SlideShare une entreprise Scribd logo
1  sur  92
กิริยาอาขยาต นามกิตก์ และกิริยากิตก์
นายชินวัชร นิลเนตร ป.ธ.๙
อาจารย์ประจารายวิชาภาษาบาลี
1
2
กิริยาอาขยาต นามกิตก์
และกิริยากิตก์
จุดประสงค์ในการเรียน
๑. เพื่อให้นักศึกษาเข้าใจการสร ้างคา
กิริยาอาขยาตและกิริยากิตก์
๒. เพื่อให้นักศึกษาเข้าใจสาธนะและรูป
วิเคราะห์ต่างๆ ในนามกิตก์
๓. เพื่อให้นักศึกษาแปลและแต่งประโยค
บาลีที่เหมาะสมกับไวยากรณ์
3
รายละเอียดวิชา
แบ่งเป็ น ๘ บทเรียน
บทที่ ๑ วิภัตติอาขยาต
บทที่ ๒ กาล, บท, วจนะ, บุรุษ
บทที่ ๓ ธาตุ ๘ หมวด
บทที่ ๔ วาจก ๕ และปัจจัยจัดเป็น ๕ หมวดตาม
วาจก
บทที่ ๕ กิตก์และสาธนะในกิตก์๗
บทที่ ๖ ปัจจัยแห่งนามกิตก์และรูปวิเคราะห์
บทที่ ๗ กิริยากิตก์
บทที่ ๘ การประกอบธาตุและปัจจัยกิริยากิตก์
4
บทที่ ๑ วิภัตติอาขยาต
ศัพท์กล่าวกิริยา คือ ความทา เป็ นต้น
ว่า ยืน เดิน นั่ง นอน กิน ดื่ม ทา พูด คิด
ชื่อว่า อาขยาต ที่จะสาเร็จเป็ นอาขยาต
ได้นั้น ต้องประกอบด้วยองค์ประกอบ ๘
ประการ คือ วิภัตติ กาล บท วจนะ
บุรุษ ธาตุ วาจก ปัจจัย
5
วิภัตติ
สาหรับลงหลังธาตุ จาแนกแจกแจงธาตุไว้
เพื่อให้เป็ นเครื่องหมายให้รู ้ กาล บท วจนะ
บุรุษ.
วิภัติอาขยาตนี้ มี ๙๖ ตัว แบ่งเป็ น ๘
หมวด แต่ละหมวด มี ๒ บท แต่ละบท มี ๓
บุรุษ แต่ละบุรุษมี ๒ วจนะ
๑. วัตตมานา ๒. ปัญจมี
๓. สัตตมี ๔. ปโรกขา
๕. หิยัตตนี ๖. อัชชตนี
๗. ภวิสสันติ ๘. กาลาติปัตติ
6
๑. วัตตมานา
...อยู่, ย่อม..., จะ...
ปรัสสบท อัตตโนบท
บุรุษ เอก. พหุ. เอก. พหุ.
ปฐม. ติ อนฺติ เต อนฺเต
มัธยม. สิ ถ เส เวฺห
อุตตม. มิ ม เอ เมฺห
7
๒. ปัญจมี
จง..., จง...เถิด, ขอจง...
ปรัสสบท อัตตโนบท
บุรุษ เอก. พหุ. เอก. พหุ.
ปฐม. ตุ อนฺตุ ต อนฺต
มัธยม. หิ ถ สฺสุ โวฺห
อุตตม. มิ ม เอ อามฺหเส
8
๓. สัตตมี
ควร..., พึง..., พึง.
ปรัสสบท อัตตโนบท
บุรุษ เอก. พหุ. เอก. พหุ.
ปฐม. เอยฺย เอยฺยุ ํ เอถ เอร
มัธยม. เอยฺยาสิ เอยฺยาถ เอโถ เอยฺยาโวฺห
อุตตม. เอยฺยามิ เอยฺยาม เอยฺย เอยฺยาเมฺห
9
๔. ปโรกขา
...แล้ว
ปรัสสบท อัตตโนบท
บุรุษ เอก. พหุ. เอก. พหุ.
ปฐม. อ อุ ตฺถ เร
มัธยม. เอ ตฺถ ตฺโถ โวฺห
อุตตม. อ มฺห อึ มฺเห
10
๕. หิยัตตนี
...แล้ว, ได้...แล้ว
ปรัสสบท อัตตโนบท
บุรุษ เอก. พหุ. เอก. พหุ.
ปฐม. อา อู ตฺถ ตฺถุ
มัธยม. โอ ตฺถ เส วฺห
อุตตม. อ มฺห อึ มฺหเส
11
๖. อัชชตนี
...แล้ว, ได้...แล้ว
ปรัสสบท อัตตโนบท
บุรุษ เอก. พหุ. เอก. พหุ.
ปฐม. อี อุ อา อู
มัธยม. โอ ตฺถ เส วฺหํ
อุตตม. อึ มฺหา อํ เมฺห
12
๗. ภวิสสันติ
จัก...
ปรัสสบท อัตตโนบท
บุรุษ เอก. พหุ. เอก. พหุ.
ปฐม. สฺสติ สฺสนฺติ สฺสเต สฺสนฺเต
มัธยม. สฺสสิ สฺสถ สฺสเส สฺสเวฺห
อุตตม. สฺสามิ สฺสาม สฺสํ สฺสาเมฺห
13
๘. กาลาติปัตติ จัก...แล้ว, จักได้
...แล้ว
ปรัสสบท อัตตโนบท
บุรุษ เอก. พหุ. เอก. พหุ.
ปฐม. สฺสติ สฺสนฺติ สฺสเต สฺสนฺเต
มัธยใ. สฺสสิ สฺสถ สฺสเส สฺสเวฺห
อุตตม. สฺสามิ สฺสาม สฺสํ สฺสาเมฺห
14
ธาตุกลุ่มคาอันเป็ นรากศัพท์วิภัตติอาขยาตที่
บอก กาล บท วจนะ บุรุษ นั้น จะต้อง
ประกอบเข้ากับธาตุ จึงสาเร็จเป็ นกิริยา
ธาตุนั้น ท่านแบ่งเป็ น ๘ หมวด ตามปัจจัย
สาหรับประกอบ ดังนี้
๑. หมวด ภู ธาตุ ลง อ ปัจจัย
๒. หมวด รุธฺ ธาตุ ลง อ (เอ) ปัจจัย
๓. หมวด ทิวฺ ธาตุ ลง ย ปัจจัย
๔. หมวด สุ ธาตุ ลง ณุ, ณา, ปัจจัย
๕. หมวด กี ธาตุ ลง นา ปัจจัย
๖. หมวด คหฺ ธาตุ ลง ณฺหา ปัจจัย
๗. หมวด ตนฺ ธาตุ ลง โอ, ปัจจัย
๘. หมวด จุรฺ ธาตุ ลง เณ, ณย ปัจจัย
15
๑.
หมวด ภู ธาตุ ลง อ ปั
จจัยภู + อ + ติ เป็ น ภวติ ย่อมมี, ย่อมเป็ น
หู + อ + ติ เป็ น โหติ ย่อมมี, ย่อมเป็ น
สิ + อ + ติ เป็ น เสติ,สยติ ย่อมนอน
มรฺ + อ + ติ เป็ น มรติ ย่อมตาย
ปจฺ + อ + ติ เป็ น ปจติ ย่อมหุง, ย่อมต้ม
อิกฺข + อ + ติ เป็ น อิกฺขติ ย่อมเห็น
ลภฺ + อ + ติ เป็ น ลภติ ย่อมได้
คมุ + อ + ติ เป็ น คจฺฉติ ย่อมไป
16
๒. หมวด รุธฺ ธาตุ ลง อ
(เอ) ปัจจัย
รุธฺ + อ + ติ เป็ น รุนฺธติ, รุนฺเธติ ย่อม
ปิ ด, ย่อมกั้น
มุจฺ + อ + ติ เป็ น มุญฺจติ ย่อมปล่อย
ภุชฺ + อ + ติ เป็ น ภุญฺชติ ย่อมกิน
ภิทฺ + อ + ติ เป็ น ภินฺทติ ย่อมตาย,
ย่อมทาลาย
ลิปฺ + อ + ติ เป็ น ลิมฺปติ ย่อมฉาบทา
17
๓.
หมวด ทิวฺ ธาตุ ลง ย ปัจจั
ย
ทิวฺ + ย + ติ เป็ น ทิพฺพติ ย่อมเล่น
สิวฺ + ย + ติ เป็ น สิพฺพติ ย่อมเย็บ
พุธฺ + ย + ติ เป็ น พุชฺฌติ ย่อมรู ้
ขี + ย + ติ เป็ น ขียติ ย่อมสิ้น
มุหฺ + ย + ติ เป็ น มุยฺหติ ย่อมหลง
มุสฺ + ย + ติ เป็ น มุสฺสติ ย่อมลืม
รชฺ + ย + ติ เป็ น รชฺชติ ย่อมย้อม
18
๔. หมวด สุ ธาตุ ลง ณุ, ณา,
ปัจจัยสุ + ณา + ติ เป็ น สุณาติ ย่อม
ฟัง
สุ + ณุ + ตุ เป็ น สุโณตุ จงฟัง
วุ + ณา + ติ เป็ น วุณาติ ย่อม
ร้อย
สิ + ณุ + ติ เป็ น สิโณติ ย่อมผูก
ป + อป + อุณา + ติ เป็ น ปา
ปุณาติ ย่อมถึง
19
๕.
หมวด กี ธาตุ ลง นา ปัจจัยกี + นา + ติ เป็ น กิณาติ ย่อมซื้อ
ชิ + นา + ติ เป็ น ชินาติ ย่อมชนะ
ธุ + นา + ติ เป็ น ธุนาติ ย่อมกาจัด
จิ + นา + ติ เป็ น จินาติ ย่อมสั่งสม
ลุ + นา + ติ เป็ น ลุนาติ ย่อมเกี่ยว,
ย่อมตัด
ญา + นา + ติ เป็ น ชานาติ ย่อมรู ้
ผุ + นา + ติ เป็ น ผุนาติ ย่อมฝัด, ย่อม
โปรย
20
๖. หมวด คหฺ ธาตุ ลง ณฺ
หา ปัจจัย
คหฺ + ณฺหา + ติ เป็ น คณฺหาติ
ย่อมถือเอา
คหฺ + ณฺหา + หิ เป็ น คณฺห จง
ถือเอา
21
๗. หมวด ตนฺ ธาตุ ลง โอ
ปัจจัย
ตนฺ + โอ + ติ เป็ น ตโนติ ย่อมแผ่
ไป
กรฺ + โอ + ติ เป็ น กโรติ ย่อมทา
สกฺกฺ + โอ + ติ เป็ น สกฺโกติ ย่อม
อาจ
ชาครฺ + โอ + ติ เป็ น ชาคโรติ ย่อม
ตื่น
22
๘. หมวด จุรฺ ธาตุ ลง เณ,
ณย ปัจจัย
จุรฺ + เณ + ติ เป็ น โจเรติ ย่อมลัก, ย่อมขโมย
จุรฺ + ณย + ติ เป็ น โจรยติ ย่อมลัก, ย่อมขโมย
ตกฺกฺ + เณ + ติ เป็ น ตกฺเกติ ย่อมตรึก
ตกฺกฺ + ณย + ติ เป็ น ตกฺกยติ ย่อมตรึก
ลกฺขฺ + เณ + ติ เป็ น ลกฺเขติ ย่อมกาหนด
ลกฺขฺ + ณย + ติ เป็ น ลกฺขยติ ย่อมกาหนด
มนฺตฺ + เณ + ติ เป็ น มนฺเตติ ย่อมปรึกษา
มนฺตฺ + ณย + ติ ป็ น มนฺตยติ ย่อมปรึกษา
จินฺตฺ + เณ + ติ เป็ น จินฺเตติ ย่อมคิด
จินฺตฺ + ณย + ติ เป็ น จินฺตยติ ย่อมคิด
23
กาลในอาขยาตนั้น แบ่งกาลใหญ่ๆ ไว้ ๓ กาล
คือ
๑)ปัจจุบันกาลคือกาลที่เกิดขึ้นเฉพาะหน้า
๒)อดีตกาลคือกาลล่วงแล้ว
๓)อนาคตกาลคือกาลที่ยังมาไม่ถึง
แบ่งกาลย่อยๆ แต่ละกาลออกเป็ นทั้งหมด ๘
กาล ดังนี้
๑)ปัจจุบันกาลแบ่งออกเป็ น ๓ กาล คือ
๑. ปัจจุบันแท้ ๒. ปัจจุบันใกล้อดีต ๓.
ปัจจุบันใกล้อนาคต
24
กาล (ต่อ)
๒)อดีตกาลแบ่งออกเป็ น ๓ กาล คือ
๑. อดีตกาลล่วงแล้วหากาหนดไม่ได้
๒. อดีตกาลล่วงแล้ววานนี้
๓. อดีตกาลล่วงแล้ววันนี้
๓.อนาคตกาลแบ่งออกเป็ น ๒ กาล
คือ
๑. อนาคตของปัจจุบัน ๒. อนาคตของ
อดีต
25
๑. หมวดวัตตมานา
สาหรับบอกปัจจุบันกาล ดังนี้
๑)ปัจจุบันแท้แปลว่า...อยู่
เช่น ภิกฺขุ ธมฺม เทเสติอ.ภิกษุ แสดงอยู่ ซึ่ง
ธรรม
๒)ปัจจุบันใกล้อดีตแปลว่าย่อม.....
เช่น กุโต นุ ตฺว อาคจฺฉสิ ?อ.ท่าน ย่อมมา
แต่ที่ไหน หนอ?
๓)ปัจจุบันใกล้อนาคตแปลว่าจะ.....
เช่น กึ กโรมิ ?อ.เรา จะกระทา ซึ่งอะไร?
26
๒. หมวดปัญจมี
ไม่บอกกาลอะไร บอกแต่ความเป็ นไป
ของกิริยาอาการดังนี้
๑)บอกความบังคับแปลว่าจง.... เช่น
เอว วเทหิ อ.เจ้า จงกล่าว อย่างนี้
๒)บอกความหวังแปลว่าจง....เถิด เช่น
สพฺเพ สตฺตา อเวรา โหนฺตุ อ.สัตว์ท. ทั้ง
ปวง เป็ นผู้ไม่มีเวร จงเป็ นเถิด
๓)บอกความอ้อนวอนแปลว่าขอจง
..... เช่น
ปพฺพาเชถ ม ภนฺเต ข้าแต่ท่านผู้เจริญ อ.
ท่าน ท. ขอจง ยังข้าพเจ้า ให้บวช
27
๓. หมวดสัตตมี
ไม่บอกกาลอะไร บอกแต่ความเป็ นไป
ของกิริยาอาการ ดังนี้
๑)บอกความยอมตามแปลว่าควร
.... เช่น
ภเชถ ปุริสุตฺตเมอ. ชน ควรคบ ซึ่งบุรุษ
สูงสุด ท.
๒)บอกความกาหนดแปลว่าพึง
.... เช่น
ปุญฺ ญฺเจ ปุริโส กยิรา ถ้าว่าอ.บุรุษ พึง
ทา ซึ่งบุญไซร้.
๓)บอกความราพึงแปลว่าพึง....
เช่น ยนฺนูนาห ปพฺพชฺเชยฺย ไฉนหน
28
๔. หมวดปโรกขา
สาหรับบอกอดีตกาลล่วงแล้ว หากาหนดมิได้
เตนาห ภควาด้วยเหตุนั้นอ.พระผู้มี
พระภาคเจ้าตรัสแล้ว.
เตนาหุ โปราณาด้วยเหตุนั้นอ.
อาจารย์มีในปางก่อน ท. กล่าวแล้ว
29
๕. หมวดหิยยัตตนี สาหรับบอก
อดีตกาลล่วงแล้ว ตั้งแต่วานนี้
แปลว่า แล้ว.... ถ้าลง อ อาคมมา
หน้าธาตุ แปลว่า ได้....แล้ว
ขโณ โว มา อุปจฺจคา ฯอ. ขณะ อย่าได้
เข้าไปล่วงแล้ว ซึ่งท่าน ท. ฯ
เอว อวจ ฯอ. เรา ได้กล่าวแล้ว อย่างนี้
30
๖. หมวดอัชชตานี สาหรับบอก
อดีตกาลล่วงแล้ว ตั้งแต่วันนี้ แปลว่า
แล้ว.... ถ้าลง อ อาคมมาหน้าธาตุ
แปลว่า ได้....แล้ว
เถโร คาม ปิณฺฑาย ปาวิสิ ฯ อ.พระเถระ
เข้าไปแล้ว สู่บ้านเพื่อบิณฑะฯเอวรูป
กมฺม อกาสึ ฯอ.เรา ได้ กระทา แล้ว ซึ่ง
กรรมมีอย่างนี้เป็ นรูปฯ
31
๗. หมวดภวิสสันติ สำหรับบอกอนำคตของ
ปัจจุบัน แปลว่ำ จัก....
ธมฺม สุณิสฺสำม ฯ อ.เรำ ท. จัก ฟัง ซึ่งธรรม ฯ
๘. หมวดกาลาติปัตติ สาหรับบอกอนาคตของ
อดีต แปลว่า จัก....แล้ว ถ้าลง อ อาคม มาหน้า
ธาตุ แปลว่า จักได้....แล้ว
โส เจ ยาน ลภิสฺสา อคจฺฉิสฺสา ฯ ถ้าว่า อ.เขา
จักได้แล้ว ซึ่ง ยานไซร้ อ.เขา จักได้ ไป แล้ว ฯ
32
บทวิภัตติอาขยาตนั้น แบ่งเป็ น ๒ บท คือ ปรัส
สบท คือ บทเพื่อผู้อื่น ๑ อัตตโนบท บทเพื่อ
ตนเอง ๑ ปรัสสบทสาหรับประกอบกับ
กิริยาที่เป็ นกัตตุวาจก และเหตุกัตตุ
วาจก อัตตโนบทสาหรับประกอบกับกิริยา
ที่เป็ นกัมมวาจก ภาววาจก และ
เหตุกัมมวาจก
บางคราว ปรัสสบทเป็ นกัมมวาจก ก็มี, อัตต
โนบทเป็ นกัตตุวาจก ก็มี พึงทราบว่า ใช้
แทนกันได้ จะกาหนดวาจก ได้แน่นอนต้อง
อาศัยปัจจัยเป็ นตัวกาหนดจึงทราบได้
33
วจนะ
วิภัตติอาขยาตนั้น แบ่งวจนะเป็ น
๒ ชนิด เหมือนนามศัพท์ที่เป็ น
ประธาน คือ
๑ เอกวจนะ ๒ พหุวจนะ
ถ้านามศัพท์ที่เป็ นประธานเป็ น
เอกวจนะ ต้องประกอบกิริยาศัพท์เป็ น
เอกวจนะตาม,
โสคจฺฉติอ.เขา ไปอยู่ เตคจฺฉนฺติอ.
เขา ท. ไปอยู่
34
บุรุษ
วิภัตติอาขยาตนั้นจัดเป็ นบุรุษ ๓ คือ ๑
ปฐมบุรุษ, ๒ มัชฌิมบุรุษ, ๓ อุตตมบุรุษ
เหมือน ปุริสสัพพนามที่เป็ นประธาน
ถ้าปุริสสัพพนามที่เป็ นประธานเป็ น
บุรุษใด กิริยาต้องประกอบวิภัตติให้
ถูกต้องตามปุริสสัพพนามนั้น
โส ยาติ อ. เขา ไปอยู่
ตฺว ยาสิ อ. ท่าน ไปอยู่
อห ยามิ อ.เรา ไปอยู่
35
บุรุษ
แม้ในการพูดและเขียนหนังสือจะไม่มี
ปุริสสัพพนามอยู่ด้วย ใช้แต่วิภัตติบอก
บุรุษก็ทราบปุริสสัพพนามที่เป็ น
ประธานได้ เช่น เอหิ อ.ท่าน จงมา
พุทฺธ สรณ คจฺฉามิ อ.เรา ย่อมถึง ซึ่ง
พระพุทธเจ้า
ว่าเป็ นสรณะ
ปุญฺญ กริสฺสาม อ.เรา ท. จักกระทา ซึ่ง
บุญ
36
อาคมอาขยาต
ในอาขยาตมี อาคม สาหรับลงมาประกอบ ๕ ตัว
คือ อ, อิ, ส, ห, อ มีหลักการลงประกอบ ดังนี้
๑.อ อาคม สาหรับลงหน้าธาตุ เมื่อประกอบด้วย
วิภัตติหมวด หิยยัตตนี, อัชชตนี, กาลาติปัตติ
เช่น อลตฺถ อโหสิ ฯลฯ ๒.อิ อาคม สาหรับลง
หน้าวิภัตติที่ขึ้นต้นด้วยพยัญชนะ (เช่น ตฺถ) เมื่อ
ประกอบด้วยวิภัตติหมวด ปโรกขา, อัชชตนี, ภวิ
สสันติ และ กาลาติปัตติ เช่น อกริมฺหา, ภวิสฺสติ,
อลภิสฺส ฯลฯ
37
อาคมอาขยาต (ต่อ)๓.ส อาคม สาหรับลงหลังธาตุ หรือ ลงหน้า
วิภัตติ เมื่อประกอบด้วย
วิภัตติหมวดอัชชตนี เช่น อโหสิ, อกาสิ
ฯลฯ
๔.ห อาคม สาหรับลงหลัง า ธาตุ เช่น ปติฏฺฐฺหึสุ
ฯลฯ
๕.อ (นิคคหิตอาคม) สาหรับลงหน้าพยัญชนะ
ที่สุดธาตุ แห่งหมวด รุธ ธาตุ แล้วแปลง นิคหิต
เป็ นพยัญชนะที่สุดวรรค เช่น ภุญฺชติ, มุญฺจติ
ฯลฯ (และธาตุที่มี อิ วัณณะเป็ นที่สุดก็ลงนิคคหิต
อาคมได้ด้วย เช่น กปิ , รุทิ, ฉิทิ ฯลฯ พึงค้นโดย
ละเอียดในแบบเรียนไวยากรณ์บาลี ที่ข้าพเจ้า
38
ธาตุแบ่งเป็ น ๒ ประเภท
๑. สกัมมธาตุ คือ ธาตุที่ต้องมีกรรมเข้ามา
รับ จึงได้ความหมาย เช่น ภุชฺ ธาตุในความ
กิน เมื่อไม่มีกรรมก็ไม่ทราบว่า กินอะไร แต่
เมื่อมีข้าว มาเป็ นบทกรรม จึงทราบได้ว่า
กินข้าว ได้ความหมายสมบูรณ์
๒. อกัมมธาตุ คือ ธาติที่ไม่ต้องมีบทกรรม
เข้ามารับ ก็ได้ความหมายสมบูรณ์ เช่น
มรฺ ธาตุในความตาย, สิ ธาตุในความนอน
เป็ นต้น
39
วาจก
กิริยาศัพท์ที่ประกอบด้วยวิภัตติ กาล บท
วจนะ บุรุษ ธาตุ สาเร็จเป็ นกิริยาจึงจัดเป็ น
วาจกๆ แปลว่า กล่าวคือ กล่าวถึงตัว
ประธานของกิริยา แบ่งเป็ น ๕ วาจก
๑. กัตตุวาจก
๒. กัมมวาจก
๓. ภาววาจก
๔. เหตุกัตตุวาจก
๕. เหตุกัมมวาจก
40
๑. กัตตุวาจก
กิริยาศัพท์สาหรับกล่าวถึงประธาน
โดยประธานเป็ นผู้ทา คือ แสดงกิริยา
นั้นเอง ยกผู้ทาเป็ นประธานประกอบ
ปฐมาวิภัตติ เช่น
สูโท โอทน ปจติ
อ.พ่อครัว หุงอยู่ ซึ่งข้าวสุก.
ปจติ กล่าวถึงประธาน คือ สูโท และสูโท
แสดงกิริยาอาการเอง
41
๒. กัมมวาจก
กิริยาศัพท์สาหรับกล่าวถึงประธาน
โดยประธานเป็ นผู้หรือสิ่งที่ถูกทา ยก
สิ่ง หรือผู้ถูกทาเป็ นประธานประกอบ
ปฐมาวิภัตติ เช่น
สูเทน โอทโน ปจิยเต.
อ.ข้าวสุก อันพ่อครัวหุงอยู่ฯ
ปจิยเต กล่าวถึง โอทโน เป็ นสิ่งที่ถูกทา
และยก โอทโน เป็ น ประธาน
42
๓. ภาววาจก
กิริยาศัพท์ที่กล่าวเพียง
ความเป็ นไปของกิริยา
อาการเท่านั้น ไม่
กล่าวถึงกัตตาหรือกรรม
เช่น
เตน ภูยเต อันเขา เป็ นอยู่
43
๔. เหตุกัตตุวาจก
กิริยาศัพท์ที่กล่าวถึงประธาน โดย
ประธานทาหน้าที่เป็ นเหตุให้ผู้อื่น
แสดงกิริยาอาการ ยกผู้ใช้เป็ นประธาน
ประกอบด้วยปฐมาวิภัตติ เช่น
สามิโก สูท โอทน ปาจาเปติ.
อ.นาย ยังพ่อครัว ให้หุงอยู่ ซึ่งข้าวสุก
ปาจาเปติ เป็ นกิริยาศัพท์ที่กล่าวถึง
ผู้ใช้ คือ สามิโก
ยก สามิโก เป็ นประธาน
44
๕. เหตุกัมมวาจก
กิริยาศัพท์ที่กล่าวถึงสิ่งหรือผู้ถูกทา
โดยผู้ทานั้น ถูกใช้ให้ทาอีกที เช่น
สามิเกน สูเทน โอทโน ปาจาปิ ยเต
อ.ข้าวสุก อันนาย ยังพ่อครัวให้หุงอยู่.
ปาจาปิ ยเต กล่าวถึง โอทโน ที่เป็ นสิ่ง
ถูกทา
และยกโอทโน เป็ นประธาน ประกอบ
ด้วยปฐมาวิภัตติ
45
ปัจจัย
จะกาหนดวาจกได้แม่นยาต้องอาศัยปัจจัย
ปัจจัย คือ กลุ่มคาสาหรับประกอบเข้าท้าย
ธาตุและประกอบกับวิภัตติ ปัจจัยแบ่งเป็ น ๕
หมวดตามวาจก
๑. ปัจจัยกัตตุวาจก
๒. ปัจจัยกัมมวาจก
๓. ปัจจัยภาววาจก
๔. ปัจจัยเหตุกัตตุวาจก
๕. ปัจจัยเหตุกัมมวาจก
46
ปัจจัยในกัตตุวาจก
มี ๑๒ ตัว คือ อ, เอ, ย , ณุ, ณา, นา, อุณา, ณฺ
หา, โอ, ยิร, เณ, ณย. (ในบาลีไวยากรณ์ของ
สมเด็จมหาสมณเจ้า มี ๑๐ ตัว และพึงทราบว่า
เอ ปัจจัยนั้น แปลงมาจาก อ ปัจจัย) ปัจจัยทั้ง ๑๒
ตัวนี้ แบ่งลงในธาตุ ๘ หมวด
อ, เอ ปัจจัย ลงประจาธาตุ ๒ หมวด
คือ
อ,เอ ปัจจัย ลงในหมวด ภู ธาตุ เช่น ลภฺ + อ +
ติ=ลภติ ย่อมได้
มร + อ + ติ=มรติ ย่อมตาย
47
ปัจจัยในกัตตุวาจก (ต่อ)
อ,เอ ปัจจัย ลงในหมวด รุธ ธาตุ และลง
นิคคหิตอาคมข้างหน้าพยัญชนะที่สุดธาตุ
แล้วแปลงนิคคหิตเป็ นพยัญชนะที่สุดวรรค
ของพยัญชนะที่สุดธาตุ เช่น ภุชฺ + อ +
ติ=ภุญฺชติย่อมกิน
รุธฺ + อ + ติ=รุนฺธติย่อมปิ ด
ย ปัจจัย ลงในหมวด ทิว ธาตุ เช่น
ทิวฺ + ย + ติ=ทิพฺพติย่อมเล่น
มุหฺ + ย + ติ=มุยฺหติย่อมหลง
48
ปัจจัยในกัตตุวาจก (ต่อ)
ณุ,ณา,อุณา ปัจจัย ลงในหมวด สุ ธาตุ
เช่น
สุ + ณุ + ติ=สุโณติ ย่อมฟัง
สุ + ณา + ติ=สุณาติ ย่อมฟัง
ป + อป + อุณา + ติ=ปาปุณาติ ย่อม
บรรลุ
นา ปัจจัย ลงในหมวด กี ธาตุ เช่น
ชิ + นา + ติ=ชินาติ ย่อมชนะ
า + นา + ติ=ชานาติ ย่อมรู ้
49
ปัจจัยในกัตตุวาจก (ต่อ)
ณฺหา ปัจจัย ลงในหมวด คหฺ ธาตุ เช่น
คหฺ + ณฺหา + ติ=คณฺหาติ ย่อม
ถือเอา
คหฺ + ณฺหา + ตุ=คณฺหาตุ จง
ถือเอา
โอ, ยิร ปัจจัย ลงในหมวด ตนฺ ธาตุ
เช่น
กร + โอ + ติ=กโรติ ย่อมทา
กร + ยิร + เอยฺย=กยิรา พึงกระทา
50
ปัจจัยในกัตตุวาจก (ต่อ)
เณ, ณย ปัจจัย ลงในหมวด
จุร ธาตุ เช่น
 จุร + เณ + ติ=โจเรติ
ย่อมขโมย
จินฺต + ณย + ติ=จินฺตยติ
ย่อมคิด
51
ปัจจัยพิเศษ ๒ กลุ่ม๑ ปัจจัยพิเศษ ๓ ตัว สาหรับประกอบกับ
ธาตุ
คือ ข, ฉ, ส
เป็ นไปในความปรารถนา เช่น
ภุช + ข + ติ=พุภุกฺขติ ย่อมปรารถนา
จะกิน
ฆส + ฉ + ติ=ชิฆจฺฉติ ย่อมปรารถนา
จะกิน
หร + ส + ติ=ชึคึสติ ย่อมปรารถนาจะ
52
ปัจจัยพิเศษ ๒ กลุ่ม (ต่อ)๒ปัจจัยพิเศษอีก ๒ ตัว คือ อาย, อิย สาหรับ
ลงหลังนามศัพท์(ตามปกติปัจจัยอาขยาต
ต้องลงหลังธาตุ แต่ อาย, อิย เป็นปัจจัย
พิเศษให้ลงหลังนามศัพท์ได้) เป็นไปในความ
ประพฤติ เช่น
จิรฺ + อาย + ติ=จิรายติ ย่อมประพฤติช ้า
อยู่
ปุตฺตฺ + อิย + ติ=ปุตฺติยติ ย่อมประพฤติให้
เป็น
เพียงดังบุตร
53
อส ธำตุ
เหตุกัมมวาจก ไม่ค่อยมี
ใช้ในปกรณ์ทั้งหลาย
(ส่วนมาก ใช้เป็นกิริยา
กิตก์แทน) จะแจกเฉพาะ
วัตตมานาฝ่ายอัตตโนบท
ปฐมบุรุษ เท่านั้น
เอก. พหุ.
ปาจาปิยเต ปาจาปิยนฺเต
รุนฺธาปิยเต รุนฺธาปิยนฺเต
สิพฺพาปิยเต สิพฺพาปิยนฺเต
สาวิยเต สาวิยนฺเต
กิณาปิยเต กิณาปิยนฺเต
54
อส ธาตุ (ต่อ)
ติ เป็น ตฺถิ ลบที่สุดธาตุ สาเร็จรูปเป็น อตฺถิ
อนฺติ คงรูป ลบต้นธาตุ สาเร็จรูปเป็น สนฺติ
สิ คงรูป ลบที่สุดธาตุ สาเร็จรูปเป็น อสิ
ถ เป็น ตฺถ ลบที่สุดธาตุ สาเร็จรูปเป็น อตฺถ
มิ เป็น มฺหิ ลบที่สุดธาตุ สาเร็จรูปเป็น อมฺหิ
ม เป็น มฺห ลบที่สุดธาตุ สาเร็จรูปเป็น อมฺห
ตุ เป็น ตฺถุ ลบที่สุดธาตุ สาเร็จรูปเป็น อตฺถุ
55
เอยฺย เป็น อิยา ลบต้นธาตุ สาเร็จรูปเป็น สิยา
เอยฺย กับทั้งธาตุ สาเร็จรูปเป็น อสฺส
เอยฺยุ กับทั้งธาตุ สาเร็จรูปเป็น อสฺสุ ํ
เอยฺยุ เป็น อิยุ ลบต้นธาตุ สาเร็จรูปเป็น สิยุ ํ
เอยฺยาสิ กับทั้งธาตุ สาเร็จรูปเป็น อสฺส
เอยฺยาถ กับทั้งธาตุ สาเร็จรูปเป็น อสฺสถ
เอยฺยามิ กับทั้งธาตุ สาเร็จรูปเป็น อสฺส
เอยฺยาม กับทั้งธาตุ สาเร็จรูปเป็น อสฺสาม
อส ธาตุ (ต่อ)
56
อส ธาตุ (ต่อ)
อิ คงรูป ทีฆะต้นธาตุ สาเร็จรูปเป็น อาสิ
อุ คงรูป ทีฆะต้นธาตุ สาเร็จรูปเป็น อาสุ
ตฺถ คงรูป ทีฆะต้นธาตุ สาเร็จรูปเป็น อาสิตฺถ
อึ คงรูป ทีฆะต้นธาตุ สาเร็จรูปเป็น อาสึ
มฺหา คงรูป ทีฆะต้นธาตุ สาเร็จรูปเป็น อิสิมฺหา
57
กิตก์
คือ ปัจจัยกลุ่มหนึ่งสาหรับประกอบกับธาตุให้สาเร็จรูปเป็นนาม
ศัพท์ก็มี เป็นกิริยาศัพท์ก็มี เช่น ทา ธาตุ ประกอบกับ ณฺวุ ปัจจัย
สาเร็จเป็น ทายก แปลว่า ผู้ให้ใช้เป็นนามศัพท์, ทา ธาตุประกอบกับ
ต ปัจจัย สาเร็จเป็น ทินฺน แปลว่าให้แล้วใช้เป็นกิริยาศัพท์
กิตก์จึงเป็น ๒ ชนิด คือ
๑. ประกอบธาตุแล้วสาเร็จ เป็นนามศัพท์ เรียกว่า "นามกิตก์"
๒. ประกอบธาตุแล้วสาเร็จ เป็นกิริยาศัพท์ เรียกว่า "กิริยากิตก์"
58
นำมกิตก์
คือ ปัจจัยกลุ่มหนึ่งที่เป็นนาม ๑๐ ตัว คือ
กฺวิ, ณี, ณฺวุ, ตุ, รู, ข, ณฺย, อ, อิ, ณ, ตเว, ติ, ตุ ํ, ยุ ประกอบ
กับธาตุแล้วสาเร็จเป็นนามศัพท์ ดังนั้น กิตก์ที่เป็นนามก็ดี
เป็นคุณนามก็ดี เรียกว่านามกิตก์ๆ เมื่อสาเร็จแล้ว จัดเป็น
สาธนะต่างๆ
59
สาธนะศัพท์ที่ยังกิริยาในรูปวิเคราะห์ให้สาเร็จ
เช่น เทตีติ ทายโก ๆ ได้ชื่อว่าเป็ นสาธนะ
เพราะยังกิริยาคือ เทติ ให้สาเร็จเป็ น ทาย
โก
สาธนะ นั้นแบ่งเป็ น ๗ ชนิด คือ
๑. กัตตุสาธนะ ๒. กัมมสาธ
นะ
๓. ภาวสาธนะ ๔. กรณสาธ
นะ
๕. สัมปทานสาธนะ ๖. อปาทาน
สาธนะ
60
กัตตุสาธนะ
ศัพท์ใดเป็ นชื่อของผู้ทา คือ ผู้แสดงกิริยานั้น เช่น
- กุมฺภกาโร ผู้ทาซึ่งหม้อ
- ทายโก ผู้ให้
- โอวาทโก ผู้กล่าวสอน
- สาวโก ผู้ฟัง
ศัพท์นั้น ชื่อ กัตตุสาธนะ มี ๓ ชนิด
๑. กัตตุรูป กัตตุสาธนะ แปลว่า ผู้, อัน, ตัว....
๒. กัตตุรูป กัตตุสาธนะ ตัสสีละ แปลว่า ผู้....โดยปกติ
๓. สมาสรูป กัตตุสาธนะ ตัสสีละ แปลว่า ผู้มีอัน, การ
, ความ.....เป็ นปกติ
61
กัมมสาธนะ
สิ่งใดถูกทา ศัพท์ที่เป็ นชื่อของสิ่งนั้น เช่น
ปิ โย เป็ นที่รัก
รโส วิสัย เป็ นที่ยินดี
ศัพท์ที่เป็ นชื่ออันเขาทา เช่น
กิจฺจ กรรมอันเขาพึงทา
ทาน สิ่งของอันเขาพึงให้ชื่อว่า กัมมสาธนะ
มี ๒ ชนิด คือ
๑. กัตตุรูป กัมสาธนะ แปลว่า เป็ นที่....
๒. กัมมรูป กัมมสาธนะ แปลว่า อันบุคคล....
62
ภาวสาธนะ
ศัพท์ที่ใช้เป็ นชื่อของกิริยาอาการ เช่น
คมน การไป
าน การยืน
นิสชฺชา การนั่ง
สยน การนอน เป็ นต้น ชื่อว่า ภา
วสาธนะ
มีอยู่ชนิดเดียว คือ ภาวรูป
ภาวสาธนะ แปลว่า ความ..., อัน
..., การ...
63
กรณสาธนะศัพท์ที่ใช้เป็ นเครื่องมือทา เป็ นต้นว่า
พนฺธน วัตถุเป็ นเครื่องผูก (เป็ นชื่อของ
เครื่องผูก)
ปหรณ วัตถุเป็ นเครื่องประหาร (เป็ นชื่อ
ของเครื่องประหาร)
วิชฺฌน วัตถุเป็ นเครื่องเจาะ (เป็ นชื่อ
ของเครื่องเจาะ) เป็ นต้น
ชื่อว่า กรณสาธนะ มี ๒ ชนิด คือ
๑. กัตตุรูป กรณสาธนะ แปลว่า เป็ น
เครื่อง...., เป็ นเหตุ....
๒. กัมมรูป กรณสาธนะ แปลว่า เป็ น
64
สัมปทานสาธนะศัพท์ที่ใช้เป็ นชื่อของคน หรือ สิ่งที่ถูกรับ
มอบ เช่น
สมฺปทาน วัตถุเป็ นที่มอบให้ (เป็ นชื่อ
ของวัตถุที่รับมอบ)
สมฺปทาโน พราหมณ์เป็ นที่รับมอบ (เป็ น
ชื่อของพราหมณ์ผู้รับมอบ)
ชื่อว่า สัมปทานสาธนะ มี ๒ ชนิด คือ
๑. กัตตุรูป สัมปทานสาธนะ แปลว่า เป็ น
ที่....
๒. กัมมรูป สัมปทานสาธนะ แปลว่า เป็ น
ที่อันบุคคล....
65
อปาทานสาธนะ
ศัพท์ที่ใช้เป็ นชื่อของคนหรือสถานที่คน
อื่น หรือ สิ่งอื่นออกจาก เช่น
- ปภสฺสโร แดนสร้านออกแห่งรัศมี (เป็ น
ชื่อของเทวดาจาพวกหนึ่งที่เป็ นแดนให้
รัศมีพุ่งออกไป)
- ปภโว แดนเกิดก่อน (เป็ นชื่อของสถานที่
เป็ นแดนเกิดแห่งแม่น้า เป็ นต้น)
- ภีโม แดนกลัว (เป็ นชื่อของยักษ์). ชื่อ
ว่าอปาทานสาธนะๆ มีชนิดเดียว คือ กัตตุ
รูป อปาทานสาธนะ แปลว่า เป็ นแดน....
66
อธิกรณสาธนะศัพท์ที่ใช้เป็ นชื่อของสถานที่ ที่สิ่งอื่นไป
แสดงกิริยาอาการ เช่น
- าน ที่ตั้ง, ที่ยืน (เป็ นชื่อของสถานที่
ที่สิ่งอื่นตั้งอยู่)
- อาสน ที่นั่ง (เป็ นชื่อของสถานที่ ที่คน
อื่นนั่งอยู่)
- สยน ที่นอน (เป็ นชื่อของสถานที่ ที่
คนอื่นนอน)
ชื่อว่า อธิกรณสาธนะ มี ๒ ชนิด คือ
๑. กัตตุรูป อธิกรณสาธนะ แปลว่า เป็ น
ที่....
๒. กัมมรูป อธิกรณสาธนะ แปลว่า เป็ น
67
รูปวิเคราะห์รูปวิเคราะห์หมายถึง การกระจายศัพท์ออกให้
เห็นธาตุ, วิภัตติ, ปัจจัย เป็ นต้น แบ่งเป็ น ๓
ชนิด ๑. กัตตุรูป คือ รูปวิเคราะห์ที่เป็ น กัตตุ
วาจก, และ เหตุกัตตุวาจก
๒. กัมมรูป คือ รูปวิเคราะห์ที่เป็ น กัมมวาจก,
และ เหตุกัมมวาจก
๓. ภาวรูป คือ รูปวิเคราะห์ที่เป็ น ภาววาจก หรือ
รูปของกิริยาอาการ
การจะกาหนดศัพท์เป็ นสาธนะต่างๆ ได้
แม่นยา ต้องสังเกตที่ปัจจัยสาหรับประกอบกับ
ธาตุ
68
ปัจจัยแห่งนามกิตก์ปัจจัยแห่งนามกิตก์สาหรับประกอบกับธาตุ
เพื่อให้สาเร็จเป็ นสาธนะแบ่งเป็ น ๓ หมวด คือ
๑. หมวดกิตปัจจัย สาหรับประกอบกับศัพท์ที่
เป็ นกัตตุรูป
๒. หมวดกิจจปัจจัย สาหรับประกอบกับศัพท์ที่
เป็ นกัมมรูป และ ภาวรูป
๓. หมวดกิตกิจจปัจจัย สาหรับประกอบกับศัพท์
ที่เป็ นได้ทั้ง ๓ รูปปัจจัย
๓ หมวด นั้น ดังนี้
๑) กิตปัจจัย มี ๕ ตัว คือ กฺวิ, ณี, ณฺวุ, ตุ, รู
๒) กิจจปัจจัย มี ๒ ตัว คือ ข, ณฺย
๓) กิตกิจจปัจจัย มี ๗ ตัว คือ อ, อิ, ณ, ตเว
69
วิเคราะห์ปัจจัยนามกิตก์
หมวด กิตปัจจัย เป็ นกัตตุรูป กัตตุสาธนะ
มีปัจจัย ๕ ตัว คือ
- กฺวิ ปัจจัย
- ณี ปัจจัย
- ณฺวุ ปัจจัย
- ตุ ปัจจัย
- รู ปัจจัย
มีวิเคราะห์ตามลาดับ ดังนี้
70
วิเคราะห์ปัจจัยนามกิตก์ กฺ
วิ ปัจจัย
สย ภวตีติ= สยมฺภู (ภควา) (อ.พระผู้มีพระภาค
เจ้า พระองค์ใด) ย่อมเป็ นเอง เพราะเหตุนั้น (อ.
พระผู้มีพระภาคเจ้าพระองค์นั้น) ชื่อว่า สยมฺภูๆ
แปลว่า ผู้เป็ นเอง. สย บทหน้า ภูธาตุ ในความมี,
ความเป็ น แปลงนิคคหิตเป็ น มฺ ลบ กฺวิ ปัจจัย
เรน คจฺฉตีติ= อุรโค (สตฺโต) (อ.สัตว์ใด) ย่อมไป
ด้วยอก เพราะเหตุนั้น (อ.สัตว์นั้น) ชื่อว่า อุรโคๆ
แปลว่า ผู้ไปด้วยอก. อุรบทหน้า คม ธาตุ ใน
ความไป, ลบพยัญชนะที่สุดธาตุและ กฺวิ ปัจจัย
71
วิเคราะห์ปัจจัยนามกิตก์ กฺ
วิ ปัจจัย (ต่อ)ส สุฎฺฐุ ขนตีติ= สงฺโข (สตฺโต) (อ.
สัตว์ใด)
ย่อมขุด ดี คือว่า ด้วยดี เพราะเหตุ
นั้น (อ.สัตว์นั้น)
ชื่อว่า สงฺโขๆ แปลว่า ผู้ขุดดี. ส บท
หน้า ขน ธาตุในความขุด, แปลง
นิคคหิต เป็ น งฺ ลบ พยัญชนะที่สุด
ธาตุ และ กฺวิ ปัจจัย
72
วิเคราะห์ปัจจัยนามกิตก์ณี
ปัจจัย
ธมฺม วทติ สีเลนาติ = ธมฺมวาที
(ภิกฺขุ) (อ. ภิกษุใด) ย่อมกล่าวซึ่ง
ธรรม โดยปกติ เพราะเหตุนั้น (อ.
ภิกษุนั้น) ชื่อว่า ธมฺมวาทีๆ แปลว่า
ผู้กล่าว ซึ่งธรรมโดยปกติ. กัตตุรูป
กัตตุสาธนะ ลงในอรรถตัสสีละ
73
วิเคราะห์ปัจจัยนามกิตก์ณี
ปัจจัย (ต่อ)ธมฺม วตฺตุ สีลมสฺสาติ = ธมฺมวาที (ภิกขุ)
อ. การกล่าว ซึ่งธรรม เป็ นปกติ ของภิกษุ
นั้น เพราะเหตุนั้น (อ.ภิกษุนั้น) ชื่อว่า ธมฺม
วาทีๆ แปลว่า ผู้มีการ กล่าวซึ่งธรรม เป็ น
ปกติ เป็ นสมาสรูป กัตตุ สาธนะ ลงใน
อรรถตัสสีละ ธมฺม บทหน้า วท ธาตุ ใน
ความกล่าว ถ้าต้องการเป็ น อิตถีลิงค์ลง
อินีปัจจัย เป็ น ธมฺมวาทินี, ถ้าเป็ น
นปุงสกลิงค์รัสสะ อี เป็ น อิ เป็ น ธมฺมวาทิ
74
วิเคราะห์ปัจจัยนามกิตก์ณี
ปัจจัย (ต่อ)ปาป กโรติ สีเลนาติ = ปาปการี (ชโน)อ.
ชนใด ย่อมทา
ซึ่งบาปโดยปกติ เพราะเหตุนั้น อ.ชนนั้น
ชื่อว่า ปาปการีๆ แปลว่า ผู้ทาซึ่ง บาปโดย
ปกติ, ปาป บทหน้า กร ธาตุในความทา
ธมฺม จรติ สีเลนาติ = ธมฺมจารี (ชโน)อ.ชน
ใด ย่อมประพฤติ ซึ่งธรรมโดยปกติ เพราะ
เหตุนั้น อ.ชนนั้น ชื่อว่า ธมฺมจารีๆ แปลว่า
ผู้ประพฤติซึ่งธรรมโดยปกติ. ธมฺม บทหน้า
จร ธาตุ ในความประพฤติ
75
วิเคราะห์ปัจจัยนามกิตก์
ณฺวุ ปัจจัย
เทตีติ = ทายโก (ชโน)อ.ชนใด ย่อมให้
เพราะเหตุนั้น อ.ชนนั้น ชื่อว่า ทายโกๆ
แปลว่า ผู้ให้. ทา ธาตุในความให้, แปลง
ณฺวุ เป็ น อก, แปลง อา เป็ น อาย, ถ้า
เป็ นอิตถีลิงค์แปลง อ. เป็ น อิ ลง อา
ปัจจัย เป็ น ทายิกา เป็ นกัตตุรูป กัตตุ
สาธนะ
76
วิเคราะห์ปัจจัยนามกิตก์ ณฺวุ
ปัจจัย (ต่อ)เนตีติ = นายโก (ชโน)อ.ชนใด ย่อม
นาไป เพราะเหตุนั้น อ.ชนนั้น ชื่อว่า
นายโกๆ แปลว่า ผู้นาไป. นี ธาตุ ใน
ความนาไป พฤทธิ์อี เป็ น เอ แปลง เอ
เป็ น อาย แปลง ณฺวุ เป็ น อก
อนุสาสตีติ = อนุสาสโก (ชโน)อ.ชนใด
ย่อมตามสอน เพราะเหตุนั้น อ.ชนนั้น
ชื่ออนุสาสโกๆ แปลว่า ผู้ตามสอน. อนุ
บทหน้า สาส ธาตุ ในความสอน
77
วิเคราะห์ปัจจัยนามกิตก์ ณฺวุ
ปัจจัย (ต่อ)สุณาตีติ = สาวโก (ชโน)อ.ชนใด ย่อมฟัง
เพราะเหตุนั้น อ.ชนนั้น ชื่อว่า สาวโกๆ
แปลว่า ผู้ฟัง. สุ ธาตุในความฟัง, พฤทธิ์อุ
เป็ น โอ, แปลง โอ เป็ น อาว.
หตฺถึ มาเรตีติ = หตฺถิมารโก (ชโน)อ. ชนใด
ยังช้าง ย่อมให้ตาย เพราะเหตุนั้น อ.ชนนั้น
ชื่อว่า หตฺถิมารโกๆ แปลว่า ผู้ยังช้าง ให้
ตาย. หตฺถิ บทหน้า มร ธาตุ ในความตาย,
พฤทธิ์อ เป็ นอา, แปลง ณฺวุ เป็ น อก. ลง
เณ เหตุกัตตุวาจกด้วย
78
วิเคราะห์ปัจจัยนามกิตก์ ตุ
ปัจจัยกโรตีติ = กตฺตา (ชโน)อ.ชนใด ย่อม
ทา เพราะเหตุนั้น อ.ชนนั้น ชื่อว่า กตฺ
ตาๆ แปลว่า ผู้ทา. กัตตุรูป กัตตุสาธ
นะ กโรติ สีเลนาติ กตฺตา (ชโน) อ.ชน
ใด ย่อมทา โดยปกติ เพราะเหตุนั้น อ.
ชนนั้น ชื่อว่า กตฺตาๆ แปลว่า ผู้ทา
โดยปกติ. กัตตุรูป กัตตุสาธนะ ลงใน
อรรถตัสสีละ, กร ธาตุ ในความทา ลบ
พยัญชนะที่สุดธาตุ ซ้อน ตฺ แจกผสม
วิภัตติเหมือน สตฺถุ
79
วิเคราะห์ปัจจัยนามกิตก์ ตุ
ปัจจัย (ต่อ)วทตีติ = วตฺตา (ชโน)อ.ชนใด ย่อมกล่าว
เพราะเหตุนั้น อ.ชนนั้น ชื่อว่า วตฺตาๆ
แปลว่า ผู้กล่าว. วท ธาตุในความกล่าว
ชานาตีติ = าตา (ชโน)อ.ชนใด ย่อมรู ้
เพราะเหตุนั้น อ.ชนนั้น ชื่อว่า าตา ๆ
แปลว่า ผู้รู ้. า ธาตุในความรู ้
ธาเรตีติ = ธาตา (ชโน)อ.ชนใด ย่อมทรงไว้
เพราะเหตุนั้น
อ.ชนนั้น ชื่อว่า ธาตาๆ แปลว่า ผู้ทรงไว้ ธร
หรือ ธา ธาตุ
ในความทรงไว้
80
วิเคราะห์ปัจจัยนามกิตก์ ตุ
ปัจจัย (ต่อ)
ปโพเธติ สีเลนาติ = ปโพเธตา
(ชโน)อ.ชนใด (ยังชน) ย่อมให้รู ้
โดยปกติ เพราะเหตุนั้น อ.ชน
นั้น ชื่อว่า ปโพเธตาๆ แปลว่า ผู้
ยังชนให้รู ้ โดยปกติ, ป บทหน้า
พุธ ธาตุ ในความรู ้
81
วิเคราะห์ปัจจัยนามกิตก์ รู
ปัจจัย
ปาร คจฺฉติ สีเลนาติ = ปารคู (ชโน)อ.
ชนใด ย่อมถึงซึ่งฝั่ง โดยปกติ เพราะ
เหตุนั้น อ.ชนนั้น ชื่อว่า ปารคูๆ
แปลว่า ผู้ถึงซึ่งฝั่งโดยปกติ. ปาร บท
หน้า คม ธาตุในความถึง ลบ รฺ อนุพันธ ์
พร้อมกับพยัญชนะที่สุดธาตุ, เป็ นกัตตุ
รูป
กัตตุสาธนะ ลงในอรรถตัสสีละ
82
วิเคราะห์ปัจจัยนามกิตก์ รู
ปัจจัย (ต่อ)วิชานาติ สีเลนาติ = วิญฺญู (ชโน)อ.ชนใด
ย่อมรู ้วิเศษ โดยปกติ เพราะเหตุนั้น อ.ชน
นั้น ชื่อว่า วิญฺญูๆ แปลว่า ผู้รู ้วิเศษ โดย
ปกติ, วิบทหน้า า ธาตุในความรู ้, เป็ นกัตตุ
รูป กัตตุสาธนะ
ลงในอรรถตัสสีละ
ภิกฺขติ สีเลนาติ = ภิกฺขุ (ชโน)อ.ชนใด
ย่อมขอ โดยปกติ เพราะเหตุนั้น อ.ชนนั้น
ชื่อว่า ภิกฺขุๆ แปลว่า ผู้ขอโดยปกติ. ภิกฺข
ธาตุ ในความขอ, รัสสะ อู เป็ น อุ, ไม่ลบ
พยัญชนะที่สุดธาตุ
83
วิเคราะห์ปัจจัยนามกิตก์ รู
ปัจจัย (ต่อ)
สสาเร ภย อิกฺขติ สีลมสฺสาติ ภิกฺขุ
(ชโน)อ.การเห็นซึ่งภัย ในสงสารเป็ น
ปกติของชนนั้น. เพราะเหตุนั้น อ.ชน
นั้น ชื่อว่า ภิกฺขุๆ แปลว่า ผู้มีการเห็น
ซึ่งภัย ในสงสารเป็ นปกติ, ภย บทหน้า
แปลง ภย เป็ น ภ, อิกฺข ธาตุ ใน
ความเห็น, รัสสะ อู เป็ น อุ, ไม่ลบ
พยัญชนะที่สุดธาตุ
84
กิริยากิตก์
ศัพท์จาพวกหนึ่ง ที่มีธาตุประกอบด้วย
ปัจจัยกิตก์จาพวกกิริยาสาเร็จรูปด้วย
วิภัตติแล้วใช้เป็ นกิริยาเรียกว่า กิริยา
กิตก์, กิริยากิตก์นี้ ประกอบด้วย
องค์ประกอบ
๖ ประการ คือ
- วิภัตติ - วจนะ
- กาล - ธาตุ
- วาจก - ปัจจัย
85
วิภัตติและวจนะกิริยากิตก์นี้ใช้วิภัตตินาม ๑๖ ตัว ใช้
เป็ นกิริยาของนามศัพท์ถ้านามศัพท์
ประกอบด้วยวิภัตติและวจนะใด กิริยา
กิตก์ประกอบวิภัตติและวจนะนั้นตาม
เช่น
ภิกฺขุ คาม ปิ ณฺฑาย ปวิฎฺโ ฯ อ.ภิกษุ
เข้าไปแล้ว สู่บ้าน เพื่อก้อนข้าว ฯ
เยเกจิ พุทฺธ สรณ คตา ฯ อ.ชน ท.
เหล่าใด เหล่าหนึ่ง
ถึงแล้ว ซึ่งพระพุทธเจ้าว่าเป็ นที่ระลึกฯ
86
กำล
ในกิริยากิตก์แบ่งกาลเป็น ๒ ชนิด คือ ๑. ปัจจุบันกาล ๒. อดีตกาล
ปัจจุบันกาล แบ่งออกเป็น ๒ กาล คือ
๑. ปัจจุบันแท้ ๒. ปัจจุบันใกล้อนาคต
อดีตกาล แบ่งออกเป็น ๒ กาล คือ
๑. อดีตกาลล่วงแล้ว ๒. อดีตกาลล่วงแล้วเสร็จ
กาลที่แบ่งโดยย่อเป็น ๒ อย่าง และแบ่งโดยละเอียดเป็น ๔
อย่างนี้ต้องอาศัยปัจจัยเป็นตัวกาหนดจึงทราบกาลได้
87
คาแปลประจากาล๑) ปัจจุบันแท้ แปลว่า "...อยู่" เช่น อห
ธมฺม สุณนฺโต ปี ตึ ลภามิฯ อ.เรา ฟังอยู่
ซึ่งธรรม ย่อมได้ซึ่งปี ติ
๒) ปัจจุบันใกล้อนาคต แปลว่า "เมื่อ..."
เช่น อนุสนฺธึ ฆเฎตฺวา ธมฺม เทเสนฺโต
อิม คาถมาห ฯ อ.พระศาสดา เมื่อทรง
สืบต่อ ซี่งอนุสนธิ แสดง ซึ่งธรรมตรัส
แล้ว ซึ่งพระคาถานี้
๓) อดีตกาลล่วงแล้ว แปลว่า "...แล้ว"
เช่น ตโย มาสา อติกฺกนฺตา ฯ อ. เดือน
ท. สาม ก้าวล่วงแล้ว ฯ
88
คาแปลประจากาล (ต่อ)
๔) อดีตกาลล่วงแล้วเสร็จ แปลว่า "ครั้น ...
แล้ว" เช่น เยน ภควา, เตนุปสงฺกมิ, อุปสงฺก
มิตฺวา ภควนฺต อภิวาเทตฺวา เอ
กมนฺต นิสีทิ ฯ (อ.ภิกษุรูปหนึ่ง) อ.พระผู้
มีพระภาคเจ้า (ประทับอยู่แล้ว) โดยส่วน
แห่งทิศใด, เข้าไปเฝ้ าแล้วโดย ส่วนแห่งทิศ
นั้น, ครั้นเข้าไปเฝ้ าแล้ว ถวายบังคมแล้วซึ่ง
พระผู้มีพระภาคเจ้า นั่งแล้ว ณ ที่ควรส่วน
ข้างหนึ่ง
89
วาจก๑)กัตตุวาจก ภิกฺขุ คาม ปิ ณฺฑาย ปวิฏฺโ ฯ อ.ภิกษุ
เข้าไปแล้วสู่บ้าน
เพื่อก้อนข้าวฯ
๒) กัมมวาจก อธิคโต โข มยาย ธมฺโม ฯ อ.ธรรม นี้
อันเราถึงทับแล้ว แลฯ.
๓) ภาววาจก การเณเนตฺถ ภวิตพฺพ ฯ อันเหตุ ใน
เรื่องนี้พึงมี ฯ.
๔) เหตุกัตตุวาจก สเทวก ตารยนฺโต ฯ ยังโลก อัน
เป็ นไปกับ ด้วยเทวโลก
ให้ข้ามอยู่ ฯ.
๕) เหตุกัมมวาจก อย ถูโป ปติฏฺ าปิ โต ฯ อ.พระ
สถูปนี้ อันชนให้ตั้ง
90
ปัจจัย
๑.กิตปัจจัย มี ๓ ตัว คือ อนฺต, ตวนฺ
ตุ, ตาว
๒.กิจจปัจจัย มี ๒ ตัว คือ อนีย,
ตพฺพ
๓.กิตกิจจปัจจัย มี ๕ ตัว คือ
มาน, ต, ตูน,
ตฺวา, ตฺวาน
91
ปัจจัย (ต่อ)บอกกาลต่างกัน ดังนี้
๑) ปัจจุบันแท้ ปัจจัยที่บอก คือ อนฺต, มาน
๒) ปัจจุบันใกล้อนาคต ปัจจัยที่บอก คือ
อนฺต, มาน
๓) อดีตกาลล่วงแล้ว ปัจจัยที่บอก คือ ตวนฺ
ตุ, ตาวี, ต, ตูน, ตฺวา,
ตฺวาน
๔) อดีตกาลล่วงแล้วเสร็จ ปัจจัยที่บอก คือ
ตูน, ตฺวา, ตฺวาน
ส่วน อนีย, และ ตพฺพ ปัจจัย ไม่บอกกาลอะไร
บอกเพียง ความเป็ นไปของกิริยาอาการ แปลว่า
ควร, พึง
92

Contenu connexe

Tendances

1 11+อธิบายบาลีไวยากรณ์+นามกิตก์+และกิริยากิตก์
1 11+อธิบายบาลีไวยากรณ์+นามกิตก์+และกิริยากิตก์1 11+อธิบายบาลีไวยากรณ์+นามกิตก์+และกิริยากิตก์
1 11+อธิบายบาลีไวยากรณ์+นามกิตก์+และกิริยากิตก์
Tongsamut vorasan
 
แนวข้อสอบวิชาแปลบาลีเป็นไทย แปลไทยเป็นบาลี ๑ ครั้งที่ ๑
แนวข้อสอบวิชาแปลบาลีเป็นไทย แปลไทยเป็นบาลี ๑ ครั้งที่ ๑แนวข้อสอบวิชาแปลบาลีเป็นไทย แปลไทยเป็นบาลี ๑ ครั้งที่ ๑
แนวข้อสอบวิชาแปลบาลีเป็นไทย แปลไทยเป็นบาลี ๑ ครั้งที่ ๑
วัดดอนทอง กาฬสินธุ์
 
ภาษาบาลี ชุดที่ ๓ นามศัพท์ ลิงค์ วจนะ วิภัตติ
ภาษาบาลี ชุดที่ ๓   นามศัพท์ ลิงค์ วจนะ วิภัตติภาษาบาลี ชุดที่ ๓   นามศัพท์ ลิงค์ วจนะ วิภัตติ
ภาษาบาลี ชุดที่ ๓ นามศัพท์ ลิงค์ วจนะ วิภัตติ
Anchalee BuddhaBucha
 
บทที่ 3 วิมุตติ
บทที่ 3 วิมุตติบทที่ 3 วิมุตติ
บทที่ 3 วิมุตติ
Onpa Akaradech
 
ปกิณณะวินัยที่ภิกษุควรรู้
ปกิณณะวินัยที่ภิกษุควรรู้ปกิณณะวินัยที่ภิกษุควรรู้
ปกิณณะวินัยที่ภิกษุควรรู้
Kiat Chaloemkiat
 
1 04+บาลีไวยกรณ์+วจีวิภาค+ภาคที่+2+อาขยาต+และ+กิตก์
1 04+บาลีไวยกรณ์+วจีวิภาค+ภาคที่+2+อาขยาต+และ+กิตก์1 04+บาลีไวยกรณ์+วจีวิภาค+ภาคที่+2+อาขยาต+และ+กิตก์
1 04+บาลีไวยกรณ์+วจีวิภาค+ภาคที่+2+อาขยาต+และ+กิตก์
Tongsamut vorasan
 
คัมภีร์ฉันทศาสตร์ Sine
คัมภีร์ฉันทศาสตร์ Sineคัมภีร์ฉันทศาสตร์ Sine
คัมภีร์ฉันทศาสตร์ Sine
Kat Suksrikong
 

Tendances (20)

1 11+อธิบายบาลีไวยากรณ์+นามกิตก์+และกิริยากิตก์
1 11+อธิบายบาลีไวยากรณ์+นามกิตก์+และกิริยากิตก์1 11+อธิบายบาลีไวยากรณ์+นามกิตก์+และกิริยากิตก์
1 11+อธิบายบาลีไวยากรณ์+นามกิตก์+และกิริยากิตก์
 
แนวข้อสอบวิชาแปลบาลีเป็นไทย แปลไทยเป็นบาลี ๑ ครั้งที่ ๑
แนวข้อสอบวิชาแปลบาลีเป็นไทย แปลไทยเป็นบาลี ๑ ครั้งที่ ๑แนวข้อสอบวิชาแปลบาลีเป็นไทย แปลไทยเป็นบาลี ๑ ครั้งที่ ๑
แนวข้อสอบวิชาแปลบาลีเป็นไทย แปลไทยเป็นบาลี ๑ ครั้งที่ ๑
 
คู่มือพระกรรมวาจาจารย์บรรพชาอุปสมบท
คู่มือพระกรรมวาจาจารย์บรรพชาอุปสมบทคู่มือพระกรรมวาจาจารย์บรรพชาอุปสมบท
คู่มือพระกรรมวาจาจารย์บรรพชาอุปสมบท
 
บาลีไวยากรณ์ ๔ สมาส,ตัทธิต
บาลีไวยากรณ์ ๔ สมาส,ตัทธิตบาลีไวยากรณ์ ๔ สมาส,ตัทธิต
บาลีไวยากรณ์ ๔ สมาส,ตัทธิต
 
วิชาบาลีเสริม ๑๑ ชื่อสัมพันธ์
วิชาบาลีเสริม ๑๑ ชื่อสัมพันธ์วิชาบาลีเสริม ๑๑ ชื่อสัมพันธ์
วิชาบาลีเสริม ๑๑ ชื่อสัมพันธ์
 
ภาษาบาลี ชุดที่ ๓ นามศัพท์ ลิงค์ วจนะ วิภัตติ
ภาษาบาลี ชุดที่ ๓   นามศัพท์ ลิงค์ วจนะ วิภัตติภาษาบาลี ชุดที่ ๓   นามศัพท์ ลิงค์ วจนะ วิภัตติ
ภาษาบาลี ชุดที่ ๓ นามศัพท์ ลิงค์ วจนะ วิภัตติ
 
นาม และ อัพยยศัพท์
นาม และ อัพยยศัพท์นาม และ อัพยยศัพท์
นาม และ อัพยยศัพท์
 
บทที่ 5
บทที่ 5บทที่ 5
บทที่ 5
 
กรรมฐาน (สื่อการสอน ๒) สัปดาห์ที่ ๒
กรรมฐาน (สื่อการสอน ๒) สัปดาห์ที่ ๒กรรมฐาน (สื่อการสอน ๒) สัปดาห์ที่ ๒
กรรมฐาน (สื่อการสอน ๒) สัปดาห์ที่ ๒
 
บทที่ 3 วิมุตติ
บทที่ 3 วิมุตติบทที่ 3 วิมุตติ
บทที่ 3 วิมุตติ
 
ปกิณณะวินัยที่ภิกษุควรรู้
ปกิณณะวินัยที่ภิกษุควรรู้ปกิณณะวินัยที่ภิกษุควรรู้
ปกิณณะวินัยที่ภิกษุควรรู้
 
บทที่่ ๒ การสัมพันธ์ไทย
บทที่่ ๒ การสัมพันธ์ไทย บทที่่ ๒ การสัมพันธ์ไทย
บทที่่ ๒ การสัมพันธ์ไทย
 
เทศกาลและพิธีกรรมทางศาสนา
เทศกาลและพิธีกรรมทางศาสนาเทศกาลและพิธีกรรมทางศาสนา
เทศกาลและพิธีกรรมทางศาสนา
 
บทที่ ๒ กรรมฐาน และบุรพกิจของการปฏิบัติกรรมฐาน
บทที่ ๒ กรรมฐาน และบุรพกิจของการปฏิบัติกรรมฐานบทที่ ๒ กรรมฐาน และบุรพกิจของการปฏิบัติกรรมฐาน
บทที่ ๒ กรรมฐาน และบุรพกิจของการปฏิบัติกรรมฐาน
 
ปัญหาเฉลย-นักธรรมชั้นตรี (ปี 2549 - 2564).pdf
ปัญหาเฉลย-นักธรรมชั้นตรี (ปี 2549 - 2564).pdfปัญหาเฉลย-นักธรรมชั้นตรี (ปี 2549 - 2564).pdf
ปัญหาเฉลย-นักธรรมชั้นตรี (ปี 2549 - 2564).pdf
 
วิชาพุทธปรัชญา : พื้นฐานพุทธปรัชญา
วิชาพุทธปรัชญา : พื้นฐานพุทธปรัชญาวิชาพุทธปรัชญา : พื้นฐานพุทธปรัชญา
วิชาพุทธปรัชญา : พื้นฐานพุทธปรัชญา
 
บาลีไวยากรณ์ ๔ (แบบฝึกหัด ๑)
บาลีไวยากรณ์ ๔ (แบบฝึกหัด ๑)บาลีไวยากรณ์ ๔ (แบบฝึกหัด ๑)
บาลีไวยากรณ์ ๔ (แบบฝึกหัด ๑)
 
1 04+บาลีไวยกรณ์+วจีวิภาค+ภาคที่+2+อาขยาต+และ+กิตก์
1 04+บาลีไวยกรณ์+วจีวิภาค+ภาคที่+2+อาขยาต+และ+กิตก์1 04+บาลีไวยกรณ์+วจีวิภาค+ภาคที่+2+อาขยาต+และ+กิตก์
1 04+บาลีไวยกรณ์+วจีวิภาค+ภาคที่+2+อาขยาต+และ+กิตก์
 
วิชา สัมพันธ์ไทย ๑
วิชา สัมพันธ์ไทย ๑วิชา สัมพันธ์ไทย ๑
วิชา สัมพันธ์ไทย ๑
 
คัมภีร์ฉันทศาสตร์ Sine
คัมภีร์ฉันทศาสตร์ Sineคัมภีร์ฉันทศาสตร์ Sine
คัมภีร์ฉันทศาสตร์ Sine
 

Similaire à กิริยาอาขยาต นามกิตก์ และกิริยากิตก์

บาลี 04 80
บาลี 04 80บาลี 04 80
บาลี 04 80
Rose Banioki
 
1 04+บาลีไวยกรณ์+วจีวิภาค+ภาคที่+2+อาขยาต+และ+กิตก์
1 04+บาลีไวยกรณ์+วจีวิภาค+ภาคที่+2+อาขยาต+และ+กิตก์1 04+บาลีไวยกรณ์+วจีวิภาค+ภาคที่+2+อาขยาต+และ+กิตก์
1 04+บาลีไวยกรณ์+วจีวิภาค+ภาคที่+2+อาขยาต+และ+กิตก์
Tongsamut vorasan
 
1 04+บาลีไวยกรณ์+วจีวิภาค+ภาคที่+2+อาขยาต+และ+กิตก์
1 04+บาลีไวยกรณ์+วจีวิภาค+ภาคที่+2+อาขยาต+และ+กิตก์1 04+บาลีไวยกรณ์+วจีวิภาค+ภาคที่+2+อาขยาต+และ+กิตก์
1 04+บาลีไวยกรณ์+วจีวิภาค+ภาคที่+2+อาขยาต+และ+กิตก์
Wataustin Austin
 
5 มรรควิธีที่ง่าย easypractice
5 มรรควิธีที่ง่าย easypractice5 มรรควิธีที่ง่าย easypractice
5 มรรควิธีที่ง่าย easypractice
Tongsamut vorasan
 
10 สาธยายธรรม ( บทสวดมนต์แนวพุทธ )sutrarecite
10 สาธยายธรรม ( บทสวดมนต์แนวพุทธ )sutrarecite10 สาธยายธรรม ( บทสวดมนต์แนวพุทธ )sutrarecite
10 สาธยายธรรม ( บทสวดมนต์แนวพุทธ )sutrarecite
Tongsamut vorasan
 
สังเกตบาลีสันสกฤต [โหมดความเข้ากันได้]
สังเกตบาลีสันสกฤต [โหมดความเข้ากันได้]สังเกตบาลีสันสกฤต [โหมดความเข้ากันได้]
สังเกตบาลีสันสกฤต [โหมดความเข้ากันได้]
Nongkran Jarurnphong
 
มาตราตัวสะกดแม่กด
มาตราตัวสะกดแม่กดมาตราตัวสะกดแม่กด
มาตราตัวสะกดแม่กด
Kroo R WaraSri
 
ชีวิตและผลงานของพระสุมังคลาจารย์
ชีวิตและผลงานของพระสุมังคลาจารย์ชีวิตและผลงานของพระสุมังคลาจารย์
ชีวิตและผลงานของพระสุมังคลาจารย์
Padvee Academy
 
บาลี 36 80
บาลี 36 80บาลี 36 80
บาลี 36 80
Rose Banioki
 
3 36คัณฐีพระธัมมปทัฏฐกถา+ยกศัพท์แปล+ภาค๖
3 36คัณฐีพระธัมมปทัฏฐกถา+ยกศัพท์แปล+ภาค๖3 36คัณฐีพระธัมมปทัฏฐกถา+ยกศัพท์แปล+ภาค๖
3 36คัณฐีพระธัมมปทัฏฐกถา+ยกศัพท์แปล+ภาค๖
Tongsamut vorasan
 

Similaire à กิริยาอาขยาต นามกิตก์ และกิริยากิตก์ (20)

บาลี 04 80
บาลี 04 80บาลี 04 80
บาลี 04 80
 
1 04+บาลีไวยกรณ์+วจีวิภาค+ภาคที่+2+อาขยาต+และ+กิตก์
1 04+บาลีไวยกรณ์+วจีวิภาค+ภาคที่+2+อาขยาต+และ+กิตก์1 04+บาลีไวยกรณ์+วจีวิภาค+ภาคที่+2+อาขยาต+และ+กิตก์
1 04+บาลีไวยกรณ์+วจีวิภาค+ภาคที่+2+อาขยาต+และ+กิตก์
 
1 04+บาลีไวยกรณ์+วจีวิภาค+ภาคที่+2+อาขยาต+และ+กิตก์
1 04+บาลีไวยกรณ์+วจีวิภาค+ภาคที่+2+อาขยาต+และ+กิตก์1 04+บาลีไวยกรณ์+วจีวิภาค+ภาคที่+2+อาขยาต+และ+กิตก์
1 04+บาลีไวยกรณ์+วจีวิภาค+ภาคที่+2+อาขยาต+และ+กิตก์
 
๐๘ เหมกปัญหา.pdf
๐๘ เหมกปัญหา.pdf๐๘ เหมกปัญหา.pdf
๐๘ เหมกปัญหา.pdf
 
ชื่อสัมพันธ์
ชื่อสัมพันธ์ชื่อสัมพันธ์
ชื่อสัมพันธ์
 
5 มรรควิธีที่ง่าย easypractice
5 มรรควิธีที่ง่าย easypractice5 มรรควิธีที่ง่าย easypractice
5 มรรควิธีที่ง่าย easypractice
 
10 สาธยายธรรม ( บทสวดมนต์แนวพุทธ )sutrarecite
10 สาธยายธรรม ( บทสวดมนต์แนวพุทธ )sutrarecite10 สาธยายธรรม ( บทสวดมนต์แนวพุทธ )sutrarecite
10 สาธยายธรรม ( บทสวดมนต์แนวพุทธ )sutrarecite
 
สังเกตบาลีสันสกฤต [โหมดความเข้ากันได้]
สังเกตบาลีสันสกฤต [โหมดความเข้ากันได้]สังเกตบาลีสันสกฤต [โหมดความเข้ากันได้]
สังเกตบาลีสันสกฤต [โหมดความเข้ากันได้]
 
ทิคุสมาส
ทิคุสมาสทิคุสมาส
ทิคุสมาส
 
๑๖ ปิงคิยปัญหา.pdf
๑๖ ปิงคิยปัญหา.pdf๑๖ ปิงคิยปัญหา.pdf
๑๖ ปิงคิยปัญหา.pdf
 
บทที่ ๔ สัมพันธ์เบ็ดเตล็ด ๓
บทที่ ๔ สัมพันธ์เบ็ดเตล็ด ๓บทที่ ๔ สัมพันธ์เบ็ดเตล็ด ๓
บทที่ ๔ สัมพันธ์เบ็ดเตล็ด ๓
 
บทที่ ๔ สัมพันธ์เบ็ดเตล็ด
บทที่ ๔ สัมพันธ์เบ็ดเตล็ดบทที่ ๔ สัมพันธ์เบ็ดเตล็ด
บทที่ ๔ สัมพันธ์เบ็ดเตล็ด
 
มาตราตัวสะกดแม่กด
มาตราตัวสะกดแม่กดมาตราตัวสะกดแม่กด
มาตราตัวสะกดแม่กด
 
มังคลัตถวิภาวินี ไขสงสัยให้นักเรียน ป.ธ.๕.pdf
มังคลัตถวิภาวินี ไขสงสัยให้นักเรียน ป.ธ.๕.pdfมังคลัตถวิภาวินี ไขสงสัยให้นักเรียน ป.ธ.๕.pdf
มังคลัตถวิภาวินี ไขสงสัยให้นักเรียน ป.ธ.๕.pdf
 
๐๒ ติสสเมตเตยยปัญหา.pdf
๐๒ ติสสเมตเตยยปัญหา.pdf๐๒ ติสสเมตเตยยปัญหา.pdf
๐๒ ติสสเมตเตยยปัญหา.pdf
 
ชีวิตและผลงานของพระสุมังคลาจารย์
ชีวิตและผลงานของพระสุมังคลาจารย์ชีวิตและผลงานของพระสุมังคลาจารย์
ชีวิตและผลงานของพระสุมังคลาจารย์
 
ถาม ตอบอภิธรรมปิฎก
ถาม ตอบอภิธรรมปิฎกถาม ตอบอภิธรรมปิฎก
ถาม ตอบอภิธรรมปิฎก
 
ปัญหาและเฉลยบาลีไวยากรณ์ ประโยค 1-2 ปี ๒๕๑๑-๒๕๖๑.pdf
ปัญหาและเฉลยบาลีไวยากรณ์ ประโยค 1-2 ปี ๒๕๑๑-๒๕๖๑.pdfปัญหาและเฉลยบาลีไวยากรณ์ ประโยค 1-2 ปี ๒๕๑๑-๒๕๖๑.pdf
ปัญหาและเฉลยบาลีไวยากรณ์ ประโยค 1-2 ปี ๒๕๑๑-๒๕๖๑.pdf
 
บาลี 36 80
บาลี 36 80บาลี 36 80
บาลี 36 80
 
3 36คัณฐีพระธัมมปทัฏฐกถา+ยกศัพท์แปล+ภาค๖
3 36คัณฐีพระธัมมปทัฏฐกถา+ยกศัพท์แปล+ภาค๖3 36คัณฐีพระธัมมปทัฏฐกถา+ยกศัพท์แปล+ภาค๖
3 36คัณฐีพระธัมมปทัฏฐกถา+ยกศัพท์แปล+ภาค๖
 

Plus de เตชะชิน เก้าเดือนยี่

Plus de เตชะชิน เก้าเดือนยี่ (19)

6 mahapali-akhayata
6 mahapali-akhayata6 mahapali-akhayata
6 mahapali-akhayata
 
ศาสนาอิสลาม
ศาสนาอิสลามศาสนาอิสลาม
ศาสนาอิสลาม
 
590806 บทที่-5-แก้ไขแล้ว
590806 บทที่-5-แก้ไขแล้ว590806 บทที่-5-แก้ไขแล้ว
590806 บทที่-5-แก้ไขแล้ว
 
ศาสนาคริสต์
ศาสนาคริสต์ศาสนาคริสต์
ศาสนาคริสต์
 
590806 บทที่-4-แก้ไขแล้ว
590806 บทที่-4-แก้ไขแล้ว590806 บทที่-4-แก้ไขแล้ว
590806 บทที่-4-แก้ไขแล้ว
 
บทที่ 3 ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับพระพุทธศาสนาและปรัชญา
บทที่ 3 ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับพระพุทธศาสนาและปรัชญาบทที่ 3 ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับพระพุทธศาสนาและปรัชญา
บทที่ 3 ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับพระพุทธศาสนาและปรัชญา
 
590805 บทที่-3-แก้ไขแล้ว
590805 บทที่-3-แก้ไขแล้ว590805 บทที่-3-แก้ไขแล้ว
590805 บทที่-3-แก้ไขแล้ว
 
ศาสนาพราหมณ์ ฮินดู
ศาสนาพราหมณ์ ฮินดูศาสนาพราหมณ์ ฮินดู
ศาสนาพราหมณ์ ฮินดู
 
590802 บทที่-2-แก้ไขแล้ว
590802 บทที่-2-แก้ไขแล้ว590802 บทที่-2-แก้ไขแล้ว
590802 บทที่-2-แก้ไขแล้ว
 
วิถึชีวิต Course syllabus-1-59 (1)
วิถึชีวิต Course syllabus-1-59 (1)วิถึชีวิต Course syllabus-1-59 (1)
วิถึชีวิต Course syllabus-1-59 (1)
 
590802 บทที่-1-แก้ไขแล้ว
590802 บทที่-1-แก้ไขแล้ว590802 บทที่-1-แก้ไขแล้ว
590802 บทที่-1-แก้ไขแล้ว
 
แนะนำอาจารย์
แนะนำอาจารย์แนะนำอาจารย์
แนะนำอาจารย์
 
สมถและวิปัสนา สมาธิ 3 ระดับ [โหมดความเข้ากันได้]
สมถและวิปัสนา สมาธิ 3 ระดับ [โหมดความเข้ากันได้]สมถและวิปัสนา สมาธิ 3 ระดับ [โหมดความเข้ากันได้]
สมถและวิปัสนา สมาธิ 3 ระดับ [โหมดความเข้ากันได้]
 
อรูป 4 สมถกัมมัฏฐาน
อรูป 4 สมถกัมมัฏฐานอรูป 4 สมถกัมมัฏฐาน
อรูป 4 สมถกัมมัฏฐาน
 
พรหมวิหาร 4 สมถกัมมัฏฐาน ppt
พรหมวิหาร 4 สมถกัมมัฏฐาน pptพรหมวิหาร 4 สมถกัมมัฏฐาน ppt
พรหมวิหาร 4 สมถกัมมัฏฐาน ppt
 
อนุสสติ 10 สมถกัมมัฏฐาน ppt
อนุสสติ 10 สมถกัมมัฏฐาน pptอนุสสติ 10 สมถกัมมัฏฐาน ppt
อนุสสติ 10 สมถกัมมัฏฐาน ppt
 
สมถกัมมัฏฐานกสิณ 10 ppt
สมถกัมมัฏฐานกสิณ 10 pptสมถกัมมัฏฐานกสิณ 10 ppt
สมถกัมมัฏฐานกสิณ 10 ppt
 
อสุภ 10 สมถกัมมัฏฐาน ppt
อสุภ 10 สมถกัมมัฏฐาน pptอสุภ 10 สมถกัมมัฏฐาน ppt
อสุภ 10 สมถกัมมัฏฐาน ppt
 
สมถกัมมัฏฐานกสิณ 10 ppt
สมถกัมมัฏฐานกสิณ 10 pptสมถกัมมัฏฐานกสิณ 10 ppt
สมถกัมมัฏฐานกสิณ 10 ppt
 

กิริยาอาขยาต นามกิตก์ และกิริยากิตก์

  • 1. กิริยาอาขยาต นามกิตก์ และกิริยากิตก์ นายชินวัชร นิลเนตร ป.ธ.๙ อาจารย์ประจารายวิชาภาษาบาลี 1
  • 2. 2 กิริยาอาขยาต นามกิตก์ และกิริยากิตก์ จุดประสงค์ในการเรียน ๑. เพื่อให้นักศึกษาเข้าใจการสร ้างคา กิริยาอาขยาตและกิริยากิตก์ ๒. เพื่อให้นักศึกษาเข้าใจสาธนะและรูป วิเคราะห์ต่างๆ ในนามกิตก์ ๓. เพื่อให้นักศึกษาแปลและแต่งประโยค บาลีที่เหมาะสมกับไวยากรณ์
  • 3. 3 รายละเอียดวิชา แบ่งเป็ น ๘ บทเรียน บทที่ ๑ วิภัตติอาขยาต บทที่ ๒ กาล, บท, วจนะ, บุรุษ บทที่ ๓ ธาตุ ๘ หมวด บทที่ ๔ วาจก ๕ และปัจจัยจัดเป็น ๕ หมวดตาม วาจก บทที่ ๕ กิตก์และสาธนะในกิตก์๗ บทที่ ๖ ปัจจัยแห่งนามกิตก์และรูปวิเคราะห์ บทที่ ๗ กิริยากิตก์ บทที่ ๘ การประกอบธาตุและปัจจัยกิริยากิตก์
  • 4. 4 บทที่ ๑ วิภัตติอาขยาต ศัพท์กล่าวกิริยา คือ ความทา เป็ นต้น ว่า ยืน เดิน นั่ง นอน กิน ดื่ม ทา พูด คิด ชื่อว่า อาขยาต ที่จะสาเร็จเป็ นอาขยาต ได้นั้น ต้องประกอบด้วยองค์ประกอบ ๘ ประการ คือ วิภัตติ กาล บท วจนะ บุรุษ ธาตุ วาจก ปัจจัย
  • 5. 5 วิภัตติ สาหรับลงหลังธาตุ จาแนกแจกแจงธาตุไว้ เพื่อให้เป็ นเครื่องหมายให้รู ้ กาล บท วจนะ บุรุษ. วิภัติอาขยาตนี้ มี ๙๖ ตัว แบ่งเป็ น ๘ หมวด แต่ละหมวด มี ๒ บท แต่ละบท มี ๓ บุรุษ แต่ละบุรุษมี ๒ วจนะ ๑. วัตตมานา ๒. ปัญจมี ๓. สัตตมี ๔. ปโรกขา ๕. หิยัตตนี ๖. อัชชตนี ๗. ภวิสสันติ ๘. กาลาติปัตติ
  • 6. 6 ๑. วัตตมานา ...อยู่, ย่อม..., จะ... ปรัสสบท อัตตโนบท บุรุษ เอก. พหุ. เอก. พหุ. ปฐม. ติ อนฺติ เต อนฺเต มัธยม. สิ ถ เส เวฺห อุตตม. มิ ม เอ เมฺห
  • 7. 7 ๒. ปัญจมี จง..., จง...เถิด, ขอจง... ปรัสสบท อัตตโนบท บุรุษ เอก. พหุ. เอก. พหุ. ปฐม. ตุ อนฺตุ ต อนฺต มัธยม. หิ ถ สฺสุ โวฺห อุตตม. มิ ม เอ อามฺหเส
  • 8. 8 ๓. สัตตมี ควร..., พึง..., พึง. ปรัสสบท อัตตโนบท บุรุษ เอก. พหุ. เอก. พหุ. ปฐม. เอยฺย เอยฺยุ ํ เอถ เอร มัธยม. เอยฺยาสิ เอยฺยาถ เอโถ เอยฺยาโวฺห อุตตม. เอยฺยามิ เอยฺยาม เอยฺย เอยฺยาเมฺห
  • 9. 9 ๔. ปโรกขา ...แล้ว ปรัสสบท อัตตโนบท บุรุษ เอก. พหุ. เอก. พหุ. ปฐม. อ อุ ตฺถ เร มัธยม. เอ ตฺถ ตฺโถ โวฺห อุตตม. อ มฺห อึ มฺเห
  • 10. 10 ๕. หิยัตตนี ...แล้ว, ได้...แล้ว ปรัสสบท อัตตโนบท บุรุษ เอก. พหุ. เอก. พหุ. ปฐม. อา อู ตฺถ ตฺถุ มัธยม. โอ ตฺถ เส วฺห อุตตม. อ มฺห อึ มฺหเส
  • 11. 11 ๖. อัชชตนี ...แล้ว, ได้...แล้ว ปรัสสบท อัตตโนบท บุรุษ เอก. พหุ. เอก. พหุ. ปฐม. อี อุ อา อู มัธยม. โอ ตฺถ เส วฺหํ อุตตม. อึ มฺหา อํ เมฺห
  • 12. 12 ๗. ภวิสสันติ จัก... ปรัสสบท อัตตโนบท บุรุษ เอก. พหุ. เอก. พหุ. ปฐม. สฺสติ สฺสนฺติ สฺสเต สฺสนฺเต มัธยม. สฺสสิ สฺสถ สฺสเส สฺสเวฺห อุตตม. สฺสามิ สฺสาม สฺสํ สฺสาเมฺห
  • 13. 13 ๘. กาลาติปัตติ จัก...แล้ว, จักได้ ...แล้ว ปรัสสบท อัตตโนบท บุรุษ เอก. พหุ. เอก. พหุ. ปฐม. สฺสติ สฺสนฺติ สฺสเต สฺสนฺเต มัธยใ. สฺสสิ สฺสถ สฺสเส สฺสเวฺห อุตตม. สฺสามิ สฺสาม สฺสํ สฺสาเมฺห
  • 14. 14 ธาตุกลุ่มคาอันเป็ นรากศัพท์วิภัตติอาขยาตที่ บอก กาล บท วจนะ บุรุษ นั้น จะต้อง ประกอบเข้ากับธาตุ จึงสาเร็จเป็ นกิริยา ธาตุนั้น ท่านแบ่งเป็ น ๘ หมวด ตามปัจจัย สาหรับประกอบ ดังนี้ ๑. หมวด ภู ธาตุ ลง อ ปัจจัย ๒. หมวด รุธฺ ธาตุ ลง อ (เอ) ปัจจัย ๓. หมวด ทิวฺ ธาตุ ลง ย ปัจจัย ๔. หมวด สุ ธาตุ ลง ณุ, ณา, ปัจจัย ๕. หมวด กี ธาตุ ลง นา ปัจจัย ๖. หมวด คหฺ ธาตุ ลง ณฺหา ปัจจัย ๗. หมวด ตนฺ ธาตุ ลง โอ, ปัจจัย ๘. หมวด จุรฺ ธาตุ ลง เณ, ณย ปัจจัย
  • 15. 15 ๑. หมวด ภู ธาตุ ลง อ ปั จจัยภู + อ + ติ เป็ น ภวติ ย่อมมี, ย่อมเป็ น หู + อ + ติ เป็ น โหติ ย่อมมี, ย่อมเป็ น สิ + อ + ติ เป็ น เสติ,สยติ ย่อมนอน มรฺ + อ + ติ เป็ น มรติ ย่อมตาย ปจฺ + อ + ติ เป็ น ปจติ ย่อมหุง, ย่อมต้ม อิกฺข + อ + ติ เป็ น อิกฺขติ ย่อมเห็น ลภฺ + อ + ติ เป็ น ลภติ ย่อมได้ คมุ + อ + ติ เป็ น คจฺฉติ ย่อมไป
  • 16. 16 ๒. หมวด รุธฺ ธาตุ ลง อ (เอ) ปัจจัย รุธฺ + อ + ติ เป็ น รุนฺธติ, รุนฺเธติ ย่อม ปิ ด, ย่อมกั้น มุจฺ + อ + ติ เป็ น มุญฺจติ ย่อมปล่อย ภุชฺ + อ + ติ เป็ น ภุญฺชติ ย่อมกิน ภิทฺ + อ + ติ เป็ น ภินฺทติ ย่อมตาย, ย่อมทาลาย ลิปฺ + อ + ติ เป็ น ลิมฺปติ ย่อมฉาบทา
  • 17. 17 ๓. หมวด ทิวฺ ธาตุ ลง ย ปัจจั ย ทิวฺ + ย + ติ เป็ น ทิพฺพติ ย่อมเล่น สิวฺ + ย + ติ เป็ น สิพฺพติ ย่อมเย็บ พุธฺ + ย + ติ เป็ น พุชฺฌติ ย่อมรู ้ ขี + ย + ติ เป็ น ขียติ ย่อมสิ้น มุหฺ + ย + ติ เป็ น มุยฺหติ ย่อมหลง มุสฺ + ย + ติ เป็ น มุสฺสติ ย่อมลืม รชฺ + ย + ติ เป็ น รชฺชติ ย่อมย้อม
  • 18. 18 ๔. หมวด สุ ธาตุ ลง ณุ, ณา, ปัจจัยสุ + ณา + ติ เป็ น สุณาติ ย่อม ฟัง สุ + ณุ + ตุ เป็ น สุโณตุ จงฟัง วุ + ณา + ติ เป็ น วุณาติ ย่อม ร้อย สิ + ณุ + ติ เป็ น สิโณติ ย่อมผูก ป + อป + อุณา + ติ เป็ น ปา ปุณาติ ย่อมถึง
  • 19. 19 ๕. หมวด กี ธาตุ ลง นา ปัจจัยกี + นา + ติ เป็ น กิณาติ ย่อมซื้อ ชิ + นา + ติ เป็ น ชินาติ ย่อมชนะ ธุ + นา + ติ เป็ น ธุนาติ ย่อมกาจัด จิ + นา + ติ เป็ น จินาติ ย่อมสั่งสม ลุ + นา + ติ เป็ น ลุนาติ ย่อมเกี่ยว, ย่อมตัด ญา + นา + ติ เป็ น ชานาติ ย่อมรู ้ ผุ + นา + ติ เป็ น ผุนาติ ย่อมฝัด, ย่อม โปรย
  • 20. 20 ๖. หมวด คหฺ ธาตุ ลง ณฺ หา ปัจจัย คหฺ + ณฺหา + ติ เป็ น คณฺหาติ ย่อมถือเอา คหฺ + ณฺหา + หิ เป็ น คณฺห จง ถือเอา
  • 21. 21 ๗. หมวด ตนฺ ธาตุ ลง โอ ปัจจัย ตนฺ + โอ + ติ เป็ น ตโนติ ย่อมแผ่ ไป กรฺ + โอ + ติ เป็ น กโรติ ย่อมทา สกฺกฺ + โอ + ติ เป็ น สกฺโกติ ย่อม อาจ ชาครฺ + โอ + ติ เป็ น ชาคโรติ ย่อม ตื่น
  • 22. 22 ๘. หมวด จุรฺ ธาตุ ลง เณ, ณย ปัจจัย จุรฺ + เณ + ติ เป็ น โจเรติ ย่อมลัก, ย่อมขโมย จุรฺ + ณย + ติ เป็ น โจรยติ ย่อมลัก, ย่อมขโมย ตกฺกฺ + เณ + ติ เป็ น ตกฺเกติ ย่อมตรึก ตกฺกฺ + ณย + ติ เป็ น ตกฺกยติ ย่อมตรึก ลกฺขฺ + เณ + ติ เป็ น ลกฺเขติ ย่อมกาหนด ลกฺขฺ + ณย + ติ เป็ น ลกฺขยติ ย่อมกาหนด มนฺตฺ + เณ + ติ เป็ น มนฺเตติ ย่อมปรึกษา มนฺตฺ + ณย + ติ ป็ น มนฺตยติ ย่อมปรึกษา จินฺตฺ + เณ + ติ เป็ น จินฺเตติ ย่อมคิด จินฺตฺ + ณย + ติ เป็ น จินฺตยติ ย่อมคิด
  • 23. 23 กาลในอาขยาตนั้น แบ่งกาลใหญ่ๆ ไว้ ๓ กาล คือ ๑)ปัจจุบันกาลคือกาลที่เกิดขึ้นเฉพาะหน้า ๒)อดีตกาลคือกาลล่วงแล้ว ๓)อนาคตกาลคือกาลที่ยังมาไม่ถึง แบ่งกาลย่อยๆ แต่ละกาลออกเป็ นทั้งหมด ๘ กาล ดังนี้ ๑)ปัจจุบันกาลแบ่งออกเป็ น ๓ กาล คือ ๑. ปัจจุบันแท้ ๒. ปัจจุบันใกล้อดีต ๓. ปัจจุบันใกล้อนาคต
  • 24. 24 กาล (ต่อ) ๒)อดีตกาลแบ่งออกเป็ น ๓ กาล คือ ๑. อดีตกาลล่วงแล้วหากาหนดไม่ได้ ๒. อดีตกาลล่วงแล้ววานนี้ ๓. อดีตกาลล่วงแล้ววันนี้ ๓.อนาคตกาลแบ่งออกเป็ น ๒ กาล คือ ๑. อนาคตของปัจจุบัน ๒. อนาคตของ อดีต
  • 25. 25 ๑. หมวดวัตตมานา สาหรับบอกปัจจุบันกาล ดังนี้ ๑)ปัจจุบันแท้แปลว่า...อยู่ เช่น ภิกฺขุ ธมฺม เทเสติอ.ภิกษุ แสดงอยู่ ซึ่ง ธรรม ๒)ปัจจุบันใกล้อดีตแปลว่าย่อม..... เช่น กุโต นุ ตฺว อาคจฺฉสิ ?อ.ท่าน ย่อมมา แต่ที่ไหน หนอ? ๓)ปัจจุบันใกล้อนาคตแปลว่าจะ..... เช่น กึ กโรมิ ?อ.เรา จะกระทา ซึ่งอะไร?
  • 26. 26 ๒. หมวดปัญจมี ไม่บอกกาลอะไร บอกแต่ความเป็ นไป ของกิริยาอาการดังนี้ ๑)บอกความบังคับแปลว่าจง.... เช่น เอว วเทหิ อ.เจ้า จงกล่าว อย่างนี้ ๒)บอกความหวังแปลว่าจง....เถิด เช่น สพฺเพ สตฺตา อเวรา โหนฺตุ อ.สัตว์ท. ทั้ง ปวง เป็ นผู้ไม่มีเวร จงเป็ นเถิด ๓)บอกความอ้อนวอนแปลว่าขอจง ..... เช่น ปพฺพาเชถ ม ภนฺเต ข้าแต่ท่านผู้เจริญ อ. ท่าน ท. ขอจง ยังข้าพเจ้า ให้บวช
  • 27. 27 ๓. หมวดสัตตมี ไม่บอกกาลอะไร บอกแต่ความเป็ นไป ของกิริยาอาการ ดังนี้ ๑)บอกความยอมตามแปลว่าควร .... เช่น ภเชถ ปุริสุตฺตเมอ. ชน ควรคบ ซึ่งบุรุษ สูงสุด ท. ๒)บอกความกาหนดแปลว่าพึง .... เช่น ปุญฺ ญฺเจ ปุริโส กยิรา ถ้าว่าอ.บุรุษ พึง ทา ซึ่งบุญไซร้. ๓)บอกความราพึงแปลว่าพึง.... เช่น ยนฺนูนาห ปพฺพชฺเชยฺย ไฉนหน
  • 28. 28 ๔. หมวดปโรกขา สาหรับบอกอดีตกาลล่วงแล้ว หากาหนดมิได้ เตนาห ภควาด้วยเหตุนั้นอ.พระผู้มี พระภาคเจ้าตรัสแล้ว. เตนาหุ โปราณาด้วยเหตุนั้นอ. อาจารย์มีในปางก่อน ท. กล่าวแล้ว
  • 29. 29 ๕. หมวดหิยยัตตนี สาหรับบอก อดีตกาลล่วงแล้ว ตั้งแต่วานนี้ แปลว่า แล้ว.... ถ้าลง อ อาคมมา หน้าธาตุ แปลว่า ได้....แล้ว ขโณ โว มา อุปจฺจคา ฯอ. ขณะ อย่าได้ เข้าไปล่วงแล้ว ซึ่งท่าน ท. ฯ เอว อวจ ฯอ. เรา ได้กล่าวแล้ว อย่างนี้
  • 30. 30 ๖. หมวดอัชชตานี สาหรับบอก อดีตกาลล่วงแล้ว ตั้งแต่วันนี้ แปลว่า แล้ว.... ถ้าลง อ อาคมมาหน้าธาตุ แปลว่า ได้....แล้ว เถโร คาม ปิณฺฑาย ปาวิสิ ฯ อ.พระเถระ เข้าไปแล้ว สู่บ้านเพื่อบิณฑะฯเอวรูป กมฺม อกาสึ ฯอ.เรา ได้ กระทา แล้ว ซึ่ง กรรมมีอย่างนี้เป็ นรูปฯ
  • 31. 31 ๗. หมวดภวิสสันติ สำหรับบอกอนำคตของ ปัจจุบัน แปลว่ำ จัก.... ธมฺม สุณิสฺสำม ฯ อ.เรำ ท. จัก ฟัง ซึ่งธรรม ฯ ๘. หมวดกาลาติปัตติ สาหรับบอกอนาคตของ อดีต แปลว่า จัก....แล้ว ถ้าลง อ อาคม มาหน้า ธาตุ แปลว่า จักได้....แล้ว โส เจ ยาน ลภิสฺสา อคจฺฉิสฺสา ฯ ถ้าว่า อ.เขา จักได้แล้ว ซึ่ง ยานไซร้ อ.เขา จักได้ ไป แล้ว ฯ
  • 32. 32 บทวิภัตติอาขยาตนั้น แบ่งเป็ น ๒ บท คือ ปรัส สบท คือ บทเพื่อผู้อื่น ๑ อัตตโนบท บทเพื่อ ตนเอง ๑ ปรัสสบทสาหรับประกอบกับ กิริยาที่เป็ นกัตตุวาจก และเหตุกัตตุ วาจก อัตตโนบทสาหรับประกอบกับกิริยา ที่เป็ นกัมมวาจก ภาววาจก และ เหตุกัมมวาจก บางคราว ปรัสสบทเป็ นกัมมวาจก ก็มี, อัตต โนบทเป็ นกัตตุวาจก ก็มี พึงทราบว่า ใช้ แทนกันได้ จะกาหนดวาจก ได้แน่นอนต้อง อาศัยปัจจัยเป็ นตัวกาหนดจึงทราบได้
  • 33. 33 วจนะ วิภัตติอาขยาตนั้น แบ่งวจนะเป็ น ๒ ชนิด เหมือนนามศัพท์ที่เป็ น ประธาน คือ ๑ เอกวจนะ ๒ พหุวจนะ ถ้านามศัพท์ที่เป็ นประธานเป็ น เอกวจนะ ต้องประกอบกิริยาศัพท์เป็ น เอกวจนะตาม, โสคจฺฉติอ.เขา ไปอยู่ เตคจฺฉนฺติอ. เขา ท. ไปอยู่
  • 34. 34 บุรุษ วิภัตติอาขยาตนั้นจัดเป็ นบุรุษ ๓ คือ ๑ ปฐมบุรุษ, ๒ มัชฌิมบุรุษ, ๓ อุตตมบุรุษ เหมือน ปุริสสัพพนามที่เป็ นประธาน ถ้าปุริสสัพพนามที่เป็ นประธานเป็ น บุรุษใด กิริยาต้องประกอบวิภัตติให้ ถูกต้องตามปุริสสัพพนามนั้น โส ยาติ อ. เขา ไปอยู่ ตฺว ยาสิ อ. ท่าน ไปอยู่ อห ยามิ อ.เรา ไปอยู่
  • 35. 35 บุรุษ แม้ในการพูดและเขียนหนังสือจะไม่มี ปุริสสัพพนามอยู่ด้วย ใช้แต่วิภัตติบอก บุรุษก็ทราบปุริสสัพพนามที่เป็ น ประธานได้ เช่น เอหิ อ.ท่าน จงมา พุทฺธ สรณ คจฺฉามิ อ.เรา ย่อมถึง ซึ่ง พระพุทธเจ้า ว่าเป็ นสรณะ ปุญฺญ กริสฺสาม อ.เรา ท. จักกระทา ซึ่ง บุญ
  • 36. 36 อาคมอาขยาต ในอาขยาตมี อาคม สาหรับลงมาประกอบ ๕ ตัว คือ อ, อิ, ส, ห, อ มีหลักการลงประกอบ ดังนี้ ๑.อ อาคม สาหรับลงหน้าธาตุ เมื่อประกอบด้วย วิภัตติหมวด หิยยัตตนี, อัชชตนี, กาลาติปัตติ เช่น อลตฺถ อโหสิ ฯลฯ ๒.อิ อาคม สาหรับลง หน้าวิภัตติที่ขึ้นต้นด้วยพยัญชนะ (เช่น ตฺถ) เมื่อ ประกอบด้วยวิภัตติหมวด ปโรกขา, อัชชตนี, ภวิ สสันติ และ กาลาติปัตติ เช่น อกริมฺหา, ภวิสฺสติ, อลภิสฺส ฯลฯ
  • 37. 37 อาคมอาขยาต (ต่อ)๓.ส อาคม สาหรับลงหลังธาตุ หรือ ลงหน้า วิภัตติ เมื่อประกอบด้วย วิภัตติหมวดอัชชตนี เช่น อโหสิ, อกาสิ ฯลฯ ๔.ห อาคม สาหรับลงหลัง า ธาตุ เช่น ปติฏฺฐฺหึสุ ฯลฯ ๕.อ (นิคคหิตอาคม) สาหรับลงหน้าพยัญชนะ ที่สุดธาตุ แห่งหมวด รุธ ธาตุ แล้วแปลง นิคหิต เป็ นพยัญชนะที่สุดวรรค เช่น ภุญฺชติ, มุญฺจติ ฯลฯ (และธาตุที่มี อิ วัณณะเป็ นที่สุดก็ลงนิคคหิต อาคมได้ด้วย เช่น กปิ , รุทิ, ฉิทิ ฯลฯ พึงค้นโดย ละเอียดในแบบเรียนไวยากรณ์บาลี ที่ข้าพเจ้า
  • 38. 38 ธาตุแบ่งเป็ น ๒ ประเภท ๑. สกัมมธาตุ คือ ธาตุที่ต้องมีกรรมเข้ามา รับ จึงได้ความหมาย เช่น ภุชฺ ธาตุในความ กิน เมื่อไม่มีกรรมก็ไม่ทราบว่า กินอะไร แต่ เมื่อมีข้าว มาเป็ นบทกรรม จึงทราบได้ว่า กินข้าว ได้ความหมายสมบูรณ์ ๒. อกัมมธาตุ คือ ธาติที่ไม่ต้องมีบทกรรม เข้ามารับ ก็ได้ความหมายสมบูรณ์ เช่น มรฺ ธาตุในความตาย, สิ ธาตุในความนอน เป็ นต้น
  • 39. 39 วาจก กิริยาศัพท์ที่ประกอบด้วยวิภัตติ กาล บท วจนะ บุรุษ ธาตุ สาเร็จเป็ นกิริยาจึงจัดเป็ น วาจกๆ แปลว่า กล่าวคือ กล่าวถึงตัว ประธานของกิริยา แบ่งเป็ น ๕ วาจก ๑. กัตตุวาจก ๒. กัมมวาจก ๓. ภาววาจก ๔. เหตุกัตตุวาจก ๕. เหตุกัมมวาจก
  • 40. 40 ๑. กัตตุวาจก กิริยาศัพท์สาหรับกล่าวถึงประธาน โดยประธานเป็ นผู้ทา คือ แสดงกิริยา นั้นเอง ยกผู้ทาเป็ นประธานประกอบ ปฐมาวิภัตติ เช่น สูโท โอทน ปจติ อ.พ่อครัว หุงอยู่ ซึ่งข้าวสุก. ปจติ กล่าวถึงประธาน คือ สูโท และสูโท แสดงกิริยาอาการเอง
  • 41. 41 ๒. กัมมวาจก กิริยาศัพท์สาหรับกล่าวถึงประธาน โดยประธานเป็ นผู้หรือสิ่งที่ถูกทา ยก สิ่ง หรือผู้ถูกทาเป็ นประธานประกอบ ปฐมาวิภัตติ เช่น สูเทน โอทโน ปจิยเต. อ.ข้าวสุก อันพ่อครัวหุงอยู่ฯ ปจิยเต กล่าวถึง โอทโน เป็ นสิ่งที่ถูกทา และยก โอทโน เป็ น ประธาน
  • 42. 42 ๓. ภาววาจก กิริยาศัพท์ที่กล่าวเพียง ความเป็ นไปของกิริยา อาการเท่านั้น ไม่ กล่าวถึงกัตตาหรือกรรม เช่น เตน ภูยเต อันเขา เป็ นอยู่
  • 43. 43 ๔. เหตุกัตตุวาจก กิริยาศัพท์ที่กล่าวถึงประธาน โดย ประธานทาหน้าที่เป็ นเหตุให้ผู้อื่น แสดงกิริยาอาการ ยกผู้ใช้เป็ นประธาน ประกอบด้วยปฐมาวิภัตติ เช่น สามิโก สูท โอทน ปาจาเปติ. อ.นาย ยังพ่อครัว ให้หุงอยู่ ซึ่งข้าวสุก ปาจาเปติ เป็ นกิริยาศัพท์ที่กล่าวถึง ผู้ใช้ คือ สามิโก ยก สามิโก เป็ นประธาน
  • 44. 44 ๕. เหตุกัมมวาจก กิริยาศัพท์ที่กล่าวถึงสิ่งหรือผู้ถูกทา โดยผู้ทานั้น ถูกใช้ให้ทาอีกที เช่น สามิเกน สูเทน โอทโน ปาจาปิ ยเต อ.ข้าวสุก อันนาย ยังพ่อครัวให้หุงอยู่. ปาจาปิ ยเต กล่าวถึง โอทโน ที่เป็ นสิ่ง ถูกทา และยกโอทโน เป็ นประธาน ประกอบ ด้วยปฐมาวิภัตติ
  • 45. 45 ปัจจัย จะกาหนดวาจกได้แม่นยาต้องอาศัยปัจจัย ปัจจัย คือ กลุ่มคาสาหรับประกอบเข้าท้าย ธาตุและประกอบกับวิภัตติ ปัจจัยแบ่งเป็ น ๕ หมวดตามวาจก ๑. ปัจจัยกัตตุวาจก ๒. ปัจจัยกัมมวาจก ๓. ปัจจัยภาววาจก ๔. ปัจจัยเหตุกัตตุวาจก ๕. ปัจจัยเหตุกัมมวาจก
  • 46. 46 ปัจจัยในกัตตุวาจก มี ๑๒ ตัว คือ อ, เอ, ย , ณุ, ณา, นา, อุณา, ณฺ หา, โอ, ยิร, เณ, ณย. (ในบาลีไวยากรณ์ของ สมเด็จมหาสมณเจ้า มี ๑๐ ตัว และพึงทราบว่า เอ ปัจจัยนั้น แปลงมาจาก อ ปัจจัย) ปัจจัยทั้ง ๑๒ ตัวนี้ แบ่งลงในธาตุ ๘ หมวด อ, เอ ปัจจัย ลงประจาธาตุ ๒ หมวด คือ อ,เอ ปัจจัย ลงในหมวด ภู ธาตุ เช่น ลภฺ + อ + ติ=ลภติ ย่อมได้ มร + อ + ติ=มรติ ย่อมตาย
  • 47. 47 ปัจจัยในกัตตุวาจก (ต่อ) อ,เอ ปัจจัย ลงในหมวด รุธ ธาตุ และลง นิคคหิตอาคมข้างหน้าพยัญชนะที่สุดธาตุ แล้วแปลงนิคคหิตเป็ นพยัญชนะที่สุดวรรค ของพยัญชนะที่สุดธาตุ เช่น ภุชฺ + อ + ติ=ภุญฺชติย่อมกิน รุธฺ + อ + ติ=รุนฺธติย่อมปิ ด ย ปัจจัย ลงในหมวด ทิว ธาตุ เช่น ทิวฺ + ย + ติ=ทิพฺพติย่อมเล่น มุหฺ + ย + ติ=มุยฺหติย่อมหลง
  • 48. 48 ปัจจัยในกัตตุวาจก (ต่อ) ณุ,ณา,อุณา ปัจจัย ลงในหมวด สุ ธาตุ เช่น สุ + ณุ + ติ=สุโณติ ย่อมฟัง สุ + ณา + ติ=สุณาติ ย่อมฟัง ป + อป + อุณา + ติ=ปาปุณาติ ย่อม บรรลุ นา ปัจจัย ลงในหมวด กี ธาตุ เช่น ชิ + นา + ติ=ชินาติ ย่อมชนะ า + นา + ติ=ชานาติ ย่อมรู ้
  • 49. 49 ปัจจัยในกัตตุวาจก (ต่อ) ณฺหา ปัจจัย ลงในหมวด คหฺ ธาตุ เช่น คหฺ + ณฺหา + ติ=คณฺหาติ ย่อม ถือเอา คหฺ + ณฺหา + ตุ=คณฺหาตุ จง ถือเอา โอ, ยิร ปัจจัย ลงในหมวด ตนฺ ธาตุ เช่น กร + โอ + ติ=กโรติ ย่อมทา กร + ยิร + เอยฺย=กยิรา พึงกระทา
  • 50. 50 ปัจจัยในกัตตุวาจก (ต่อ) เณ, ณย ปัจจัย ลงในหมวด จุร ธาตุ เช่น  จุร + เณ + ติ=โจเรติ ย่อมขโมย จินฺต + ณย + ติ=จินฺตยติ ย่อมคิด
  • 51. 51 ปัจจัยพิเศษ ๒ กลุ่ม๑ ปัจจัยพิเศษ ๓ ตัว สาหรับประกอบกับ ธาตุ คือ ข, ฉ, ส เป็ นไปในความปรารถนา เช่น ภุช + ข + ติ=พุภุกฺขติ ย่อมปรารถนา จะกิน ฆส + ฉ + ติ=ชิฆจฺฉติ ย่อมปรารถนา จะกิน หร + ส + ติ=ชึคึสติ ย่อมปรารถนาจะ
  • 52. 52 ปัจจัยพิเศษ ๒ กลุ่ม (ต่อ)๒ปัจจัยพิเศษอีก ๒ ตัว คือ อาย, อิย สาหรับ ลงหลังนามศัพท์(ตามปกติปัจจัยอาขยาต ต้องลงหลังธาตุ แต่ อาย, อิย เป็นปัจจัย พิเศษให้ลงหลังนามศัพท์ได้) เป็นไปในความ ประพฤติ เช่น จิรฺ + อาย + ติ=จิรายติ ย่อมประพฤติช ้า อยู่ ปุตฺตฺ + อิย + ติ=ปุตฺติยติ ย่อมประพฤติให้ เป็น เพียงดังบุตร
  • 53. 53 อส ธำตุ เหตุกัมมวาจก ไม่ค่อยมี ใช้ในปกรณ์ทั้งหลาย (ส่วนมาก ใช้เป็นกิริยา กิตก์แทน) จะแจกเฉพาะ วัตตมานาฝ่ายอัตตโนบท ปฐมบุรุษ เท่านั้น เอก. พหุ. ปาจาปิยเต ปาจาปิยนฺเต รุนฺธาปิยเต รุนฺธาปิยนฺเต สิพฺพาปิยเต สิพฺพาปิยนฺเต สาวิยเต สาวิยนฺเต กิณาปิยเต กิณาปิยนฺเต
  • 54. 54 อส ธาตุ (ต่อ) ติ เป็น ตฺถิ ลบที่สุดธาตุ สาเร็จรูปเป็น อตฺถิ อนฺติ คงรูป ลบต้นธาตุ สาเร็จรูปเป็น สนฺติ สิ คงรูป ลบที่สุดธาตุ สาเร็จรูปเป็น อสิ ถ เป็น ตฺถ ลบที่สุดธาตุ สาเร็จรูปเป็น อตฺถ มิ เป็น มฺหิ ลบที่สุดธาตุ สาเร็จรูปเป็น อมฺหิ ม เป็น มฺห ลบที่สุดธาตุ สาเร็จรูปเป็น อมฺห ตุ เป็น ตฺถุ ลบที่สุดธาตุ สาเร็จรูปเป็น อตฺถุ
  • 55. 55 เอยฺย เป็น อิยา ลบต้นธาตุ สาเร็จรูปเป็น สิยา เอยฺย กับทั้งธาตุ สาเร็จรูปเป็น อสฺส เอยฺยุ กับทั้งธาตุ สาเร็จรูปเป็น อสฺสุ ํ เอยฺยุ เป็น อิยุ ลบต้นธาตุ สาเร็จรูปเป็น สิยุ ํ เอยฺยาสิ กับทั้งธาตุ สาเร็จรูปเป็น อสฺส เอยฺยาถ กับทั้งธาตุ สาเร็จรูปเป็น อสฺสถ เอยฺยามิ กับทั้งธาตุ สาเร็จรูปเป็น อสฺส เอยฺยาม กับทั้งธาตุ สาเร็จรูปเป็น อสฺสาม อส ธาตุ (ต่อ)
  • 56. 56 อส ธาตุ (ต่อ) อิ คงรูป ทีฆะต้นธาตุ สาเร็จรูปเป็น อาสิ อุ คงรูป ทีฆะต้นธาตุ สาเร็จรูปเป็น อาสุ ตฺถ คงรูป ทีฆะต้นธาตุ สาเร็จรูปเป็น อาสิตฺถ อึ คงรูป ทีฆะต้นธาตุ สาเร็จรูปเป็น อาสึ มฺหา คงรูป ทีฆะต้นธาตุ สาเร็จรูปเป็น อิสิมฺหา
  • 57. 57 กิตก์ คือ ปัจจัยกลุ่มหนึ่งสาหรับประกอบกับธาตุให้สาเร็จรูปเป็นนาม ศัพท์ก็มี เป็นกิริยาศัพท์ก็มี เช่น ทา ธาตุ ประกอบกับ ณฺวุ ปัจจัย สาเร็จเป็น ทายก แปลว่า ผู้ให้ใช้เป็นนามศัพท์, ทา ธาตุประกอบกับ ต ปัจจัย สาเร็จเป็น ทินฺน แปลว่าให้แล้วใช้เป็นกิริยาศัพท์ กิตก์จึงเป็น ๒ ชนิด คือ ๑. ประกอบธาตุแล้วสาเร็จ เป็นนามศัพท์ เรียกว่า "นามกิตก์" ๒. ประกอบธาตุแล้วสาเร็จ เป็นกิริยาศัพท์ เรียกว่า "กิริยากิตก์"
  • 58. 58 นำมกิตก์ คือ ปัจจัยกลุ่มหนึ่งที่เป็นนาม ๑๐ ตัว คือ กฺวิ, ณี, ณฺวุ, ตุ, รู, ข, ณฺย, อ, อิ, ณ, ตเว, ติ, ตุ ํ, ยุ ประกอบ กับธาตุแล้วสาเร็จเป็นนามศัพท์ ดังนั้น กิตก์ที่เป็นนามก็ดี เป็นคุณนามก็ดี เรียกว่านามกิตก์ๆ เมื่อสาเร็จแล้ว จัดเป็น สาธนะต่างๆ
  • 59. 59 สาธนะศัพท์ที่ยังกิริยาในรูปวิเคราะห์ให้สาเร็จ เช่น เทตีติ ทายโก ๆ ได้ชื่อว่าเป็ นสาธนะ เพราะยังกิริยาคือ เทติ ให้สาเร็จเป็ น ทาย โก สาธนะ นั้นแบ่งเป็ น ๗ ชนิด คือ ๑. กัตตุสาธนะ ๒. กัมมสาธ นะ ๓. ภาวสาธนะ ๔. กรณสาธ นะ ๕. สัมปทานสาธนะ ๖. อปาทาน สาธนะ
  • 60. 60 กัตตุสาธนะ ศัพท์ใดเป็ นชื่อของผู้ทา คือ ผู้แสดงกิริยานั้น เช่น - กุมฺภกาโร ผู้ทาซึ่งหม้อ - ทายโก ผู้ให้ - โอวาทโก ผู้กล่าวสอน - สาวโก ผู้ฟัง ศัพท์นั้น ชื่อ กัตตุสาธนะ มี ๓ ชนิด ๑. กัตตุรูป กัตตุสาธนะ แปลว่า ผู้, อัน, ตัว.... ๒. กัตตุรูป กัตตุสาธนะ ตัสสีละ แปลว่า ผู้....โดยปกติ ๓. สมาสรูป กัตตุสาธนะ ตัสสีละ แปลว่า ผู้มีอัน, การ , ความ.....เป็ นปกติ
  • 61. 61 กัมมสาธนะ สิ่งใดถูกทา ศัพท์ที่เป็ นชื่อของสิ่งนั้น เช่น ปิ โย เป็ นที่รัก รโส วิสัย เป็ นที่ยินดี ศัพท์ที่เป็ นชื่ออันเขาทา เช่น กิจฺจ กรรมอันเขาพึงทา ทาน สิ่งของอันเขาพึงให้ชื่อว่า กัมมสาธนะ มี ๒ ชนิด คือ ๑. กัตตุรูป กัมสาธนะ แปลว่า เป็ นที่.... ๒. กัมมรูป กัมมสาธนะ แปลว่า อันบุคคล....
  • 62. 62 ภาวสาธนะ ศัพท์ที่ใช้เป็ นชื่อของกิริยาอาการ เช่น คมน การไป าน การยืน นิสชฺชา การนั่ง สยน การนอน เป็ นต้น ชื่อว่า ภา วสาธนะ มีอยู่ชนิดเดียว คือ ภาวรูป ภาวสาธนะ แปลว่า ความ..., อัน ..., การ...
  • 63. 63 กรณสาธนะศัพท์ที่ใช้เป็ นเครื่องมือทา เป็ นต้นว่า พนฺธน วัตถุเป็ นเครื่องผูก (เป็ นชื่อของ เครื่องผูก) ปหรณ วัตถุเป็ นเครื่องประหาร (เป็ นชื่อ ของเครื่องประหาร) วิชฺฌน วัตถุเป็ นเครื่องเจาะ (เป็ นชื่อ ของเครื่องเจาะ) เป็ นต้น ชื่อว่า กรณสาธนะ มี ๒ ชนิด คือ ๑. กัตตุรูป กรณสาธนะ แปลว่า เป็ น เครื่อง...., เป็ นเหตุ.... ๒. กัมมรูป กรณสาธนะ แปลว่า เป็ น
  • 64. 64 สัมปทานสาธนะศัพท์ที่ใช้เป็ นชื่อของคน หรือ สิ่งที่ถูกรับ มอบ เช่น สมฺปทาน วัตถุเป็ นที่มอบให้ (เป็ นชื่อ ของวัตถุที่รับมอบ) สมฺปทาโน พราหมณ์เป็ นที่รับมอบ (เป็ น ชื่อของพราหมณ์ผู้รับมอบ) ชื่อว่า สัมปทานสาธนะ มี ๒ ชนิด คือ ๑. กัตตุรูป สัมปทานสาธนะ แปลว่า เป็ น ที่.... ๒. กัมมรูป สัมปทานสาธนะ แปลว่า เป็ น ที่อันบุคคล....
  • 65. 65 อปาทานสาธนะ ศัพท์ที่ใช้เป็ นชื่อของคนหรือสถานที่คน อื่น หรือ สิ่งอื่นออกจาก เช่น - ปภสฺสโร แดนสร้านออกแห่งรัศมี (เป็ น ชื่อของเทวดาจาพวกหนึ่งที่เป็ นแดนให้ รัศมีพุ่งออกไป) - ปภโว แดนเกิดก่อน (เป็ นชื่อของสถานที่ เป็ นแดนเกิดแห่งแม่น้า เป็ นต้น) - ภีโม แดนกลัว (เป็ นชื่อของยักษ์). ชื่อ ว่าอปาทานสาธนะๆ มีชนิดเดียว คือ กัตตุ รูป อปาทานสาธนะ แปลว่า เป็ นแดน....
  • 66. 66 อธิกรณสาธนะศัพท์ที่ใช้เป็ นชื่อของสถานที่ ที่สิ่งอื่นไป แสดงกิริยาอาการ เช่น - าน ที่ตั้ง, ที่ยืน (เป็ นชื่อของสถานที่ ที่สิ่งอื่นตั้งอยู่) - อาสน ที่นั่ง (เป็ นชื่อของสถานที่ ที่คน อื่นนั่งอยู่) - สยน ที่นอน (เป็ นชื่อของสถานที่ ที่ คนอื่นนอน) ชื่อว่า อธิกรณสาธนะ มี ๒ ชนิด คือ ๑. กัตตุรูป อธิกรณสาธนะ แปลว่า เป็ น ที่.... ๒. กัมมรูป อธิกรณสาธนะ แปลว่า เป็ น
  • 67. 67 รูปวิเคราะห์รูปวิเคราะห์หมายถึง การกระจายศัพท์ออกให้ เห็นธาตุ, วิภัตติ, ปัจจัย เป็ นต้น แบ่งเป็ น ๓ ชนิด ๑. กัตตุรูป คือ รูปวิเคราะห์ที่เป็ น กัตตุ วาจก, และ เหตุกัตตุวาจก ๒. กัมมรูป คือ รูปวิเคราะห์ที่เป็ น กัมมวาจก, และ เหตุกัมมวาจก ๓. ภาวรูป คือ รูปวิเคราะห์ที่เป็ น ภาววาจก หรือ รูปของกิริยาอาการ การจะกาหนดศัพท์เป็ นสาธนะต่างๆ ได้ แม่นยา ต้องสังเกตที่ปัจจัยสาหรับประกอบกับ ธาตุ
  • 68. 68 ปัจจัยแห่งนามกิตก์ปัจจัยแห่งนามกิตก์สาหรับประกอบกับธาตุ เพื่อให้สาเร็จเป็ นสาธนะแบ่งเป็ น ๓ หมวด คือ ๑. หมวดกิตปัจจัย สาหรับประกอบกับศัพท์ที่ เป็ นกัตตุรูป ๒. หมวดกิจจปัจจัย สาหรับประกอบกับศัพท์ที่ เป็ นกัมมรูป และ ภาวรูป ๓. หมวดกิตกิจจปัจจัย สาหรับประกอบกับศัพท์ ที่เป็ นได้ทั้ง ๓ รูปปัจจัย ๓ หมวด นั้น ดังนี้ ๑) กิตปัจจัย มี ๕ ตัว คือ กฺวิ, ณี, ณฺวุ, ตุ, รู ๒) กิจจปัจจัย มี ๒ ตัว คือ ข, ณฺย ๓) กิตกิจจปัจจัย มี ๗ ตัว คือ อ, อิ, ณ, ตเว
  • 69. 69 วิเคราะห์ปัจจัยนามกิตก์ หมวด กิตปัจจัย เป็ นกัตตุรูป กัตตุสาธนะ มีปัจจัย ๕ ตัว คือ - กฺวิ ปัจจัย - ณี ปัจจัย - ณฺวุ ปัจจัย - ตุ ปัจจัย - รู ปัจจัย มีวิเคราะห์ตามลาดับ ดังนี้
  • 70. 70 วิเคราะห์ปัจจัยนามกิตก์ กฺ วิ ปัจจัย สย ภวตีติ= สยมฺภู (ภควา) (อ.พระผู้มีพระภาค เจ้า พระองค์ใด) ย่อมเป็ นเอง เพราะเหตุนั้น (อ. พระผู้มีพระภาคเจ้าพระองค์นั้น) ชื่อว่า สยมฺภูๆ แปลว่า ผู้เป็ นเอง. สย บทหน้า ภูธาตุ ในความมี, ความเป็ น แปลงนิคคหิตเป็ น มฺ ลบ กฺวิ ปัจจัย เรน คจฺฉตีติ= อุรโค (สตฺโต) (อ.สัตว์ใด) ย่อมไป ด้วยอก เพราะเหตุนั้น (อ.สัตว์นั้น) ชื่อว่า อุรโคๆ แปลว่า ผู้ไปด้วยอก. อุรบทหน้า คม ธาตุ ใน ความไป, ลบพยัญชนะที่สุดธาตุและ กฺวิ ปัจจัย
  • 71. 71 วิเคราะห์ปัจจัยนามกิตก์ กฺ วิ ปัจจัย (ต่อ)ส สุฎฺฐุ ขนตีติ= สงฺโข (สตฺโต) (อ. สัตว์ใด) ย่อมขุด ดี คือว่า ด้วยดี เพราะเหตุ นั้น (อ.สัตว์นั้น) ชื่อว่า สงฺโขๆ แปลว่า ผู้ขุดดี. ส บท หน้า ขน ธาตุในความขุด, แปลง นิคคหิต เป็ น งฺ ลบ พยัญชนะที่สุด ธาตุ และ กฺวิ ปัจจัย
  • 72. 72 วิเคราะห์ปัจจัยนามกิตก์ณี ปัจจัย ธมฺม วทติ สีเลนาติ = ธมฺมวาที (ภิกฺขุ) (อ. ภิกษุใด) ย่อมกล่าวซึ่ง ธรรม โดยปกติ เพราะเหตุนั้น (อ. ภิกษุนั้น) ชื่อว่า ธมฺมวาทีๆ แปลว่า ผู้กล่าว ซึ่งธรรมโดยปกติ. กัตตุรูป กัตตุสาธนะ ลงในอรรถตัสสีละ
  • 73. 73 วิเคราะห์ปัจจัยนามกิตก์ณี ปัจจัย (ต่อ)ธมฺม วตฺตุ สีลมสฺสาติ = ธมฺมวาที (ภิกขุ) อ. การกล่าว ซึ่งธรรม เป็ นปกติ ของภิกษุ นั้น เพราะเหตุนั้น (อ.ภิกษุนั้น) ชื่อว่า ธมฺม วาทีๆ แปลว่า ผู้มีการ กล่าวซึ่งธรรม เป็ น ปกติ เป็ นสมาสรูป กัตตุ สาธนะ ลงใน อรรถตัสสีละ ธมฺม บทหน้า วท ธาตุ ใน ความกล่าว ถ้าต้องการเป็ น อิตถีลิงค์ลง อินีปัจจัย เป็ น ธมฺมวาทินี, ถ้าเป็ น นปุงสกลิงค์รัสสะ อี เป็ น อิ เป็ น ธมฺมวาทิ
  • 74. 74 วิเคราะห์ปัจจัยนามกิตก์ณี ปัจจัย (ต่อ)ปาป กโรติ สีเลนาติ = ปาปการี (ชโน)อ. ชนใด ย่อมทา ซึ่งบาปโดยปกติ เพราะเหตุนั้น อ.ชนนั้น ชื่อว่า ปาปการีๆ แปลว่า ผู้ทาซึ่ง บาปโดย ปกติ, ปาป บทหน้า กร ธาตุในความทา ธมฺม จรติ สีเลนาติ = ธมฺมจารี (ชโน)อ.ชน ใด ย่อมประพฤติ ซึ่งธรรมโดยปกติ เพราะ เหตุนั้น อ.ชนนั้น ชื่อว่า ธมฺมจารีๆ แปลว่า ผู้ประพฤติซึ่งธรรมโดยปกติ. ธมฺม บทหน้า จร ธาตุ ในความประพฤติ
  • 75. 75 วิเคราะห์ปัจจัยนามกิตก์ ณฺวุ ปัจจัย เทตีติ = ทายโก (ชโน)อ.ชนใด ย่อมให้ เพราะเหตุนั้น อ.ชนนั้น ชื่อว่า ทายโกๆ แปลว่า ผู้ให้. ทา ธาตุในความให้, แปลง ณฺวุ เป็ น อก, แปลง อา เป็ น อาย, ถ้า เป็ นอิตถีลิงค์แปลง อ. เป็ น อิ ลง อา ปัจจัย เป็ น ทายิกา เป็ นกัตตุรูป กัตตุ สาธนะ
  • 76. 76 วิเคราะห์ปัจจัยนามกิตก์ ณฺวุ ปัจจัย (ต่อ)เนตีติ = นายโก (ชโน)อ.ชนใด ย่อม นาไป เพราะเหตุนั้น อ.ชนนั้น ชื่อว่า นายโกๆ แปลว่า ผู้นาไป. นี ธาตุ ใน ความนาไป พฤทธิ์อี เป็ น เอ แปลง เอ เป็ น อาย แปลง ณฺวุ เป็ น อก อนุสาสตีติ = อนุสาสโก (ชโน)อ.ชนใด ย่อมตามสอน เพราะเหตุนั้น อ.ชนนั้น ชื่ออนุสาสโกๆ แปลว่า ผู้ตามสอน. อนุ บทหน้า สาส ธาตุ ในความสอน
  • 77. 77 วิเคราะห์ปัจจัยนามกิตก์ ณฺวุ ปัจจัย (ต่อ)สุณาตีติ = สาวโก (ชโน)อ.ชนใด ย่อมฟัง เพราะเหตุนั้น อ.ชนนั้น ชื่อว่า สาวโกๆ แปลว่า ผู้ฟัง. สุ ธาตุในความฟัง, พฤทธิ์อุ เป็ น โอ, แปลง โอ เป็ น อาว. หตฺถึ มาเรตีติ = หตฺถิมารโก (ชโน)อ. ชนใด ยังช้าง ย่อมให้ตาย เพราะเหตุนั้น อ.ชนนั้น ชื่อว่า หตฺถิมารโกๆ แปลว่า ผู้ยังช้าง ให้ ตาย. หตฺถิ บทหน้า มร ธาตุ ในความตาย, พฤทธิ์อ เป็ นอา, แปลง ณฺวุ เป็ น อก. ลง เณ เหตุกัตตุวาจกด้วย
  • 78. 78 วิเคราะห์ปัจจัยนามกิตก์ ตุ ปัจจัยกโรตีติ = กตฺตา (ชโน)อ.ชนใด ย่อม ทา เพราะเหตุนั้น อ.ชนนั้น ชื่อว่า กตฺ ตาๆ แปลว่า ผู้ทา. กัตตุรูป กัตตุสาธ นะ กโรติ สีเลนาติ กตฺตา (ชโน) อ.ชน ใด ย่อมทา โดยปกติ เพราะเหตุนั้น อ. ชนนั้น ชื่อว่า กตฺตาๆ แปลว่า ผู้ทา โดยปกติ. กัตตุรูป กัตตุสาธนะ ลงใน อรรถตัสสีละ, กร ธาตุ ในความทา ลบ พยัญชนะที่สุดธาตุ ซ้อน ตฺ แจกผสม วิภัตติเหมือน สตฺถุ
  • 79. 79 วิเคราะห์ปัจจัยนามกิตก์ ตุ ปัจจัย (ต่อ)วทตีติ = วตฺตา (ชโน)อ.ชนใด ย่อมกล่าว เพราะเหตุนั้น อ.ชนนั้น ชื่อว่า วตฺตาๆ แปลว่า ผู้กล่าว. วท ธาตุในความกล่าว ชานาตีติ = าตา (ชโน)อ.ชนใด ย่อมรู ้ เพราะเหตุนั้น อ.ชนนั้น ชื่อว่า าตา ๆ แปลว่า ผู้รู ้. า ธาตุในความรู ้ ธาเรตีติ = ธาตา (ชโน)อ.ชนใด ย่อมทรงไว้ เพราะเหตุนั้น อ.ชนนั้น ชื่อว่า ธาตาๆ แปลว่า ผู้ทรงไว้ ธร หรือ ธา ธาตุ ในความทรงไว้
  • 80. 80 วิเคราะห์ปัจจัยนามกิตก์ ตุ ปัจจัย (ต่อ) ปโพเธติ สีเลนาติ = ปโพเธตา (ชโน)อ.ชนใด (ยังชน) ย่อมให้รู ้ โดยปกติ เพราะเหตุนั้น อ.ชน นั้น ชื่อว่า ปโพเธตาๆ แปลว่า ผู้ ยังชนให้รู ้ โดยปกติ, ป บทหน้า พุธ ธาตุ ในความรู ้
  • 81. 81 วิเคราะห์ปัจจัยนามกิตก์ รู ปัจจัย ปาร คจฺฉติ สีเลนาติ = ปารคู (ชโน)อ. ชนใด ย่อมถึงซึ่งฝั่ง โดยปกติ เพราะ เหตุนั้น อ.ชนนั้น ชื่อว่า ปารคูๆ แปลว่า ผู้ถึงซึ่งฝั่งโดยปกติ. ปาร บท หน้า คม ธาตุในความถึง ลบ รฺ อนุพันธ ์ พร้อมกับพยัญชนะที่สุดธาตุ, เป็ นกัตตุ รูป กัตตุสาธนะ ลงในอรรถตัสสีละ
  • 82. 82 วิเคราะห์ปัจจัยนามกิตก์ รู ปัจจัย (ต่อ)วิชานาติ สีเลนาติ = วิญฺญู (ชโน)อ.ชนใด ย่อมรู ้วิเศษ โดยปกติ เพราะเหตุนั้น อ.ชน นั้น ชื่อว่า วิญฺญูๆ แปลว่า ผู้รู ้วิเศษ โดย ปกติ, วิบทหน้า า ธาตุในความรู ้, เป็ นกัตตุ รูป กัตตุสาธนะ ลงในอรรถตัสสีละ ภิกฺขติ สีเลนาติ = ภิกฺขุ (ชโน)อ.ชนใด ย่อมขอ โดยปกติ เพราะเหตุนั้น อ.ชนนั้น ชื่อว่า ภิกฺขุๆ แปลว่า ผู้ขอโดยปกติ. ภิกฺข ธาตุ ในความขอ, รัสสะ อู เป็ น อุ, ไม่ลบ พยัญชนะที่สุดธาตุ
  • 83. 83 วิเคราะห์ปัจจัยนามกิตก์ รู ปัจจัย (ต่อ) สสาเร ภย อิกฺขติ สีลมสฺสาติ ภิกฺขุ (ชโน)อ.การเห็นซึ่งภัย ในสงสารเป็ น ปกติของชนนั้น. เพราะเหตุนั้น อ.ชน นั้น ชื่อว่า ภิกฺขุๆ แปลว่า ผู้มีการเห็น ซึ่งภัย ในสงสารเป็ นปกติ, ภย บทหน้า แปลง ภย เป็ น ภ, อิกฺข ธาตุ ใน ความเห็น, รัสสะ อู เป็ น อุ, ไม่ลบ พยัญชนะที่สุดธาตุ
  • 84. 84 กิริยากิตก์ ศัพท์จาพวกหนึ่ง ที่มีธาตุประกอบด้วย ปัจจัยกิตก์จาพวกกิริยาสาเร็จรูปด้วย วิภัตติแล้วใช้เป็ นกิริยาเรียกว่า กิริยา กิตก์, กิริยากิตก์นี้ ประกอบด้วย องค์ประกอบ ๖ ประการ คือ - วิภัตติ - วจนะ - กาล - ธาตุ - วาจก - ปัจจัย
  • 85. 85 วิภัตติและวจนะกิริยากิตก์นี้ใช้วิภัตตินาม ๑๖ ตัว ใช้ เป็ นกิริยาของนามศัพท์ถ้านามศัพท์ ประกอบด้วยวิภัตติและวจนะใด กิริยา กิตก์ประกอบวิภัตติและวจนะนั้นตาม เช่น ภิกฺขุ คาม ปิ ณฺฑาย ปวิฎฺโ ฯ อ.ภิกษุ เข้าไปแล้ว สู่บ้าน เพื่อก้อนข้าว ฯ เยเกจิ พุทฺธ สรณ คตา ฯ อ.ชน ท. เหล่าใด เหล่าหนึ่ง ถึงแล้ว ซึ่งพระพุทธเจ้าว่าเป็ นที่ระลึกฯ
  • 86. 86 กำล ในกิริยากิตก์แบ่งกาลเป็น ๒ ชนิด คือ ๑. ปัจจุบันกาล ๒. อดีตกาล ปัจจุบันกาล แบ่งออกเป็น ๒ กาล คือ ๑. ปัจจุบันแท้ ๒. ปัจจุบันใกล้อนาคต อดีตกาล แบ่งออกเป็น ๒ กาล คือ ๑. อดีตกาลล่วงแล้ว ๒. อดีตกาลล่วงแล้วเสร็จ กาลที่แบ่งโดยย่อเป็น ๒ อย่าง และแบ่งโดยละเอียดเป็น ๔ อย่างนี้ต้องอาศัยปัจจัยเป็นตัวกาหนดจึงทราบกาลได้
  • 87. 87 คาแปลประจากาล๑) ปัจจุบันแท้ แปลว่า "...อยู่" เช่น อห ธมฺม สุณนฺโต ปี ตึ ลภามิฯ อ.เรา ฟังอยู่ ซึ่งธรรม ย่อมได้ซึ่งปี ติ ๒) ปัจจุบันใกล้อนาคต แปลว่า "เมื่อ..." เช่น อนุสนฺธึ ฆเฎตฺวา ธมฺม เทเสนฺโต อิม คาถมาห ฯ อ.พระศาสดา เมื่อทรง สืบต่อ ซี่งอนุสนธิ แสดง ซึ่งธรรมตรัส แล้ว ซึ่งพระคาถานี้ ๓) อดีตกาลล่วงแล้ว แปลว่า "...แล้ว" เช่น ตโย มาสา อติกฺกนฺตา ฯ อ. เดือน ท. สาม ก้าวล่วงแล้ว ฯ
  • 88. 88 คาแปลประจากาล (ต่อ) ๔) อดีตกาลล่วงแล้วเสร็จ แปลว่า "ครั้น ... แล้ว" เช่น เยน ภควา, เตนุปสงฺกมิ, อุปสงฺก มิตฺวา ภควนฺต อภิวาเทตฺวา เอ กมนฺต นิสีทิ ฯ (อ.ภิกษุรูปหนึ่ง) อ.พระผู้ มีพระภาคเจ้า (ประทับอยู่แล้ว) โดยส่วน แห่งทิศใด, เข้าไปเฝ้ าแล้วโดย ส่วนแห่งทิศ นั้น, ครั้นเข้าไปเฝ้ าแล้ว ถวายบังคมแล้วซึ่ง พระผู้มีพระภาคเจ้า นั่งแล้ว ณ ที่ควรส่วน ข้างหนึ่ง
  • 89. 89 วาจก๑)กัตตุวาจก ภิกฺขุ คาม ปิ ณฺฑาย ปวิฏฺโ ฯ อ.ภิกษุ เข้าไปแล้วสู่บ้าน เพื่อก้อนข้าวฯ ๒) กัมมวาจก อธิคโต โข มยาย ธมฺโม ฯ อ.ธรรม นี้ อันเราถึงทับแล้ว แลฯ. ๓) ภาววาจก การเณเนตฺถ ภวิตพฺพ ฯ อันเหตุ ใน เรื่องนี้พึงมี ฯ. ๔) เหตุกัตตุวาจก สเทวก ตารยนฺโต ฯ ยังโลก อัน เป็ นไปกับ ด้วยเทวโลก ให้ข้ามอยู่ ฯ. ๕) เหตุกัมมวาจก อย ถูโป ปติฏฺ าปิ โต ฯ อ.พระ สถูปนี้ อันชนให้ตั้ง
  • 90. 90 ปัจจัย ๑.กิตปัจจัย มี ๓ ตัว คือ อนฺต, ตวนฺ ตุ, ตาว ๒.กิจจปัจจัย มี ๒ ตัว คือ อนีย, ตพฺพ ๓.กิตกิจจปัจจัย มี ๕ ตัว คือ มาน, ต, ตูน, ตฺวา, ตฺวาน
  • 91. 91 ปัจจัย (ต่อ)บอกกาลต่างกัน ดังนี้ ๑) ปัจจุบันแท้ ปัจจัยที่บอก คือ อนฺต, มาน ๒) ปัจจุบันใกล้อนาคต ปัจจัยที่บอก คือ อนฺต, มาน ๓) อดีตกาลล่วงแล้ว ปัจจัยที่บอก คือ ตวนฺ ตุ, ตาวี, ต, ตูน, ตฺวา, ตฺวาน ๔) อดีตกาลล่วงแล้วเสร็จ ปัจจัยที่บอก คือ ตูน, ตฺวา, ตฺวาน ส่วน อนีย, และ ตพฺพ ปัจจัย ไม่บอกกาลอะไร บอกเพียง ความเป็ นไปของกิริยาอาการ แปลว่า ควร, พึง
  • 92. 92