงินเพียงพอเพื่อตอบสนองความต้องการเหล่านั้น ส่งผลใ ห้เกิดการกู้ห นี้ ยืมสิ น เกิดเป็ น วัฏ จักรที่บุคคลห นึ่ ง ไม่ส ามารถห ลุดออกมาได้ ถ้าไม่เปลี่ยน แน วทาง ใน การดารงชีวิต ซึ่ ง ดร. สุ เมธ ตัน ติเวช กุล ได้กล่าวว่า "ห ลาย ๆ คนกลับมาใช้ชีวิตอย่างคนจน ซึ่งเป็นการปรับตัวเข้าสู่คุณภาพ" และ "การลงมือทาด้วยความมีเหตุมีผล เป็นคุณค่าของเศรษฐกิจพอเพียง" การนาไปใช้ ป รั ช ญ า เ ศ ร ษ ฐ กิ จ พ อ เ พี ย ง นี้ ถูกใช้เป็ นกรอบแนวความคิดและทิศทางการพัฒนาระบบเศรษฐกิจมหภาคของไทย ซึ่งบรรจุอยู่ใน แผนพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติ ฉบับที่ 10เพื่อมุ่งสู่การพัฒนาที่สมดุล ยั่งยืน และมีภูมิคุ้มกัน เพื่อความอยู่ดีมีสุข มุ่งสู่สังคมที่มีความสุขอย่างยั่งยืน หรือที่เรียกว่า "สังคมสีเขียว" ด้วยหลักการดังกล่าว แผนพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติฉบับที่ 10นี้จะไม่เน้นเรื่องตัวเลขการเจริญเติบโตทางเศรษฐกิจ
  • 5. แ ต่ ยั ง ค ง ใ ห้ ค ว า ม ส า คั ญ ต่ อ ร ะ บ บ เ ศ ร ษ ฐ กิ จ แ บ บ ท วิ ลั ก ษ ณ์ ห รื อระ บบ เศรษฐกิจที่ มีความแตกต่าง กัน ระ ห ว่าง เศรษ ฐกิจชุมช น เมือง และ ช น บ ท แนวปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง ยังถูกบรรจุในรัฐธรรมนูญของไทยเช่น รัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย พุทธศักราช 2550ในส่วนที่ 3แนวนโยบายด้านการบริหารราชการแผ่นดิน มาตรา 78 (1) ความว่า: "บริหารราชการแผ่นดินให้เป็นไปเพื่อการพัฒนาสังคมเศรษฐกิจ และความมั่นคง ของประเทศอย่างยั่งยืน โดยต้องส่งเสริมการดาเนินการตามปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียงและคานึงถึงผลประโยชน์ของประเทศชาติในภ าพรวมเป็นสาคัญ" นายสุรเกียรติเสถียรไทยในฐานะรัฐมนตรีกระทรวงต่างประเทศ ได้กล่าวเมื่อวันที่ 24พฤศจิกายน พ .ศ . 2547ใ น ก ารป ระ ชุมสุ ดยอ ด The Francophonie Ouagadougou ครั้ ง ที่ 10ที่ Burkina Faso ว่า ประ เท ศ ไทยได้ยึดแ น วท าง เศรษ ฐ กิจพ อ เพี ยง ควบ คู่กับ " การพั ฒ น าแ บบ ยั่ง ยืน " ใ น การพั ฒ น าป ร ะ เท ศ ทั้ ง ท าง ด้าน การเก ษ ต รก ร รม เศ รษ ฐ กิจ แล ะ ก ารแ ข่ง ขัน ซึ่ ง เป็ น ก า ร ส อ ด ค ล้อ ง เป้ า ห ม าย แ น ว ท าง ข อ ง น า น า ช าติ ใ น ป ร ะ ช า ค ม โ ล ก โ ด ย ย ก ตั ว อ ย่ า ง ก า ร แ ก้ ปั ญ ห า วิ ก ฤ ต เ ศ ร ษ ฐ กิ จ พ.ศ.2540ซึ่งเมื่อยึดหลักปรัชญาในการแก้ปัญหาสามารถทาให้ผลิตภัณฑ์มวลรวมภายในประเทศ ของไทยเติบโตได้ถึงร้อยละ 6.7 เศรษฐกิจพอเพียง เวปไซต์แห่งนี้ ได้รวบรวมข้อมูลและเนื้อหาที่เกี่ยวข้องกับเศรษฐกิจพอเพียง ไว้อย่างครอบคลุม ไม่ว่าจะเป็นในด้านประวัติความเป็นมา หรือจุดเริ่มต้นที่ก่อเกิดเศรษฐกิจพอเพียงขึ้นมา ในด้านความหมายของเศรษฐกิจพอเพียง พระราชดารัสเศรษฐกิจพอเพียง ปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง โครงการต่างๆที่เนื่องมาจากปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง และเราได้รวมเอาบุคคลตัวอย่าง ข้อสอบ บทกลอน และเรียงความเศรษฐกิจพอเพียง มาใว้ที่นี่ที่เดียว โดยเนื้อหาต่างๆดังที่กล่าวมา ท่านสามารถเลือกหาหัวข้อที่ท่านสนใจที่เมนูด้านซ้ายมือได้เลย
  • 6. เศรษฐกิจพอเพียง ในส่วนของบทความเกี่ยวกับการเกษตร เราได้รวมเอาเทคนิค และวิธีการในการทาการเกษตร ไม่ว่าจะเป็น ทั้งในด้านการปลูกพืช และด้านการเลี้ยงสัตว์ ยกตัวอย่าง เช่น การเลี้ยงปลาดุกในบ่ซีเมนต์ การเลี้ยงหมูหลุม การเลี้ยงเป็ด การเลี้ยงไก่การเลี้ยงหมู การเลี้ยงสัตว์เศรษฐกิจต่างๆ การปลูกผักหวานป่า การปลูกกล้วย การปลูกไผ่หวาน การปลูกพืชเศรษฐกิจต่างๆ รวมถึง วิธีการดูแลจัดการต่างๆ ที่ได้รับการถ่ายทอดมาจากเกษตรกรที่ได้ทดลองแล้วได้ผล หรือที่เรียกว่า ปราชญ์ชาวบ้าน เช่น การทาปุ๋ยหมักชีวภาพ ไว้ใช้เอง เพื่อลดต้นทุน การทาจุลินทรีย์ในการปลูกพืชเพื่อเพิ่มผลผลิต และลดต้นทุนในการทาการเกษตร รวมทั้งการใช้วิธีธรรมชาติ ในการจัดการกับโรค แมลง เพื่อความสมดุลย์ เศรษฐกิจพอเพียง ในส่วนของ เวปบอร์ดนั้น จะเป็นแหล่งแลกเปลี่ยนความรู้ของเกษตรกร
  • 7. และบุคคลทั่วไปที่สนใจในด้านการเกษตร ที่นามาแลกเปลี่ยนกัน รวมทั้งจะมี ในส่วนของการซื้อขายแลกเปลี่ยน สินค้าเกษตร เช่น ขายเมล็ดพันธุ์ เป็นต้น และในส่วนเวปบอร์ด นี้จะจัดให้มีส่วน ความรู้ทั่วๆไป ข่าวสาร และในส่วนของการสนทนาทั่วๆไป เพื่อความเป็นกันเองของท่านสมาชิก และถ้าสมาชิกท่านใด ต้องการในส่วนใหนเพิ่มเติม ก็ส่งข้อความมาหาเวปมาสเตอร์ได้เลย เนื้อหาสาระเกี่ยวกับ เศรษฐกิจพอเพียง และในส่วนอื่นๆที่กล่าวมาข้างต้น เพื่อความสะดวกในการค้นหา ท่านสามารถเลือกอ่านได้ที่ เมนูด้านซ้ายมือได้เลย “เศรษฐกิจพอเพียงเป็นเสมือนรากฐานของชีวิต รากฐานความมั่นคงของแผ่นดิน เปรียบเสมือนเสาเข็มที่ถูกตอกรองรับบ้านเรือนตัวอาคารไว้นั่นเอง สิ่งก่อสร้างจะมั่นคงได้ก็อยู่ที่เสาเข็มแต่คนส่วนมากมองไม่เห็นเสาเข็ม และลืมเสาเข็มเสียด้วยซ้าไป”(พระราชดารัสพระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัว จากวารสารชัยพัฒนา) “เศรษฐกิจพอเพียงแปลว่า SufficiencyEconomy คาว่าSufficiencyEconomy นี้ ไม่มีในตาราเศรษฐกิจ. จะมีได้อย่างไร เพราะว่าเป็นทฤษฎีใหม่ SufficiencyEconomy นั้น ไม่มีในตาราเพราะหมายความว่าเรามีความคิดใหม่…และโดยที่ท่านผู้เชี่ยวชาญสนใจ ก็หมายความว่า เราก็สามารถที่จะไปปรับปรุง หรือไปใช้หลักการเพื่อที่จะให้เศรษฐกิจของประเทศและของโลกพัฒนาดีขึ้น” (พระราชดารัสเนื่องในโอกา สวันเฉลิมพระชนมพรรษา ๒๓ ธันวาคม ๒๕๔๒) เศรษฐกิจพอเพียง (Sufficiency Economy) เป็นปรัชญาที่พระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัวทรงมีพระราชดารัสชี้แนะแนวทางการดาเนินชีวิตแก่พสกนิกรชา วไทยมาโดยตลอดรวมถึงการพัฒนาและบริหารประเทศ ที่ตั้งอยู่บนพื้นฐานของ ทางสายกลาง คานึงถึง ความพอประมาณ ความมีเหตุผล การสร้างภูมิคุ้มกันที่ดีในตัว ตลอดจนใช้ความรู้ ความรอบคอบ และคุณธรรม ประกอบการวางแผน การตัดสินใจ และการกระทา อย่างไรก็ตาม ประชาชนส่วนใหญ่ยังมีความเข้าใจที่หลากหลายและไม่ชัดเจน ถึงความหมายและหลักแนวคิดที่แท้จริงของปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง ที่มุ่งเน้นความมั่นคงและความยั่งยืนของการพัฒนา อันมีคุณลักษณะ ที่สาคัญ คือ สามารถประยุกต์ใช้ได้ในทุกระดับ คานิยามของความพอเพียงคือความพอประมาณ ความมีเหตุมีผล มีภูมิคุ้มกันที่ดีในตัว ภายใต้เงื่อนไขของการตัดสินใจและการดาเนินกิจกรรมที่ต้องอาศัยเงื่อนไขความรู้และเงื่อนไขคุณธรรม
  • 8. ปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง เศรษฐกิจพอเพียง เป็นปรัชญาชี้ถึงแนวการดารงอยู่และปฏิบัติตนของประชาชนในทุกระดับตั้งแต่ระ ดับครอบครัวระดับชุมชน จนถึงระดับรัฐ ทั้งในการพัฒนาและบริหารประเทศให้ดาเนินไปใน ทางสายกลาง โดยเฉพาะการพัฒนาเศรษฐกิจเพื่อให้ก้าวทันต่อโลกยุคโลกาภิวัตน์ ความพอเพียง หมายถึง ความพอประมาณ ความมีเหตุผล รวมถึงความจาเป็นที่จะต้องมีระบบภูมิคุ้มกันในตัวที่ดีพอสมควร ต่อการมีผลกระทบใดๆ อันเกิดจากการเปลี่ยนแปลงทั้งภายนอกและภายใน ทั้งนี้ จะต้องอาศัยความรอบรู้ ความรอบคอบ และความระมัดระวังอย่างยิ่งในการนาวิชาการต่างๆมาใช้ในการวางแผนและการดาเนินการทุกขั้นตอน และขณะเดียวกันจะต้องเสริมสร้างพื้นฐานจิตใจของคนในชาติ โดยเฉพาะเจ้าหน้าที่ของรัฐ นักทฤษฎีและนักธุรกิจในทุกระดับให้มีสานึกในคุณธรรม ความซื่อสัตย์สุจริต และให้มีความรอบรู้ที่เหมาะสม ดาเนินชีวิตด้วยความอดทน ความเพียร มีสติ ปัญญา และความรอบคอบ เพื่อให้สมดุลและพร้อมต่อการรองรับการเปลี่ยนแปลงอย่างรวดเร็วและกว้างขวางทั้งด้านวัตถุ สังคม สิ่งแวดล้อม และวัฒนธรรมจากโลกภายนอกได้เป็นอย่างดี หลักแนวคิดของเศรษฐกิจพอเพียง การพัฒนาตามหลักเศรษฐกิจพอเพียง คือ การพัฒนาที่ตั้งอยู่บนพื้นฐานของทางสายกลางและความไม่ประมาท โดยคานึงถึง ความพอประมาณ ความมีเหตุผล การสร้างภูมิคุ้มกันที่ดีในตัว ตลอดจนใช้ความรู้ ความรอบคอบ และคุณธรรม ประกอบการตัดสินใจ และการกระทา “ถ้าพอมีพอกิน คือพอมีพอกินของตัวเองนั้น ไม่ใช่เศรษฐกิจพอเพียง เป็นเศรษฐกิจสมัยหิน. สมัยหินนั้นเป็นเศรษฐกิจพอเพียงเหมือนกัน แต่ว่าค่อยๆพัฒนาขึ้นมา ต้องมีการแลกเปลี่ยนกัน มีการช่วยระหว่างหมู่บ้าน
  • 9. หรือระหว่างจะเรียกว่าอาเภอ จังหวัด ประเทศ จะต้องมีการแลกเปลี่ยน มีการไม่พอเพียง จึงบอกว่าถ้ามีเศรษฐกิจพอเพียง เพียงเศษหนึ่งส่วนสี่ก็จะพอแล้ว จะใช้ได้.” (พระราชดารัสเนื่องในโอกาสวันเฉลิมพระชนมพรรษา ๒๓ ธันวาคม ๒๕๔๒) ข้อมูลจาก www.okmd.or.th หลักพิจารณาปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง ปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง มีหลักพิจารณาอยู่ด้วยกัน ๕ ส่วน ดังนี้ 1. กรอบแนวคิด เป็นปรัชญาที่ชี้แนะแนวทางการดารงอยู่และปฏิบัติตนในทางที่ควรจะเป็น โดยมีพื้นฐานมาจากวิถีชีวิตดั้งเดิมของสังคมไทย สามารถนามาประยุกต์ใช้ได้ตลอดเวลาและเป็นการมองโลกเชิงระบบที่มีลักษณะพลวัตร มุ่งเน้นการรอดพ้นจากภัยและวิกฤต เพื่อความมั่นคงและความยั่งยืนของการพัฒนา คุณลักษณะ เศรษฐกิจพอเพียงสามารถนามาประยุกต์ใช้กับการปฏิบัติตนได้ในทุกระดับ โดยเน้นการปฏิบัติบนทางสายกลาง และการพัฒนา อย่างเป็นขั้นตอน 2. คานิยาม ความพอเพียง (Sufficiency) จะต้องประกอบด้วย ๓ คุณลักษณะ พร้อมๆ กัน ดังนี้ ความพอประมาณ หมายถึง ความพอดี ที่ไม่น้อยเกินไปและไม่มากเกินไปโดยไม่เบียดเบียนตนเองและผู้อื่น เช่น การผลิตและการบริโภค ที่อยู่ในระดับพอประมาณ 3. ความมีเหตุผล หมายถึง การตัดสินใจเกี่ยวกับระดับของความพอเพียงนั้น จะต้องเป็นไปอย่างมีเหตุผล โดยพิจารณาจากเหตุปัจจัยที่เกี่ยวข้อง ตลอดจนคานึงถึงผลที่คาดว่าจะเกิดขึ้นจากการกระทานั้นๆอย่างรอบคอบ การมีภูมิคุ้มกันที่ดีในตัว หมายถึง การเตรียมตัวให้พร้อมรับผลกระทบและการเปลี่ยนแปลงด้านต่างๆ ที่จะเกิดขึ้น โดยคานึงถึงความเป็นไปได้ของสถานการณ์ต่างๆ ที่คาดว่าจะเกิดขึ้นในอนาคตทั้งใกล้และไกล 4. เงื่อนไข การตัดสินใจและการดาเนินกิจกรรมต่างๆให้อยู่ในระดับพอเพียงนั้น ต้องอาศัยทั้งความรู้ และคุณธรรมเป็นพื้นฐาน กล่าวคือ
  • 10. - เงื่อนไขความรู้ ประกอบด้วย ความรอบรู้เกี่ยวกับวิชาการต่างๆ อย่างรอบด้าน ความรอบคอบที่จะนาความรู้เหล่านั้นมาพิจารณาให้เชื่อมโยงกันเพื่อประกอบการวางแผน และความระมัดระวังในขั้นปฏิบัติ - เงื่อนไขคุณธรรม ที่จะต้องเสริมสร้าง ประกอบด้วย มีความตระหนักในคุณธรรม มีความซื่อสัตย์สุจริต และมีความอดทน มีความเพียร ใช้สติปัญญาในการดาเนินชีวิต 5. แนวทางปฏิบัติ/ผลที่คาดว่าจะได้รับ จากการนาปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียงมาประยุกต์ใช้ คือการพัฒนาที่สมดุลและสามารถพร้อมต่อการเปลี่ยนแปลง ในทุกด้าน ทั้งด้านเศรษฐกิจ สังคม สิ่งแวดล้อม และ ความรู้และเทคโนโลยี “ถ้าไม่มีเศรษฐกิจพอเพียงเวลาไฟดับ… จะพังหมดจะทาอย่างไร. ที่ที่ต้องใช้ไฟฟ้าก็ต้องแย่ไป. …หากมีเศรษฐกิจพอเพียงแบบไม่เต็มที่ ถ้าเรามีเครื่องปั่นไฟ ก็ใช้ปั่นไฟ หรือถ้าขั้นโบราณกว่า มืดก็จุดเทียน คือมีทางแก้ไขปัญหาเสมอ …ฉะนั้นเศรษฐกิจพอเพียงนี้ ก็มีเป็นขั้นๆ แต่จะบอกว่าเศรษฐกิจพอเพียงนี้ ให้พอเพียงเฉพาะตัวเองร้อยเปอร์เซ็นต์ นี่เป็นสิ่งที่ทาไม่ได้ จะต้องมีการแลกเปลี่ยน ต้องมีการช่วยกัน พอเพียงในทฤษฎีในหลวงนี้ คือให้สามารถที่ดาเนินงานได้” (พระราชดารัสเนื่องในโอกาสวันเฉลิมพระชนมพรรษา ๒๓ ธันวาคม ๒๕๔๒)
  • 11. ความหมายของเศรษฐกิจพอเพียง เศรษฐกิจพอเพียง เป็นปรัชญาชี้ถึงแนวการดารงอยู่ และปฏิบัติตนของประชาชนในทุกระดับตั้งแต่ระดับครอบครัว ระดับชุมชนจนถึงระดับรัฐ ทั้งในการพัฒนา และบริหารประเทศให้ดาเนินไปใน ทางสายกลาง โดยเฉพาะการพัฒนาเศรษฐกิจเพื่อให้ก้าวทันต่อโลกยุคโลกาภิวัตน์ ความพอเพียง หมายถึง ความพอประมาณ ความมีเหตุผล รวมถึงความจาเป็นที่จะต้องมีระบบภูมิคุ้มกันในตัวที่ดีพอสมควร ต่อการมีผลกระทบใดๆ อันเกิดจากการเปลี่ยนแปลงทั้งภายนอก และภายใน ทั้งนี้จะต้องอาศัยความรอบรู้ ความรอบคอบ และความระมัดระวังอย่างยิ่ง ในการนาวิชาการต่าง ๆ มาใช้ในการวางแผน และการดาเนินการทุกขั้นตอน และขณะเดียวกันจะต้องเสริมสร้างพื้นฐานจิตใจของคนในชาติโดยเฉพาะเจ้าหน้าที่ของรัฐ นักทฤษฎี
  • 12. และนักธุรกิจในทุกระดับให้มีสานึกในคุณธรรม ความซื่อสัตย์สุจริต และให้มีความรอบรู้ที่เหมาะสม ดาเนินชีวิต ด้วยความอดทน ความเพียร มีสติ ปัญญา และความรอบคอบ เพื่อให้สมดุล และพร้อมต่อการรองรับการเปลี่ยนแปลงอย่างรวดเร็ว และกว้างขวางทั้งด้านวัตถุ สิ่งแวดล้อม และวัฒนธรรมจากโลกภายนอกได้เป็นอย่างดี การนาปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียงไปใช้ ปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียงนี้ เป็นกรอบแนวความคิดและทิศทางการพัฒนาระบบเศรษฐกิจมหภาคของไทย ซึ่งบรรจุอยู่ในแผนพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติ ฉบับที่ 10(พ.ศ. 2550- 2554)เพื่อมุ่งสู่การพัฒนาที่สมดุล ยั่งยืน และมีภูมิคุ้มกัน เพื่อความอยู่ดีมีสุข มุ่งสู่สังคมที่มีความสุขอย่างยั่งยืน หรือที่เรียกว่า สังคมสีเขียว (Green Society) ด้วยหลักการดังกล่าว แผนพัฒนาฯฉบับที่ 10 นี้จะไม่เน้นเรื่องตัวเลขการเจริญเติบโตทางเศรษฐกิจ แต่ยังคงให้ความสาคัญต่อระบบเศรษฐกิจแบบทวิลักษณ์ หรือระบบเศรษฐกิจที่มีความแตกต่างกันระหว่างเศรษฐกิจชุมชนเมืองและชนบท ดร.สมเกียรติ อ่อนวิมล เรียกสิ่งนี้ว่า วิกฤตเศรษฐกิจพอเพียง คือ ความไม่รู้ว่าจะนาปรัชญานี้ไปใช้ทาอะไร กลายเป็นว่าผู้นาสังคมทุกคน ทั้งนักการเมืองและรัฐบาลใช้คาว่า เศรษฐกิจพอเพียง เป็นข้ออ้างในการทากิจกรรมใด ๆเพื่อให้รู้สึกว่าได้สนองพระราชดารัสและให้เกิดภาพลักษณ์ที่ดี หรือพูดง่ายๆ ก็คือ เศรษฐกิจพอเพียง ถูกใช้เพื่อเป็นเครื่องมือเพื่อตัวเอง ซึ่งความไม่เข้าใจนี้อาจเกิดจากการสับสนว่าเศรษฐกิจพอเพียงกับทฤษฎีใหม่นั้นเป็นเรื่องเดียวกัน ทาให้มีความเข้าใจว่า เศรษฐกิจพอเพียงหมายถึงการปฏิเสธอุตสาหกรรมแล้วกลับไปสู่เกษตรกรรม ซึ่งเป็นความเข้าใจที่ผิด
  • 13. ปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียงนี้ ได้รับการเชิดชูสูงสุด จาก สหประชาชาติ (UN)โดยนายโคฟี อันนัน ในฐานะเลขาธิการองค์การสหประชาชาติ ได้ทูลเกล้าฯถวายรางวัล The Human Development Lifetime Achievement Award แก่พระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัว เมื่อ 26พฤษภาคม 2549 และได้มีปาฐกถาถึงปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียงว่าเป็นปรัชญาที่สามารถเริ่มได้จากการสร้างภูมิคุ้มกันในตนเอ ง สู่หมู่บ้าน และสู่เศรษฐกิจในวงกว้างขึ้นในที่สุด เป็นปรัชญาที่มีประโยชน์ต่อประเทศไทยและนานาประเทศ โดยที่องค์การสหประชาชาติได้สนับสนุนให้ประเทศต่างๆที่เป็นสมาชิก 166 ประเทศยึดเป็นแนวทางสู่การพัฒนาประเทศแบบยั่งยืน หลักแนวคิดของเศรษฐกิจพอเพียง การพัฒนาตามหลักเศรษฐกิจพอเพียง คือการพัฒนาที่ตั้งอยู่บนพื้นฐานของทางสายกลาง และความไม่ประมาท โดยคานึงถึง ความพอประมาณ ความมีเหตุผล การสร้างภูมิคุ้มกันที่ดีในตัว ตลอดจนใช้ความรู้ความรอบคอบ และคุณธรรม ประกอบการวางแผน การตัดสินใจ และการกระทา ปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง มีหลักพิจารณาอยู่ 5ส่วน ดังนี้ กรอบแนวคิด เป็นปรัชญาที่ชี้แนะแนวทางการดารงอยู่ และปฏิบัติตนในทางที่ควรจะเป็น โดยมีพื้นฐานมาจากวิถีชีวิตดั้งเดิมของสังคมไทย สามารถนามาประยุกต์ใช้ได้ตลอดเวลา
  • 14. และเป็นการมองโลกเชิงระบบที่มีการเปลี่ยนแปลงอยู่ตลอดเวลา และเป็นการมองโลกเชิงระบบที่มีการเปลี่ยนแปลงอยู่ตลอดเวลา มุ่งเน้นการรอดพ้นจากภัย และวิกฤต เพื่อความมั่นคง และความยั่งยืนของการพัฒนา คุณลักษณะ เศรษฐกิจพอเพียงสามารถนามาประยุกต์ใช้กับการปฏิบัติตนได้ในทุกระดับ โดยเน้นการปฏิบัติบนทางสายกลาง และการพัฒนาอย่างเป็นขั้นตอน คานิยาม ความพอเพียงจะต้องประกอบด้วย 3 คุณลักษณะ พร้อม ๆ กันดังนี้ ความพอประมาณ หมายถึง ความพอดีที่ไม่น้อยเกินไป และไม่มากเกินไปโดยไม่เบียดเบียนตนเอง และผู้อื่น เช่นการผลติ และการบริโภคที่อยู่ในระดับพอประมาณ ความมีเหตุผล หมายถึง การตัดสินใจเกี่ยวกับระดับของความพอเพียงนั้น จะต้องเป็นไปอย่างมีเหตุผล โดยพิจารณาจากเหตุปัจจัยที่เกี่ยวข้องตลอดจนคานึงถึงผลที่คาดว่าจะเกิดขึ้นจากการกระทานั้น ๆ อย่างรอบคอบ การมีภูมิคุ้มกันที่ดีในตัว หมายถึง การเตรียมตัวให้พร้อมรับผลกระทบ และการเปลี่ยนแปลงด้านต่าง ๆ ที่จะเกิดขึ้นโดยคานึงถึงความเป็นไปได้ของสถานการณ์ ต่าง ๆ ที่คาดว่าจะเกิดขึ้นในอนาคตทั้งใกล้ และไกล เงื่อนไข การตัดสินใจและการดาเนินกิจกรรมต่าง ๆให้อยู่ในระดับพอเพียงนั้น ต้องอาศัยทั้งความรู้ และคุณธรรมเป็นพื้นฐาน กล่าวคือ เงื่อนไขความรู้ ประกอบด้วย ความรอบรู้เกี่ยวกับวิชาการต่าง ๆ ที่เกี่ยวข้องอย่างรอบด้าน ความรอบคอบที่จะนาความรู้เหล่านั้นมาพิจารณาให้เชื่อมโยงกัน เพื่อประกอบการวางแผน และความระมัดระวังในขั้นปฏิบัติ
  • 15. เงื่อนไขคุณธรรม ที่จะต้องเสริมสร้างประกอบด้วย มีความตระหนักในคุณธรรม มีความซื่อสัตย์สุจริต และมีความอดทน มีความเพียร ใช้สติปัญญาในการดาเนินชีวิต แนวทางปฏิบัติ / ผลที่คาดว่าจะได้รับ จากการนาปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียงมาประยุกต์ใช้ คือ การพัฒนาที่สมดุล และยั่งยืน พร้อมรับต่อการเปลี่ยนแปลงในทุกด้าน ทั้งด้านเศรษฐกิจ สังคม สิ่งแวดล้อม ความรู้ และเทคโนโลยี เศรษฐกิจพอเพียงกับทฤษฎีใหม่ตามแนวพระราชดาริ เศรษฐกิจพอเพียง และแนวทางปฏิบัติของทฤษฎีใหม่ เป็นแนวทางในการพัฒนาที่นาไปสู่ความสามารถในการพึ่งตนเอง ในระดับต่าง ๆอย่างเป็นขั้นตอน โดยลดความเสียงเกี่ยวกับความผันแปรของธรรมชาติ หรือการเปลี่ยนแปลงจากปัจจัยต่าง ๆ โดยอาศัยความพอประมาณ และความมีเหตุผล การสร้างภูมิคุ้มกันที่ดี มีความรู้ ความเพียร และความอดทน สติ และปัญญา การช่วยเหลือซึ่งกันและกัน และความสามัคคี เศรษฐกิจพอเพียงความหมายกว้างกว่าทฤษฎีใหม่ โดยที่เศรษฐกิจพอเพียงเป็นกรอบแนวคิดที่ชี้บอกหลักการ และแนวทางปฏิบัติของทฤษฎีใหม่ ในขณะที่ แนวพระราชดาริเกี่ยวกับทฤษฎีใหม่ หรือเกษตรทฤษฎีใหม่ ซึ่งเป็นแนวทางการพัฒนาการเกษตรอย่างเป็นขั้นตอนนั้น เป็นตัวอย่างการใช้หลักเศรษฐกิจพอเพียงในทางปฏิบัติ ที่เป็นรูปธรรม เฉพาะในพื้นที่ที่เหมาะสม
  • 16. ทฤษฎีใหม่ตามแนวพระราชดาริ อาจเปรียบเทียบกับหลักเศรษฐกิจพอเพียง ซึ่งมีอยู่2 แบบ คือ แบบพื้นฐาน กับ แบบก้าวหน้า ขั้นที่ 1 ที่มุ่งแก้ปัญหาของเกษตรกรที่อยู่ห่างไกลแหล่งน้า ต้องพึ่งน้าฝน และประสบความเสี่ยงจากการที่น้าไม่พอเพียง แม้กระทั่งสาหรับการปลูกข้าวเพื่อบริโภค และมีข้อสมมติว่า มีที่ดินพอเพียงในการขุดบ่อเพื่อแก้ปัญหาในเรื่องดังกล่าว จากการแก้ปัญหาความเสี่ยงเรื่องน้า จะทาให้เกษตรกรสามารถมีข้าวเพื่อการบริโภคยังชีพในระดับหนึ่ง และใช้ที่ดินส่วนอื่น ๆ สนองความต้องการพื้นฐานของครอบครัว รวมทั้งขายในส่วนที่เหลือเพื่อมีรายได้ที่จะใช้เป็นค่าใช้จ่ายอื่น ๆ ที่ไม่สามารถผลิตเองได้ ทั้งหมดนี้เป็นการสร้างภูมิคุ้มกันในตัวให้เกิดขึ้นในระดับครอบครัว อย่างไรก็ตาม แม้กระทั่ง ในทฤษฎีใหม่ขั้นที่ 1ก็จาเป็นที่เกษตรกรจะต้องได้รับความช่วยเหลือจากชุมชนราชการ มูลนิธิ และภาคเอกชน ตามความเหมาะสมความพอเพียงในระดับชุมชน และระดับองค์กรเป็นเศรษฐกิจพอเพียงแบบก้าวหน้า ซึ่งครอบคลุมทฤษฎีใหม่ ขั้นที่ 2 เป็นเรื่องของการสนับสนุนให้เกษตรกรรวมพลังกันในรูปกลุ่มหรือสหกรณ์ หรือการที่ธุรกิจต่าง ๆ รวมตัวกันในลักษณะเครือข่ายวิสาหกิจ กล่าวคือ เมื่อสมาชิกในแต่ละครอบครัว หรือองค์กรต่าง ๆ มีความพอเพียงขั้นพื้นฐานเป็นเบื้องต้นแล้วก็จะรวมกลุ่มกันเพื่อร่วมมือกันสร้างประโยชน์ให้แก่กลุ่ม และส่วนรวมบนพื้นฐานของการไม่เบียดเบียนกัน การแบ่งปันช่วยเหลือซึ่งกันและกัน ตามกาลังและความสามารถของตน ซึ่งจะสามารถทาให้ ชุมชนโดยรวม หรือเครือข่ายวิสาหกิจนั้น ๆ เกิดความพอเพียงในวิถีปฏิบัติอย่างแท้จริงความพอเพียงในระดับประเทศ เป็นเศรษฐกิจพอเพียงแบบก้าวหน้า ซึ่งครอบคลุมทฤษฎีใหม่ ขั้นที่ 3 ซึ่งส่งเสริมให้ชุมชน หรือเครือข่ายวิสาหกิจ สร้างความร่วมมือกับองค์กรอื่น ๆ ในประเทศ เช่น บริษัทขนาดใหญ่ ธนาคาร สถาบันวิจัย เป็นต้น การสร้างเครือข่ายความร่วมมือในลักษณะเช่นนี้ จะเป็นประโยชน์ในการสืบทอดภูมิปัญญา แลกเปลี่ยนความรู้ เทคโนโลยี และบทเรียนจากการพัฒนา หรือ ร่วมมือกันพัฒนา
  • 17. ตามแนวทางเศรษฐกิจพอเพียงทาให้ประเทศอันเป็นสังคมใหญ่อันประกอบด้วยชุมชน องค์กร และธุรกิจต่าง ๆ ที่ดาเนินชีวิตอย่างพอเพียงกลายเป็นเครือข่ายชุมชนพอเพียงที่เชื่อมโยงกันด้วยหลักไม่เบียดเบียน แบ่งปัน และช่วยเหลือซึ่งกันและกันได้ในที่สุด ประการที่สาคัญของเศรษฐกิจพอเพียง พอมีพอกิน ปลูกพืชสวนครัวไว้กินเองบ้าง ปลูกไม้ผลไว้หลังบ้าน 2-3ต้น พอที่จะมีไว้กินเองในครัวเรือน เหลือจึงขายไป พออยู่พอใช้ทาให้บ้านน่าอยู่ปราศจากสารเคมี กลิ่นเหม็น ใช้แต่ของที่เป็นธรรมชาติ (ใช้จุลินทรีย์ผสมน้าถูพื้นบ้าน จะสะอาดกว่าใช้น้ายาเคมี) รายจ่ายลดลง สุขภาพจะดีขึ้น (ประหยัดค่ารักษาพยาบาล) พออกพอใจ เราต้องรู้จักพอ รู้จักประมาณตน ไม่ใคร่อยากใคร่มีเช่นผู้อื่น เพราะเราจะหลงติดกับวัตถุ ปัญญาจะไม่เกิด
  • 18. "การจะเป็นเสือนั้นมันไม่สาคัญ สาคัญอยู่ที่เราพออยู่พอกิน และมีเศรษฐกิจการเป็นอยู่แบบพอมีพอกิน แบบพอมีพอกิน หมายความว่า อุ้มชูตัวเองได้ ให้มีพอเพียงกับตัวเอง" พระราชดารัสในพระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัวฯ เศรษฐกิจพอเพียง ความหมายเศรษฐกิจพอเพียง ความหมายเศรษฐกิจพอเพียง จุดเริ่มต้นแนวคิดเศรษฐกิจพอเพียง ผลจากการใช้แนวทางการพัฒนาประเทศไปสู่ความทันสมัย ได้ก่อให้เกิดการเปลี่ยนแปลงแก่สังคมไทยอย่างมากในทุกด้าน ไม่ว่าจะเป็นด้านเศรษฐกิจ การเมือง วัฒนธรรม สังคมและสิ่งแวดล้อม อีกทั้งกระบวนการของความเปลี่ยนแปลงมีความสลับซับซ้อนจนยากที่จะอธิบายใน
  • 19. เชิงสาเหตุและผลลัพธ์ได้ เพราะการเปลี่ยนแปลงทั้งหมดต่างเป็นปัจจัยเชื่อมโยงซึ่งกันและกัน สาหรับผลของการพัฒนาในด้านบวกนั้น ได้แก่การเพิ่มขึ้นของอัตราการเจริญเติบโตทางเศรษฐกิจ ความเจริญทางวัตถุ และสาธารณูปโภคต่างๆ ระบบสื่อสารที่ทันสมัย หรือการขยายปริมาณและกระจายการศึกษาอย่างทั่วถึงมากขึ้น แต่ผลด้านบวกเหล่านี้ส่วนใหญ่กระจายไปถึงคนในชนบท หรือผู้ด้อยโอกาสในสังคมน้อย แต่ว่า กระบวนการเปลี่ยนแปลงของสังคมได้เกิดผลลบติดตามมาด้วย เช่น การขยายตัวของรัฐเข้าไปในชนบท ได้ส่งผลให้ชนบทเกิดความอ่อนแอในหลายด้าน ทั้งการต้องพึ่งพิงตลาดและพ่อค้าคนกลางในการสั่งสินค้าทุน ความเสื่อมโทรมของทรัพยากรธรรมชาติ ระบบความสัมพันธ์แบบเครือญาติ และการรวมกลุ่มกันตามประเพณีเพื่อการจัดการทรัพยากรที่เคยมีอยู่แต่เดิมแตก สลายลง ภูมิความรู้ที่เคยใช้แก้ปัญหาและสั่งสมปรับเปลี่ยนกันมาถูกลืมเลือนและเริ่ม สูญหายไป สิ่งสาคัญ ก็คือ ความพอเพียงในการดารงชีวิต ซึ่งเป็นเงื่อนไขพื้นฐานที่ทาให้คนไทยสามารถพึ่งตนเอง และดาเนินชีวิตไปได้อย่างมีศักดิ์ศรีภายใต้อานาจและความมีอิสระในการกาหนด ชะตาชีวิตของตนเอง ความสามารถในการควบคุมและจัดการเพื่อให้ตนเองได้รับการสนองตอบต่อความต้อง การต่างๆ รวมทั้งความสามารถในการจัดการปัญหาต่างๆ ได้ด้วยตนเอง ซึ่งทั้งหมดนี้ถือว่าเป็นศักยภาพพื้นฐานที่คนไทยและสังคมไทยเคยมีอยู่แต่ เดิม ต้องถูกกระทบกระเทือน ซึ่งวิกฤตเศรษฐกิจจากปัญหาฟองสบู่และปัญหาความอ่อนแอของชนบท รวมทั้งปัญหาอื่นๆ ที่เกิดขึ้น ล้วนแต่เป็นข้อพิสูจน์และยืนยันปรากฎการณ์นี้ได้เป็นอย่างดี พระราชดาริว่าด้วยเศรษฐกิจพอเพียง “...การพัฒนาประเทศจาเป็นต้องทาตามลาดับขั้น ต้องสร้างพื้นฐานคือ ความพอมี พอกิน พอใช้ของประชาชนส่วนใหญ่เบื้องต้นก่อน
  • 20. โดยใช้วิธีการและอุปกรณ์ที่ประหยัดแต่ถูกต้องตามหลักวิชาการ เมื่อได้พื้นฐานความมั่นคงพร้อมพอสมควร และปฏิบัติได้แล้ว จึงค่อยสร้างค่อยเสริมความเจริญ และฐานะทางเศรษฐกิจขั้นที่สูงขึ้นโดยลาดับต่อไป...” (๑๘ กรกฎาคม ๒๕๑๗) “เศรษฐกิจพอเพียง” เป็นแนวพระราชดาริในพระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัว ที่พระราชทานมานานกว่า ๓๐ ปี เป็นแนวคิดที่ตั้งอยู่บนรากฐานของวัฒนธรรมไทย เป็นแนวทางการพัฒนาที่ตั้งบนพื้นฐานของทางสายกล าง และความไม่ประมาท คานึงถึงความพอประมาณ ความมีเหตุผล การสร้างภูมิคุ้มกันในตัวเอง ตลอดจนใช้ความรู้และคุณธรรม เป็นพื้นฐานในการดารงชีวิต ที่สาคัญจะต้องมี “สติปัญญา และความเพียร” ซึ่งจะนาไปสู่ “ความสุข”ในการดาเนินชีวิตอย่างแท้จริง “...คนอื่นจะว่าอย่างไรก็ช่างเขา จะว่าเมืองไทยล้าสมัย ว่าเมืองไทยเชย ว่าเมืองไทยไม่มีสิ่งที่สมัยใหม่ แต่เราอยู่พอมีพอกิน และขอให้ทุกคนมีความปรารถนาที่จะให้เมืองไทย พออยู่พอกิน มีความสงบ และทางานตั้งจิตอธิษฐานตั้งปณิธาน ในทางนี้ที่จะให้เมืองไทยอยู่แบบพออยู่พอกิน ไม่ใช่ว่าจะรุ่งเรืองอย่างยอด แต่ว่ามีความพออยู่พอกิน มีความสงบ เปรียบเทียบกับประเทศอื่นๆ ถ้าเรารักษาความพออยู่พอกินนี้ได้ เราก็จะยอดยิ่งยวดได้...” (๔ ธันวาคม ๒๕๑๗) พระบรมราโชวาทนี้ ทรงเห็นว่าแนวทางการพัฒนาที่เน้นการขยายตัวทางเศรษฐกิจของประเทศเป็นหลักแต่ เพียงอย่างเดียวอาจจะเกิดปัญหาได้ จึงทรงเน้นการมีพอกินพอใช้ของประชาชนส่วนใหญ่ในเบื้องต้นก่อน เมื่ อมีพื้นฐานความมั่นคงพร้อมพอสมควรแล้ว จึงสร้างความเจริญและฐานะทางเศรษฐกิจให้สูงขึ้น ซึ่งหมายถึง แทนที่จะเน้นการขยายตัวของภาคอุตสาหกรรมนาการพัฒนาประเทศ ควรที่จะสร้างความมั่นคงทางเศรษฐกิจพื้นฐานก่อน นั่นคือ ทาให้ประชาชนในชนบทส่วนใหญ่พอมีพอกินก่อน เป็นแนวทางการพัฒนาที่เน้นการกระจายรายได้ เพื่อสร้างพื้นฐานและความมั่นงคงทางเศรษฐกิจโดยรวมของประเทศ ก่อนเน้นการพัฒนาในระดับสูงขึ้นไป ทรงเตือนเรื่องพออยู่พอกิน ตั้งแต่ปี ๒๕๑๗คือ เมื่อ๓๐ กว่าปีที่แล้ว แต่ทิศทางการพัฒนามิได้เปลี่ยนแปลง “...เมื่อปี ๒๕๑๗ วันนั้นได้พูดถึงว่า เราควรปฏิบัติให้พอมีพอกิน พอมีพอกินนี้ก็แปลว่า เศรษฐกิจพอเพียงนั่นเอง ถ้าแต่ละคนมีพอมีพอกิน ก็ใช้ได้ ยิ่งถ้าทั้งประเทศพอมีพอกินก็ยิ่งดี และประเทศไทยเวลานั้นก็เริ่มจะเป็นไม่พอมีพอกิน บางคนก็มีมาก บางคนก็ไม่มีเลย...” (๔ ธันวาคม ๒๕๔๑)
  • 21. เศรษฐกิจพอเพียง “เศรษฐกิจพอเพียง” เป็นปรัชญาที่พระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัวพระราชทานพระราชดาริชี้แนะแนวทาง การดาเนินชีวิตแก่พสกนิกรชาวไทยมาโดยตลอดนานกว่า ๒๕ ปี ตั้งแต่ก่อนเกิดวิกฤตการณ์ทางเศรษฐกิจ และเมื่อภายหลังได้ทรงเน้นย้าแนวทางการแก้ไขเพื่อให้รอดพ้น และสามารถดารงอยู่ได้อย่างมั่นคงและยั่งยืนภายใต้กระแสโลกาภิวัตน์และความ เปลี่ยนแปลงต่างๆ ปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง เศรษฐกิจพอเพียง เป็นปรัชญาชี้ถึงแนวการดารงอยู่และปฏิบัติตนของประชาชนในทุกระดับ ตั้งแต่ระดับครอบครัว ระดับชุมชน จนถึงระดับรัฐ ทั้งในการพัฒนาและบริหารประเทศให้ดาเนินไปในทางสายกลาง โดยเฉพาะการพัฒนาเศรษฐกิจ เพื่อให้ก้าวทันต่อโลกยุคโลกาภิวัตน์ ความพอเพียง หมายถึง ความพอประมาณ ความมีเหตุผล รวมถึงความจาเป็นที่จะต้องมีระบบภูมิคุ้มกันในตัวที่ดีพอสมควร ต่อการกระทบใดๆ อันเกิดจากการเปลี่ยนแปลงทั้งภายในภายนอก ทั้งนี้ จะต้องอาศัยความรอบรู้ ความรอบคอบ และความระมัดระวังอย่างยิ่งในการนาวิชาการต่างๆ มาใช้ในการวางแผนและการดาเนินการ ทุกขั้นตอน และขณะเดียวกัน จะต้องเสริมสร้างพื้นฐานจิตใจของคนในชาติ โดยเฉพาะเจ้าหน้าที่ของรัฐ นักทฤษฎี และนักธุรกิจในทุกระดับ ให้มีสานึกในคุณธรรม ความซื่อสัตย์สุจริต และให้มีความรอบรู้ที่เหมาะสม ดาเนินชีวิตด้วยความอดทน ความเพียร มีสติ ปัญญา และความรอบคอบ เพื่อให้สมดุลและพร้อมต่อการรองรับการเปลี่ยนแปลงอย่างรวดเร็วและกว้างขวาง ทั้งด้านวัตถุ สังคม สิ่งแวดล้อม และวัฒนธรรมจากโลกภายนอกได้เป็นอย่างดี ความหมายของเศรษฐกิจพอเพียง จึงประกอบด้วยคุณสมบัติ ดังนี้ ๑. ความพอประมาณ หมายถึง ความพอดีที่ไม่น้อยเกินไปและไม่มากเกินไป โดยไม่เบียดเบียนตนเองและผู้อื่น เช่น การผลิตและการบริโภคที่อยู่ในระดับพอประมาณ ๒. ความมีเหตุผล หมายถึง การตัดสินใจเกี่ยวกับระดับความพอเพียงนั้น จะต้องเป็นไปอย่างมีเหตุผล โดยพิจารณาจากเหตุปัจจัยที่เกี่ยวข้อง ตลอดจนคานึงถึงผลที่คาดว่าจะเกิดขึ้นจากการกระทานั้นๆ อย่างรอบคอบ ๓. ภูมิคุ้มกัน หมายถึง การเตรียมตัวให้พร้อมรับผลกระทบและการเปลี่ยนแปลงด้านต่างๆ ที่จะเกิดขึ้น โดยคานึงถึงความเป็นไปได้ของสถานการณ์ต่างๆ ที่คาดว่าจะเกิดขึ้นในอนาคต โดยมี เงื่อนไข ของการตัดสินใจและดาเนินกิจกรรมต่างๆ ให้อยู่ในระดับพอเพียง ๒ ประการ ดังนี้ ๑. เงื่อนไขความรู้ ประกอบด้วย ความรอบรู้เกี่ยวกับวิชาการต่างๆ ที่เกี่ยวข้องรอบด้าน ความรอบคอบที่จะนาความรู้เหล่านั้นมาพิจารณาให้เชื่อมโยงกัน เพื่อประกอบการวางแผนและความระมัดระวังในการปฏิบัติ
  • 22. ๒. เงื่อนไขคุณธรรม ที่จะต้องเสริมสร้าง ประกอบด้วย มีความตระหนักใน คุณธรรม มีความซื่อสัตย์สุจริตและมีความอดทน มีความเพียร ใช้สติปัญญาในการดาเนินชีวิต จุดเริ่มต้นแนวคิดเศรษฐกิจพอเพียง ผลจากการใช้แนวทางการพัฒนาประเทศไปสู่ความทันสมัย ได้ก่อให้เกิดการเปลี่ยนแปลงแก่สังคมไทยอย่างมากในทุกด้าน ไม่ว่าจะเป็นด้านเศรษฐกิจ การเมือง วัฒนธรรม สังคมและสิ่งแวดล้อม อีกทั้งกระบวนการของความเปลี่ยนแปลงมีความสลับซับซ้อนจนยากที่จะอธิบายใน เชิงสาเหตุและผลลัพธ์ได้ เพราะการเปลี่ยนแปลงทั้งหมดต่างเป็นปัจจัยเชื่อมโยงซึ่งกันและกัน สาหรับผลของการพัฒนาในด้านบวกนั้น ได้แก่การเพิ่มขึ้นของอัตราการเจริญเติบโตทางเศรษฐกิจ ความเจริญทางวัตถุ และสาธารณูปโภคต่างๆ ระบบสื่อสารที่ทันสมัย หรือการขยายปริมาณและกระจายการศึกษาอย่างทั่วถึงมากขึ้น แต่ผลด้านบวกเหล่านี้ส่วนใหญ่กระจายไปถึงคนในชนบท หรือผู้ด้อยโอกาสในสังคมน้อย แต่ว่า กระบวนการเปลี่ยนแปลงของสังคมได้เกิดผลลบติดตามมาด้วย เช่น การขยายตัวของรัฐเข้าไปในชนบท ได้ส่งผลให้ชนบทเกิดความอ่อนแอในหลายด้าน ทั้งการต้องพึ่งพิงตลาดและพ่อค้าคนกลางในการสั่งสินค้าทุน ความเสื่อมโทรมของทรัพยากรธรรมชาติ ระบบความสัมพันธ์แบบเครือญาติ และการรวมกลุ่มกันตามประเพณีเพื่อการจัดการทรัพยากรที่เคยมีอยู่แต่เดิมแตก สลายลง ภูมิความรู้ที่เคยใช้แก้ปัญหาและสั่งสมปรับเปลี่ยนกันมาถูกลืมเลือนและเริ่ม สูญหายไป สิ่งสาคัญ ก็คือ ความพอเพียงในการดารงชีวิต ซึ่งเป็นเงื่อนไขพื้นฐานที่ทาให้คนไทยสามารถพึ่งตนเอง และดาเนินชีวิตไปได้อย่างมีศักดิ์ศรีภายใต้อานาจและความมีอิสระในการกาหนด ชะตาชีวิตของตนเอง ความสามารถในการควบคุมและจัดการเพื่อให้ตนเองได้รับการสนองตอบต่อความต้อง การต่างๆ
  • 23. รวมทั้งความสามารถในการจัดการปัญหาต่างๆ ได้ด้วยตนเอง ซึ่งทั้งหมดนี้ถือว่าเป็นศักยภาพพื้นฐานที่คนไทยและสังคมไทยเคยมีอยู่แต่ เดิม ต้องถูกกระทบกระเทือน ซึ่งวิกฤตเศรษฐกิจจากปัญหาฟองสบู่และปัญหาความอ่อนแอของชนบท รวมทั้งปัญหาอื่นๆ ที่เกิดขึ้น ล้วนแต่เป็นข้อพิสูจน์และยืนยันปรากฎการณ์นี้ได้เป็นอย่างดี พระราชดาริว่าด้วยเศรษฐกิจพอเพียง “...การพัฒนาประเทศจาเป็นต้องทาตามลาดับขั้น ต้องสร้างพื้นฐานคือ ความพอมี พอกิน พอใช้ของประชาชนส่วนใหญ่เบื้องต้นก่อน โดยใช้วิธีการและอุปกรณ์ที่ประหยัดแต่ถูกต้องตามหลักวิชาการ เมื่อได้พื้นฐานความมั่นคงพร้อมพอสมควร และปฏิบัติได้แล้ว จึงค่อยสร้างค่อยเสริมความเจริญ และฐานะทางเศรษฐกิจขั้นที่สูงขึ้นโดยลาดับต่อไป...” (๑๘ กรกฎาคม ๒๕๑๗) “เศรษฐกิจพอเพียง” เป็นแนวพระราชดาริในพระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัว ที่พระราชทานมานานกว่า ๓๐ ปี เป็นแนวคิดที่ตั้งอยู่บนรากฐานของวัฒนธรรมไทย เป็นแนวทางการพัฒนาที่ตั้งบนพื้นฐานของทางสายกล าง และความไม่ประมาท คานึงถึงความพอประมาณ ความมีเหตุผล การสร้างภูมิคุ้มกันในตัวเอง ตลอดจนใช้ความรู้และคุณธรรม เป็นพื้นฐานในการดารงชีวิต ที่สาคัญจะต้องมี “สติ ปัญญา และความเพียร” ซึ่งจะนาไปสู่“ความสุข” ในการดาเนินชีวิตอย่างแท้จริง “...คนอื่นจะว่าอย่างไรก็ช่างเขา จะว่าเมืองไทยล้าสมัย ว่าเมืองไทยเชย ว่าเมืองไทยไม่มีสิ่งที่สมัยใหม่ แต่เราอยู่พอมีพอกิน และขอให้ทุกคนมีความปรารถนาที่จะให้เมืองไทย พออยู่พอกิน มีความสงบ และทางานตั้งจิตอธิษฐานตั้งปณิธาน ในทางนี้ที่จะให้เมืองไทยอยู่แบบพออยู่พอกิน ไม่ใช่ว่าจะรุ่งเรืองอย่างยอด แต่ว่ามีความพออยู่พอกิน มีความสงบ เปรียบเทียบกับประเทศอื่นๆ ถ้าเรารักษาความพออยู่พอกินนี้ได้ เราก็จะยอดยิ่งยวดได้...” (๔ ธันวาคม ๒๕๑๗) พระบรมราโชวาทนี้ ทรงเห็นว่าแนวทางการพัฒนาที่เน้นการขยายตัวทางเศรษฐกิจของประเทศเป็นหลักแต่ เพียงอย่างเดียวอาจจะเกิดปัญหาได้ จึงทรงเน้นการมีพอกินพอใช้ของประชาชนส่วนใหญ่ในเบื้องต้นก่อนเมื่ อมีพื้นฐานความมั่นคงพร้อมพอสมควรแล้ว จึงสร้างความเจริญและฐานะทางเศรษฐกิจให้สูงขึ้น ซึ่งหมายถึง แทนที่จะเน้นการขยายตัวของภาคอุตสาหกรรมนาการพัฒนาประเทศ ควรที่จะสร้างความมั่นคงทางเศรษฐกิจพื้นฐานก่อน นั่นคือ ทาให้ประชาชนในชนบทส่วนใหญ่พอมีพอกินก่อน เป็นแนวทางการพัฒนาที่เน้นการกระจายรายได้ เพื่อสร้างพื้นฐานและความมั่นงคงทางเศรษฐกิจโดยรวมของประเทศ ก่อนเน้นการพัฒนาในระดับสูงขึ้นไป ทรงเตือนเรื่องพออยู่พอกิน ตั้งแต่ปี ๒๕๑๗ คือ เมื่อ ๓๐ กว่าปีที่แล้ว