SlideShare a Scribd company logo
Soumettre la recherche
Mettre en ligne
ศาสนาพราหมณ์ ฮินดู
Signaler
Partager
เ
เตชะชิน เก้าเดือนยี่
Suivre
•
1 j'aime
•
2,131 vues
1
sur
134
ศาสนาพราหมณ์ ฮินดู
•
1 j'aime
•
2,131 vues
Signaler
Partager
Télécharger maintenant
Télécharger pour lire hors ligne
Formation
ดูเพิ่มเติมได้ www.philosophychicchic.com
Lire la suite
เ
เตชะชิน เก้าเดือนยี่
Suivre
Recommandé
พุทธศาสนานิกายมหายาน par
พุทธศาสนานิกายมหายาน
Chainarong Maharak
19.7K vues
•
37 diapositives
อารยธรรมจีน par
อารยธรรมจีน
พัน พัน
17.7K vues
•
20 diapositives
การเผยแผ่พระพุทธศาสนาเข้าสู่ประเทศเพื่อนบ้าน par
การเผยแผ่พระพุทธศาสนาเข้าสู่ประเทศเพื่อนบ้าน
เพ็ญลักษณ์ สุวรรณาโชติ
6.4K vues
•
36 diapositives
ศาสนาคริสต์ par
ศาสนาคริสต์
นายวินิตย์ ศรีทวี
20.7K vues
•
55 diapositives
ศาสนาพราหมณ์ par
ศาสนาพราหมณ์
นายวินิตย์ ศรีทวี
9.3K vues
•
46 diapositives
คัมภีร์ฉันทศาสตร์ Ppt[1] par
คัมภีร์ฉันทศาสตร์ Ppt[1]
นิตยา ทองดียิ่ง
192.3K vues
•
32 diapositives
Contenu connexe
Tendances
พุทธสาวก : พระราธะ ส16101 ป.6 par
พุทธสาวก : พระราธะ ส16101 ป.6
Thanawut Rattanadon
21.3K vues
•
11 diapositives
หลักฐานทางประวัติศาสตร์1 par
หลักฐานทางประวัติศาสตร์1
montira
48.6K vues
•
25 diapositives
Key of sheet 8 56x par
Key of sheet 8 56x
Pracha Wongsrida
14.5K vues
•
10 diapositives
ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับศาสนา par
ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับศาสนา
Padvee Academy
26.2K vues
•
56 diapositives
ความรู้พื้นฐานและบ่อเกิดพุทธศาสนามหายาน par
ความรู้พื้นฐานและบ่อเกิดพุทธศาสนามหายาน
Padvee Academy
19.3K vues
•
88 diapositives
เปรียบเทียบพุทธปรัชญาและปรัชญาลัทธิครูทั้ง ๖ par
เปรียบเทียบพุทธปรัชญาและปรัชญาลัทธิครูทั้ง ๖
Anchalee BuddhaBucha
8.7K vues
•
29 diapositives
Tendances
(20)
พุทธสาวก : พระราธะ ส16101 ป.6 par Thanawut Rattanadon
พุทธสาวก : พระราธะ ส16101 ป.6
Thanawut Rattanadon
•
21.3K vues
หลักฐานทางประวัติศาสตร์1 par montira
หลักฐานทางประวัติศาสตร์1
montira
•
48.6K vues
Key of sheet 8 56x par Pracha Wongsrida
Key of sheet 8 56x
Pracha Wongsrida
•
14.5K vues
ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับศาสนา par Padvee Academy
ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับศาสนา
Padvee Academy
•
26.2K vues
ความรู้พื้นฐานและบ่อเกิดพุทธศาสนามหายาน par Padvee Academy
ความรู้พื้นฐานและบ่อเกิดพุทธศาสนามหายาน
Padvee Academy
•
19.3K vues
เปรียบเทียบพุทธปรัชญาและปรัชญาลัทธิครูทั้ง ๖ par Anchalee BuddhaBucha
เปรียบเทียบพุทธปรัชญาและปรัชญาลัทธิครูทั้ง ๖
Anchalee BuddhaBucha
•
8.7K vues
ศาสนาเปรียบเทียบ par thnaporn999
ศาสนาเปรียบเทียบ
thnaporn999
•
54.5K vues
อารยธรรมลุ่มแม่น้ำสินธุ(อินเดีย) par พัน พัน
อารยธรรมลุ่มแม่น้ำสินธุ(อินเดีย)
พัน พัน
•
11.8K vues
ธรรมราชาและเทวราชาในวรรณคดีลิลิตตะเลงพ่าย par Chinnakorn Pawannay
ธรรมราชาและเทวราชาในวรรณคดีลิลิตตะเลงพ่าย
Chinnakorn Pawannay
•
8.5K vues
ชีวิตและผลงานของพระพุทธโฆสาจารย์ par Padvee Academy
ชีวิตและผลงานของพระพุทธโฆสาจารย์
Padvee Academy
•
9.1K vues
งานนำเสนอ1 par whanpree
งานนำเสนอ1
whanpree
•
2.4K vues
ใบความรู้ที่ 3 เรื่อง พัฒนาการทางเศรษฐกิจสมัยอยุธยา par Princess Chulabhon's College Chonburi
ใบความรู้ที่ 3 เรื่อง พัฒนาการทางเศรษฐกิจสมัยอยุธยา
Princess Chulabhon's College Chonburi
•
20.4K vues
ศิลปะไทย par Tonkao Limsila
ศิลปะไทย
Tonkao Limsila
•
84.2K vues
เอกสารประกอบการเรียน อาณาจักรธนบุรี par พัน พัน
เอกสารประกอบการเรียน อาณาจักรธนบุรี
พัน พัน
•
14.6K vues
กฎหมายในชีวิตประจำวัน par Eyezz Alazy
กฎหมายในชีวิตประจำวัน
Eyezz Alazy
•
18.5K vues
ศาสนาเชน par Padvee Academy
ศาสนาเชน
Padvee Academy
•
23.9K vues
หลักฐานทางประวัติศาสตร์ par ponderingg
หลักฐานทางประวัติศาสตร์
ponderingg
•
11.7K vues
อารยธรรมจีนPdf par kruchangjy
อารยธรรมจีนPdf
kruchangjy
•
33.8K vues
งานนำเสนอ อารยธรรมจีน par SRINAKARIN MOTHER PRINCESS SCHOOL
งานนำเสนอ อารยธรรมจีน
SRINAKARIN MOTHER PRINCESS SCHOOL
•
5.9K vues
การเมืองการปกครองสมัยกรุงศรีอยุธยา par tinnaphop jampafaed
การเมืองการปกครองสมัยกรุงศรีอยุธยา
tinnaphop jampafaed
•
45.9K vues
Similaire à ศาสนาพราหมณ์ ฮินดู
ศาสนาพราหมณ์ ฮินดู par
ศาสนาพราหมณ์ ฮินดู
Padvee Academy
22.7K vues
•
134 diapositives
Chapter2 par
Chapter2
Garsiet Creus
1K vues
•
27 diapositives
บทที่ ๒ ศาสนาพราหมณ์ ฮินดู par
บทที่ ๒ ศาสนาพราหมณ์ ฮินดู
Dnnaree Ny
6.9K vues
•
133 diapositives
ศาสนาพราหมณ์ ฮินดู par
ศาสนาพราหมณ์ ฮินดู
Jani Kp
5.8K vues
•
48 diapositives
590802 บทที่-2-แก้ไขแล้ว par
590802 บทที่-2-แก้ไขแล้ว
เตชะชิน เก้าเดือนยี่
2.9K vues
•
13 diapositives
อาณาจักรตามพรลิงค์ par
อาณาจักรตามพรลิงค์
sangworn
3.3K vues
•
58 diapositives
Similaire à ศาสนาพราหมณ์ ฮินดู
(20)
ศาสนาพราหมณ์ ฮินดู par Padvee Academy
ศาสนาพราหมณ์ ฮินดู
Padvee Academy
•
22.7K vues
Chapter2 par Garsiet Creus
Chapter2
Garsiet Creus
•
1K vues
บทที่ ๒ ศาสนาพราหมณ์ ฮินดู par Dnnaree Ny
บทที่ ๒ ศาสนาพราหมณ์ ฮินดู
Dnnaree Ny
•
6.9K vues
ศาสนาพราหมณ์ ฮินดู par Jani Kp
ศาสนาพราหมณ์ ฮินดู
Jani Kp
•
5.8K vues
590802 บทที่-2-แก้ไขแล้ว par เตชะชิน เก้าเดือนยี่
590802 บทที่-2-แก้ไขแล้ว
เตชะชิน เก้าเดือนยี่
•
2.9K vues
อาณาจักรตามพรลิงค์ par sangworn
อาณาจักรตามพรลิงค์
sangworn
•
3.3K vues
งานนำเสนอ1 par SRINAKARIN MOTHER PRINCESS SCHOOL
งานนำเสนอ1
SRINAKARIN MOTHER PRINCESS SCHOOL
•
618 vues
วัฒนธรรมไทย par babyoam
วัฒนธรรมไทย
babyoam
•
663 vues
พระพุทธศาสนาวัชรยาน Vajrayana Buddhism par Padvee Academy
พระพุทธศาสนาวัชรยาน Vajrayana Buddhism
Padvee Academy
•
11.6K vues
#อารยธรรมอินเดีย par Ppor Elf'ish
#อารยธรรมอินเดีย
Ppor Elf'ish
•
872 vues
ศาสนาพราหมณ์ ฮินดู par Jani Kp
ศาสนาพราหมณ์ ฮินดู
Jani Kp
•
3.9K vues
ศาสนาพราหมณ์ par sorrachat keawjam
ศาสนาพราหมณ์
sorrachat keawjam
•
2.6K vues
Powerpoint.ppt พุทธศาสนากับวรรณคดี.ppt1 par krunoree.wordpress.com
Powerpoint.ppt พุทธศาสนากับวรรณคดี.ppt1
krunoree.wordpress.com
•
2.5K vues
ปรัชญาทั่วไป ตอน ปรัชญาอินเดีย par Padvee Academy
ปรัชญาทั่วไป ตอน ปรัชญาอินเดีย
Padvee Academy
•
11.6K vues
222 par manit akkhachat
222
manit akkhachat
•
354 vues
พระพุทธศาสนาในประเทศอินเดีย par วัดดอนทอง กาฬสินธุ์
พระพุทธศาสนาในประเทศอินเดีย
วัดดอนทอง กาฬสินธุ์
•
15.3K vues
๐๑ เกริ่นนำ นะโมฯ.pdf par maruay songtanin
๐๑ เกริ่นนำ นะโมฯ.pdf
maruay songtanin
•
9 vues
อารยธรรมอินเดีย par Toey Songwatcharachai
อารยธรรมอินเดีย
Toey Songwatcharachai
•
20.5K vues
พัฒนาการทางด้านสังคม วัฒนธรรม par Princess Chulabhorn's College, Chiang Rai Thailand
พัฒนาการทางด้านสังคม วัฒนธรรม
Princess Chulabhorn's College, Chiang Rai Thailand
•
14.5K vues
ภาษาบาลีสันสกฤตที่เกี่ยวกับภาษาไทย par วัดดอนทอง กาฬสินธุ์
ภาษาบาลีสันสกฤตที่เกี่ยวกับภาษาไทย
วัดดอนทอง กาฬสินธุ์
•
7K vues
Plus de เตชะชิน เก้าเดือนยี่
6 mahapali-akhayata par
6 mahapali-akhayata
เตชะชิน เก้าเดือนยี่
345 vues
•
280 diapositives
กิริยาอาขยาต นามกิตก์ และกิริยากิตก์ par
กิริยาอาขยาต นามกิตก์ และกิริยากิตก์
เตชะชิน เก้าเดือนยี่
3.3K vues
•
92 diapositives
ศาสนาอิสลาม par
ศาสนาอิสลาม
เตชะชิน เก้าเดือนยี่
2.6K vues
•
93 diapositives
590806 บทที่-5-แก้ไขแล้ว par
590806 บทที่-5-แก้ไขแล้ว
เตชะชิน เก้าเดือนยี่
1.2K vues
•
17 diapositives
ศาสนาคริสต์ par
ศาสนาคริสต์
เตชะชิน เก้าเดือนยี่
6.6K vues
•
62 diapositives
590806 บทที่-4-แก้ไขแล้ว par
590806 บทที่-4-แก้ไขแล้ว
เตชะชิน เก้าเดือนยี่
1.1K vues
•
17 diapositives
Plus de เตชะชิน เก้าเดือนยี่
(18)
6 mahapali-akhayata par เตชะชิน เก้าเดือนยี่
6 mahapali-akhayata
เตชะชิน เก้าเดือนยี่
•
345 vues
กิริยาอาขยาต นามกิตก์ และกิริยากิตก์ par เตชะชิน เก้าเดือนยี่
กิริยาอาขยาต นามกิตก์ และกิริยากิตก์
เตชะชิน เก้าเดือนยี่
•
3.3K vues
ศาสนาอิสลาม par เตชะชิน เก้าเดือนยี่
ศาสนาอิสลาม
เตชะชิน เก้าเดือนยี่
•
2.6K vues
590806 บทที่-5-แก้ไขแล้ว par เตชะชิน เก้าเดือนยี่
590806 บทที่-5-แก้ไขแล้ว
เตชะชิน เก้าเดือนยี่
•
1.2K vues
ศาสนาคริสต์ par เตชะชิน เก้าเดือนยี่
ศาสนาคริสต์
เตชะชิน เก้าเดือนยี่
•
6.6K vues
590806 บทที่-4-แก้ไขแล้ว par เตชะชิน เก้าเดือนยี่
590806 บทที่-4-แก้ไขแล้ว
เตชะชิน เก้าเดือนยี่
•
1.1K vues
บทที่ 3 ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับพระพุทธศาสนาและปรัชญา par เตชะชิน เก้าเดือนยี่
บทที่ 3 ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับพระพุทธศาสนาและปรัชญา
เตชะชิน เก้าเดือนยี่
•
665 vues
590805 บทที่-3-แก้ไขแล้ว par เตชะชิน เก้าเดือนยี่
590805 บทที่-3-แก้ไขแล้ว
เตชะชิน เก้าเดือนยี่
•
997 vues
วิถึชีวิต Course syllabus-1-59 (1) par เตชะชิน เก้าเดือนยี่
วิถึชีวิต Course syllabus-1-59 (1)
เตชะชิน เก้าเดือนยี่
•
355 vues
590802 บทที่-1-แก้ไขแล้ว par เตชะชิน เก้าเดือนยี่
590802 บทที่-1-แก้ไขแล้ว
เตชะชิน เก้าเดือนยี่
•
1.9K vues
แนะนำอาจารย์ par เตชะชิน เก้าเดือนยี่
แนะนำอาจารย์
เตชะชิน เก้าเดือนยี่
•
168 vues
สมถและวิปัสนา สมาธิ 3 ระดับ [โหมดความเข้ากันได้] par เตชะชิน เก้าเดือนยี่
สมถและวิปัสนา สมาธิ 3 ระดับ [โหมดความเข้ากันได้]
เตชะชิน เก้าเดือนยี่
•
421 vues
อรูป 4 สมถกัมมัฏฐาน par เตชะชิน เก้าเดือนยี่
อรูป 4 สมถกัมมัฏฐาน
เตชะชิน เก้าเดือนยี่
•
1.7K vues
พรหมวิหาร 4 สมถกัมมัฏฐาน ppt par เตชะชิน เก้าเดือนยี่
พรหมวิหาร 4 สมถกัมมัฏฐาน ppt
เตชะชิน เก้าเดือนยี่
•
1.6K vues
อนุสสติ 10 สมถกัมมัฏฐาน ppt par เตชะชิน เก้าเดือนยี่
อนุสสติ 10 สมถกัมมัฏฐาน ppt
เตชะชิน เก้าเดือนยี่
•
3.8K vues
สมถกัมมัฏฐานกสิณ 10 ppt par เตชะชิน เก้าเดือนยี่
สมถกัมมัฏฐานกสิณ 10 ppt
เตชะชิน เก้าเดือนยี่
•
2.3K vues
อสุภ 10 สมถกัมมัฏฐาน ppt par เตชะชิน เก้าเดือนยี่
อสุภ 10 สมถกัมมัฏฐาน ppt
เตชะชิน เก้าเดือนยี่
•
8.3K vues
สมถกัมมัฏฐานกสิณ 10 ppt par เตชะชิน เก้าเดือนยี่
สมถกัมมัฏฐานกสิณ 10 ppt
เตชะชิน เก้าเดือนยี่
•
876 vues
ศาสนาพราหมณ์ ฮินดู
1.
ศาสนาพราหมณ์-ฮินดู
3.
1. โฉมหน้าอินเดีย 1.1 ภูมิประเทศและประชากร -
อินเดียประกอบด้วยพื้นที่ 3,287,263 ตารางกิโลเมตร - ใหญ่เป็นอันดับ 7 ของโลก - เป็นประเทศอุตสาหกรรมใหญ่อันดับ 10 ของโลก - เป็นลาดับที่ 6 ที่ออกไปสารวจอวกาศได้เป็นผลสาเร็จ - เป็นประเทศประชาธิปไตยที่ใหญ่ที่สุด - ประชากรมากเป็นอันดับสองของโลก มากกว่า ๑,๐๐๐ ล้านคน
4.
รถไฟในอินเดีย
7.
1.2 ประวัติศาสตร์ ภาษา
และวัฒนธรรม - อินเดียนับเป็นแหล่งอารยธรรมโบราณแห่งหนึ่ง - อาณาจักรโมเฮ็นโจ ดาโร และ ฮารัปปา เคย เจริญรุ่งเรืองอยู่เป็นเวลากว่า 2,000 ปี - วัฒนธรรมอินเดียมีความผูกพันกับศาสนา และยังรับ เอาวัฒนธรรมจากต่างถิ่น เข้ามาผสมผสานกันกับวัฒนธรรม ดั้งเดิมที่มีอยู่ - ภาษาพูดที่หลากหลายถึง 1,652 ภาษา
9.
1.4 ศาสนา อินเดียเป็นแหล่งแห่งศาสนาที่ยิ่งใหญ่ มีศาสนาต่างๆ มากมายที่เกิดขึ้นในอินเดีย
เช่น ศาสนาพราหมณ์ พุทธ เชน ซิกส์ นอกนั้น ยังเป็นบ่อเกิดแห่งลัทธิทางปรัชญาต่างๆ อีก มากมาย
10.
แม่น้ำคงคำ
11.
แม่น้าคงคา
16.
• ศาสนาพราหมณ์-ฮินดูเป็นศาสนาที่ยังคงดารงอยู่ได้และเก่าแก่ที่สุดใน โลก กล่าวกันว่า
เป็นศาสนาที่เผยโดยเทพเจ้า จะกล่าวว่าเป็นลมหายใจ ของเทพเจ้าก็ว่าได้ (Inspired by divine revelations or by the breath of God) • ศาสนาพราหมณ์-ฮินดู เนื่องจากไม่มีศาสดาผู้ตั้งศาสนา จึงไม่สามารถ ระบุวันเวลาแน่นอนได้ว่าได้เริ่มขึ้นตั้งแต่เมื่อไร แต่อาจกล่าวถึง วิวัฒนาการได้ 2 ช่วง คือ ช่วงแรก สมัยก่อนพุทธกาล เรียกศาสนา พราหมณ์ และช่วงสมัยพุทธกาลประมาณ 500 ปี เรียกศาสนาฮินดูฮินดู ประวัติความเป็นมา
17.
• ศาสนาพราหมณ์-ฮินดู เริ่มขึ้นจากลัทธิประจาเผ่า
และพัฒนาขึ้นมาเป็น ศาสนาประจาเผ่าอารยัน (Tribal Religion ) และกลายเป็นศาสนา ระดับชาติในที่สุด กล่าวคือ เดิมเป็นลัทธิบูชาเทพเจ้าของเผ่าอารยัน • ชนเผ่าอารยันที่อพยพลงมาจากตอนกลางของทวีปเอเชีย มายังลุ่ม แม่น้าสินธุ ได้รบชนะชาวพื้นเมืองอินเดียที่เรียกว่า มิลักขะ หรือ ทัสยุ • ได้ขับไล่พวกมิลักขะเจ้าของท้องถิ่นเดิมออกไป แล้วตั้งถิ่นฐานที่อยู่ ครอบครองลุ่มน้าสินธุและคงคา ได้ผสมผสานความเชื่อของท้องถิ่นให้ เข้ากับความเชื่อของตน ทาให้เกิดศาสนาพราหมณ์ขึ้น ประวัติความเป็นมา
18.
เมืองโมเหนโจดาโร : อารยธรรมโบราณลุ่มแม่น้าสินธุ ของพวกดราวิเดียน
19.
เมืองฮารัปปา : อารยธรรมโบราณลุ่มแม่น้าสินธุ ของพวกดราวิเดียน
21.
ลาดับชื่อของศาสนาพราหมณ์-ฮินดู • “สนาตนธรรม” (Sanatana
Dharma) แปลว่า ศาสนาที่ดารงอยู่นิจ นิรันดร ไม่มีวันเสื่อม (Eternal or Universal Righteousness) • ต่อมาเกิดคัมภีร์พระเวท เรียกว่า “ไวทิกธรรม” แปลว่า ธรรมที่ได้จาก พระเวท • ภายหลังได้เปลี่ยนเป็น “อารยธรรม” แปลว่า ธรรมอันดีงาม • เมื่อพวกพราหมณ์มีอิทธิพลทางศาสนาจึงได้ชื่อว่า “พราหมณธรรม” แปลว่า คาสอนของพราหมณาจารย์ • จนกระทั่งได้เกิดการเปลี่ยนแปลงทางศาสนา จึงได้ชื่อใหม่ว่า “ฮินดู ธรรม” แปลว่า ธรรมที่สอนลัทธิอหิงสา หรือศาสนาฮินดู
22.
การแบ่งยุคสมัยของศาสนาพราหมณ์-ฮินดู • ยุคดึกดาบรรพ์ -
ก่อนพระเวท • ยุคพระเวท (อยู่ในช่วงประมาณ ๑,๐๐๐-๑๐๐ ปี ก่อน พุทธกาล) • ยุคพราหมณ์ (ประมาณ ๑๐๐ ปี ก่อนพุทธกาล ถึง พ.ศ. ๗๐๐) • ยุคฮินดู (ตั้งแต่ พ.ศ. ๗๐๐ เป็นต้นมา)
23.
๑. ยุคดึกดาบรรพ์ –
ก่อนมีคัมภีร์พระเวท >> ความเชื่อดั้งเดิมของชาวอารยัน - ศาสนาพราหมณ์ เกิดในประเทศอินเดียประมาณ 1,455-957 ปี ก่อน พ.ศ. นับตั้งแต่ชาวอารยันเข้ามาอยู่ในอินเดีย • ชาวอารยันนับถือเทพเจ้าหลายองค์ เช่น พระสาวิตรี พระวรุณ พระอัคนี พระรุทระ เป็นต้นและได้นาความเชื่อของตนไป ผสมผสานกับของชาวพื้นเมืองมิลักขะ ที่นับถือเทพเจ้าประจา โลกธาตุทั้ง 4 จึงก่อเกิดคัมภีร์พระเวท และวิวัฒนาการเป็น ศาสนาพราหมณ์
24.
๒. ยุคพระเวท • ยุคพระเวท
เป็นยุคที่นับตั้งแต่เริ่มเกิดมีพระเวทขึ้น คัมภีร์พระเวทเริ่มมี ขึ้นประมาณ 1,000 ปี ก่อนพุทธกาล หรือ ๑,๕๐๐ ปี ก่อน ค.ศ. • เป็นปรัชญาอินเดียสมัยโบราณ เกิดจากการผสมผสานความเชื่อของ ชนพื้นเมืองอินเดีย คือ พวกทราวิท หรือ ดราวิเดียน กับ ความเชื่อของผู้ บุกรุก คือ พวกอารยัน กลายเป็นศาสนาและปรัชญาตามแนวคาสอน ของคัมภีร์พระเวท • ชาวอารยันได้รวบรวมบทสวดอ้อนวอนเทวะขึ้นเป็นหมวดหมู่เป็นคัมภีร์ เรียกว่า “เวท” คือ วิทยา อันได้แก่ ความรู้ ถือเป็น “ศรุติ” หรือ สิ่งที่ได้รับ มาจากพระเจ้าโดยตรงผ่านทางฤาษีผู้มีทิพย์
25.
คัมภีร์พระเวท คัมภีร์พระเวททั้ง 4 ซึ่งถือว่าเป็นสิ่งที่ได้ยินได้ฟังมา จากพระเป็นเจ้าโดยตรง
ไม่มีผู้แต่ง แต่เป็นการค้นพบ ของฤาษีทั้งหลาย เป็นของที่มีอยู่ชั่วนิรันดร เป็นลม หายใจของพระผู้เป็นเจ้า เป็นสัจธรรมที่แสดงถึง ประสบการณ์ทางวิญญาณของฤาษีทั้งหลาย ในอดีต กาลที่ยาวนาน พระเวทแบ่งออกเป็น 4 คัมภีร์ คือ
26.
1) ฤคเวท เป็นคัมภีร์เก่าแก่ที่สุด
เป็นบทเพลงสวดหรือ มนต์สรรเสริญอ้อนวอนพระผู้เป็นเจ้าและเทวี มีบทเพลง สวด 1,017 บท แสดงให้เห็นถึงการยกย่องอานาจ ธรรมชาติในการต่อสู้ระหว่างแสงสว่างกับความมืด ความร้อนกับความหนาว อานาจธรรมชาติถูกยกฐานะ เป็นเทพเจ้า มีเทพเจ้าสาคัญ ๆ คือ อัคนี อินทร์ สูรยะ วรุณ อุษา อัศวิน มรุต รุทระ ยมะ เป็นต้น บทเพลงสวด จะมีชื่อฤาษีกากับอยู่ด้วย แสดงว่าบทเพลงสวดนั้น ๆ เปิดเผยโดยฤาษีที่มีชื่อนั้น ๆ
27.
2) ยชุรเวท เป็นคัมภีร์ที่เป็นคู่มือประกอบ พิธีกรรมของพราหมณ์
ซึ่งเป็นบทร้อยแก้วที่ อธิบายวิธีประกอบพิธีกรรม บวงสรวงและการ ทาพิธีบูชายัญ จัดตามลาดับเพลงสวด ซึ่ง ส่วนมากเอามาจากฤคเวท ถือว่าเป็นคัมภีร์ที่ จะต้องศึกษาเป็นพิเศษ และมีสาขาแตกขยาย ไปเป็นจานวนมาก
28.
3) สามเวท เป็นคัมภีร์ที่รวบรวมบทสวด ซึ่งเป็นบทร้อยกรองมีทั้งหมดถึง
1,549 บท โดยนามาจากฤคเวทเป็นส่วนมาก ที่ แต่งขึ้นใหม่ มีประมาณ 78 บท จะใช้ สาหรับสวดในพิธีถวายน้าโสมและขับ กล่อมเทพเจ้า
29.
4) อถรรพเวท เป็นคัมภีร์ที่แต่งขึ้นใหม่ ในปลายสมัยพราหมณ์
เป็นคาถาอาคม มนต์ขลังศักดิ์สิทธิ์ สาหรับทาพิธีขับไล่ เสนียดจัญไร และอัปมงคลให้กลับมาเป็น สวัสดิมงคล นาความชั่วร้ายไปบังเกิดแก่ ศัตรู
30.
• พระเวทแต่ละคัมภีร์ แบ่งออกเป็น
4 ตอน คือ • 1. มันตระ : รวบรวมมนต์ร้อยกรอง สาหรับใช้สวดสรรเสริญ สดุดี เทพเจ้า เป็นคาถาใช้ในพิธีบูชายัญ • 2. พราหมณะ : เป็นร้อยแก้ว อธิบายระเบียบการประกอบพิธีกรรม เป็นคู่มือของพราหมณ์ • 3. อารัณยกะ : เรียบเรียงในป่าที่เงียบสงัด เกิดแนวคิดทางปรัชญา เนื้อหาเป็นเรื่องลึกลับเกี่ยวกับการประกอบพิธีบูชายัญ ต้องศึกษา คัมภีร์ในป่าเพื่อความเป็นสมาธิ
31.
• 4. อุปนิษัท
: ประมวลแนวความคิดทางปรัชญา ในคัมภีร์พระเวทไว้ทั้งหมด ว่าด้วยความรู้ในเรื่อง ธรรมชาติอันแท้จริงของโลก , พรหม หรือ พรหมัน หรือ อาตมัน • อุปนิษัท เรียกอีกอย่างหนึ่งว่า เวทานตะ แปลว่า ที่สุดแห่งพระเวท เพราะเป็นตอนสุดท้ายของพระ เวทอย่างหนึ่ง และเป็นประมวลส่วนที่สาคัญที่สุด ของพระเวทอย่างหนึ่ง • ปรัชญาอินเดียเกิดขึ้นในยุคพระเวท แต่เจริญงอก • งามในยุคอุปนิษัท
32.
• ชาวฮินดูเชื่อว่าคัมภีร์พระเวทเป็น “ศรุติ”
– พระวจนะของพระเจ้า ที่ทรงสั่งสอนถ่ายทอดให้แก่พวกฤาษีอินเดียในสมัยโบราณ ฤาษี ทั้งหลายเมื่อได้เรียนรู้พระเวทจากพระเจ้าแล้วก็สั่งสอนถ่ายทอด ให้แก่สานุศิษย์ต่อๆ มา • ในเตวิชชสูตร : ฤาษี 10 ตน ผู้เป็นบูรพาจารย์ผู้สอนคัมภีร์ พระเวทให้แก่พวกพราหมณ์ ได้แก่ ฤาษีอัฏฐกะ, ฤาษีวามกะ, ฤาษีวามเทวะ, ฤาษีเวสสามิตร,ฤาษียมตัคคี, ฤาษีอังคีรส, ฤาษีภารทวาชะ, ฤาษีวาเสฎฐะ, ฤาษีกัสสปะ และฤาษีภคุ
33.
ความคิดทางด้านศาสนาและปรัชญา ในคัมภีร์พระเวท • คนพื้นเมืองเดิมของอินเดีย นับถือ
บูชาโลกธาตุ 4 และธรรมชาติ มีแนวคิดแบบ “วิญญาณนิยม” (Animism) • เมื่อพวกอารยันเข้ามารุกราน จึงเกิดการผสมผสานแนวความคิด และความเชื่อของพวกอารยันและชนพื้นเมืองเข้าด้วยกัน จนกลายป็นศาสนาและปรัชญาตามแนวคาสอนของคัมภีร์ พระเวทในยุคต่อมา • ในยุคพระเวทเกิดมีเทพเจ้าใหม่ๆ เป็นเทพเจ้าประจาธรรมชาติ >> เทพเจ้าประจาท้องฟ้า เทพเจ้าประจาอากาศ เทพเจ้าประจาพื้นดิน
34.
พระสาวิตรี
35.
พระวรุณ เทพผู้ควบคุมกฎ ฤตะ
36.
พระอินทร์ พระผู้สร้างโลก
37.
พระยม เทพแห่งความตาย
38.
พระอัคนี
39.
พัฒนาการทางศาสนาในยุคพระเวท • พหุเทวนิยม (Polytheism) •
อติเทวนิยม (Henotheism) • เอกเทวนิยม (Monotheism ) • เอกนิยม (Monism)
40.
การเกิดขึ้นของวรรณะ ๔ สิ่งที่สาคัญประการหนึ่งในสมัยพระเวท คือ
การแบ่งบุคคลใน สังคมออกเป็น ๔ ประเภท เรียกว่า “วรรณะ” คาว่า วรรณะ แปลว่า สีผิว สันนิษฐานว่า การแบ่งชั้นคนในระยะแรกน่าจะ ถือตามสีผิว ซึ่งแต่เดิมมีเพียง ๒ วรรณะ คือ พวกผิวดา ได้แก่ พวกทราวิท (ดราวิเดียน) กับ พวกผิวขาว ได้แก่ ชาวอารยัน ซึ่งในเวลาต่อมาได้แบ่งออกเป็น ๔ วรรณะ
41.
วรรณะพราหมณ์ วรรณะพราหมณ์ มีหน้าที่ติดต่อกับเทพเจ้า สั่งสอน ศาสนาและประกอบพิธีกรรมแก่ประชาชนทุกวรรณะ นอกจากนี้ยังมีหน้าที่ศึกษา
จดจา และสืบต่อคัมภีร์พระ เวท และเป็นปุโรหิตให้แก่กษัตริย์ พราหมณ์มักจะถือว่า ตนเป็นวรรณะสูงสุดในสังคม เพราะเกิดจากพระโอษฐ์ ของพระผู้เป็นเจ้าตามที่อ้างไว้ในคัมภีร์พระเวท
42.
วรรณะกษัตริย์ วรรณะกษัตริย์ ได้แก่ นักรบ
ทาหน้าที่ป้องกันชาติ บ้านเมืองและทาศึกสงครามขยายเขตแดน ใน คัมภีร์ฤคเวทกล่าวว่า วรรณะกษัตริย์เกิดจากพระ พาหา (แขน) ของพระผู้เป็นเจ้า
43.
วรรณะแพศย์ วรรณะแพศย์ เป็นวรรณะของคนส่วนใหญ่ใน สังคม ได้แก่
ผู้ประกอบพาณิชยกรรม เกษตรกรรม และศิลปหัตถกรรมต่าง ๆ วรรณะแพศย์เกิดจาก พระโสณี (สะโพก) ของพระผู้เป็นเจ้า
44.
วรรณะศูทร วรรณะศูทร เป็นวรรณะของพวกกรรมกร ผู้ทางาน รับจ้างที่ต้องใช้แรงงานแบกหาม
หรือให้บริการแก่ วรรณะอื่น ๆ วรรณะศูทรถือเป็นวรรณะต่าสุด เพราะเกิดจากพระบาท (เท้า) ของพระผู้เป็นเจ้า
45.
นอกจากนี้ ยังมีพวกนอกวรรณะซึ่งเกิดจากการ แต่งงานข้ามวรรณะ เรียกว่า
“จัณฑาล” (Dalit แปลว่า มืดมน ไร้อนาคต) พวกนี้เป็นที่รังเกียจของทุกวรรณะ
47.
บ่อน้าร้อนตโปทาราม
50.
๒. ยุคพราหมณะ • ประมาณ
๓๐๐ ปีก่อนพุทธกาล เป็นสมัยที่พราหมณ์เรืองอานาจ มี อิทธิพลเหนือวรรณะอื่น • เป็นยุคที่เกิดเทพองค์ใหม่ขึ้น คือ “พระพรหม” ยกย่องเป็นเทพผู้ บริสุทธิ์ ผู้สร้างสรรพสิ่งรวมทั้งวรรณะ ๔ เพื่อความสงบและสันติ ของการอยู่ร่วมกันในสังคมมนุษย์ โดยกาหนดหน้าที่กากับให้ วรรณะถือเป็นจริยธรรมของตนได้ เป็นแนวคิดแบบ “เอกเทวนิยม” • โลกจะต้องประกอบด้วยคุณลักษณะ สาคัญ ๓ ประการ คือ ๑) ต้องมี พราหมณ์ (นักบวช) ๒) ต้องมีคัมภีร์พระเวท ๓) ต้องมีวรรณะ ๔ เหล่า
51.
คุณสมบัติของพราหมณ์ • ๑) ศมะ
>> มีความสุภาพภายในจิตใจ ไม่ปั่นป่วนด้วยความโลภ โกรธ หลง • ๒) ทมะ >> ระงับจิตไว้ได้ ราลึกในความเมตตาอยู่เสมอ • ๓) ตปะ >> ผจญต่อความลาบาก • ๔) เศาจะ >> ทาตัวเองให้บริสุทธิ์ทั้งร่างกายและจิตใจ • ๕) กษมา >> มีความอดทน มีเมตตา กรุณาเป็นที่ตั้ง • ๖) ญาณะ >> แสวงหาความรู้ที่ถูกที่ชอบ • ๗) อาสติกตา >> จงรักภักดีต่อพรหม ฯลฯ
52.
หน้าที่ของพราหมณ์ • ๑) ปฐน
>> รับการศึกษาชั้นสูง • ๒) ปาฐน >> ให้การศึกษาแก่คนอื่น • ๓) ยชน >> ทาพิธีบูชาต่างๆ ของตนเอง • ๔) ยาชน >> ทาพิธีบูชาต่างๆ เพื่อคนอื่น • ๕) ทาน >> ทาบุญให้ทาน • ๖) ปฏิคห >> การรับบุญทานจากผู้มี ศรัทธา
53.
คุณสมบัติของศูทร • ๑) นันรดา
> มีความสงบเสงี่ยมเจียมตน • ๒) นิษกปฎตา > ไม่มีความเฉื่อยชา ตลบตะแลง คดโกง • ๓) เศาจะ > ทาตัวเองให้บริสุทธิ์ทั้งร่างกาย และจิตใจ • ๔) อาสติกตา > จงรักภักดีต่อพรหม • ๕) อสเตยยะ > ไม่ลักขโมย • ๖) สัตยะ > มีความเห็นอันสุจริต • ๗) อาทรภาวะ > เคารพนับถือวรรณะที่สูงกว่า
54.
แนวคิดเรื่องเทพเจ้าในยุคพราหมณะ • พระพรหม มีลักษณะเป็นตัวสาแดงของพรหมันที่ปรากฏตนเองให้ สรรพสิ่งรับรู้ •
ต่อมาพราหมณ์ได้สร้างแนวคิด “ตรีมูรติ” ขึ้น เพื่อปฏิรูปความเชื่อใน เรื่อง “พหุเทวนิยม” เพื่อให้สามารถอธิบายสังสารวัฏหรือการหมุนเวียน ของโลกและชีวิตได้ และได้สร้างทฤษฎีอวตาร หรือ การแบ่งภาคมา เกิดในโลกมนุษย์ของพระนารายณ์ เพื่อแสดงถึงวิวัฒนาการหรืออานาจ ของเทพผู้ยิ่งใหญ่ • ***ยุคนี้อาจเรียกว่า **ยุคฮินดู เพราะศาสนาพราหมณ์ได้พัฒนามา เป็นศาสนาฮินดูโดยสมบูรณ์แล้ว
55.
ตรีมูรติ : เทพเจ้าผู้ยิ่งใหญ่
3 องค์ของฮินดู พระพรหม พระศิวะ พระนารายณ์
56.
ตรีมูรติ พระพรหม พระศิวะ พระนารายณ์
57.
พระพรหม : พระผู้สร้าง Creator
58.
• พระพรหมเมื่อแรกบังเกิดเป็นไข่ฟอง ใหญ่ก่อน เกิดภายในปรพรหม
พอไข่ แตกออกมาจึงเป็นองค์พระพรหม>> เรียกว่า “พระสยัมภู” แปลว่า พระองค์ผู้เกิดเอง • คัมภีร์ปุราณะ พระมหากาลได้ถูพระ กรซ้ายด้วยนิ้วพระหัตถ์ จนพองเป็น รูปไข่สีทอง พระมหากาลได้ต่อยไข่ ออกเป็น ๒ ภาค ภาคบนทาเป็น สวรรค์ ภาคล่างเป็นแผ่นดิน กลาง เป็นพระพรหม และมอบหน้าที่ให้ พระพรหมเป็นผู้สร้างต่อไป
59.
พระสรัสวตี (Sarasvati) เทพีเจ้าแห่งศิลป์ สร้างสรรค์ทั้งปวง
60.
เทพเจ้าผู้ทาลายล้าง
62.
พระแม่อุมาเทวี
63.
พระวิษณุ (นารายณ์) เทพเจ้าผู้คุ้มครองรักษา Preserver
64.
นารายณ์อวตาร ปราบยุคเข็ญของมนุษย์
65.
พระแม่ลักษมี (Laksmi) เทพีเจ้าแห่งความรุ่งเรือง
66.
พระแม่ตุลสิ (Tulsi)
67.
Offering water to
Tulsi
68.
• พระแม่ลักษมีถูกพระแม่สรัสวตีสาปให้ เป็นต้นกระเพรา ไปเกิดอยู่บนโลก ตลอดกาล
แต่เมื่อคาสาบสูญสิ้นไปจึง กลับมาสถิตอยู่กับพระวิษณุดังเดิม • ชาวอินดูไวศวนิกาย ถือว่า ต้นตุลสี เป็นต้นไม้ศักดิ์สิทธิ์ที่สุด ใช้ ประกอบพิธีกรรม ตุลสีได้ถูก ยอมรับนับถือกันทั่วไปในกลุ่มชาว ฮินดูว่าเป็นสิ่งศักดิ์สิทธิ์ ช่วยปัด เป่าสิ่งชั่วร้าย ใช้บูชาเพื่ออธิษฐาน ขอพร
69.
Holy Cow
70.
โคนันทิ Nandi
72.
• การฆ่าวัวบาปเท่ากับฆ่าพราหมณ์ • การกินเนื้อวัวสาหรับชาวฮินดูเป็นสิ่ง ชั่วร้ายยิ่งกว่ากินเนื้อมนุษย์
73.
Holy Snake
75.
Holy Monkey
76.
Ramayana หนุมาน
77.
Holy Frog บูชากบเป็นสัตว์ศักดิ์สิทธิ์ เป็นสัตว์ที่บันดาลให้ฝนนตก
78.
ขั้นตอนการดาเนินชีวิต ๔ ขั้น 1.
พรหมจารี 2. คฤหัสถ์ 3. วนปรัสถ์ 4. สันยาสี
79.
อาศรม 4 (ในคัมภีร์มนูธรรมศาสตร์) •
ศาสนาพราหมณ์ – ฮินดู ได้แบ่งขั้นตอนของชีวิตออกเป็น 4 ขั้น • 1. พรหมจารี : ขั้นตอนของชีวิตที่ยังศึกษาเล่าเรียนในสานักของ อาจารย์ (วรรณะพราหมณ์ กษัตริย์ แพศย์ เมื่ออายุ ๘,๑๑,๑๒ปี) - ศึกษากาล • 2. คฤหัสถ์ : การครองเรือนโดยการแต่งงานและตั้งครอบครัว ต้อง บาเพ็ญมหายัญ 5 อย่าง -- บริวารกาล • 3. วนปรัสถ์ : ขั้นตอนการแยกจากครอบครัว เพื่อไปปฏิบัติธรรม ในป่า “เมื่อผู้ครองเรือนสังเกตเห็นความเหี่ยวย่นปรากฏบนผิวหนัง ของตน เห็นผมปรากฏเป็นสีเทา เห็นบุตรของบุตร เขาควรละจาก • บ้านไปสู่ป่า” --- สังคมกาล
80.
อาศรม 4 (ต่อ) •
4. สันยาสี : เป็นขั้นตอนสุดท้ายของชีวิต เป็นผู้ครองเพศบรรพชิต สละชีวิตทางโลกโดยสิ้นเชิง อุทิศตนในการแสวงหาความจริง เกี่ยวกับชีวิต แสวงหาอาหารด้วยการภิกขาจาร รักษาพรหมจรรย์ ควบคุมกาย วาจา ใจ มุ่งปฏิบัติขัดเกลา โดยมีความหลุดพ้นจาก ทุกข์หรือ โมกษะ เป็นจุดหมายปลายทาง -- วิศวกาล
82.
หลักปุรุษารถะ -- ประโยชน์
4 • การดาเนินชีวิตที่ดี ควรมุ่งประโยชน์ ตามลาดับ ดังนี้ • 1. อรรถะ : ความสมบูรณ์พรั่งพร้อม ด้วยทรัพย์สมบัติ • 2. กามะ : การแสวงหาความสุขทางโลก ตามควรแก่ภาวะหรือวิสัยของผู้ครอง เรือน • 3. ธรรมะ : การถึงพร้อมด้วยคุณธรรม • 4. โมกษะ : การเข้าถึงการหลุดพ้นจาก ทุกข์โดยสิ้นเชิงและตลอดไป
83.
หลักธรรม ๑๐ ประการ •
๑) ธฤติ >> ความพอใจ ความกล้าหาญ ความมั่นคง การมี ความสุข • ๒) กษมา >> ความอดกลั้น หรือความอดทน • ๓) ทมะ >> การระงับจิตใจของตนด้วยความสานึกในเมตตา และ มีสติอยู่เสมอ • ๔) อัสเตยยะ >> การไม่ลักขโมย • ๕) เศาจะ >> การทาตนให้บริสุทธิ์ทั้งร่างกายและจิตใจ • ๖) อินทรียนิครหะ >> การระงับอินทรีย์ ๑๐ คือ ตา หู จมูก ลื้น กาย มือ เท้า ทวารหนัก ทวารเบา และคอ
84.
หลักธรรม ๑๐ ประการ
(ต่อ) • ๗) ธี >> ปัญญา สติ ความคิด • ๘) วิทยา >> ความรู้ทางปรัชญา คือ มีความรู้เกี่ยวกับชีวะ มายา และพระพรหม • ๙) สัตยะ >> ความจริง ความเห็นอันสุจริต • ๑๐) อโกธะ >> ความไม่โกรธ
85.
ปรัชญาอุปนิษัท
86.
ปรัชญาอุปนิษัท • อุปนิษัทเป็นตอนสุดท้ายของคัมภีร์พระเวท เรียกอีกอย่างหนึ่งว่า
“เวทานตะ” • อุปนิษัท แปลว่า การนั่งลงใกล้อาจารย์ของผู้เป็นศิษย์ เพื่อรับคาสอนอย่าง ตั้งใจ เกี่ยวกับเรื่องความจริง หรือสัจธรรม ที่จะบรรเทาความสงสัย หรือ ทาลายอวิทยาให้หมดไป • ยุคอุปนิษัท เริ่มต้นเมื่อประมาณ 100 ปีก่อนพุทธกาล และสิ้นสุดลงในราว พ.ศ. 700 • ความเชื่อแบบอติเทวนิยม เปลี่ยนเป็นความเชื่อแบบ เอกเทวนิยม อย่าง เต็มที่ คือ นับถือ พระประชาบดี หรือ พระพรหม เป็นเทพผู้ยิ่งใหญ่สูงสุด เป็น .............ผู้สร้างโลกและสร้างสรรพสิ่ง
88.
คัมภีร์อุปนิษัท • เป็นคัมภีร์ที่ว่าด้วยความคิดทางปรัชญา นั่นคือ
ความนึกคิด เกี่ยวกับปัญหาเรื่องความมีอยู่ของ พรหมัน หรือ อาตมัน (Supream Soul) มายา / อวิทยา/ การสร้างโลก / โมกษะ หรือ ความหลุดพ้น ความรู้ที่เป็นความจริง หรือทางนาไปสู่ความเป็นเสรี • ถือกันว่าอุปนิษัทเป็นคัมภีร์เล่มสุดท้ายของการศึกษา เป็นบท สนทนาโต้ตอบ ได้อธิบายถึงธรรมชาติและจักรวาล วิญญาณของ มนุษย์ การเวียนว่ายตายเกิด กฎแห่งกรรมและหลักปฏิบัติ ปรัชญา สาคัญ ซึ่งเป็นการอธิบายสาระสาคัญของคัมภีร์พระเวททั้งหมด
89.
สาระแห่งปรัชญาอุปนิษัท • 1.) เรื่องปรมาตมัน
- ปรมาตมัน คือ วิญญาณดั้งเดิม หรือ ความจริงสูงสุดของโลกและชีวิต หรือ จักรวาล ซึ่งเรียกว่า พรหมัน สรรพสิ่งมาจากพรหมัน และในที่สุดก็จะกลับคืนสู่ความ เป็นเอกภาพกับพรหมัน มีลักษณะเป็นอัตตา อมตะนิรันดร • 2.) เรื่องอาตมัน หรือ ชีวาตมัน - ซึ่งเป็นส่วนอัตตาย่อยหรือ วิญญาณย่อยที่ปรากฏแยกออกมาอยู่ในแต่ละคน ดังนั้นการที่ อาตมันหรือชีวาตมันย่อยนี้เข้าไปรวมกับพรหมันหรือปรมาตมันได้ จึงเป็นการพ้นทุกข์ ไม่มีการเวียนว่ายตายเกิดอีกต่อไป
90.
สาระแห่งปรัชญาอุปนิษัท • 3.) เรื่องกรรม
– การที่ชีวาตมันจะกลับคืนสู่พรหมันเป็นเอกภาพอมตะได้นั้น ผู้นั้นจะต้องบาเพ็ญเพียร ทาความดี และประกอบพิธีกรรมต่างๆ ที่เรียกว่า โยคะ คือ • กรรมโยคะ ทากรรมดี ภักติโยคะ มีศรัทธาในพระผู้เป็นเจ้า และ ชญานโยคะ หรือการศึกษาจนเข้าใจคัมภีร์พระเวทอย่างถูกต้อง • คาสอนในคัมภีร์อุปนิษัท ทาให้ศาสนาพราหมณ์เป็น เอกนิยม (Monism) เชื่อว่าสรรพสิ่งมาจากหนึ่งและจะกลับไปสู่ความเป็นหนึ่ง
91.
คาสอนในคัมภีร์อุปนิษัท • 1.พระพรหมเป็ นผู้ทรงความเที่ยงแท้นิรันดร
โลกทั้งปวงเป็ น มายา และต้องถึงความพินาศเมื่อสิ้นกัลป์ สรรพสิ่งรวมทั้งเทพ เจ้าล้วนมีกาเนิดมาจากพระพรหมทั้งสิ้น กรรมเป็นเหตุให้มนุษย์ ต้องเวียนว่ายตายเกิดอยู่ใน สังสาระ การพ้นจากสังสารวัฏ และเข้าไปเป็นเอกภาพของพระพรหมเป็นจุดหมายสูงสุด • 2. วิญญาณของมนุษย์และสรรพสัตว์ย่อมมาจากวิญญาณแรก คือ พรหมัน เปรียบเหมือนประกายไฟที่กระเด็นออกมาจาก ไฟดวงมหึมาดวงเดิม เมื่อวิญญาณที่หลุดออกมาจากพรหมัน แล้ว ต้องเข้าสิงสู่อยู่ในรูปต่างๆ นับครั้งนับชาติไม่ถ้วน และต้อง มีสภาพไม่สม่าเสมอกันจนกว่าวิญญาณนั้นจะเข้าถึงโมกษะ
92.
คาสอนในคัมภีร์อุปนิษัท • 3. อาศัยกรรมดี
กรรมชั่ว เป็นปัจจัยให้มีการเวียนว่ายตายเกิด ถ้า ใครสามารถหาอุบายไม่ทากรรมได้ ก็จะรอดพ้นจากความเกิดกรรม เช่น ออกป่าถือเพศเป็นดาบสหรือนักพรตเข้าสู่ความเป็นผู้ไม่ ประกอบกรรม เพื่อให้วิญญาณเข้าใกล้ชิดกับพรหมัน • 4. เมื่อถึงกาหนดสิ้นกัลป์ หนึ่งซึ่งเป็นคราวล้างโลก วิญญาณและ โลกธาตุจะต้องพินาศลงและเข้าสู่สภาวะเดิมคือ พรหมัน เมื่อถึง เวลาของพรหมันสร้างโลกขึ้นมาใหม่ ธาตุนานาชนิดก็จะชุมนุมกัน ขึ้น วิญญาณก็จะแยกออกจากพรหมัน เข้าสิงเกิดเป็นมนุษย์ สัตว์ และสรรพสิ่งต่างๆ และจัดหมวดหมู่แบ่งชั้นของมนุษย์ เป็น วรรณะพราหมณ์ วรรณะกษัตริย์ วรรณะแพศย์ วรรณะศูทร เพื่อความศานติสุขของมนุษย์
94.
Birth and Rebirth
95.
ปรัชญาภควัทคีตา เพลงของพระผู้เป็นเจ้า
96.
ปรัชญาภควัทคีตา • ปรากฏอยู่ในมหากาพย์ เรื่อง
มหาภารตะ เป็ นเรื่องว่าด้วย กษัตริย์ 2 วงศ์ คือ วงศ์เการพ และวงศ์ปาณฑบ ซึ่งเป็ นญาติ กัน แต่ต้องมารบกัน พระกฤษณะซึ่งเป็นพระนารายณ์อวตาร ปางที่ 8 ผู้ทาหน้าที่สารถีขับรถให้อรชุนซึ่งอยู่ในวงศ์ปาณฑบ ได้แสดงหลักปรัชญาเรื่อง อาตมัน กับพรหมัน ไว้อย่างชัดเจน จนทาให้อรชุนมีกาลังใจในการรบจนกระทั่งชนะฝ่ายศัตรู โดย สอนเน้นเรื่องการทาหน้าที่เพื่อหน้าที่ของมนุษย์
97.
• “........พระอรชุนทรงยืนในท่าทรงศร ท่ามกลาง สนามรบ
คอยให้สัญญาณให้ทหารลงมือรบ ขณะนั้น พระอรชุนมองเห็นกองทัพฝ่ายตรงข้าม ปรากฏอยู่ตรงหน้า ซึ่งเป็นกองทัพของพวกที่เป็น ญาติของพระองค์เอง บรรดาแม่ทัพนายกอง ล้วน เป็นญาติใกล้ชิดของพระองค์อยู่หลายคน และส่วน ใหญ่ก็เป็นบุคคลที่ตนนับถือยิ่ง ส่วนคนในกองทัพ ของพระอรชุนเองก็มีพระภาดา และญาติของ พระองค์รวมอยู่ด้วย ทันใดนั้น พระอรชุนก็ตกอยู่ใน อาการประหวั่นพรั่นพรึง ด้วยความสลดพระทัยอย่าง ยิ่ง จึงถามตนเองว่าจะมีประโยชน์อันใดกับ ราชอาณาจักร เมื่อเรารบชนะก็จะได้มา แต่จะต้อง สูญเสียชีวิตและเลือดเนื้อของผู้คนเป็นอันมาก เป็น การสมควรแล้วหรือที่จะประหัตประหารคนเหล่านี้ .......ถ้าเกิดรบกันจนโลหิตไหลนอง เราก็มิเป็น ผู้กระทาบาปอย่างปราศจากเหตุผลละหรือ? เมื่อทรง คิดเช่นนี้ พระทัยก็อ่อนลงจนศรหลุดจากพระหัตถ์ ขณะนั้นพระกฤษณะซึ่งเป็นสารถีของพระอรชุนได้ เตือนสติและปลุกพระทัยของพระอรชุนให้เข้มแข็งขึ้น ด้วยบทปรัชญาในภควัทคีตา
98.
• ปรัชญาภควัทคีตา.....มีจุดมุ่งหมายที่จะสอนคติปรัชญาแห่งการ กระทาหน้าที่ที่ถูกต้อง โดยยกเอาเกียรติยศของบุคคลให้สูงขึ้น ซึ่งหมายถึง
หน้าที่ที่บุคคลพึงกระทาโดยไม่คานึงถึงผลประโยชน์ ส่วนตัวเป็นที่ตั้ง หรือ ไม่มีจุดมุ่งหวังใดๆ จะต้องทาหน้าที่ของตน อย่างเคร่งครัด • และเข้าใจว่าวิญญาณหรือชีวาตมันเท่านั้นเป็นสิ่งที่เป็นจริง และ มีความคงอยู่ชั่วนิรันดร วิญญาณของมนุษย์แต่ละคนเป็น ส่วนย่อยของดวงวิญญาณสูงสุด ซึ่งเป็นสิ่งที่เป็นจริงและเป็นต้น กาเนิดของสรรพสิ่ง • ดังนั้น วิญญาณ(อาตมัน) ไม่มีการถูกทาลาย เป็นอมตะ • สิ่งที่แตกสลายทาลายได้ คือ ร่างกายเท่านั้น
99.
• คัมภีร์ภควัทคีตา สอนจริยธรม
คือ โยคะ ๓ ประการ • หรือ ทางแห่งการบรรลุความเป็นเอกภาพกับพรหมัน 3 ทาง คือ • 1.) การกระทากรรมดี โดยการปฏิบัติหน้าที่ของตนในแต่ละ วรรณะให้ถูกต้อง และละความยึดมั่นถือมั่นในการกระทา กรรม เรียกว่า “กรรมโยคะ” • 2.) การภักดี หรือ อุทิศตนหรือการมอบตนด้วยศรัทธาต่อพระ ผู้เป็นเจ้า เรียก “ภักติโยคะ” • 3.) ความรู้ เริ่มต้นด้วยการศึกษาพระเวท จนสามารถเข้าใจถึง ธรรมชาติที่แท้จริงของชีวิต ว่าวิญญาณเกิดจากพรหมันและ ต้องกลับไปอยู่กับพรหมัน มิใช่มัวยึดติดกับร่างกายซึ่งเป็น เรื่องของกิเลส เรียก “ชญาณโยคะ”
100.
โมกษะ ความรู้ การกระทา ความภักดี โยคะ แปลว่า การรวม อาตมันย่อย
กับ อาตมันสากล
101.
ชฺญานโยคะ กรรมโยคะ ภักติโยคะ การเข้าถึงความจริงอันติมะด้วยความรู้ (ไฟเมื่อก่อ ให้ลุกติดดีแล้วย่อมสามารถทาให้เชื้อเพลิงคงเหลือ แต่เถ้าธุลีฉันใด ไฟคือความรู้ย่อมประหารกรรมทั้ง มวลให้สูญสิ้นไปฉันนั้น ส่วนประกอบของประกฤติ
3 อย่าง คือ สัตวะ รชัส และตมัส ทาให้เกิดมีกิริยาหรือการกระทา เอก ภพดารงอยู่ได้ด้วยการกระทา ผู้ที่เอาแต่แสวงหาความสุขทางเนื้อหนัง เป็นการดารงชีวิต อยู่ด้วยความว่างเปล่า การประกอบความภักดี ได้แก่ การให้บริการแก่ พระเป็นเจ้าโดยปราศจากการหวังผลตอบแทน ภักดีต่อพระองค์ด้วยความบริสุทธิ์ใจ ปล่อยวาง + หวังผลตอบแทน
103.
จุดมุ่งหมายสูงสุด • จุดมุ่งหมายสูงสุดของชีวิตสาหรับศาสนา พราหมณ์-ฮินดู ก็คือ
“การบรรลุถึงโมกษะ” คือ ความหลุดพ้นจากความทุกข์ เป็นภาวะ ที่วิญญาณ (ตัวตนย่อย หรือ ชีวาตมัน) ได้ กลับเข้าไปรวมกับพรหมัน (ตัวตนใหญ่หรือ ปรมาตมัน) ซึ่งเป็ นพระเจ้าสูงสุดอันมี สภาวะแห่งความสุขสูงสุด เป็นจิตที่บริสุทธิ์ สมบูรณ์และมีความอมตะ นิรันดร (สัต จิต อานันทะ) • ปฏิบัติ หลักโยคะ ๓ ประการเพื่อถึงโมกษะ
104.
สัญลักษณ์ศาสนาพราหมณ์-ฮินดู โอม สวัสดิกะ ศิวลึงค์
105.
โอม 1. เครื่องหมาย “โอม”
เป็นสัญลักษณ์กลาง ๆ ที่ทุกนิกายยอมรับ สัญลักษณ์นี้เป็นอักษรเทวนาครี คาว่า “โอม” เป็นคาศักดิ์สิทธิ์ที่สุดใน ศาสนาพราหมณ์-ฮินดู อันหมายถึง พระเป็นเจ้าทั้ง 3 องค์ คือ “อ” อักษร หมายถึง พระศิวะหรือพระอิศวร “อุ” อักษร หมายถึง พระ วิษณุหรือพระนารายณ์ และ “ม” อักษร หมายถึง พระพรหม เพราะฉะนั้น อ+อุ+ม เท่ากับ “โอม” สัญลักษณ์ของ โอม (AUM) เป็นตัวแทนธรรมชาติแห่งพรหมัน ทาให้เห็นเป็นรูปธรรม หมายถึงสิ่ง สมบูรณ์ 3 ประการ (หรือตรีมูรติ) คือ พรหม วิษณุ และศิวะ ในสมัย ต่อมา อะ (A) หมายถึง พระศิวะผู้ทาลาย อุ (U) หมายถึง พระวิษณุ ผู้รักษา และมะ (M) หมายถึงพระพรหมผู้สร้าง
106.
สวัสดิกะ 2. เครื่องหมาย สวัสดิกะ
เป็นสัญลักษณ์มงคล เป็นตัวแทนความบริสุทธิ์ของวิญญาณ ความจริง ความมั่งคง หรือหมายถึงพระอาทิตย์ แฉกทั้งสี่ที่ แยกออกอาจหมายถึงทิศทั้ง 4 หรือพระเวททั้ง 4
107.
ศิวลึงค์ 3. ศิวลึงค์ สัญลักษณ์ศิวลึงค์บนฐานโยนี
อัน เป็นตัวแทนของศิวเทพ เกิดจากผลของการ รวมกันระหว่างชายและหญิง แสดงถึงพลัง สร้างสรรค์ความอุดมสมบูรณ์ของพระผู้เป็นเจ้า
108.
พิธีกรรมสาคัญ
109.
พิธีกรรมสาคัญในศาสนาพราหมณ์-ฮินดู การแต่งงาน
110.
พิธีศราทธ์ พิธีทาบุญอุทิศให้มารดาบิดา หรือบรรพบุรุษผู้ล่วงลับไปแล้ว ใน เดือน
10 ตั้งแต่วันแรม 1 ค่า ถึงวันแรม 15 ค่า โดยมีลักษณะและ ขั้นตอน ดังต่อไปนี้ การบูชากระทาด้วยข้าวบิณฑ์ คือก้อนข้าวสุก โดยให้บุตรชาย ของผู้ตายเป็นผู้กระทาพิธีบวงสรวงบูชา เพราะมีความเชื่อว่าบุตรชาย ช่วยให้ผู้ที่ล่วงลับพ้นจากนรกขุม “ปุตตะ” โดยกระทาก่อนวันนาศพ ไปเผา และกระทาตลอดไป 10 วัน หรือ 11 วัน และวันที่ 11 นั้นเป็น การรวมญาติ โดยญาติฝ่ายบิดา-มารดาซึ่งนับขึ้นไป 3 ชั่วคน และนับ ลงมา 3 ชั่วคน เข้าร่วมพิธีด้วย เรียกว่า “สปิ ณฑะ” แปลว่า ร่วมทา พิธีข้าวบิณฑ์
111.
พิธีถวายข้าวบิณฑ์
112.
นวราตรี 1 ค่า
เดือน 5
113.
ศิวราตรี 15 ค่า เดือน
3
114.
เทศกาลโฮลี่ แรม 1 ค่า
เดือน 4
115.
ทีปวาลี (Dipavali) (แถวแห่งประทีป) Festival of
light แรม 13 ค่า ต.ค.-พ.ย.
116.
กุมภเมลา (Kembhamela)
117.
นิกายในศาสนาพราหมณ์ – ฮินดู
1) นิกายไวษณพ • – นับถือพระวิษณุ หรือพระนารายณ์ ยกย่องว่าเป็นเทพเจ้าสูงสุด เป็นผู้สร้างโลก และสรรพสิ่ง • เชื่อในการอวตารของพระนารายณ์ว่า พระนารายณ์อวตาร ๒๔ ครั้ง เพื่อช่วยมนุษย์ในคราวทุกข์เข็ญ • อวตาร (Incarnation) หมายถึง การแบ่งภาคลงมาเกิดบนโลก มนุษย์ของเทพเจ้า เพื่อทาหน้าที่อย่างหนึ่งอย่างใด • ในลัทธิไวษณพ ถือว่าเมื่อศีลธรรมของมนุษย์เสื่อมลง จนเกิดความ เดือดร้อนไปทั่ว พระนารายณ์จะอวตารลงมาปราบยุคเข็ญเพื่อ ช่วยมนุษย์และทวยเทพ >> นารายณ์อวตาร ๑๐ ปาง
119.
นิกายไศวะ • เชื่อว่า พระอิศวร
หรือพระศิวะเป็นเทพสูงสุดกว่าเทพเจ้าอื่นๆ เป็นเทพผู้สร้างโลกและสรรพสิ่ง • มีความหวังว่าในอนาคต พระศิวะจะอวตารลงมาเป็นบุรุษชื่อ ลกุลิศะ เพื่อโปรดปรานมนุษย์และสอนมนุษย์ถึงวิธีเข้าถึงพระศิวะ • นิกายนี้ประพฤติตนตามแบบลัทธิอัตตกิลมถานุโยค (ทรมานตนเอง) ใช้ขี้เถ้าทาตามร่างกาย และทาเครื่องหมายที่หน้าผากด้วยขีด 3 ขีด เรียก สีหาสันทน์ • มรรควิธี คือ มีความรู้ มีความภักดีต่อพระศิวะ บาเพ็ญสมาธิ จิต มุ่งมั่นต่อพระศิวะ บูชาพระศิวะ
121.
นิกายย่อย อีกว่า ๕๗
นิกาย • นิกายศักติ >> เป็นนิกายที่นับถือพระเทวี หรือชายาของมหาเทพ เช่น พระสรัสวดี พระแม่ลักษมี พระแม่อุมาเทวี ซึ่งชายาของ มหาเทพเป็นผู้ทรงกาลังหรืออานาจของเทพสามีไว้ จึงเรียกว่า “ศักติ” • นิกายตันตระ >> เป็นนิกายลึกลับ เน้นหนักเรื่องเวทมนตร์คาถา ไสยศาสตร์ และกามารมณ์ • มีพิธีกรรมตามกฎ ๕ อย่าง เรียกว่า “ปัญจมการ” แปล่าส่วนพิเศษ ขึ้นต้นด้วยอักษร ม. ทั้ง ๕ คือ มัชชะ (น้าเมา) , มางสะ (เนื้อสด) , มนตรา , มุทรา (สร้างลีลาเย้ายวน) , ไมถุน (เสพกาม) > เชื่อว่า มนุษย์มีกิเลส ถ้าต้องการดับกิเลส ต้องสนองกิเลสให้เต็มที่จนเกิด ความเบื่อหน่ายในที่สุด
123.
พิธีกรรมพราหมณ์กับประเพณีไทย
124.
นักบวช พราหมณ์
126.
นาคาบาบา
131.
สามีจิ
132.
สาธุ Sadhus
133.
จบแล้วค่ะ ^____^
134.
ดาวน์โหลดไฟล์นี้ได้ที่ www.philosophychicchic.com สนุกกับการเรียนรู้ปรัชญาและศาสนาแบบชิคๆ เคียงคู่รอยยิ้ม