SlideShare une entreprise Scribd logo
1  sur  16
Télécharger pour lire hors ligne
เอกสารประกอบการเรียนรู้ ลาดับที่ 2
ชุด การถ่ายทอดลักษณะทางพันธุกรรม
เรื่อง โครโมโซม และยีน
ผลการเรียนรู้ที่คาดหวัง
สืบค้นข้อมูลและอธิบายลักษณะของโครโมโซม ของสิ่งมีชีวิต ยีนที่อยู่บนโครโมโซม
และจานวนโครโมโซมของสิ่งมีชีวิต
จุดประสงค์การเรียนรู้
1. อธิบายความหมาย และลักษณะของโครโมโซม และยีนได้
2. อธิบายและสรุปการเกิดเพศหญิงและเพศชายได้
3. อธิบายความหมายของแอลลีล จีโนไทป์ ฟีโนไทป์ ยีนเด่น ยีนด้อย ลักษณะเด่น และ
ลักษณะด้อยได้
1. ความหมาย และลักษณะของโครโมโซม และยีนได้
1.1 ความหมายและลักษณะของโครโมโซม
1.1.1 ความหมายของโครโมโซม
โครโมโซม ( chromosome ) เป็นที่อยู่ของหน่วยพันธุกรรมที่ทาหน้าที่ควบคุมและ
ถ่ายทอดข้อมูลเกี่ยวกับ ลักษณะต่าง ๆ ของสิ่งมีชีวิต เช่น ลักษณะเส้นผม สีตา เพศ สีผิว ซึ่ง
การศึกษาลักษณะโครโมโซมจะต้องอาศัยการดูด้วยกล้องจุลทรรศน์ที่มีกาลังขยายสูง ๆ จึง
สามารถมองเห็นรายละเอียดของโครโมโซมได้ ดังภาพที่ 6
ภาพที่ 6 ลักษณะของโครโมโซม
ที่มา : ประดับ นาคแก้ว , วัชวัลย์ ครุฑไชยันต์ และ ดาวัลย์ เสริมบุญสุข . 2548 : 11 .
1.1.2 ลักษณะของโครโมโซม
ในภาวะปกติเมื่อมองผ่านกล้องจุลทรรศน์จะเห็นโครโมโซมมีลักษณะคล้ายเส้นด้าย
บาง ๆ เรียกว่า โครมาทิน ( chromatin ) ขดตัวอยู่ในนิวเคลียส เมื่อเซลล์เริ่มแบ่งตัว
เส้นโครมาทินจะหดสั้นเข้ามีลักษณะเป็นแท่ง จึงเรียกว่า โครโมโซม แต่ละโครโมโซม
ประกอบด้วยแขน 2 ข้าง ที่เรียกว่า โครมาทิด ( chromatid ) ซึ่งแขนทั้งสองข้างจะมีจุดเชื่อม
กัน เรียกว่า เซนโทรเมียร์ ( centromere ) ซึ่งถ้าดูจากแบบจาลองโครโมโซม หลาย ๆ คนอาจ
จินตนาการว่าคล้ายกับปาท่องโก๋ ดังภาพที่ 7
โครมาทิด
ภาพที่ 7 แสดง ส่วนประกอบของโครโมโซม
ที่มา : อักษรเจริญทัศน์, แผนการจัดการเรียนรู้วิทยาศาสตร์ , CD. กรุงเทพ ฯ .
1.1.3 จานวนโครโมโซมของสิ่งมีชีวิต
จานวนโครโมโซมของสิ่งมีชีวิตแต่ละชนิดจะมีจานวนคงที่และเท่ากันเสมอ แต่
สิ่งมีชีวิตต่างชนิดกันก็จะมีจานวนโครโมโซมต่างกัน ดังตารางที่ 1
เซนโทรเมียร์
โครโมโซม
Y
โครโมโซม
X
ตารางอยู่หน้าถัดไป
นะจ๊ะ
ตารางที่ 1 แสดงจานวนโครโมโซมของสิ่งมีชีวิต
สิ่งมีชีวิต ชื่อทางวิทยาศาสตร์ จานวนโครโมโซม
แตงกวา Cucumis sativas 14
มะละกอ Carica papaya 18
ข้าว Orysa sativa 24
อ้อย Saccarum offcinarum 80
ยูกลีนา Euglena gracilis 90
หมู Susscrafa 40
คน Homo sapiens 46
ลิงซิมแปนซี Pan troglodytes 48
แมว Felis domestica 38
สุนัข Canis familiaris 78
1.1.4 โครโมโซมกาหนดเพศในมนุษย์
การกาหนดเพศในสิ่งมีชีวิตโดยทั่วไป จะพิจารณาจากลักษณะของโครโมโซมสาหรับ
มนุษย์มีจานวนโครโมโซม 46 โครโมโซม หากนามาจัดเป็นคู่จะได้ 23 คู่ ซึ่งจะมี 22 คู่ ที่
เหมือนกันทั้งในเพศหญิงและเพศชาย เราเรียกโครโมโซมเหล่านี้ว่า โครโมโซมร่างกาย
( autosome ) ซึ่งจะมีบทบาทในการกาหนดลักษณะทางพันธุกรรมต่าง ๆ ในร่างกาย
สาหรับโครโมโซมที่เหลืออีก 1 คู่ จากทั้งหมด 23 คู่ จะเป็นโครโมโซมที่ทาหน้าที่
กาหนดเพศ เรียกว่า โครโมโซมเพศ ( sex chromosome ) โดยโครโมโซมเพศชายจะเป็นการ
จับคู่กันของโครโมโซม 2 ตัว ที่มีลักษณะต่างกันคือ โครโมโซม X ที่เป็นค่ากาหนดเพศหญิง และ
โครโมโซม Y เป็นตัวกาหนดเพศชายมีขนาดเล็กกว่าโครโมโซม ส่วนในเพศหญิงจะเป็นการจับคู่กัน
ของโครโมโซม 2 ตัวที่มีลักษณะเหมือนกัน คือโครโมโซม X ดังภาพที่ 8
สังเกตดี ๆ แล้ว
จะเข้าใจ
โครโมโซมเพศชาย โครโมโซมเพศญิง
ภาพที่ 8 โครโมโซมในเพศหญิงและโครโมโซมเพศชาย
ที่มา : ประดับ นาคแก้ว , วัชวัลย์ ครุฑไชยันต์ และ ดาวัลย์ เสริมบุญสุข . 2548 : 12
1.2 ความหมายและลักษณะของยีน
1.2.1 ความหมายของยีน
ยีน ( gene ) คือ หน่วยพันธุกรรมที่อยู่บนโครโมโซม มีลักษณะเรียงกันเหมือน
สร้อยลูกปัด ทาหน้าที่ควบคุมลักษณะต่าง ๆ ทางพันธุกรรมจากพ่อแม่โดยผ่านเซลล์สืบพันธุ์ไปยัง
ลูกหลาน ในคนจะมียีนประมาณ 50,000 ยีน ซึ่งยีนแต่ละตัวจะควบคุมลักษณะต่าง ๆ ทาง
พันธุกรรมเพียงลักษณะเดียว ยีนมีองค์ประกอบที่สาคัญเป็นกรดนิวคลีอิก ชนิดที่เรียกว่า ดีเอ็น
เอ (deoxyribonucleic acid :DNA) อันเกิดจากการต่อกันเป็นเส้นของโมเลกุลย่อยที่เรียกว่า
นิวคลีโอไทด์ (nucleotide) ส่วนเส้นโมเลกุลจะสั้นหรือยาวเท่าใด ขึ้นอยู่กับปริมาณของ
โมเลกุลย่อยดีเอนเอ ( DNA )ในเซลล์ประกอบด้วยสายนิวคลีโอไทด์สองสายที่บิดตัวร่วมกันเป็น
เกลียวคู่ (double helix) โดยมีสารเคมีที่เรียกว่า เบส เป็นตัวยึดสายทั้งสองไว้ เบสทาหน้าที่ยึด
สายนิวคลีโอไทด์นี้เปรียบเสมือนตัวอักษรที่เรียงต่อกันเป็นข้อมูลทางพันธุกรรมและจะแปรผันไป
ตามชนิดของสิ่งมีชีวิต เบสในสาย ดีเอ็นเอ จะมีทั้งหมด 4 ชนิด ซึ่งจะมีการจับคู่กันอย่างจาเพาะ
เจาะจง
ดังนั้น ถ้าเราทราบถึงการเรียงลาดับเบสบนดีเอ็นเอเส้นหนึ่ง ก็จะสามารถบอกการ
เรียงลาดับของเบสบนดีเอ็นเออีกเส้นหนึ่งได้ ในปัจจุบันเราสามารถใช้หลักการนี้ในการพิสูจน์สาย
สัมพันธ์ระหว่างพ่อแม่ลูกได้
ภาพที่ 10 ลักษณะสายดีเอ็นเอ
ที่มา : http://users.utu.fi/rezzah/zahiri_contactme.html
1.2.2 คู่ของยีน
เซลล์ร่างกายของสิ่งมีชีวิตจะมีโครโมโซมที่ทาหน้าที่ถ่ายทอดข้อมูลทางพันธุกรรมอยู่
สองชุดเข้าคู่กัน เรียกว่า โครโมโซมคู่เหมือน และจากที่กล่าวมาแล้วว่ายีนซึ่งเป็นตัวควบคุม
ลักษณะทางพันธุกรรมจะอยู่บนโครโมโซม ด้วยเหตุนี้ ถ้าพิจารณาลักษณะทางพันธุกรรมลักษณะ
ใดลักษณะหนึ่ง เช่น ลักษณะสีตา จะพบว่าถ้ามียีนที่ควบคุมลักษณะสีตาอยู่บนโครโมโซมแท่ง
หนึ่ง โครโมโซมที่เป็นคู่เหมือนก็จะมียีนที่ควบคุมลักษณะสีตาอยู่ด้วยเช่นกัน ดังภาพที่ 11
ดูแล้วคิดว่า
เหมือนอะไร
ภาพที่ 11 โครโมโซมคู่เหมือน
ที่มา : ยุพา วรยศ , ถนัด ศรีบุญเรือง , โจ บอยด์ และวอลเตอร์ ไวท์ลอว์ . 2549 : 10
2. การเกิดเพศหญิงเพศชาย
เซลล์เพศที่ถูกสร้างขึ้นมาแต่ละเซลล์จะมีโครโมโซมเพศเพียงชุดเดียว โดยที่เซลล์
สืบพันธุ์เพศชาย (สเปิร์ม) จะมีเซลล์สืบพันธุ์ ซึ่งมีโครโมโซม 2 ชนิด คือ 22 + X และ 22 + Y
ส่วนเซลล์สืบพันธุ์เพศหญิงจะมีโครโมโซมชนิดเดียว คือ 22+ X ดังนั้นโอกาสในการเกิดทารกเพศ
หญิงหรือทารกเพศชายจึงเท่ากัน ขึ้นอยู่กับสเปิร์มที่เข้าผสมกับไข่ว่าจะเป็นสเปิร์มชนิดใด ดังภาพ
ที่ 12
ภาพที่ 12 การเกิดเพศหญิงและเพศชาย
ที่มา : ประดับ นาคแก้ว , วัชวัลย์ ครุฑไชยันต์ และ ดาวัลย์ เสริมบุญสุข . 2548 : 13
3. ความหมายของแอลลีล จีโนไทป์ ฟีโนไทป์ ยีนเด่น ยีนด้อย ลักษณะเด่น และ
ลักษณะด้อย
3.1 แอลลีล ( allele ) คือยีนที่ควบคุมลักษณะเดียวกันแต่ต่างรูปแบบกันถึงแม้จะอยู่
บนโครโมโซมคู่เหมือนตรงตาแหน่งเดียวกันก็ตาม เช่น ลักษณะของติ่งหู จะมียีนที่ควบคุมอยู่ 2
แอลลีล หรือ 2 แบบ คือ แอลลีลที่ควบคุมการมีติ่งหู (ให้สัญลักษณ์ เป็น B ) และแอลลีลที่
ควบคุมการไม่มีติ่งหู ( ให้สัญลักษณ์ b )
3.2 จีโนไทป์ ( genotype ) คือลักษณะการจับคู่กันของแอลลีลของยีนที่ควบคุม
ลักษณะทางพันธุกรรม ซึ่งมี 2 ลักษณะ ได้แก่
3.2.1 ลักษณะพันธุ์แท้ ( homozygous ) เป็นการจับคู่กันของยีนที่มีแอลลีล
เหมือนกัน เช่น แอลลีลควบคุมการมีติ่งหูจะมี 2 แอลลีลจับคู่กัน ( BB ) แอลลีลที่ควบคุมการไม่มี
ติ่งหู จะมี 2 แอลลีลคู่กัน( bb )
3.2.2 ลักษณะพันธุ์ทาง ( heterozygous ) เป็นการจับคู่กันของยีนที่มีแอลลีลต่าง
กัน เช่น แอลลีลควบคุมการมีติ่งหูกับแอลลีลที่ควบคุมการไม่มีติ่งหู ( Bb )
3.3 ฟีโนไทป์ ( phenotype ) หมายถึงลักษณะทางพันธุกรรมของสิ่งมีชีวิตที่อยู่
ภายใต้การควบคุมของจีโนไทป์ ซึ่งแสดงออกมาให้เห็นหรือปรากฏแก่ภายนอก เช่น จานวนชั้น
ของหนังตา ลักษณะสีตา สีผิว ความสูง เป็นต้น
3.4 ยีนเด่น (dominant) คือ ยีนที่สามารถแสดงลักษณะนั้นออกมาได้ แม้มียีนเพียง
ยีนเดียว เช่น ยีนผมหยิกอยู่คู่กับยีนผมเหยียด แต่แสดงลักษณะผมหยิกออกมา แสดงว่า ยีนผม
หยิกเป็นยีนเด่น
3.5 ยีนด้อย (recessive) คือ ยีนที่สามารถแสดงลักษณะให้ปรากฏออกมาได้ก็
ต่อเมื่อบนคู่ของโครโมโซมนั้นปรากฏแต่ยีนด้อย เช่น การแสดงออกของลักษณะผมเหยียด จะต้อง
มียีนผมเหยียดบนโครโมโซมทั้งคู่
จากการทดลองการถ่ายทอดลักษณะทางพันธุกรรมของเมนเดลกล่าวว่า “ เมื่อ มีแอล
ลีลที่แตกต่างกัน 2 แอลลีล แอลลีลหนึ่งจะแสดงออกมาได้ดีกว่าอีกแอลลีลหนึ่ง แอลลีลที่แสดง
ออกมาได้ดีกว่า เรียกว่า แอลลีลเด่น ( dominant allele ) จะบดบังแอลลีลที่แสดงออกมาได้ไม่
ดีเรียกว่า แอลลีลด้อย ( recessive allele )” หรือกล่าวได้ว่าลักษณะต่าง ๆ ทางพันธุกรรมที่
เกิดจากการจับคู่กันของยีนจากพ่อและแม่ และการถ่ายทอดมาสู่ลูกหลาน จะมีการแสดงออกได้
2 ลักษณะ ดังนี้
1. ลักษณะเด่น (dominant) หมายถึง ลักษณะที่ปรากฏออกมาในทุก ๆ รุ่นอย่าง
เด่นชัด ซึ่งเกิดจากการจับคู่ของแอลลีลที่ควบคุมลักษณะเด่นเหมือนกันจับคู่กัน หรืออาจเกิดจาก
การที่แอลลีลด้อยถูกข่มด้วยแอลลีลเด่น
2. ลักษณะด้อย ( recessive ) หมายถึง ลักษณะที่แอบแฝงไม่แสดงออกมาให้เห็นเมื่อ
อยู่คู่กับลักษณะเด่น แต่จะแสดงออกเมื่อมีการเข้าคู่กับลักษณะด้อยเหมือนกัน ซึ่งโอกาสที่จะ
แสดงออกให้เห็นจะมีน้อยกว่าการแสดงออกของลักษณะเด่น ดังภาพที่ 13 และภาพที่ 14
ภาพที่ 13 แสดงการถ่ายทอดลักษณะตาบอดสีซึ่งเป็นแอลลีลด้อย
ที่มา : ประดับ นาคแก้ว , วัชวัลย์ ครุฑไชยันต์ และ ดาวัลย์ เสริมบุญสุข . 2548 : 15
ภาพที่ 14 แสดงการถ่ายทอดโรคฮีโมฟิเลีย
ที่มา : ประดับ นาคแก้ว , วัชวัลย์ ครุฑไชยันต์ และ ดาวัลย์ เสริมบุญสุข . 2548 : 16
ความรู้เพิ่มเติม
เรื่อง หมู่เลือดของคน
หมู่เลือด
โดยปกติคนเราจะมีเลือดทั่วร่างกายประมาณ 4.5 ลิตร ประกอบด้วย เซลล์เม็ด
เลือดและเกล็ดเลือดกว่าครึ่งหนึ่ง และครึ่งหนึ่งเป็นของเหลวที่เรียกว่า พลาสมา ซึ่ง
ประกอบด้วย น้า เกลือแร่ โปรตีน สารที่ทาให้เลือดเป็นลิ่มและอื่นๆ ในสมัยก่อนคนเรายังไม่มี
ความรู้ความเข้าใจเกี่ยวกับหมู่เลือด เวลาเจ็บป่วยหรือเกิดอุบัติเหตุ ซึ่งจาเป็นต้องได้รับ
เลือด ปรากฎว่าผลของการถ่ายเลือดทาให้คนไข้ถึงแก่ความตายอยู่เนืองๆ ต่อมาในปี พ.ศ.
2443 แพทย์ชาวเยอรมันชื่อ คาร์ล แลนด์สไตเนอร์ พบว่าถ้าเอาเซรุ่มของคนหนึ่งไปผสมกับ
เม็ดเลือดแดงของอีกคนหนึ่งจะเกิดปฏิกิริยากัน กล่าวคือเม็ดเลือดแดงจับกลุ่มรวมตัวกันหรือ
ตกตะกอนเป็นผลให้เม็ดเลือดสลาย ปรากฏการณ์นี้ทาให้เกิดการค้นพบหมู่เลือดของมนุษย์ขึ้น
และทราบว่าบางคนเท่านั้นที่ถ่ายเลือดให้กันได้แต่บางกรณีถ่ายเลือดให้กันไม่ได้เพราะเมื่อถ่ายให้
กันแล้วทาให้เม็ดเลือดแตก
หมู่เลือดของมนุษย์มีหลายชนิด ที่สาคัญคือ ABO ซึ่งกาหนดโดย ยีน A,B และ
O แต่เนื่องจากยีนอยู่กันเป็นคู่ๆ แต่ละคนจึงมียีนกาหนดชนิดของห มู่เลือด
เพียง 2 ยีน เท่านั้น คือ อาจเป็น AO,AA,BO,BB,OO หรือ AB ยีน A และยีน B เป็นยีน
ที่กาหนดลักษณะเด่น ยีน O เป็นยีนที่กาหนดลักษณะด้อย ฉะนั้นถ้าเรามียีน
AO ยีน A เท่านั้นก็จะแสดงลักษณะออกมาได้ด้วยการควบคุมให้มีการสร้างโปรตีน
ชนิด A หรือแอนติเจน A ที่ผิวของเม็ดเลือดแดง ชนิดของแอนติเจนบนผิวเม็ดเลือดแดงก็
คือ ชนิดของหมู่
ที่มา : (ศิริพร กิจจารึก,2552)
สถิติหมู่โลหิตของคนไทย
O 38 %
B 34 %
A 21 %
AB 7 %
Rh(-) 0.3 %
ที่มา : (เอกสารฝ่ายประชาสัมพันธ์ศูนย์บริการโลหิตแห่งชาติสภากาชาดไทย, 2551)
หมู่เลือด ABO กับการถ่ายทอดลักษณะทางพันธุกรรม
การถ่ายทอดทางพันธุกรรมของหมู่เลือด ABO จะถ่ายทอดผ่านทาง Multiple
Alleles ซึ่งหมายถึงพันธุกรรมที่ประกอบด้วยอัลลีลมากกว่า 2 ชนิดขึ้นไป ควบคุมลักษณะใด
ลักษณะหนึ่ง พันธุกรรมหมู่เลือด ABO ของคนเราที่เบิร์นสไตน์ได้ให้คาอธิบายไว้ว่าหมู่เลือดระบบ
นี้ถูกควบคุมโดยยีน ตาแหน่งหนึ่งซึ่งมีอัลลีลเกี่ยวข้องอยู่ 3 อัลลีลคือ
IA นาลักษณะแอนติเจนไอไซแอกกลูติโนเจน (Isoagglutinogen) A
IB นาลักษณะแอนติเจนไอไซแอกกลูติโนเจน (Isoagglutinogen) B
I เป็น Recessive ต่อ IA และ IB ไม่สร้างแอนติเจน
IA และ IB แสดงลักษณะเด่นทั้งคู่ข่มกันไม่ลงเป็น Co-dominance ถ้า 2 อัลลีลนี้อยู่
ด้วยกันจะสร้างทั้ง แอนติเจน A และ B
จากอัลลีลทั้ง 3 ชนิดจึงทาให้มี จีโนไทป์ได้ 6 ชนิด และแสดงฟีโนไทป์ได้ 4 ชนิด
ดังตาราง และสามารถถ่ายทอดจากพ่อแม่สู่ลูกได้ดังภาพที่ 20
ตารางที่ 2 แสดงจีโนไทป์ และฟีโนไทป์ของหมู่เลือดระบบ ABO
จีโนไทป์ ฟีโนไทป์
IAIA IAI
IBIB IBI
IAIB
Ii
เลือดหมู่ A
เลือดหมู่ B
เลือดหมู่ AB
เลือดหมู่ O
ที่มา : (หมู่เลือด ABO กับการถ่ายทอดลักษณะทางพันธุกรรม, 2551, ออนไลด์)
ภาพที่ 20 การถ่ายทอดหมู่เลือดจากพ่อแม่สู่ลูก
ที่มา : (หมู่เลือด ABO กับการถ่ายทอดลักษณะทางพันธุกรรม, 2551, ออนไลด์)
ตารางที่ 3 แสดงการถ่ายทอดหมู่โลหิตระบบ ABO ของพ่อแม่ลูกที่เป็นไปได้
หมู่โลหิตของพ่อ หมู่โลหิตของแม่ หมู่โลหิตของลูกที่เป็นไปได้
O O O
O A O หรือ A
O B O หรือ B
O AB A หรือ B
A A A หรือ O
A B O หรือ A หรือ B หรือ AB
A AB A หรือ B หรือ AB
B B B หรือ O
B AB A หรือ B หรือ AB
AB AB A หรือ B หรือ AB
จะเห็นได้ว่าหมู่โลหิตของลูกไม่จาเป็นต้องเหมือนหมู่โลหิตของพ่อและแม่เสมอไปแต่
เนื่องจากหมู่โลหิตมีการถ่ายทอดทางกรรมพันธุ์ การตรวจสอบหมู่โลหิตจึงมีประโยชน์ในการ
ตรวจสอบความเป็นพ่อลูกกัน
ที่มา : (หมู่เลือด ABO กับการถ่ายทอดลักษณะทางพันธุกรรม, 2551)
หมู่โลหิตระบบ Rh
หมู่โลหิตของมนุษย์เรานอกจากจะมีระบบ ABO และ ยังมีหมู่โลหิตอีกระบบที่เรา
มักจะไม่คุ้นหูกัน คือ หมู่โลหิตระบบอาร์เอช (Rh)
การค้นพบหมู่โลหิตระบบ Rh นั้น ในปี ค.ศ.1939 มีนักวิทยาศาสตร์ 2 คนชื่อ เลอ
วิน และ ลีเวน เวล สเต็ดสัน ได้พบว่าหลังจากที่ทาการถ่ายโลหิตให้สตรีผู้หนึ่งซึ่งเสียโลหิตจากการ
คลอดบุตรที่ตายในครรภ์ จากการศึกษาในห้องปฏิบัติการพบว่าโลหิตในตัวลูกมีปฏิกิริยากับเม็ด
โลหิตแดงของแม่ ทาให้เม็ดโลหิตแดงแตกในตอนนั้นเข้าใจว่าในตัวสตรีผู้นั้นได้รับสารชนิดหนึ่งซึ่ง
มีลักษณะต่างจากเม็ดโลหิตแดงของลูกซึ่งถ่ายจากพ่อ ต่อมาในปี ค.ศ.1940 มีนักวิทยาศาสตร์อีก
2 คนชื่อ คาร์ล แลนด์ สไตเนอร์ ร่วมกับอเล็กซานเดอร์ วินเนอร์ ทาการทดลองฉีดเม็ดโลหิตแดง
ของลิงเข้าไปในกระต่ายและหนู พบว่าน้าเหลืองของกระต่ายทาปฏิกิริยากับเม็ดโลหิตแดงของลิง
และยังทาปฏิกิริยากับเม็ดโลหิตแดงของคนอีก 84 % ต่อมาภายหลังได้พบปรากฏการณ์เช่นนี้ใน
คน 3 คน ที่ได้รับโลหิตหมู่ ABO ที่ตรงกัน ซึ่งเชื่อว่าเกิดจากโลหิตหมู่พิเศษ นอกเหนือไปจากหมู่
โลหิต ABO จึงได้ตั้งชื่อหมู่โลหิตนี้ว่า อาร์เอช ((Rh)
การจาแนกหมู่โลหิตระบบ Rh
จะมีสารโปรตีนที่ฉาบอยู่บนผิวของเม็ดโลหิตแดง ซึ่งเรียกว่า สารโปรตีน ดี (Antigen-D)
เป็นตัวบ่งบอก หมู่โลหิตระบบ Rh แบ่งออกเป็น 2 หมู่ คือ
1. หมู่โลหิต Rh บวก (Rh positive) คือ หมู่โลหิตที่มีสารโปรตีน ดี (Antigen-D) อยู่
ที่ผิวของเม็ดโลหิตแดง ในคนไทยมีหมู่โลหิต Rh บวก ประมาณ 99.7 % ซึ่งหมู่โลหิต Rh บวกนี้
เราเรียกง่าย ๆ ว่า “หมู่โลหิตธรรมดา”
2.หมู่โลหิต Rh ลบ (Rh negative) คือหมู่โลหิตที่ไม่มีสารโปรตีน ดี (Antigen-D) อยู่
ที่ผิวของเม็ดโลหิตแดง ในคนไทยพบว่ามีหมู่โลหิตนี้เพียง 0.3 % หรือ 1,000 คน จะพบเพียง 3
คนเท่านั้น ซึ่งเราเรียกง่ายๆว่า “หมู่โลหิตหายาก” หรือ “หมู่โลหิตพิเศษ” (Rh negative) นั่นเอง
ที่มา : (เอกสารฝ่ายประชาสัมพันธ์ศูนย์บริการโลหิตแห่งชาติสภากาชาดไทย, 2551)
กิจกรรมที่ 2 สืบค้นข้อมูลและทาชิ้นงาน
เรื่อง โครโมโซมและยีน
ตอนที่ 1 เรื่องสารพันธุกรรม
จุดประสงค์การเรียนรู้
1. อธิบายความหมาย และลักษณะของโครโมโซม และยีนได้
2. อธิบายและสรุปการเกิดเพศหญิงและเพศชายได้
3. อธิบายความหมายของแอลลีล จีโนไทป์ ฟีโนไทป์ ยีนเด่น ยีนด้อย ลักษณะเด่น
ลักษณะด้อยได้
คาชี้แจงคาชี้แจง
ให้นักเรียนศึกษาข้อมูลจากภาพต่อไปนี้ แล้วตอบคาถาม
ภาพที่ 15
ที่มา นายมนัส ศรีเฉลิม 31 ธันวาคม 2550
คนแต่ละคนมีลักษณะแตกต่างกัน ทั้งนี้เพราะในนิวเคลียสของแต่ละคนจะมีรหัสทาง
เคมีที่ทาหน้าที่ควบคุมลักษณะต่างๆ แตกต่างกันนั่นเอง รหัสทางเคมีจะถ่ายทอดไปยังรุ่นลูกโดย
สารเคมีที่เรียกว่า ดีเอ็นเอ (DNA)รหัสทางเคมีหรือรหัสทางพันธุกรรมนี้ ประกอบด้วยหน่วยเล็กๆ
ที่เรียกว่า ยีน แต่ละหน่วยจะทาหน้าที่ควบคุมลักษณะอย่างหนึ่งของร่างกาย เช่น ควบคุมสีผม
ควบคุม ชนิดของหมู่เลือด และอื่นๆ
ดีเอ็นเอหนึ่งสายถูกเรียกว่า โครโมโซม (chromosome) แต่ละโครโมโซม
ประกอบด้วยยีนจานวนมากเป็นพันๆ ยีน นักเรียนสามารถมองเห็นโครโมโซมได้ด้วยการมองผ่าน
กล้องจุลทรรศน์
โครโมโซมที่พบในแต่ละเซลล์มีหลายอันและอยู่ไม่เป็นระเบียบ อย่างไรก็ตามเรา
สามารถนาเอาโครโมโซมมาเรียงเข้าคู่กันตามขนาดและลักษณะได้ดังนี้
โครโมโซมเพศหญิง โครโมโซมเพศชาย
ที่มา : อักษรเจริญทัศน์, แผนการจัดการเรียนรู้วิทยาศาสตร์ , CD. กรุงเทพ ฯ .
คาถามท้ายกิจกรรม
1. เพราะเหตุใดคนแต่ละคนในภาพจึงมีลักษณะแตกต่างกัน
............................................................................................................................................
……………………………………………………………………………………………
2. โครโมโซมคืออะไร
............................................................................................................................................
……………………………………………………………………………………………
3.โครโมโซมของคนปกติ 1 ชุด มีจานวนเท่าใด
............................................................................................................................................
……………………………………………………………………………………………
4. จากภาพของโครโมโซมผู้ชาย มีลักษณะแตกต่างจากโครโมโซมผู้หญิงอย่างไร
............................................................................................................................................
……………………………………………………………………………………………
5. นักเรียนคิดว่าบนโครโมโซม Y จะมีข้อมูลทางพันธุกรรมอะไรบ้าง
............................................................................................................................................
……………………………………………………………………………………………
ตอนที่ตอนที่ 22 เรื่องรูปร่างของโคเรื่องรูปร่างของโครโมโซมและยีนรโมโซมและยีน
คาชี้แจงคาชี้แจง
ให้นักเรียนสืบค้นข้อมูลแล้วทาชิ้นงานต่อไปนี้จากอุปกรณ์ที่กาหนดให้ และนาชิ้นงาน
ติดบนกระดาษแข็ง
ชิ้นงานที่สร้างชิ้นงานที่สร้าง
1. โครโมโซมที่มี 2 โครมาทิด และแสดงตาแหน่งเซนโทรเมียร์
2. โครโมโซมเพศหญิง
3. โครโมโซมเพศชาย
4. แอลลีลที่แสดงลักษณะพันธุ์แท้และพันธุ์ทางบนคู่ของโครโมโซม
อุปกรณ์ที่ใช้
1. กระดาษสี
2. กรรไกร หรือ มีด
3. กระดาษแข็ง
4. กาว
แบบทดสอบ
เรื่อง โครโมโซม และยีน
คาชี้แจง
จงตอบคาถามต่อไปนี้ให้ถูกต้องสมบูรณ์
1. ยีนหรือหน่วยพันธุกรรมมีหน้าที่อย่างไร
2. จานวนโครโมโซมในเซลล์ร่างกายของมนุษย์และโครโมโซมในเซลล์สืบพันธุ์
มีความแตกต่างกันอย่างไร
3. จงอธิบายการเกิดเพศหญิงและเพศชาย
4. จงอธิบายความหมายของ แอลลีล จีโนไทป์ ฟีโยไทป์ ลักษณะเด่น ลักษณะด้อย
ยีนเด่นและยีนด้อย

Contenu connexe

Tendances

ใบกิจกรรมที่ 10 กลไกภูมิคุ้มกัน
ใบกิจกรรมที่ 10 กลไกภูมิคุ้มกันใบกิจกรรมที่ 10 กลไกภูมิคุ้มกัน
ใบกิจกรรมที่ 10 กลไกภูมิคุ้มกันAomiko Wipaporn
 
การสืบพันธุ์ของพืช
การสืบพันธุ์ของพืชการสืบพันธุ์ของพืช
การสืบพันธุ์ของพืชchiralak
 
การถ่ายทอดลักษณะทางพันธุกรรมตามกฎเมนเดล by pitsanu duangkartok
การถ่ายทอดลักษณะทางพันธุกรรมตามกฎเมนเดล by pitsanu duangkartokการถ่ายทอดลักษณะทางพันธุกรรมตามกฎเมนเดล by pitsanu duangkartok
การถ่ายทอดลักษณะทางพันธุกรรมตามกฎเมนเดล by pitsanu duangkartokpitsanu duangkartok
 
G biology bio5
G biology bio5G biology bio5
G biology bio5Bios Logos
 
บทที่ 16 ยีนและโครโมโซม
บทที่  16  ยีนและโครโมโซมบทที่  16  ยีนและโครโมโซม
บทที่ 16 ยีนและโครโมโซมPinutchaya Nakchumroon
 
เฉลยแบบฝึกหัด17.5โครงสร้างdna
เฉลยแบบฝึกหัด17.5โครงสร้างdnaเฉลยแบบฝึกหัด17.5โครงสร้างdna
เฉลยแบบฝึกหัด17.5โครงสร้างdnaWan Ngamwongwan
 
แบบทดสอบย่อย เรื่องกล้องจุลทรรศน์
แบบทดสอบย่อย เรื่องกล้องจุลทรรศน์แบบทดสอบย่อย เรื่องกล้องจุลทรรศน์
แบบทดสอบย่อย เรื่องกล้องจุลทรรศน์Phattarawan Wai
 
แบบฝึกหัด หัวใจ เส้นเลือด การไหลเวียนเลือด
แบบฝึกหัด หัวใจ เส้นเลือด การไหลเวียนเลือดแบบฝึกหัด หัวใจ เส้นเลือด การไหลเวียนเลือด
แบบฝึกหัด หัวใจ เส้นเลือด การไหลเวียนเลือดNapaphat Bassnowy
 
การรักษาดุลยภาพของร่างกายด้วยฮอร์โมน
การรักษาดุลยภาพของร่างกายด้วยฮอร์โมนการรักษาดุลยภาพของร่างกายด้วยฮอร์โมน
การรักษาดุลยภาพของร่างกายด้วยฮอร์โมนsukanya petin
 
ใบกิจกรรมที่ 11 ระบบภูมิคุ้มกันและความผิดปกติ
ใบกิจกรรมที่ 11 ระบบภูมิคุ้มกันและความผิดปกติใบกิจกรรมที่ 11 ระบบภูมิคุ้มกันและความผิดปกติ
ใบกิจกรรมที่ 11 ระบบภูมิคุ้มกันและความผิดปกติAomiko Wipaporn
 
ใบงานที่ 14สารพันธุกรรม
ใบงานที่ 14สารพันธุกรรมใบงานที่ 14สารพันธุกรรม
ใบงานที่ 14สารพันธุกรรมAomiko Wipaporn
 
แบบทดสอบเทคโนยีน
แบบทดสอบเทคโนยีนแบบทดสอบเทคโนยีน
แบบทดสอบเทคโนยีนWichai Likitponrak
 
บทที่ 2 การเคลื่อนที่ของสิ่งมีชีวิต
บทที่ 2 การเคลื่อนที่ของสิ่งมีชีวิตบทที่ 2 การเคลื่อนที่ของสิ่งมีชีวิต
บทที่ 2 การเคลื่อนที่ของสิ่งมีชีวิตTa Lattapol
 
อาณาจักรสัตว์ 2
อาณาจักรสัตว์ 2อาณาจักรสัตว์ 2
อาณาจักรสัตว์ 2Pinutchaya Nakchumroon
 
ไฟฟ้าสถิตย์ ตอนที่ 1
ไฟฟ้าสถิตย์ ตอนที่ 1ไฟฟ้าสถิตย์ ตอนที่ 1
ไฟฟ้าสถิตย์ ตอนที่ 1Wijitta DevilTeacher
 
พันธุกรรมเพิ่ม
พันธุกรรมเพิ่มพันธุกรรมเพิ่ม
พันธุกรรมเพิ่มWichai Likitponrak
 
ใบงานที่ 6 ส่วนประกอบของโลก
ใบงานที่ 6 ส่วนประกอบของโลกใบงานที่ 6 ส่วนประกอบของโลก
ใบงานที่ 6 ส่วนประกอบของโลกwebsite22556
 
ความหลากหลายทางชีวภาพ
ความหลากหลายทางชีวภาพความหลากหลายทางชีวภาพ
ความหลากหลายทางชีวภาพPinutchaya Nakchumroon
 
บท1ธรรมชาติสิ่งมีชีวิต
บท1ธรรมชาติสิ่งมีชีวิตบท1ธรรมชาติสิ่งมีชีวิต
บท1ธรรมชาติสิ่งมีชีวิตWichai Likitponrak
 
บทที่ 1 อะตอมและตารางธาตุ
บทที่ 1 อะตอมและตารางธาตุบทที่ 1 อะตอมและตารางธาตุ
บทที่ 1 อะตอมและตารางธาตุoraneehussem
 

Tendances (20)

ใบกิจกรรมที่ 10 กลไกภูมิคุ้มกัน
ใบกิจกรรมที่ 10 กลไกภูมิคุ้มกันใบกิจกรรมที่ 10 กลไกภูมิคุ้มกัน
ใบกิจกรรมที่ 10 กลไกภูมิคุ้มกัน
 
การสืบพันธุ์ของพืช
การสืบพันธุ์ของพืชการสืบพันธุ์ของพืช
การสืบพันธุ์ของพืช
 
การถ่ายทอดลักษณะทางพันธุกรรมตามกฎเมนเดล by pitsanu duangkartok
การถ่ายทอดลักษณะทางพันธุกรรมตามกฎเมนเดล by pitsanu duangkartokการถ่ายทอดลักษณะทางพันธุกรรมตามกฎเมนเดล by pitsanu duangkartok
การถ่ายทอดลักษณะทางพันธุกรรมตามกฎเมนเดล by pitsanu duangkartok
 
G biology bio5
G biology bio5G biology bio5
G biology bio5
 
บทที่ 16 ยีนและโครโมโซม
บทที่  16  ยีนและโครโมโซมบทที่  16  ยีนและโครโมโซม
บทที่ 16 ยีนและโครโมโซม
 
เฉลยแบบฝึกหัด17.5โครงสร้างdna
เฉลยแบบฝึกหัด17.5โครงสร้างdnaเฉลยแบบฝึกหัด17.5โครงสร้างdna
เฉลยแบบฝึกหัด17.5โครงสร้างdna
 
แบบทดสอบย่อย เรื่องกล้องจุลทรรศน์
แบบทดสอบย่อย เรื่องกล้องจุลทรรศน์แบบทดสอบย่อย เรื่องกล้องจุลทรรศน์
แบบทดสอบย่อย เรื่องกล้องจุลทรรศน์
 
แบบฝึกหัด หัวใจ เส้นเลือด การไหลเวียนเลือด
แบบฝึกหัด หัวใจ เส้นเลือด การไหลเวียนเลือดแบบฝึกหัด หัวใจ เส้นเลือด การไหลเวียนเลือด
แบบฝึกหัด หัวใจ เส้นเลือด การไหลเวียนเลือด
 
การรักษาดุลยภาพของร่างกายด้วยฮอร์โมน
การรักษาดุลยภาพของร่างกายด้วยฮอร์โมนการรักษาดุลยภาพของร่างกายด้วยฮอร์โมน
การรักษาดุลยภาพของร่างกายด้วยฮอร์โมน
 
ใบกิจกรรมที่ 11 ระบบภูมิคุ้มกันและความผิดปกติ
ใบกิจกรรมที่ 11 ระบบภูมิคุ้มกันและความผิดปกติใบกิจกรรมที่ 11 ระบบภูมิคุ้มกันและความผิดปกติ
ใบกิจกรรมที่ 11 ระบบภูมิคุ้มกันและความผิดปกติ
 
ใบงานที่ 14สารพันธุกรรม
ใบงานที่ 14สารพันธุกรรมใบงานที่ 14สารพันธุกรรม
ใบงานที่ 14สารพันธุกรรม
 
แบบทดสอบเทคโนยีน
แบบทดสอบเทคโนยีนแบบทดสอบเทคโนยีน
แบบทดสอบเทคโนยีน
 
บทที่ 2 การเคลื่อนที่ของสิ่งมีชีวิต
บทที่ 2 การเคลื่อนที่ของสิ่งมีชีวิตบทที่ 2 การเคลื่อนที่ของสิ่งมีชีวิต
บทที่ 2 การเคลื่อนที่ของสิ่งมีชีวิต
 
อาณาจักรสัตว์ 2
อาณาจักรสัตว์ 2อาณาจักรสัตว์ 2
อาณาจักรสัตว์ 2
 
ไฟฟ้าสถิตย์ ตอนที่ 1
ไฟฟ้าสถิตย์ ตอนที่ 1ไฟฟ้าสถิตย์ ตอนที่ 1
ไฟฟ้าสถิตย์ ตอนที่ 1
 
พันธุกรรมเพิ่ม
พันธุกรรมเพิ่มพันธุกรรมเพิ่ม
พันธุกรรมเพิ่ม
 
ใบงานที่ 6 ส่วนประกอบของโลก
ใบงานที่ 6 ส่วนประกอบของโลกใบงานที่ 6 ส่วนประกอบของโลก
ใบงานที่ 6 ส่วนประกอบของโลก
 
ความหลากหลายทางชีวภาพ
ความหลากหลายทางชีวภาพความหลากหลายทางชีวภาพ
ความหลากหลายทางชีวภาพ
 
บท1ธรรมชาติสิ่งมีชีวิต
บท1ธรรมชาติสิ่งมีชีวิตบท1ธรรมชาติสิ่งมีชีวิต
บท1ธรรมชาติสิ่งมีชีวิต
 
บทที่ 1 อะตอมและตารางธาตุ
บทที่ 1 อะตอมและตารางธาตุบทที่ 1 อะตอมและตารางธาตุ
บทที่ 1 อะตอมและตารางธาตุ
 

En vedette

ใบความรู้+ลักษณะการถ่ายทอดทางกรรมพันธุ์2+ป.5+275+dltvscip5+54sc p05 f18-1page
ใบความรู้+ลักษณะการถ่ายทอดทางกรรมพันธุ์2+ป.5+275+dltvscip5+54sc p05 f18-1pageใบความรู้+ลักษณะการถ่ายทอดทางกรรมพันธุ์2+ป.5+275+dltvscip5+54sc p05 f18-1page
ใบความรู้+ลักษณะการถ่ายทอดทางกรรมพันธุ์2+ป.5+275+dltvscip5+54sc p05 f18-1pagePrachoom Rangkasikorn
 
พันธุกรรมและความหลากหลาย
พันธุกรรมและความหลากหลายพันธุกรรมและความหลากหลาย
พันธุกรรมและความหลากหลายThanyamon Chat.
 
ใบความรู้เรื่องพันธุกรรมและการถ่ายทอดลักษณะทางพันธุกรรม
ใบความรู้เรื่องพันธุกรรมและการถ่ายทอดลักษณะทางพันธุกรรมใบความรู้เรื่องพันธุกรรมและการถ่ายทอดลักษณะทางพันธุกรรม
ใบความรู้เรื่องพันธุกรรมและการถ่ายทอดลักษณะทางพันธุกรรมSuntharee Yodkham
 
ลักษณะทางพันธุกรรม
ลักษณะทางพันธุกรรมลักษณะทางพันธุกรรม
ลักษณะทางพันธุกรรมMaikeed Tawun
 
แบบฝึกหัดการหาสัดส่วนจีโนไทป์ฟีโนไทป์
แบบฝึกหัดการหาสัดส่วนจีโนไทป์ฟีโนไทป์แบบฝึกหัดการหาสัดส่วนจีโนไทป์ฟีโนไทป์
แบบฝึกหัดการหาสัดส่วนจีโนไทป์ฟีโนไทป์Maikeed Tawun
 
การถ่ายทอด ลักษณะทางพันธุกรรม
การถ่ายทอด ลักษณะทางพันธุกรรมการถ่ายทอด ลักษณะทางพันธุกรรม
การถ่ายทอด ลักษณะทางพันธุกรรมMaikeed Tawun
 

En vedette (6)

ใบความรู้+ลักษณะการถ่ายทอดทางกรรมพันธุ์2+ป.5+275+dltvscip5+54sc p05 f18-1page
ใบความรู้+ลักษณะการถ่ายทอดทางกรรมพันธุ์2+ป.5+275+dltvscip5+54sc p05 f18-1pageใบความรู้+ลักษณะการถ่ายทอดทางกรรมพันธุ์2+ป.5+275+dltvscip5+54sc p05 f18-1page
ใบความรู้+ลักษณะการถ่ายทอดทางกรรมพันธุ์2+ป.5+275+dltvscip5+54sc p05 f18-1page
 
พันธุกรรมและความหลากหลาย
พันธุกรรมและความหลากหลายพันธุกรรมและความหลากหลาย
พันธุกรรมและความหลากหลาย
 
ใบความรู้เรื่องพันธุกรรมและการถ่ายทอดลักษณะทางพันธุกรรม
ใบความรู้เรื่องพันธุกรรมและการถ่ายทอดลักษณะทางพันธุกรรมใบความรู้เรื่องพันธุกรรมและการถ่ายทอดลักษณะทางพันธุกรรม
ใบความรู้เรื่องพันธุกรรมและการถ่ายทอดลักษณะทางพันธุกรรม
 
ลักษณะทางพันธุกรรม
ลักษณะทางพันธุกรรมลักษณะทางพันธุกรรม
ลักษณะทางพันธุกรรม
 
แบบฝึกหัดการหาสัดส่วนจีโนไทป์ฟีโนไทป์
แบบฝึกหัดการหาสัดส่วนจีโนไทป์ฟีโนไทป์แบบฝึกหัดการหาสัดส่วนจีโนไทป์ฟีโนไทป์
แบบฝึกหัดการหาสัดส่วนจีโนไทป์ฟีโนไทป์
 
การถ่ายทอด ลักษณะทางพันธุกรรม
การถ่ายทอด ลักษณะทางพันธุกรรมการถ่ายทอด ลักษณะทางพันธุกรรม
การถ่ายทอด ลักษณะทางพันธุกรรม
 

Similaire à การถ่ายทอดลักษณะทางพันธูกรรม

พันธุกรรม2
พันธุกรรม2พันธุกรรม2
พันธุกรรม2wijitcom
 
2 โครโมโซมและการถ่ายทอดลักษณะพันธุกรรม
2 โครโมโซมและการถ่ายทอดลักษณะพันธุกรรม2 โครโมโซมและการถ่ายทอดลักษณะพันธุกรรม
2 โครโมโซมและการถ่ายทอดลักษณะพันธุกรรมMelody Minhyok
 
2ติวสสวทเซลล์
2ติวสสวทเซลล์2ติวสสวทเซลล์
2ติวสสวทเซลล์Wichai Likitponrak
 
Pont มุนี
Pont มุนีPont มุนี
Pont มุนีmu_nin
 
Genetics การถ่ายทอดทางพันธุกรรม
Genetics การถ่ายทอดทางพันธุกรรมGenetics การถ่ายทอดทางพันธุกรรม
Genetics การถ่ายทอดทางพันธุกรรมJanistar'xi Popae
 
ยีนและโครโมโซม กลุ่มที่2
ยีนและโครโมโซม กลุ่มที่2ยีนและโครโมโซม กลุ่มที่2
ยีนและโครโมโซม กลุ่มที่2naan1338
 
ยีนและโครโมโซม กลุ่ม 2
ยีนและโครโมโซม กลุ่ม 2ยีนและโครโมโซม กลุ่ม 2
ยีนและโครโมโซม กลุ่ม 2room62group2
 
ยีนและโครโมโซม ม.6/2 กลุ่มที่2 โรงเรียนมัธยมวัดใหม่กรงทองในพระราชูปถัมภ์ฯ
ยีนและโครโมโซม ม.6/2 กลุ่มที่2 โรงเรียนมัธยมวัดใหม่กรงทองในพระราชูปถัมภ์ฯยีนและโครโมโซม ม.6/2 กลุ่มที่2 โรงเรียนมัธยมวัดใหม่กรงทองในพระราชูปถัมภ์ฯ
ยีนและโครโมโซม ม.6/2 กลุ่มที่2 โรงเรียนมัธยมวัดใหม่กรงทองในพระราชูปถัมภ์ฯroom62group2
 
พันธุกรรม
พันธุกรรมพันธุกรรม
พันธุกรรมkrudararad
 

Similaire à การถ่ายทอดลักษณะทางพันธูกรรม (20)

เอ๊ะ
เอ๊ะเอ๊ะ
เอ๊ะ
 
พันธุกรรม2
พันธุกรรม2พันธุกรรม2
พันธุกรรม2
 
2 โครโมโซมและการถ่ายทอดลักษณะพันธุกรรม
2 โครโมโซมและการถ่ายทอดลักษณะพันธุกรรม2 โครโมโซมและการถ่ายทอดลักษณะพันธุกรรม
2 โครโมโซมและการถ่ายทอดลักษณะพันธุกรรม
 
2ติวสสวทเซลล์
2ติวสสวทเซลล์2ติวสสวทเซลล์
2ติวสสวทเซลล์
 
Gene2003
Gene2003Gene2003
Gene2003
 
B03
B03B03
B03
 
Pont มุนี
Pont มุนีPont มุนี
Pont มุนี
 
Genetics
GeneticsGenetics
Genetics
 
pantugam
pantugampantugam
pantugam
 
Genetics การถ่ายทอดทางพันธุกรรม
Genetics การถ่ายทอดทางพันธุกรรมGenetics การถ่ายทอดทางพันธุกรรม
Genetics การถ่ายทอดทางพันธุกรรม
 
พันธุกรรม
พันธุกรรมพันธุกรรม
พันธุกรรม
 
ยีนและโครโมโซม กลุ่มที่2
ยีนและโครโมโซม กลุ่มที่2ยีนและโครโมโซม กลุ่มที่2
ยีนและโครโมโซม กลุ่มที่2
 
ยีนและโครโมโซม กลุ่ม 2
ยีนและโครโมโซม กลุ่ม 2ยีนและโครโมโซม กลุ่ม 2
ยีนและโครโมโซม กลุ่ม 2
 
ยีนและโครโมโซม ม.6/2 กลุ่มที่2 โรงเรียนมัธยมวัดใหม่กรงทองในพระราชูปถัมภ์ฯ
ยีนและโครโมโซม ม.6/2 กลุ่มที่2 โรงเรียนมัธยมวัดใหม่กรงทองในพระราชูปถัมภ์ฯยีนและโครโมโซม ม.6/2 กลุ่มที่2 โรงเรียนมัธยมวัดใหม่กรงทองในพระราชูปถัมภ์ฯ
ยีนและโครโมโซม ม.6/2 กลุ่มที่2 โรงเรียนมัธยมวัดใหม่กรงทองในพระราชูปถัมภ์ฯ
 
พันธุกรรม
พันธุกรรมพันธุกรรม
พันธุกรรม
 
การถ่ายทอดลักษณะทางพันธุกรรม
การถ่ายทอดลักษณะทางพันธุกรรมการถ่ายทอดลักษณะทางพันธุกรรม
การถ่ายทอดลักษณะทางพันธุกรรม
 
Aaa
AaaAaa
Aaa
 
Bbb
BbbBbb
Bbb
 
4
44
4
 
4
44
4
 

การถ่ายทอดลักษณะทางพันธูกรรม

  • 1. เอกสารประกอบการเรียนรู้ ลาดับที่ 2 ชุด การถ่ายทอดลักษณะทางพันธุกรรม เรื่อง โครโมโซม และยีน ผลการเรียนรู้ที่คาดหวัง สืบค้นข้อมูลและอธิบายลักษณะของโครโมโซม ของสิ่งมีชีวิต ยีนที่อยู่บนโครโมโซม และจานวนโครโมโซมของสิ่งมีชีวิต จุดประสงค์การเรียนรู้ 1. อธิบายความหมาย และลักษณะของโครโมโซม และยีนได้ 2. อธิบายและสรุปการเกิดเพศหญิงและเพศชายได้ 3. อธิบายความหมายของแอลลีล จีโนไทป์ ฟีโนไทป์ ยีนเด่น ยีนด้อย ลักษณะเด่น และ ลักษณะด้อยได้ 1. ความหมาย และลักษณะของโครโมโซม และยีนได้ 1.1 ความหมายและลักษณะของโครโมโซม 1.1.1 ความหมายของโครโมโซม โครโมโซม ( chromosome ) เป็นที่อยู่ของหน่วยพันธุกรรมที่ทาหน้าที่ควบคุมและ ถ่ายทอดข้อมูลเกี่ยวกับ ลักษณะต่าง ๆ ของสิ่งมีชีวิต เช่น ลักษณะเส้นผม สีตา เพศ สีผิว ซึ่ง การศึกษาลักษณะโครโมโซมจะต้องอาศัยการดูด้วยกล้องจุลทรรศน์ที่มีกาลังขยายสูง ๆ จึง สามารถมองเห็นรายละเอียดของโครโมโซมได้ ดังภาพที่ 6 ภาพที่ 6 ลักษณะของโครโมโซม ที่มา : ประดับ นาคแก้ว , วัชวัลย์ ครุฑไชยันต์ และ ดาวัลย์ เสริมบุญสุข . 2548 : 11 .
  • 2. 1.1.2 ลักษณะของโครโมโซม ในภาวะปกติเมื่อมองผ่านกล้องจุลทรรศน์จะเห็นโครโมโซมมีลักษณะคล้ายเส้นด้าย บาง ๆ เรียกว่า โครมาทิน ( chromatin ) ขดตัวอยู่ในนิวเคลียส เมื่อเซลล์เริ่มแบ่งตัว เส้นโครมาทินจะหดสั้นเข้ามีลักษณะเป็นแท่ง จึงเรียกว่า โครโมโซม แต่ละโครโมโซม ประกอบด้วยแขน 2 ข้าง ที่เรียกว่า โครมาทิด ( chromatid ) ซึ่งแขนทั้งสองข้างจะมีจุดเชื่อม กัน เรียกว่า เซนโทรเมียร์ ( centromere ) ซึ่งถ้าดูจากแบบจาลองโครโมโซม หลาย ๆ คนอาจ จินตนาการว่าคล้ายกับปาท่องโก๋ ดังภาพที่ 7 โครมาทิด ภาพที่ 7 แสดง ส่วนประกอบของโครโมโซม ที่มา : อักษรเจริญทัศน์, แผนการจัดการเรียนรู้วิทยาศาสตร์ , CD. กรุงเทพ ฯ . 1.1.3 จานวนโครโมโซมของสิ่งมีชีวิต จานวนโครโมโซมของสิ่งมีชีวิตแต่ละชนิดจะมีจานวนคงที่และเท่ากันเสมอ แต่ สิ่งมีชีวิตต่างชนิดกันก็จะมีจานวนโครโมโซมต่างกัน ดังตารางที่ 1 เซนโทรเมียร์ โครโมโซม Y โครโมโซม X ตารางอยู่หน้าถัดไป นะจ๊ะ
  • 3. ตารางที่ 1 แสดงจานวนโครโมโซมของสิ่งมีชีวิต สิ่งมีชีวิต ชื่อทางวิทยาศาสตร์ จานวนโครโมโซม แตงกวา Cucumis sativas 14 มะละกอ Carica papaya 18 ข้าว Orysa sativa 24 อ้อย Saccarum offcinarum 80 ยูกลีนา Euglena gracilis 90 หมู Susscrafa 40 คน Homo sapiens 46 ลิงซิมแปนซี Pan troglodytes 48 แมว Felis domestica 38 สุนัข Canis familiaris 78 1.1.4 โครโมโซมกาหนดเพศในมนุษย์ การกาหนดเพศในสิ่งมีชีวิตโดยทั่วไป จะพิจารณาจากลักษณะของโครโมโซมสาหรับ มนุษย์มีจานวนโครโมโซม 46 โครโมโซม หากนามาจัดเป็นคู่จะได้ 23 คู่ ซึ่งจะมี 22 คู่ ที่ เหมือนกันทั้งในเพศหญิงและเพศชาย เราเรียกโครโมโซมเหล่านี้ว่า โครโมโซมร่างกาย ( autosome ) ซึ่งจะมีบทบาทในการกาหนดลักษณะทางพันธุกรรมต่าง ๆ ในร่างกาย สาหรับโครโมโซมที่เหลืออีก 1 คู่ จากทั้งหมด 23 คู่ จะเป็นโครโมโซมที่ทาหน้าที่ กาหนดเพศ เรียกว่า โครโมโซมเพศ ( sex chromosome ) โดยโครโมโซมเพศชายจะเป็นการ จับคู่กันของโครโมโซม 2 ตัว ที่มีลักษณะต่างกันคือ โครโมโซม X ที่เป็นค่ากาหนดเพศหญิง และ โครโมโซม Y เป็นตัวกาหนดเพศชายมีขนาดเล็กกว่าโครโมโซม ส่วนในเพศหญิงจะเป็นการจับคู่กัน ของโครโมโซม 2 ตัวที่มีลักษณะเหมือนกัน คือโครโมโซม X ดังภาพที่ 8 สังเกตดี ๆ แล้ว จะเข้าใจ
  • 4. โครโมโซมเพศชาย โครโมโซมเพศญิง ภาพที่ 8 โครโมโซมในเพศหญิงและโครโมโซมเพศชาย ที่มา : ประดับ นาคแก้ว , วัชวัลย์ ครุฑไชยันต์ และ ดาวัลย์ เสริมบุญสุข . 2548 : 12 1.2 ความหมายและลักษณะของยีน 1.2.1 ความหมายของยีน ยีน ( gene ) คือ หน่วยพันธุกรรมที่อยู่บนโครโมโซม มีลักษณะเรียงกันเหมือน สร้อยลูกปัด ทาหน้าที่ควบคุมลักษณะต่าง ๆ ทางพันธุกรรมจากพ่อแม่โดยผ่านเซลล์สืบพันธุ์ไปยัง ลูกหลาน ในคนจะมียีนประมาณ 50,000 ยีน ซึ่งยีนแต่ละตัวจะควบคุมลักษณะต่าง ๆ ทาง พันธุกรรมเพียงลักษณะเดียว ยีนมีองค์ประกอบที่สาคัญเป็นกรดนิวคลีอิก ชนิดที่เรียกว่า ดีเอ็น เอ (deoxyribonucleic acid :DNA) อันเกิดจากการต่อกันเป็นเส้นของโมเลกุลย่อยที่เรียกว่า นิวคลีโอไทด์ (nucleotide) ส่วนเส้นโมเลกุลจะสั้นหรือยาวเท่าใด ขึ้นอยู่กับปริมาณของ โมเลกุลย่อยดีเอนเอ ( DNA )ในเซลล์ประกอบด้วยสายนิวคลีโอไทด์สองสายที่บิดตัวร่วมกันเป็น เกลียวคู่ (double helix) โดยมีสารเคมีที่เรียกว่า เบส เป็นตัวยึดสายทั้งสองไว้ เบสทาหน้าที่ยึด สายนิวคลีโอไทด์นี้เปรียบเสมือนตัวอักษรที่เรียงต่อกันเป็นข้อมูลทางพันธุกรรมและจะแปรผันไป ตามชนิดของสิ่งมีชีวิต เบสในสาย ดีเอ็นเอ จะมีทั้งหมด 4 ชนิด ซึ่งจะมีการจับคู่กันอย่างจาเพาะ เจาะจง ดังนั้น ถ้าเราทราบถึงการเรียงลาดับเบสบนดีเอ็นเอเส้นหนึ่ง ก็จะสามารถบอกการ เรียงลาดับของเบสบนดีเอ็นเออีกเส้นหนึ่งได้ ในปัจจุบันเราสามารถใช้หลักการนี้ในการพิสูจน์สาย สัมพันธ์ระหว่างพ่อแม่ลูกได้
  • 5. ภาพที่ 10 ลักษณะสายดีเอ็นเอ ที่มา : http://users.utu.fi/rezzah/zahiri_contactme.html 1.2.2 คู่ของยีน เซลล์ร่างกายของสิ่งมีชีวิตจะมีโครโมโซมที่ทาหน้าที่ถ่ายทอดข้อมูลทางพันธุกรรมอยู่ สองชุดเข้าคู่กัน เรียกว่า โครโมโซมคู่เหมือน และจากที่กล่าวมาแล้วว่ายีนซึ่งเป็นตัวควบคุม ลักษณะทางพันธุกรรมจะอยู่บนโครโมโซม ด้วยเหตุนี้ ถ้าพิจารณาลักษณะทางพันธุกรรมลักษณะ ใดลักษณะหนึ่ง เช่น ลักษณะสีตา จะพบว่าถ้ามียีนที่ควบคุมลักษณะสีตาอยู่บนโครโมโซมแท่ง หนึ่ง โครโมโซมที่เป็นคู่เหมือนก็จะมียีนที่ควบคุมลักษณะสีตาอยู่ด้วยเช่นกัน ดังภาพที่ 11 ดูแล้วคิดว่า เหมือนอะไร
  • 6. ภาพที่ 11 โครโมโซมคู่เหมือน ที่มา : ยุพา วรยศ , ถนัด ศรีบุญเรือง , โจ บอยด์ และวอลเตอร์ ไวท์ลอว์ . 2549 : 10 2. การเกิดเพศหญิงเพศชาย เซลล์เพศที่ถูกสร้างขึ้นมาแต่ละเซลล์จะมีโครโมโซมเพศเพียงชุดเดียว โดยที่เซลล์ สืบพันธุ์เพศชาย (สเปิร์ม) จะมีเซลล์สืบพันธุ์ ซึ่งมีโครโมโซม 2 ชนิด คือ 22 + X และ 22 + Y ส่วนเซลล์สืบพันธุ์เพศหญิงจะมีโครโมโซมชนิดเดียว คือ 22+ X ดังนั้นโอกาสในการเกิดทารกเพศ หญิงหรือทารกเพศชายจึงเท่ากัน ขึ้นอยู่กับสเปิร์มที่เข้าผสมกับไข่ว่าจะเป็นสเปิร์มชนิดใด ดังภาพ ที่ 12 ภาพที่ 12 การเกิดเพศหญิงและเพศชาย ที่มา : ประดับ นาคแก้ว , วัชวัลย์ ครุฑไชยันต์ และ ดาวัลย์ เสริมบุญสุข . 2548 : 13
  • 7. 3. ความหมายของแอลลีล จีโนไทป์ ฟีโนไทป์ ยีนเด่น ยีนด้อย ลักษณะเด่น และ ลักษณะด้อย 3.1 แอลลีล ( allele ) คือยีนที่ควบคุมลักษณะเดียวกันแต่ต่างรูปแบบกันถึงแม้จะอยู่ บนโครโมโซมคู่เหมือนตรงตาแหน่งเดียวกันก็ตาม เช่น ลักษณะของติ่งหู จะมียีนที่ควบคุมอยู่ 2 แอลลีล หรือ 2 แบบ คือ แอลลีลที่ควบคุมการมีติ่งหู (ให้สัญลักษณ์ เป็น B ) และแอลลีลที่ ควบคุมการไม่มีติ่งหู ( ให้สัญลักษณ์ b ) 3.2 จีโนไทป์ ( genotype ) คือลักษณะการจับคู่กันของแอลลีลของยีนที่ควบคุม ลักษณะทางพันธุกรรม ซึ่งมี 2 ลักษณะ ได้แก่ 3.2.1 ลักษณะพันธุ์แท้ ( homozygous ) เป็นการจับคู่กันของยีนที่มีแอลลีล เหมือนกัน เช่น แอลลีลควบคุมการมีติ่งหูจะมี 2 แอลลีลจับคู่กัน ( BB ) แอลลีลที่ควบคุมการไม่มี ติ่งหู จะมี 2 แอลลีลคู่กัน( bb ) 3.2.2 ลักษณะพันธุ์ทาง ( heterozygous ) เป็นการจับคู่กันของยีนที่มีแอลลีลต่าง กัน เช่น แอลลีลควบคุมการมีติ่งหูกับแอลลีลที่ควบคุมการไม่มีติ่งหู ( Bb ) 3.3 ฟีโนไทป์ ( phenotype ) หมายถึงลักษณะทางพันธุกรรมของสิ่งมีชีวิตที่อยู่ ภายใต้การควบคุมของจีโนไทป์ ซึ่งแสดงออกมาให้เห็นหรือปรากฏแก่ภายนอก เช่น จานวนชั้น ของหนังตา ลักษณะสีตา สีผิว ความสูง เป็นต้น 3.4 ยีนเด่น (dominant) คือ ยีนที่สามารถแสดงลักษณะนั้นออกมาได้ แม้มียีนเพียง ยีนเดียว เช่น ยีนผมหยิกอยู่คู่กับยีนผมเหยียด แต่แสดงลักษณะผมหยิกออกมา แสดงว่า ยีนผม หยิกเป็นยีนเด่น 3.5 ยีนด้อย (recessive) คือ ยีนที่สามารถแสดงลักษณะให้ปรากฏออกมาได้ก็ ต่อเมื่อบนคู่ของโครโมโซมนั้นปรากฏแต่ยีนด้อย เช่น การแสดงออกของลักษณะผมเหยียด จะต้อง มียีนผมเหยียดบนโครโมโซมทั้งคู่ จากการทดลองการถ่ายทอดลักษณะทางพันธุกรรมของเมนเดลกล่าวว่า “ เมื่อ มีแอล ลีลที่แตกต่างกัน 2 แอลลีล แอลลีลหนึ่งจะแสดงออกมาได้ดีกว่าอีกแอลลีลหนึ่ง แอลลีลที่แสดง ออกมาได้ดีกว่า เรียกว่า แอลลีลเด่น ( dominant allele ) จะบดบังแอลลีลที่แสดงออกมาได้ไม่ ดีเรียกว่า แอลลีลด้อย ( recessive allele )” หรือกล่าวได้ว่าลักษณะต่าง ๆ ทางพันธุกรรมที่ เกิดจากการจับคู่กันของยีนจากพ่อและแม่ และการถ่ายทอดมาสู่ลูกหลาน จะมีการแสดงออกได้ 2 ลักษณะ ดังนี้
  • 8. 1. ลักษณะเด่น (dominant) หมายถึง ลักษณะที่ปรากฏออกมาในทุก ๆ รุ่นอย่าง เด่นชัด ซึ่งเกิดจากการจับคู่ของแอลลีลที่ควบคุมลักษณะเด่นเหมือนกันจับคู่กัน หรืออาจเกิดจาก การที่แอลลีลด้อยถูกข่มด้วยแอลลีลเด่น 2. ลักษณะด้อย ( recessive ) หมายถึง ลักษณะที่แอบแฝงไม่แสดงออกมาให้เห็นเมื่อ อยู่คู่กับลักษณะเด่น แต่จะแสดงออกเมื่อมีการเข้าคู่กับลักษณะด้อยเหมือนกัน ซึ่งโอกาสที่จะ แสดงออกให้เห็นจะมีน้อยกว่าการแสดงออกของลักษณะเด่น ดังภาพที่ 13 และภาพที่ 14 ภาพที่ 13 แสดงการถ่ายทอดลักษณะตาบอดสีซึ่งเป็นแอลลีลด้อย ที่มา : ประดับ นาคแก้ว , วัชวัลย์ ครุฑไชยันต์ และ ดาวัลย์ เสริมบุญสุข . 2548 : 15 ภาพที่ 14 แสดงการถ่ายทอดโรคฮีโมฟิเลีย ที่มา : ประดับ นาคแก้ว , วัชวัลย์ ครุฑไชยันต์ และ ดาวัลย์ เสริมบุญสุข . 2548 : 16
  • 9. ความรู้เพิ่มเติม เรื่อง หมู่เลือดของคน หมู่เลือด โดยปกติคนเราจะมีเลือดทั่วร่างกายประมาณ 4.5 ลิตร ประกอบด้วย เซลล์เม็ด เลือดและเกล็ดเลือดกว่าครึ่งหนึ่ง และครึ่งหนึ่งเป็นของเหลวที่เรียกว่า พลาสมา ซึ่ง ประกอบด้วย น้า เกลือแร่ โปรตีน สารที่ทาให้เลือดเป็นลิ่มและอื่นๆ ในสมัยก่อนคนเรายังไม่มี ความรู้ความเข้าใจเกี่ยวกับหมู่เลือด เวลาเจ็บป่วยหรือเกิดอุบัติเหตุ ซึ่งจาเป็นต้องได้รับ เลือด ปรากฎว่าผลของการถ่ายเลือดทาให้คนไข้ถึงแก่ความตายอยู่เนืองๆ ต่อมาในปี พ.ศ. 2443 แพทย์ชาวเยอรมันชื่อ คาร์ล แลนด์สไตเนอร์ พบว่าถ้าเอาเซรุ่มของคนหนึ่งไปผสมกับ เม็ดเลือดแดงของอีกคนหนึ่งจะเกิดปฏิกิริยากัน กล่าวคือเม็ดเลือดแดงจับกลุ่มรวมตัวกันหรือ ตกตะกอนเป็นผลให้เม็ดเลือดสลาย ปรากฏการณ์นี้ทาให้เกิดการค้นพบหมู่เลือดของมนุษย์ขึ้น และทราบว่าบางคนเท่านั้นที่ถ่ายเลือดให้กันได้แต่บางกรณีถ่ายเลือดให้กันไม่ได้เพราะเมื่อถ่ายให้ กันแล้วทาให้เม็ดเลือดแตก หมู่เลือดของมนุษย์มีหลายชนิด ที่สาคัญคือ ABO ซึ่งกาหนดโดย ยีน A,B และ O แต่เนื่องจากยีนอยู่กันเป็นคู่ๆ แต่ละคนจึงมียีนกาหนดชนิดของห มู่เลือด เพียง 2 ยีน เท่านั้น คือ อาจเป็น AO,AA,BO,BB,OO หรือ AB ยีน A และยีน B เป็นยีน ที่กาหนดลักษณะเด่น ยีน O เป็นยีนที่กาหนดลักษณะด้อย ฉะนั้นถ้าเรามียีน AO ยีน A เท่านั้นก็จะแสดงลักษณะออกมาได้ด้วยการควบคุมให้มีการสร้างโปรตีน ชนิด A หรือแอนติเจน A ที่ผิวของเม็ดเลือดแดง ชนิดของแอนติเจนบนผิวเม็ดเลือดแดงก็ คือ ชนิดของหมู่ ที่มา : (ศิริพร กิจจารึก,2552)
  • 10. สถิติหมู่โลหิตของคนไทย O 38 % B 34 % A 21 % AB 7 % Rh(-) 0.3 % ที่มา : (เอกสารฝ่ายประชาสัมพันธ์ศูนย์บริการโลหิตแห่งชาติสภากาชาดไทย, 2551) หมู่เลือด ABO กับการถ่ายทอดลักษณะทางพันธุกรรม การถ่ายทอดทางพันธุกรรมของหมู่เลือด ABO จะถ่ายทอดผ่านทาง Multiple Alleles ซึ่งหมายถึงพันธุกรรมที่ประกอบด้วยอัลลีลมากกว่า 2 ชนิดขึ้นไป ควบคุมลักษณะใด ลักษณะหนึ่ง พันธุกรรมหมู่เลือด ABO ของคนเราที่เบิร์นสไตน์ได้ให้คาอธิบายไว้ว่าหมู่เลือดระบบ นี้ถูกควบคุมโดยยีน ตาแหน่งหนึ่งซึ่งมีอัลลีลเกี่ยวข้องอยู่ 3 อัลลีลคือ IA นาลักษณะแอนติเจนไอไซแอกกลูติโนเจน (Isoagglutinogen) A IB นาลักษณะแอนติเจนไอไซแอกกลูติโนเจน (Isoagglutinogen) B I เป็น Recessive ต่อ IA และ IB ไม่สร้างแอนติเจน IA และ IB แสดงลักษณะเด่นทั้งคู่ข่มกันไม่ลงเป็น Co-dominance ถ้า 2 อัลลีลนี้อยู่ ด้วยกันจะสร้างทั้ง แอนติเจน A และ B จากอัลลีลทั้ง 3 ชนิดจึงทาให้มี จีโนไทป์ได้ 6 ชนิด และแสดงฟีโนไทป์ได้ 4 ชนิด ดังตาราง และสามารถถ่ายทอดจากพ่อแม่สู่ลูกได้ดังภาพที่ 20 ตารางที่ 2 แสดงจีโนไทป์ และฟีโนไทป์ของหมู่เลือดระบบ ABO จีโนไทป์ ฟีโนไทป์ IAIA IAI IBIB IBI IAIB Ii เลือดหมู่ A เลือดหมู่ B เลือดหมู่ AB เลือดหมู่ O ที่มา : (หมู่เลือด ABO กับการถ่ายทอดลักษณะทางพันธุกรรม, 2551, ออนไลด์)
  • 11. ภาพที่ 20 การถ่ายทอดหมู่เลือดจากพ่อแม่สู่ลูก ที่มา : (หมู่เลือด ABO กับการถ่ายทอดลักษณะทางพันธุกรรม, 2551, ออนไลด์) ตารางที่ 3 แสดงการถ่ายทอดหมู่โลหิตระบบ ABO ของพ่อแม่ลูกที่เป็นไปได้ หมู่โลหิตของพ่อ หมู่โลหิตของแม่ หมู่โลหิตของลูกที่เป็นไปได้ O O O O A O หรือ A O B O หรือ B O AB A หรือ B A A A หรือ O A B O หรือ A หรือ B หรือ AB A AB A หรือ B หรือ AB B B B หรือ O B AB A หรือ B หรือ AB AB AB A หรือ B หรือ AB จะเห็นได้ว่าหมู่โลหิตของลูกไม่จาเป็นต้องเหมือนหมู่โลหิตของพ่อและแม่เสมอไปแต่ เนื่องจากหมู่โลหิตมีการถ่ายทอดทางกรรมพันธุ์ การตรวจสอบหมู่โลหิตจึงมีประโยชน์ในการ ตรวจสอบความเป็นพ่อลูกกัน ที่มา : (หมู่เลือด ABO กับการถ่ายทอดลักษณะทางพันธุกรรม, 2551)
  • 12. หมู่โลหิตระบบ Rh หมู่โลหิตของมนุษย์เรานอกจากจะมีระบบ ABO และ ยังมีหมู่โลหิตอีกระบบที่เรา มักจะไม่คุ้นหูกัน คือ หมู่โลหิตระบบอาร์เอช (Rh) การค้นพบหมู่โลหิตระบบ Rh นั้น ในปี ค.ศ.1939 มีนักวิทยาศาสตร์ 2 คนชื่อ เลอ วิน และ ลีเวน เวล สเต็ดสัน ได้พบว่าหลังจากที่ทาการถ่ายโลหิตให้สตรีผู้หนึ่งซึ่งเสียโลหิตจากการ คลอดบุตรที่ตายในครรภ์ จากการศึกษาในห้องปฏิบัติการพบว่าโลหิตในตัวลูกมีปฏิกิริยากับเม็ด โลหิตแดงของแม่ ทาให้เม็ดโลหิตแดงแตกในตอนนั้นเข้าใจว่าในตัวสตรีผู้นั้นได้รับสารชนิดหนึ่งซึ่ง มีลักษณะต่างจากเม็ดโลหิตแดงของลูกซึ่งถ่ายจากพ่อ ต่อมาในปี ค.ศ.1940 มีนักวิทยาศาสตร์อีก 2 คนชื่อ คาร์ล แลนด์ สไตเนอร์ ร่วมกับอเล็กซานเดอร์ วินเนอร์ ทาการทดลองฉีดเม็ดโลหิตแดง ของลิงเข้าไปในกระต่ายและหนู พบว่าน้าเหลืองของกระต่ายทาปฏิกิริยากับเม็ดโลหิตแดงของลิง และยังทาปฏิกิริยากับเม็ดโลหิตแดงของคนอีก 84 % ต่อมาภายหลังได้พบปรากฏการณ์เช่นนี้ใน คน 3 คน ที่ได้รับโลหิตหมู่ ABO ที่ตรงกัน ซึ่งเชื่อว่าเกิดจากโลหิตหมู่พิเศษ นอกเหนือไปจากหมู่ โลหิต ABO จึงได้ตั้งชื่อหมู่โลหิตนี้ว่า อาร์เอช ((Rh) การจาแนกหมู่โลหิตระบบ Rh จะมีสารโปรตีนที่ฉาบอยู่บนผิวของเม็ดโลหิตแดง ซึ่งเรียกว่า สารโปรตีน ดี (Antigen-D) เป็นตัวบ่งบอก หมู่โลหิตระบบ Rh แบ่งออกเป็น 2 หมู่ คือ 1. หมู่โลหิต Rh บวก (Rh positive) คือ หมู่โลหิตที่มีสารโปรตีน ดี (Antigen-D) อยู่ ที่ผิวของเม็ดโลหิตแดง ในคนไทยมีหมู่โลหิต Rh บวก ประมาณ 99.7 % ซึ่งหมู่โลหิต Rh บวกนี้ เราเรียกง่าย ๆ ว่า “หมู่โลหิตธรรมดา” 2.หมู่โลหิต Rh ลบ (Rh negative) คือหมู่โลหิตที่ไม่มีสารโปรตีน ดี (Antigen-D) อยู่ ที่ผิวของเม็ดโลหิตแดง ในคนไทยพบว่ามีหมู่โลหิตนี้เพียง 0.3 % หรือ 1,000 คน จะพบเพียง 3 คนเท่านั้น ซึ่งเราเรียกง่ายๆว่า “หมู่โลหิตหายาก” หรือ “หมู่โลหิตพิเศษ” (Rh negative) นั่นเอง ที่มา : (เอกสารฝ่ายประชาสัมพันธ์ศูนย์บริการโลหิตแห่งชาติสภากาชาดไทย, 2551)
  • 13. กิจกรรมที่ 2 สืบค้นข้อมูลและทาชิ้นงาน เรื่อง โครโมโซมและยีน ตอนที่ 1 เรื่องสารพันธุกรรม จุดประสงค์การเรียนรู้ 1. อธิบายความหมาย และลักษณะของโครโมโซม และยีนได้ 2. อธิบายและสรุปการเกิดเพศหญิงและเพศชายได้ 3. อธิบายความหมายของแอลลีล จีโนไทป์ ฟีโนไทป์ ยีนเด่น ยีนด้อย ลักษณะเด่น ลักษณะด้อยได้ คาชี้แจงคาชี้แจง ให้นักเรียนศึกษาข้อมูลจากภาพต่อไปนี้ แล้วตอบคาถาม ภาพที่ 15 ที่มา นายมนัส ศรีเฉลิม 31 ธันวาคม 2550 คนแต่ละคนมีลักษณะแตกต่างกัน ทั้งนี้เพราะในนิวเคลียสของแต่ละคนจะมีรหัสทาง เคมีที่ทาหน้าที่ควบคุมลักษณะต่างๆ แตกต่างกันนั่นเอง รหัสทางเคมีจะถ่ายทอดไปยังรุ่นลูกโดย สารเคมีที่เรียกว่า ดีเอ็นเอ (DNA)รหัสทางเคมีหรือรหัสทางพันธุกรรมนี้ ประกอบด้วยหน่วยเล็กๆ
  • 14. ที่เรียกว่า ยีน แต่ละหน่วยจะทาหน้าที่ควบคุมลักษณะอย่างหนึ่งของร่างกาย เช่น ควบคุมสีผม ควบคุม ชนิดของหมู่เลือด และอื่นๆ ดีเอ็นเอหนึ่งสายถูกเรียกว่า โครโมโซม (chromosome) แต่ละโครโมโซม ประกอบด้วยยีนจานวนมากเป็นพันๆ ยีน นักเรียนสามารถมองเห็นโครโมโซมได้ด้วยการมองผ่าน กล้องจุลทรรศน์ โครโมโซมที่พบในแต่ละเซลล์มีหลายอันและอยู่ไม่เป็นระเบียบ อย่างไรก็ตามเรา สามารถนาเอาโครโมโซมมาเรียงเข้าคู่กันตามขนาดและลักษณะได้ดังนี้ โครโมโซมเพศหญิง โครโมโซมเพศชาย ที่มา : อักษรเจริญทัศน์, แผนการจัดการเรียนรู้วิทยาศาสตร์ , CD. กรุงเทพ ฯ . คาถามท้ายกิจกรรม 1. เพราะเหตุใดคนแต่ละคนในภาพจึงมีลักษณะแตกต่างกัน ............................................................................................................................................ …………………………………………………………………………………………… 2. โครโมโซมคืออะไร ............................................................................................................................................ …………………………………………………………………………………………… 3.โครโมโซมของคนปกติ 1 ชุด มีจานวนเท่าใด ............................................................................................................................................ …………………………………………………………………………………………… 4. จากภาพของโครโมโซมผู้ชาย มีลักษณะแตกต่างจากโครโมโซมผู้หญิงอย่างไร ............................................................................................................................................ …………………………………………………………………………………………… 5. นักเรียนคิดว่าบนโครโมโซม Y จะมีข้อมูลทางพันธุกรรมอะไรบ้าง ............................................................................................................................................ ……………………………………………………………………………………………
  • 15. ตอนที่ตอนที่ 22 เรื่องรูปร่างของโคเรื่องรูปร่างของโครโมโซมและยีนรโมโซมและยีน คาชี้แจงคาชี้แจง ให้นักเรียนสืบค้นข้อมูลแล้วทาชิ้นงานต่อไปนี้จากอุปกรณ์ที่กาหนดให้ และนาชิ้นงาน ติดบนกระดาษแข็ง ชิ้นงานที่สร้างชิ้นงานที่สร้าง 1. โครโมโซมที่มี 2 โครมาทิด และแสดงตาแหน่งเซนโทรเมียร์ 2. โครโมโซมเพศหญิง 3. โครโมโซมเพศชาย 4. แอลลีลที่แสดงลักษณะพันธุ์แท้และพันธุ์ทางบนคู่ของโครโมโซม อุปกรณ์ที่ใช้ 1. กระดาษสี 2. กรรไกร หรือ มีด 3. กระดาษแข็ง 4. กาว
  • 16. แบบทดสอบ เรื่อง โครโมโซม และยีน คาชี้แจง จงตอบคาถามต่อไปนี้ให้ถูกต้องสมบูรณ์ 1. ยีนหรือหน่วยพันธุกรรมมีหน้าที่อย่างไร 2. จานวนโครโมโซมในเซลล์ร่างกายของมนุษย์และโครโมโซมในเซลล์สืบพันธุ์ มีความแตกต่างกันอย่างไร 3. จงอธิบายการเกิดเพศหญิงและเพศชาย 4. จงอธิบายความหมายของ แอลลีล จีโนไทป์ ฟีโยไทป์ ลักษณะเด่น ลักษณะด้อย ยีนเด่นและยีนด้อย