SlideShare une entreprise Scribd logo
1  sur  20
การประชุมทบทวนและซักซ้อมแผนเผชิญเหตุ
วัยรุ่นตีกันในโรงพยาบาล
ณ โรงพยาบาลบ้านกรวด อาเภอบ้านกรวด จังหวัดบุรีรัมย์
วันที่ มีนาคม 2566
ระดับของแผน: แผนตอบโต้ภาวะฉุกเฉินมี3 ระดับ
ระดับยุทธศาสตร์ (Strategic)
เน้นที่เป
้ าหมาย วัตถุประสงค์ของนโยบายและแนวทาง
โดยรวมขององค์กร
เป
้ าหมาย
ระดับปฏิบัติการ(Operational)
บทบาทและหน้าที่ความรับผิดชอบ ภารกิจ
การบูราณการ และการดาเนินการ
ภาระกิจ
ระดับยุทธวิธี(Tactical)
บุคลากร เครื่องไม้เครื่องมือและอุปกรณ์การ
บริหารจัดการทรัพยากร และพันธกิจ
กิจกรรม
Strategic Plan
Business
Continuity
Plan (BCP)
All-Hazards Plan
(AHP)
Incidence
Action Plan
(IAP)
ประโยชน์ของแผน
1.การวางแผนช่วยลดความคลุมเครือที่ต้องเผชิญ
2.ช่วยลดไม่ให้เกิดความซับซ้อน หรืองานที่ไม่มีใครทา ภายใต้การทางาน
ร่วมกัน
3.การวางแผนช่วยควบคุมและติดตามการทางาน
ประโยชน์ของแผน
SMART Objective
S : Specific มีความจาเพาะ ใคร ทาอะไร ที่ไหน เมื่อไหร่
M : Measurable สามารถวัดได ้
A : Achievable สามารถทาให ้สาเร็จได ้
R : Relevant มีความเชื่อมโยงกับสภาพปัญหา และภารกิจขององค์กร
T : Time-bound เสร็จได ้ภายในกรอบเวลาที่กาหนดไว ้อย่างชัดเจน
SMART Objective
S : Specific ผู้บาดเจ็บจากเหตุวัยรุ่นตีกันทั้งในและนอก
โรงพยาบาลบ ้านกรวด ปีงบประมาณ2566
M : Measurable มีจานวนลดน้อยลงกว่าร้อยละ 10
A : Achievable และทุกรายได ้รับการดูแลตามมาตรฐานวิชาชีพอย่าง
R : Relevant มีลดการสูญเสียทรัพย์สินและผลกระทบที่เกิดกับ
โรงพยาบาลบ้านกรวด เจ้าหน้าที่ และผู้รับบริการ
T : Time-bound สามารถควบคุมรายงานสถานการณ์ผู้บาดเจ็บจากเหตุวัยรุ่น
ตีกันในโรงพยาบาลให ้แก่ผู้บริหารทราบ ภายในเวลา
และป
้ องกันเหตุที่ส่งผลต่อภาพลักษณ์ของ
โรงพยาบาลบ้านกรวด
หลักการและเหตุผล
ความรุนแรงในโรงพยาบาลในช่วงปีที่ผ่านมา อาจเพราะปัจจุบันสภาพจิตใจของคนเปลี่ยนไป
ความอดทนในเรื่องต่างๆลดต่าลง จากภาวะปัญหาต่างๆ เช่นโรคภัย ไข ้เจ็บ เศรฐกิจ รายได ้ รวมจนถึงปัจจัย
ในการเลี้ยงดู และผลกระทบจากยาเสพติด
ดังนั้นกลุ่มงานห ้องอุบัติเหตุฉุกเฉินและนิติเวช จึงจัดการซ ้อมแผนเพื่อการเผชิญเหตุในปี 2566
หลักการและเหตุผล
213
157
123
134
73
0
50
100
150
200
250
2562 2563 2564 2565 2566
จานวนผู้บาดเจ็บจากการถูกทาร้ายร่างกาย
วัตถุประสงค์
1.เพื่อป้องกันการสูญเสียชีวิตเจ ้าหน้าที่/ผู้รับบริการ ทรัพย์สินของโรงพยาบาล
2.เพื่อพัฒนาระบบบริหารจัดการด ้านการเผชิญเหตุฉุกเฉิน
3.เพื่อให ้เจ ้าหน้าที่เกิดความตระหนักและมีความพร้อม สามารถระงับเหตุ รวมทั้งเจ ้าหน้าที่ช่วยเหลือ ตนเอง
ได ้อย่างปลอดภัยเมื่อเกิดเหตุ
สถานการณ์จาลอง
สถานการณ์ 19.30 น. วัยรุ่นยกพวกทะเลาะวิวาทและทาร้ายร่างกายในเทศกาลประจาปี
เครื่องเคลือบบ้านกรวด มีผู้บาดเจ็บเข ้ารับการรักษาที่ห ้องอุบัติเหตุ-ฉุกเฉิน 3 ราย กลุ่มเพื่อนทั้ง 2 ฝ่ ายจับ
กลุ่มรวมตัวกันที่หน้าห ้องฉุกเฉิน เกิดการทะเลาะวิวาทและต่อสู้กันในห ้องฉุกเฉิน ทาให ้ของเครื่องใช ้ใน
แผนกอุบัติเหตุเสียหาย
มีผู้บาดเจ็บเข ้ารับการรักษาที่ห ้อง
อุบัติเหตุ-ฉุกเฉิน 3 ราย
กลุ่มเพื่อนทั้ง 2 ฝ่ ายจับกลุ่มรวมตัวกัน
เกิดการทะเลาะวิวาทและต่อสู้กันในห ้องฉุกเฉิน
ทาให ้ของเครื่องใช ้ในแผนกอุบัติเหตุเสียหาย
แผนเผชิญเหตุวัยรุ่นตีกันในโรงพยาบาล
•ด้านการแจ้งเหตุฉุกเฉิน (Alert Notification)
1. มีการแจ ้งเหตุผ่านกริ่งที่จัดเตรียมไว ้ในห ้องฉุกเฉินซึ่งจะต่อตรงไปที่ป้อมยามเลย โดยบุคลากรที่อยู่หน้า
ห ้องฉุกเฉิน หรือศูนย์สั่งการไม่ทราบเรื่องที่เกิดขึ้นในห ้อง
2. เมื่อกดกริ่งแล ้ว เสียงที่ดังเป็นเสียงเดียวกับเสียงสัญญานประชาสัมพันธ์ปกติ อาจทาให ้ไม่เกิดการตื่นตัว
ไม่มีเจ้าหน้าที่มาปลดล็อคกริ่ง /เหตุการณ์มักเกิดนอกเวลาราชการ
•ด้านการสื่อสาร (Communication)ศูนย์สั่งการโทรสายตรง แจ้งตารวจ สภ.บ้านกรวด
•ด้านการประสานงานการสั่งการและการควบคุม (Coordination Command and Control)
บุคลากรตัดสินใจไม่ได้ว่าจะต้องแจ้ง รปภ.หรือตารวจเมื่อเกิดความรุนแรงระดับใด
แผนเผชิญเหตุวัยรุ่นตีกันในโรงพยาบาล
•ด้านความปลอดภัย
1) การปิด-เปิดประตูห ้องฉุกเฉิน รปภ./จนท.ตารวจ ยืนกากับการเข ้าออกป้องกันไม่ให ้สามารถเข ้าไป
ต่อสู้กันในห ้องฉุกเฉินได ้ (check sensor)
2) มีกล ้องวงจรปิดหน้า ER ที่ใช ้การไม่ได ้ หรือชารุดไหม ? (เรียกดึงดูข ้อมูลย ้อนหลังได ้กี่วัน สิทธิ์ใน
การร้องขอข ้อมูล =เอกสารกากับทางกฏหมาย)
3) ตารวจ/สห. มาถึงจุดเกิดเหตุก่อน รปภ.x2
4) รปภ.และพยาบาลไม่สามารถเข ้าไปห ้ามขณะที่เหตุการณ์มีการต่อสู้และใช ้อาวุธ
แผนเผชิญเหตุวัยรุ่นตีกันในโรงพยาบาล
•ด้านความปลอดภัย
1. การป้องกันเหตุรุนแรง กู้ภัย/ผู้นาส่ง ควรแจ้งตั้งแต่จุดเกิดเหตุว่าเป
็ นกรณีวิวาท พิจารณาส่ง
ผู้ป่ วยไปรักษาแยกตามคู่กรณีหากจาเป็นจริงๆ อาจจะต ้องแยก รพ.และแจ ้งรพ.ทราบล่วงหน้าเพื่อเตรียม
ความพร้อม
2. มีป้ายประชาสัมพันธ์ที่ ER เพื่อแจ ้งให ้ทราบว่า หากมีการทะเลาะวิวาทในโรงพยาบาล จะมีกฎหมาย
ลงโทษ (จนท.ตารวจ)
3. ประเมินเมื่อผู้ป่ วยมาถึงจุดคัดกรอง และซักประวัติได ้ว่าบาดเจ็บจากการทะเลาะวิวาท ให ้เฝ้าระวังและมี
สัญลักษณ์แจ ้งให ้บุคลากรทราบ
3 การจัดการเมื่อมีเหตุฉุกเฉิน
3.1 จัดทา SOP เตรียมความพร้อมกรณีเกิดเหตุ โดยกาหนดระดับความรุนแรงของเหตุการณ์และ
แนวทางจัดการในแต่ละระดับ
3.2จัดระบบการแจ ้งเหตุด ้วยการใช ้กริ่งให ้ชัดเจน ว่าควรดังที่ไหนบ ้าง เมื่อกริ่งดังแล ้ว ผู้เกี่ยวข ้องควร
ดาเนินการอย่างไร
3.3 จัดระบบกล ้องวงจรปิดให ้สามารถใช ้การได ้ พร้อมทั้งมีการเช็คอย่างสม่าเสมอ
แผนเผชิญเหตุวัยรุ่นตีกันในโรงพยาบาล
เจ้าหน้าที่
•เจ้าหน้าที่รักษาความปลอดภัยประจาหน้าห ้องฉุกเฉินตลอด 24 ชั่วโมง โดยเฉพาะในช่วงเทศกาล
•เจ้าหน้าที่ด ้านการรักษาพยาบาลอยู่ประจาจุดคัดกรองเพื่อให ้คาอธิบายผู้ป่ วย
•จัดเจ้าหน้าที่ตารวจตรวจการณ์เป็นระยะ ๆ เวลา........ใดบ ้าง
กายภาพ/สิ่งแวดล้อม
•จัดให ้มีป้ายประชาสัมพันธ์การให ้บริการ ณ ห ้องฉุกเฉิน ESI ที่ให้บริการ
•มีการรายงานความคืบหน้าการตรวจรักษาผ่านทางหน้าจอที่หน้าห ้องฉุกเฉิน
•จักให ้มีกริ่งสัญญาณเตือนภัย เผื่อจาเป็นต ้องร้องขอความช่วยเหลือจากภายนอก
•มีการตรวจสอบความพร้อมของกล ้องวงจรปิดหรือ CCTV
ระบบการจัดการ
•จากัดญาติที่เข ้ามาในห ้องฉุกเฉิน (พื้นที่ตรวจรักษา)
เหตุความรุนแรงในโรงพยาบาล
มาตรการเตรียมพร้อมกรณีเกิดเหตุ
รุนแรงเล็กน้อย–ด่าว่า ดูถูก ดูหมิ่น เหยียดหยาม ข่มขู่ คุกคาม หรือการกระทาที่ทาให ้บุคลากร/กลุ่มงาน/
รพ.เกิดความเสียหาย เสียชื่อเสียง-ทาร ้ายร่างกายบุคลากร/ผู้ป่ วย/ญาติ โดยไม่มีท่าทีจะก่อความรุนแรง
มีแนวโน้มรุนแรงมาก–กลุ่มคนทะเลาะวิวาท-ผู้ป่ วยจิตเวชอาละวาด พกพาอาวุธ-จาเป็นต ้องระงับเหตุโดย
ตารวจเข ้าควบคุมสถานการณ์-แพทย์/พยาบาล-รปภ.ประจาห ้องฉุกเฉิน-จนท.เวรเปล ควบคุมสถานการณ์
ไม่ได ้
ควบคุมสถานการณ์ได้
-เจ ้าหน้าที่กดกริ่งขอความช่วยเหลือบุคลากรในห ้องฉุกเฉิน
-ปิดล๊อคประตูทางเข ้า
-หลีกเลี่ยงการปะทะ แยกโซนให ้การดูแลคู่กรณี (รวมถึงคาพูดที่ใช้ในการบริการ)
-แยกผู้ป่ วยคู่กรณี
-ประสานนาส่งแยกรพ.อพยพบุคลากร/ผู้ป่ วยถ ้าจาเป็นศูนย์รับแจ้งเหตุ
-วิทยุ/โทรแจ้งศูนย์เครือข่าย ขอตารวจควบคุมสถานการณ์ ศูนย์รปภ.
-ตามกาลังเสริมเพิ่มที่ห้องฉุกเฉิน
มาตรการหลังเกิดเหตุ
บทบาทในสถานการณ์จริง
กู้ชีพที่อยู่ในจุดเกิดเหตุ
1.เข ้าสังเกตการณ์ อยู่หน้าสภ.บ ้านกรวด เพื่อให ้รู้ว่ามีคนคอยช่วยเหลือผู้เสียหายอยู่หรือไม่, มีการใช ้อาวุธ
ทาร้ายร่างกายหรือไม่
2. หากรับแจ้งว่ามีการทะเลาะวิวาทด ้านใน เข ้าไปเตือนผู้รวมงานคนอื่นไม่ให ้ได ้รับผลจากการทะเลาะวิวาท
ทั้งนี้ต ้องดูความปลอดภัยของผู้ช่วยเหลือด ้วย
3. หากมีความเสี่ยง ไม่สามารถรับมือได ้ ควรเรียกเจ ้าหน้าที่รักษาความปลอดภัยที่อยู่บริเวณนั้น เข ้าให ้
ความช่วยเหลือร่วมด ้วย
4. รับแจ้งประสานขอความช่วยเหลือเจ้าหน้าที่ตารวจ ผ่านคลื่นวิทยุ 155.650 mHz ให ้การเข ้าช่วยเหลือ
ไม่ให ้เกิดความรุนแรงอันตรายต่อชีวิต หรือร่างกาย
5.รอเจ้าหน้าที่ควบคุมจนเหตุการณ์สงบ เข ้าปฐมพยาบาลเบื้องต้น แยกคู่กรณีและแจ้งโรงพยาบาลที่
นาส่งโดยสารรถAmbulance คนละคัน
5.โทรประสานร.พ.ว่าจะมีการนาส่ง พร้อมขอ ว.7 ผู้บาดเจ็บจากการทะเลาะวิวาท เพื่อรอรับสถานการณ์
บทบาทในสถานการณ์จริง
พยาบาล Incharge
1.หลังรับแจ ้งจากทีมกู้ภัยว่าจะมีการนาส่งผู้บาดเจ็บเหตุทาร้ายร่างกาย ให ้รีบเคลียร์ผู้ป่ วยใน Zone Resusc
/และห ้องหัตถการ โดยการแจ ้งผ่าน Member2. พร้อมเตรียมทีมแยก2 ทีมตามความเหมาะสม
2.โทรแจ้งป้อมยาม ให ้มาเฝ้าระวัง หน้าจุด ER
-ปิดล๊อคประตูทางเข ้า พร้อมทั้งแจ ้ง ญาติผู้ป่ วยอื่นๆเพื่อป้องกันความไม่ปลอดภัยในการรับบริการ
-หลีกเลี่ยงการปะทะ แยกโซนให ้การดูแลคู่กรณี (รวมถึงแจ้งคาพูดที่ใช้ในการบริการ)
-แยกผู้ป่ วยคู่กรณี Resusc/ห ้องทาหัตถการ
พยาบาล Incharge
3.หลังจากประเมิณแล ้วว่าเสี่ยงต่อการเกิดเหตุความรุนแรงในโรงพยาบาลโทรประสาน สภ.บ ้านกรวด
(สายตรวจลาดตระเวร )
4.โทรรายงานสถานการณ์ แก่หัวหน้าตึก 3 ระยะ 4.1ก่อนรับเหตุว่าทาไร ไปบ ้างแล ้ว ยังต ้องการความ
ช่วยเหลือ อะไร หากผู้ป่ วยมาถึง
4.2 ขณะปฏิบัติงาน หากเหตุบานปลายเกินควบคุม หรือต ้องการร้องขอความช่วยเหลือ ใดๆเร่งด่วน
4.3 เมื่อเสร็จสิ้นพาระกิจ พร้อมทั้งสรุปผลรายงานผู้บาดเจ็บ รวมทั้ง ทรัพย์สินที่อาจเสียหาย
5.ประสาน Admit/Refer พร้อมทั้งแจ้งรายละเอียดที่ชัดเจน เน้นกากับการเข ้าเยี่ยมผู้ป่ วยที่เข ้มงวด
บทบาทในสถานการณ์จริง
พยาบาล member พร้อมทีม
1.เข ้าร่วมทีมกับแพทย์เวร พร้อมแจ ้งรายละเอียดการร้องขอความช่วยเหลือ เป็นช่วงๆ ประสานเจ ้าหน้าที่
ตารวจ เข ้ามากากับเหตุให ้ห ้องฉุกเฉิน 1-2 นาย ตามความเหมาะสม
2.ในการดูแลผู้ป่ วยที่ทาร้ายร่างกาย พยายามลงรายละเอียดข ้อมูลที่ชัดเจน ถูกต ้องครบถ ้วนและ Scan
ข ้อมูลเก็บใว ้เพื่อใช ้ในการประกอบการดาเนินคดี
3. ดู สถานการณ์ที่เหมาะสม ถามเรื่องอาวุธที่ยังเหลือพกติดตัวมาทุกครั้ง ก่อนให ้การพยาบาล
บทบาทในสถานการณ์จริง
รปภ.
1.หลังรับแจ้งให ้ปิดทางเข ้าออกของ รพ. พร้อมมาประจาหน้าห ้องอุบัติเหตุ-ฉุกเฉินคอยเฝ้าระวังญาติ และ
ผู้รับบริการอื่นๆที่อาจจะได ้รับผลกระทบ
2.ปิดกั้นประตูเข ้า-ออก พร้อมทั้งรอฟังการประสานขอความช่วยเหลือจากด ้านใน
สายตรวจประจาวัน
1.หลังรับแจ้งให ้รีบมาประจายังจุดหน้าห ้องอุบัติเหตุฉุกเฉิน พร้อมทั้งประเมินสถานการณ์ความรุนแรง พร้อม
ทั้งร้องขอ กาลังเสริม และทีมระงับเหตุหากจาเป็น
2.รายงานสถานการณ์เป็นระยะ ทางวิทยุสื่อสาร อย่างน้อย 3 ช่วง 1.หลังรับแจ้งเหตุ / 2.สถานการณ์เมื่อ
เกิดเหตุ/3.สรุปผลหลังระงับเหตุ แจ ้งแก่ร้อยเวร
ร้อยเวร
1. กล่าวตักเตือนให้สติ การทะเลาะวิวาทในโรงพยาบาล ผิดกฎหมาย มีโทษสูงสุด จาคุกไม่เกิน
5 ปี หรือ ปรับไม่เกิน 1 แสนบาท หรือทั้งจาทั้งปรับ โดยไม่รอลงอาญา และทางโรงพยาบาล
เองไม่มีนโยบายยอมความหรือไกล่เกลี่ยใดๆทั้งสิ้น
2. แจ้งทีมประสานเข้าควบคุมสถานการณ์เพื่อระงับเหตุ
จุดเกิดเหตุวัยรุ่นทะเลาะวิวาท
ทาร้ายร่างกาย
จุดบริเวณจัดงาน

Contenu connexe

Similaire à เผชิญหตุโรงพยาบาลบ้านกรวด.pptx

การจัดการความเสี่ยงจากสาธารณภัย สำหรับ อปท.
การจัดการความเสี่ยงจากสาธารณภัย สำหรับ อปท. การจัดการความเสี่ยงจากสาธารณภัย สำหรับ อปท.
การจัดการความเสี่ยงจากสาธารณภัย สำหรับ อปท. Pongsatorn Sirisakorn
 
Hospital to home_injury_prevention
Hospital to home_injury_preventionHospital to home_injury_prevention
Hospital to home_injury_preventiontaem
 
คำอธิบายรายวิชาเพิ่มเติม
คำอธิบายรายวิชาเพิ่มเติมคำอธิบายรายวิชาเพิ่มเติม
คำอธิบายรายวิชาเพิ่มเติมmastersunshine
 
ความสำเร็จที่เกิดจาก Kpi
ความสำเร็จที่เกิดจาก Kpiความสำเร็จที่เกิดจาก Kpi
ความสำเร็จที่เกิดจาก KpiSuradet Sriangkoon
 
Suandok ethical risk model test
Suandok ethical risk model testSuandok ethical risk model test
Suandok ethical risk model testKedGedsana
 
บันได 7 ขั้นสู่ความปลอดภัย
บันได 7 ขั้นสู่ความปลอดภัยบันได 7 ขั้นสู่ความปลอดภัย
บันได 7 ขั้นสู่ความปลอดภัยSuradet Sriangkoon
 
Managing Business Continuity During the COVID-19 Crisis (August 25, 2021)
Managing Business Continuity During the COVID-19 Crisis (August 25, 2021)Managing Business Continuity During the COVID-19 Crisis (August 25, 2021)
Managing Business Continuity During the COVID-19 Crisis (August 25, 2021)Nawanan Theera-Ampornpunt
 

Similaire à เผชิญหตุโรงพยาบาลบ้านกรวด.pptx (10)

การจัดการความเสี่ยงจากสาธารณภัย สำหรับ อปท.
การจัดการความเสี่ยงจากสาธารณภัย สำหรับ อปท. การจัดการความเสี่ยงจากสาธารณภัย สำหรับ อปท.
การจัดการความเสี่ยงจากสาธารณภัย สำหรับ อปท.
 
Emergency department triage
Emergency department triageEmergency department triage
Emergency department triage
 
Hospital to home_injury_prevention
Hospital to home_injury_preventionHospital to home_injury_prevention
Hospital to home_injury_prevention
 
คำอธิบายรายวิชาเพิ่มเติม
คำอธิบายรายวิชาเพิ่มเติมคำอธิบายรายวิชาเพิ่มเติม
คำอธิบายรายวิชาเพิ่มเติม
 
ความสำเร็จที่เกิดจาก Kpi
ความสำเร็จที่เกิดจาก Kpiความสำเร็จที่เกิดจาก Kpi
ความสำเร็จที่เกิดจาก Kpi
 
Nurse workload
Nurse workloadNurse workload
Nurse workload
 
Suandok ethical risk model test
Suandok ethical risk model testSuandok ethical risk model test
Suandok ethical risk model test
 
บันได 7 ขั้นสู่ความปลอดภัย
บันได 7 ขั้นสู่ความปลอดภัยบันได 7 ขั้นสู่ความปลอดภัย
บันได 7 ขั้นสู่ความปลอดภัย
 
(20 พ.ค 56) service profile (ส่งเจี๊ยบ)
(20 พ.ค 56) service profile (ส่งเจี๊ยบ)(20 พ.ค 56) service profile (ส่งเจี๊ยบ)
(20 พ.ค 56) service profile (ส่งเจี๊ยบ)
 
Managing Business Continuity During the COVID-19 Crisis (August 25, 2021)
Managing Business Continuity During the COVID-19 Crisis (August 25, 2021)Managing Business Continuity During the COVID-19 Crisis (August 25, 2021)
Managing Business Continuity During the COVID-19 Crisis (August 25, 2021)
 

เผชิญหตุโรงพยาบาลบ้านกรวด.pptx

  • 2. ระดับของแผน: แผนตอบโต้ภาวะฉุกเฉินมี3 ระดับ ระดับยุทธศาสตร์ (Strategic) เน้นที่เป ้ าหมาย วัตถุประสงค์ของนโยบายและแนวทาง โดยรวมขององค์กร เป ้ าหมาย ระดับปฏิบัติการ(Operational) บทบาทและหน้าที่ความรับผิดชอบ ภารกิจ การบูราณการ และการดาเนินการ ภาระกิจ ระดับยุทธวิธี(Tactical) บุคลากร เครื่องไม้เครื่องมือและอุปกรณ์การ บริหารจัดการทรัพยากร และพันธกิจ กิจกรรม Strategic Plan Business Continuity Plan (BCP) All-Hazards Plan (AHP) Incidence Action Plan (IAP)
  • 5. SMART Objective S : Specific มีความจาเพาะ ใคร ทาอะไร ที่ไหน เมื่อไหร่ M : Measurable สามารถวัดได ้ A : Achievable สามารถทาให ้สาเร็จได ้ R : Relevant มีความเชื่อมโยงกับสภาพปัญหา และภารกิจขององค์กร T : Time-bound เสร็จได ้ภายในกรอบเวลาที่กาหนดไว ้อย่างชัดเจน
  • 6. SMART Objective S : Specific ผู้บาดเจ็บจากเหตุวัยรุ่นตีกันทั้งในและนอก โรงพยาบาลบ ้านกรวด ปีงบประมาณ2566 M : Measurable มีจานวนลดน้อยลงกว่าร้อยละ 10 A : Achievable และทุกรายได ้รับการดูแลตามมาตรฐานวิชาชีพอย่าง R : Relevant มีลดการสูญเสียทรัพย์สินและผลกระทบที่เกิดกับ โรงพยาบาลบ้านกรวด เจ้าหน้าที่ และผู้รับบริการ T : Time-bound สามารถควบคุมรายงานสถานการณ์ผู้บาดเจ็บจากเหตุวัยรุ่น ตีกันในโรงพยาบาลให ้แก่ผู้บริหารทราบ ภายในเวลา และป ้ องกันเหตุที่ส่งผลต่อภาพลักษณ์ของ โรงพยาบาลบ้านกรวด
  • 7. หลักการและเหตุผล ความรุนแรงในโรงพยาบาลในช่วงปีที่ผ่านมา อาจเพราะปัจจุบันสภาพจิตใจของคนเปลี่ยนไป ความอดทนในเรื่องต่างๆลดต่าลง จากภาวะปัญหาต่างๆ เช่นโรคภัย ไข ้เจ็บ เศรฐกิจ รายได ้ รวมจนถึงปัจจัย ในการเลี้ยงดู และผลกระทบจากยาเสพติด ดังนั้นกลุ่มงานห ้องอุบัติเหตุฉุกเฉินและนิติเวช จึงจัดการซ ้อมแผนเพื่อการเผชิญเหตุในปี 2566
  • 8. หลักการและเหตุผล 213 157 123 134 73 0 50 100 150 200 250 2562 2563 2564 2565 2566 จานวนผู้บาดเจ็บจากการถูกทาร้ายร่างกาย
  • 9. วัตถุประสงค์ 1.เพื่อป้องกันการสูญเสียชีวิตเจ ้าหน้าที่/ผู้รับบริการ ทรัพย์สินของโรงพยาบาล 2.เพื่อพัฒนาระบบบริหารจัดการด ้านการเผชิญเหตุฉุกเฉิน 3.เพื่อให ้เจ ้าหน้าที่เกิดความตระหนักและมีความพร้อม สามารถระงับเหตุ รวมทั้งเจ ้าหน้าที่ช่วยเหลือ ตนเอง ได ้อย่างปลอดภัยเมื่อเกิดเหตุ
  • 10. สถานการณ์จาลอง สถานการณ์ 19.30 น. วัยรุ่นยกพวกทะเลาะวิวาทและทาร้ายร่างกายในเทศกาลประจาปี เครื่องเคลือบบ้านกรวด มีผู้บาดเจ็บเข ้ารับการรักษาที่ห ้องอุบัติเหตุ-ฉุกเฉิน 3 ราย กลุ่มเพื่อนทั้ง 2 ฝ่ ายจับ กลุ่มรวมตัวกันที่หน้าห ้องฉุกเฉิน เกิดการทะเลาะวิวาทและต่อสู้กันในห ้องฉุกเฉิน ทาให ้ของเครื่องใช ้ใน แผนกอุบัติเหตุเสียหาย มีผู้บาดเจ็บเข ้ารับการรักษาที่ห ้อง อุบัติเหตุ-ฉุกเฉิน 3 ราย กลุ่มเพื่อนทั้ง 2 ฝ่ ายจับกลุ่มรวมตัวกัน เกิดการทะเลาะวิวาทและต่อสู้กันในห ้องฉุกเฉิน ทาให ้ของเครื่องใช ้ในแผนกอุบัติเหตุเสียหาย
  • 11. แผนเผชิญเหตุวัยรุ่นตีกันในโรงพยาบาล •ด้านการแจ้งเหตุฉุกเฉิน (Alert Notification) 1. มีการแจ ้งเหตุผ่านกริ่งที่จัดเตรียมไว ้ในห ้องฉุกเฉินซึ่งจะต่อตรงไปที่ป้อมยามเลย โดยบุคลากรที่อยู่หน้า ห ้องฉุกเฉิน หรือศูนย์สั่งการไม่ทราบเรื่องที่เกิดขึ้นในห ้อง 2. เมื่อกดกริ่งแล ้ว เสียงที่ดังเป็นเสียงเดียวกับเสียงสัญญานประชาสัมพันธ์ปกติ อาจทาให ้ไม่เกิดการตื่นตัว ไม่มีเจ้าหน้าที่มาปลดล็อคกริ่ง /เหตุการณ์มักเกิดนอกเวลาราชการ •ด้านการสื่อสาร (Communication)ศูนย์สั่งการโทรสายตรง แจ้งตารวจ สภ.บ้านกรวด •ด้านการประสานงานการสั่งการและการควบคุม (Coordination Command and Control) บุคลากรตัดสินใจไม่ได้ว่าจะต้องแจ้ง รปภ.หรือตารวจเมื่อเกิดความรุนแรงระดับใด
  • 12. แผนเผชิญเหตุวัยรุ่นตีกันในโรงพยาบาล •ด้านความปลอดภัย 1) การปิด-เปิดประตูห ้องฉุกเฉิน รปภ./จนท.ตารวจ ยืนกากับการเข ้าออกป้องกันไม่ให ้สามารถเข ้าไป ต่อสู้กันในห ้องฉุกเฉินได ้ (check sensor) 2) มีกล ้องวงจรปิดหน้า ER ที่ใช ้การไม่ได ้ หรือชารุดไหม ? (เรียกดึงดูข ้อมูลย ้อนหลังได ้กี่วัน สิทธิ์ใน การร้องขอข ้อมูล =เอกสารกากับทางกฏหมาย) 3) ตารวจ/สห. มาถึงจุดเกิดเหตุก่อน รปภ.x2 4) รปภ.และพยาบาลไม่สามารถเข ้าไปห ้ามขณะที่เหตุการณ์มีการต่อสู้และใช ้อาวุธ
  • 13. แผนเผชิญเหตุวัยรุ่นตีกันในโรงพยาบาล •ด้านความปลอดภัย 1. การป้องกันเหตุรุนแรง กู้ภัย/ผู้นาส่ง ควรแจ้งตั้งแต่จุดเกิดเหตุว่าเป ็ นกรณีวิวาท พิจารณาส่ง ผู้ป่ วยไปรักษาแยกตามคู่กรณีหากจาเป็นจริงๆ อาจจะต ้องแยก รพ.และแจ ้งรพ.ทราบล่วงหน้าเพื่อเตรียม ความพร้อม 2. มีป้ายประชาสัมพันธ์ที่ ER เพื่อแจ ้งให ้ทราบว่า หากมีการทะเลาะวิวาทในโรงพยาบาล จะมีกฎหมาย ลงโทษ (จนท.ตารวจ) 3. ประเมินเมื่อผู้ป่ วยมาถึงจุดคัดกรอง และซักประวัติได ้ว่าบาดเจ็บจากการทะเลาะวิวาท ให ้เฝ้าระวังและมี สัญลักษณ์แจ ้งให ้บุคลากรทราบ 3 การจัดการเมื่อมีเหตุฉุกเฉิน 3.1 จัดทา SOP เตรียมความพร้อมกรณีเกิดเหตุ โดยกาหนดระดับความรุนแรงของเหตุการณ์และ แนวทางจัดการในแต่ละระดับ 3.2จัดระบบการแจ ้งเหตุด ้วยการใช ้กริ่งให ้ชัดเจน ว่าควรดังที่ไหนบ ้าง เมื่อกริ่งดังแล ้ว ผู้เกี่ยวข ้องควร ดาเนินการอย่างไร 3.3 จัดระบบกล ้องวงจรปิดให ้สามารถใช ้การได ้ พร้อมทั้งมีการเช็คอย่างสม่าเสมอ
  • 14. แผนเผชิญเหตุวัยรุ่นตีกันในโรงพยาบาล เจ้าหน้าที่ •เจ้าหน้าที่รักษาความปลอดภัยประจาหน้าห ้องฉุกเฉินตลอด 24 ชั่วโมง โดยเฉพาะในช่วงเทศกาล •เจ้าหน้าที่ด ้านการรักษาพยาบาลอยู่ประจาจุดคัดกรองเพื่อให ้คาอธิบายผู้ป่ วย •จัดเจ้าหน้าที่ตารวจตรวจการณ์เป็นระยะ ๆ เวลา........ใดบ ้าง กายภาพ/สิ่งแวดล้อม •จัดให ้มีป้ายประชาสัมพันธ์การให ้บริการ ณ ห ้องฉุกเฉิน ESI ที่ให้บริการ •มีการรายงานความคืบหน้าการตรวจรักษาผ่านทางหน้าจอที่หน้าห ้องฉุกเฉิน •จักให ้มีกริ่งสัญญาณเตือนภัย เผื่อจาเป็นต ้องร้องขอความช่วยเหลือจากภายนอก •มีการตรวจสอบความพร้อมของกล ้องวงจรปิดหรือ CCTV ระบบการจัดการ •จากัดญาติที่เข ้ามาในห ้องฉุกเฉิน (พื้นที่ตรวจรักษา)
  • 15. เหตุความรุนแรงในโรงพยาบาล มาตรการเตรียมพร้อมกรณีเกิดเหตุ รุนแรงเล็กน้อย–ด่าว่า ดูถูก ดูหมิ่น เหยียดหยาม ข่มขู่ คุกคาม หรือการกระทาที่ทาให ้บุคลากร/กลุ่มงาน/ รพ.เกิดความเสียหาย เสียชื่อเสียง-ทาร ้ายร่างกายบุคลากร/ผู้ป่ วย/ญาติ โดยไม่มีท่าทีจะก่อความรุนแรง มีแนวโน้มรุนแรงมาก–กลุ่มคนทะเลาะวิวาท-ผู้ป่ วยจิตเวชอาละวาด พกพาอาวุธ-จาเป็นต ้องระงับเหตุโดย ตารวจเข ้าควบคุมสถานการณ์-แพทย์/พยาบาล-รปภ.ประจาห ้องฉุกเฉิน-จนท.เวรเปล ควบคุมสถานการณ์ ไม่ได ้ ควบคุมสถานการณ์ได้ -เจ ้าหน้าที่กดกริ่งขอความช่วยเหลือบุคลากรในห ้องฉุกเฉิน -ปิดล๊อคประตูทางเข ้า -หลีกเลี่ยงการปะทะ แยกโซนให ้การดูแลคู่กรณี (รวมถึงคาพูดที่ใช้ในการบริการ) -แยกผู้ป่ วยคู่กรณี -ประสานนาส่งแยกรพ.อพยพบุคลากร/ผู้ป่ วยถ ้าจาเป็นศูนย์รับแจ้งเหตุ -วิทยุ/โทรแจ้งศูนย์เครือข่าย ขอตารวจควบคุมสถานการณ์ ศูนย์รปภ. -ตามกาลังเสริมเพิ่มที่ห้องฉุกเฉิน มาตรการหลังเกิดเหตุ
  • 16. บทบาทในสถานการณ์จริง กู้ชีพที่อยู่ในจุดเกิดเหตุ 1.เข ้าสังเกตการณ์ อยู่หน้าสภ.บ ้านกรวด เพื่อให ้รู้ว่ามีคนคอยช่วยเหลือผู้เสียหายอยู่หรือไม่, มีการใช ้อาวุธ ทาร้ายร่างกายหรือไม่ 2. หากรับแจ้งว่ามีการทะเลาะวิวาทด ้านใน เข ้าไปเตือนผู้รวมงานคนอื่นไม่ให ้ได ้รับผลจากการทะเลาะวิวาท ทั้งนี้ต ้องดูความปลอดภัยของผู้ช่วยเหลือด ้วย 3. หากมีความเสี่ยง ไม่สามารถรับมือได ้ ควรเรียกเจ ้าหน้าที่รักษาความปลอดภัยที่อยู่บริเวณนั้น เข ้าให ้ ความช่วยเหลือร่วมด ้วย 4. รับแจ้งประสานขอความช่วยเหลือเจ้าหน้าที่ตารวจ ผ่านคลื่นวิทยุ 155.650 mHz ให ้การเข ้าช่วยเหลือ ไม่ให ้เกิดความรุนแรงอันตรายต่อชีวิต หรือร่างกาย 5.รอเจ้าหน้าที่ควบคุมจนเหตุการณ์สงบ เข ้าปฐมพยาบาลเบื้องต้น แยกคู่กรณีและแจ้งโรงพยาบาลที่ นาส่งโดยสารรถAmbulance คนละคัน 5.โทรประสานร.พ.ว่าจะมีการนาส่ง พร้อมขอ ว.7 ผู้บาดเจ็บจากการทะเลาะวิวาท เพื่อรอรับสถานการณ์
  • 17. บทบาทในสถานการณ์จริง พยาบาล Incharge 1.หลังรับแจ ้งจากทีมกู้ภัยว่าจะมีการนาส่งผู้บาดเจ็บเหตุทาร้ายร่างกาย ให ้รีบเคลียร์ผู้ป่ วยใน Zone Resusc /และห ้องหัตถการ โดยการแจ ้งผ่าน Member2. พร้อมเตรียมทีมแยก2 ทีมตามความเหมาะสม 2.โทรแจ้งป้อมยาม ให ้มาเฝ้าระวัง หน้าจุด ER -ปิดล๊อคประตูทางเข ้า พร้อมทั้งแจ ้ง ญาติผู้ป่ วยอื่นๆเพื่อป้องกันความไม่ปลอดภัยในการรับบริการ -หลีกเลี่ยงการปะทะ แยกโซนให ้การดูแลคู่กรณี (รวมถึงแจ้งคาพูดที่ใช้ในการบริการ) -แยกผู้ป่ วยคู่กรณี Resusc/ห ้องทาหัตถการ พยาบาล Incharge 3.หลังจากประเมิณแล ้วว่าเสี่ยงต่อการเกิดเหตุความรุนแรงในโรงพยาบาลโทรประสาน สภ.บ ้านกรวด (สายตรวจลาดตระเวร ) 4.โทรรายงานสถานการณ์ แก่หัวหน้าตึก 3 ระยะ 4.1ก่อนรับเหตุว่าทาไร ไปบ ้างแล ้ว ยังต ้องการความ ช่วยเหลือ อะไร หากผู้ป่ วยมาถึง 4.2 ขณะปฏิบัติงาน หากเหตุบานปลายเกินควบคุม หรือต ้องการร้องขอความช่วยเหลือ ใดๆเร่งด่วน 4.3 เมื่อเสร็จสิ้นพาระกิจ พร้อมทั้งสรุปผลรายงานผู้บาดเจ็บ รวมทั้ง ทรัพย์สินที่อาจเสียหาย 5.ประสาน Admit/Refer พร้อมทั้งแจ้งรายละเอียดที่ชัดเจน เน้นกากับการเข ้าเยี่ยมผู้ป่ วยที่เข ้มงวด
  • 18. บทบาทในสถานการณ์จริง พยาบาล member พร้อมทีม 1.เข ้าร่วมทีมกับแพทย์เวร พร้อมแจ ้งรายละเอียดการร้องขอความช่วยเหลือ เป็นช่วงๆ ประสานเจ ้าหน้าที่ ตารวจ เข ้ามากากับเหตุให ้ห ้องฉุกเฉิน 1-2 นาย ตามความเหมาะสม 2.ในการดูแลผู้ป่ วยที่ทาร้ายร่างกาย พยายามลงรายละเอียดข ้อมูลที่ชัดเจน ถูกต ้องครบถ ้วนและ Scan ข ้อมูลเก็บใว ้เพื่อใช ้ในการประกอบการดาเนินคดี 3. ดู สถานการณ์ที่เหมาะสม ถามเรื่องอาวุธที่ยังเหลือพกติดตัวมาทุกครั้ง ก่อนให ้การพยาบาล
  • 19. บทบาทในสถานการณ์จริง รปภ. 1.หลังรับแจ้งให ้ปิดทางเข ้าออกของ รพ. พร้อมมาประจาหน้าห ้องอุบัติเหตุ-ฉุกเฉินคอยเฝ้าระวังญาติ และ ผู้รับบริการอื่นๆที่อาจจะได ้รับผลกระทบ 2.ปิดกั้นประตูเข ้า-ออก พร้อมทั้งรอฟังการประสานขอความช่วยเหลือจากด ้านใน สายตรวจประจาวัน 1.หลังรับแจ้งให ้รีบมาประจายังจุดหน้าห ้องอุบัติเหตุฉุกเฉิน พร้อมทั้งประเมินสถานการณ์ความรุนแรง พร้อม ทั้งร้องขอ กาลังเสริม และทีมระงับเหตุหากจาเป็น 2.รายงานสถานการณ์เป็นระยะ ทางวิทยุสื่อสาร อย่างน้อย 3 ช่วง 1.หลังรับแจ้งเหตุ / 2.สถานการณ์เมื่อ เกิดเหตุ/3.สรุปผลหลังระงับเหตุ แจ ้งแก่ร้อยเวร ร้อยเวร 1. กล่าวตักเตือนให้สติ การทะเลาะวิวาทในโรงพยาบาล ผิดกฎหมาย มีโทษสูงสุด จาคุกไม่เกิน 5 ปี หรือ ปรับไม่เกิน 1 แสนบาท หรือทั้งจาทั้งปรับ โดยไม่รอลงอาญา และทางโรงพยาบาล เองไม่มีนโยบายยอมความหรือไกล่เกลี่ยใดๆทั้งสิ้น 2. แจ้งทีมประสานเข้าควบคุมสถานการณ์เพื่อระงับเหตุ