Publicité
02 บทที่ 2-เอกสารที่เกี่ยวข้อง
02 บทที่ 2-เอกสารที่เกี่ยวข้อง
02 บทที่ 2-เอกสารที่เกี่ยวข้อง
02 บทที่ 2-เอกสารที่เกี่ยวข้อง
Publicité
02 บทที่ 2-เอกสารที่เกี่ยวข้อง
02 บทที่ 2-เอกสารที่เกี่ยวข้อง
02 บทที่ 2-เอกสารที่เกี่ยวข้อง
02 บทที่ 2-เอกสารที่เกี่ยวข้อง
02 บทที่ 2-เอกสารที่เกี่ยวข้อง
Publicité
02 บทที่ 2-เอกสารที่เกี่ยวข้อง
Prochain SlideShare
02 บทที่ 2-เอกสารที่เกี่ยวข้อง02 บทที่ 2-เอกสารที่เกี่ยวข้อง
Chargement dans ... 3
1 sur 10
Publicité

Contenu connexe

Présentations pour vous(18)

Similaire à 02 บทที่ 2-เอกสารที่เกี่ยวข้อง(20)

Publicité

Plus de ปุ๊ปลั๊ก ลุ๊ลั๊ก(20)

02 บทที่ 2-เอกสารที่เกี่ยวข้อง

  1. บทที่ 2 เอกสารที่เกี่ยวข้อง ในการจัดทำาโครงงานคอมพิวเตอร์ การพัฒนาเว็บบล็อก (WebBlog) ด้วย Wordpress เรื่องเทคโนโลยี 3G นี้ ผู้จัดทำาโครงงานได้ศึกษาเอกสารและ จากเว็บไซต์ต่างๆ ทีเกี่ยวข้องดังต่อไปนี้ ่ 2.1 ความสำาคัญของเทคโนโลยีสารสนเทศและ อินเทอร์เน็ต 2.2 ข้อมูลเกี่ยวกับสื่อสังคม Social Media 2.3 เว็บบล็อก (WebBlog) 2.1 ความสำาคัญของเทคโนโลยีสารสนเทศและอินเทอร์เน็ต เนื้อหา สาระเกี่ยวกับเทคโนโลยี 3G คือ 3G หรือ Third Generation เป็นเทคโนโลยีการสื่อสารในยุคที่ 3 อุปกรณ์การสื่อสารยุคที่ 3 นั้นจะเป็น อุปกรณ์ที่ผสมผสาน การนำาเสนอข้อมูล และ เทคโนโลยีในปัจจุบันเข้าด้วย กัน เช่น PDA โทรศัพท์มือถือ Walkman, กล้องถ่ายรูป และ อินเทอร์เน็ต 3G เป็น เทคโนโลยีที่พัฒนาต่อเนื่องจากยุคที่ 2 และ 2.5 ซึ่งเป็นยุคที่มีการให้บริการ ระบบเสียง และ การส่งข้อมูลในขั้นต้น ทั้งยังมีข้อจำากัดอยู่มาก การพัฒนา ของ 3G ทำาให้เกิดการใช้บริการมัลติมีเดีย และ ส่งผ่านข้อมูลในระบบไร้สาย ด้วยอัตราความเร็วที่สูงขึ้น 1.G เริ่มตั้งแต่ 1G ... ซึ่งเป็นยุคที่ใช้ระบบ Analog คือใช้สัญญาณวิทยุในการส่ง คลื่นเสียง โดยไม่รองรับการส่งผ่านข้อมูลใดๆทั้งสิ้นซึ่งนั่นก็หมายความว่า สามารถใช้งานทางด้าน Voice ได้อย่างเดียว คือ โทรออก-รับสาย เท่านั้นไม่มี การรองรับการใช้งานด้าน Data ใดๆ ทั้งสิ้น .. แม้แต่การรับ-ส่ง SMS ก็ยังทำาไม่ ได้ในยุค 1G แต่จริงๆแล้ว ... ในยุคนั้น ผู้บริโภคก็ยังไม่มีความต้องการในการ ใช้งานอื่นๆ นอกจากเสียง (Voice) อยู่แล้วโดยปริมาณผู้ใช้โทรศัพท์มือถือยัง อยู่ในขอบเขตที่จำากัดมาก และจะพบว่าผู้ใช้มักจะเป็นนักธุรกิจที่มีรายได้สูง เสียส่วนใหญ่
  2. 2.G หลังจากนั้น ก็ได้พัฒนาต่อมาเป็นยุค 2G ... ซึ่งเปลี่ยนจากการส่งคลื่นทาง คลื่นวิทยุแบบ Analog มาเป็นการเข้ารหัส Digital ส่งทางคลื่น Microwave ซึ่งใน ยุคนี้เอง เป็นยุคที่เริ่มทำาให้เราเริ่มที่จะสามารถใช้งานทางด้าน Data ได้ นอก เหนือจากการใช้งาน Voice เพียงอย่างเดียว ในยุค 2G นี้ ... เราสามารถ รับ-ส่งข้อมูลต่างๆและติดต่อเชื่อมโยงได้อย่างมี ประสิทธิภาพมากขึ้นเรื่อยๆ จนเกิดการกำาหนดเส้นทางการเชื่อมกับสถานี ฐาน หรือที่เรียกว่า cell site และก่อให้เกิดระบบ GSM (Global System for Mobilization) ซึ่งทำาให้เราสามารถถือโทรศัพท์เครื่องเดียวไปใช้ได้เกือบทั่ว โลก หรือที่เรียกว่า Roaming ยุค 2G นี้ ถือเป็นยุคเริ่มต้นแห่งการเฟื่องฟูของโทรศัพท์มือถือ... ราคาของ โทรศัพท์มือถือเริ่มตำ่าลง (กว่ายุค 1G) ทำาให้ปริมาณผู้ใช้โทรศัพท์มือถือมีมาก ขึ้น ซึ่งการส่งข้อมูลของยุค 2G นี้ เป็นยุคที่มีการเริ่มฮิต Download Ringtone , Wallpaper , Graphic ต่างๆ แต่ก็จะจำากัดอยู่ที่การ Downlaod Ringtone แบบ Monotone และ ภาพ Graphic ต่างๆก็เป็นเพียงแค่ภาพขาว-ดำาที่มีความละเอียดตำ่าเท่านั้น 3.G ต่อมา ก็ได้พัฒนามาเป็นระบบ 3G หรือ Third Generation ซึ่งเป็นเทคโนโลยี การสื่อสารในยุคที่ 3 จุดเด่นที่สุดของ 3G นั้น เป็นเรื่องของความเร็วในการ เชื่อมต่อและการรับ-ส่งข้อมูล โดยเน้นการเชื่อมต่อแบบไร้สายด้วยความเร็ว สูง ทำาให้ประสิทธิภาพในการรับส่งข้อมูลต่างๆ รวดเร็วมากขึ้น พร้อมทั้ง สามารถใช้ บริการ Multimedia ได้อย่างสมบูรณ์แบบ และ มีประสิทธิภาพแบบ มากยิ่งขึ้น เช่น การรับ-ส่ง File ที่มีขนาดใหญ่ , การใช้บริการ Video/Call Conference , Download เพลง , ดู TV Streaming ต่างๆซึ่งถ้าเปรียบเทียบเทคโนโลยี 2G กับ 3G แล้ว ... 3G มีช่องสัญญาณความถี่ และ ความจุในการรับส่งข้อมูล ที่มากกว่าเยอะเลย คุณสมบัติหลักที่เด่นๆ อีกอย่างหนึ่งของระบบ 3G ก็คือ Always On ... คือ มีการ เชื่อมต่อกับระบบเครือข่ายของ 3G ตลอดเวลาที่เราเปิดโทรศัพท์ด้วย http://sutep007.wordpress.com 2.2 ข้อมูลเกี่ยวกับสื่อสังคม Social Media 2.2.1 ความหมายของ Social Media ปัจจุบันกระแส การใช้สื่อสังคม (Social Media) และเครือข่ายสังคม (Social Networking) อย่าง Facebook, Twitter, Youtube ได้รับความ นิยมสูงมาก ทั้งในรูปแบบการใช้ส่วนบุคคล โครงการ จนถึงระดับ องค์กร มีการเผยแพร่ข้อมูลต่างๆ ของหน่วยงานด้วยผ่านสื่อสังคม
  3. เครือข่ายสังคมอย่างต่อเนื่อง และจำานวนมาก บุคลากรขององค์กร สมัครเป็นสมาชิกเว็บไซต์ facebook และนำาเสนอเนื้อหา ข้อมูล ของตนเองผ่าน facebook ควบคู่กับเว็บไซต์หลักที่มีอยู่เดิม รวม ทั้งยังมีอีกหลายหน่วยงานสนใจดำาเนินการเพิ่ม สาเหตุหลักก็ไม่ น่าจะพ้นไปจากการปรับบทบาทการบริการ การประชาสัมพันธ์ให้ ทันต่อเทคโนโลยีและตอบรับกับแนวคิดการบริการ การ ประชาสัมพันธ์เชิงรุก อย่างไรก็ดีอยากให้ผู้บริหาร บุคลากรหน่วย งานที่สนใจลองพิจารณารายละเอียดปลีกย่อยเพิ่มเติม ดังราย ละเอียด 1.หน่วยงานทราบหรือยังว่าประเด็นสำาคัญของบริการสื่อสังคม เครือข่ายสังคม คืออะไร มีจุดเด่น จุดด้อย ข้อควรระวังเรื่องใดบ้าง 2.หากหน่วยงานได้ศึกษาประเด็นนี้อาจจะช่วยให้การใช้สื่อสังคม เครือข่ายสังคม เพื่อเผยแพร่สารสนเทศเป็นไปตามวัตถุประสงค์ และปลอดภัยด้วยครับ 3.ใครเป็นผู้รบผิดชอบการเผยแพร่สารสนเทศหน่วยงาน ั 4.อีเมลทีใช้สมัครเป็นสมาชิก ไม่ควรใช้อีเมลส่วนตัวของคนใดคน ่ หนึ่ง รวมทังไม่ควรใช้ Group Mail ทั้งนี้หน่วยงานน่าจะสร้างอีเมล ้ เฉพาะสำาหรับการใช้สมัครสมาชิกสื่อสังคม เครือข่ายสังคม 5.เนื้อหาทีนำาเสนอ นอกจากข้อมูลหน่วยงานแล้ว ควรนำาเสนอเนื้อ ่ หาอื่นๆ ตามวาระ เทศกาลสำาคัญ หมุนเวียนแนะนำาอย่างสมำ่าเสมอ แทนที่จะใช้เป็นช่องทางพูดคุยอย่างเดียว เดี๋ยวจะเหมือนกับใช้ Facebook เป็น MSN ไปซะนะครับ 6.รูปภาพ จุดเด่นของสื่อสังคม เครือข่ายสังคมอย่าง Facebook คือการทำาคลังภาพ ดังนั้นหากมีกิจกรรมต่างๆ ของหน่วยงาน การ เข้าเยี่ยมชม การจัดกิจกรรมสัมมนา รวมถึงมุมสวยๆ ของหน่วย งาน น่าจะนำามาเผยแพร่และใส่คำาอธิบายให้เหมาะสม 7.ไม่ควรนำาภาพละเมิดลิขสิทธิ์มาเผยแพร่ เพราะจะกระจายได้ กว้างและไวมาก อาจจะสร้างปัญหาต่างๆ ให้องค์กรและตนเองได้ 8.Video ก็สามารถนำาเข้าและเผยแพร่ได้ลองหยิบกล้องถ่ายภาพ ดิจิตอลแล้วบันทึกภาพในโหมด Video พร้อมบรรยายแบบไม่ ทางการมากนัก เพียงเท่านี้ก็สามารถ Upload และนำาเสนอผ่าน Facebook ได้งายๆ แล้วประเด็นก็คือ Video ทีนำามาเผยแพร่ได้ ่ ่ บันทึกและเป็นสมบัติของหน่วยงานหรือไม่อย่างไร
  4. 9.การโต้ตอบกับเพื่อนๆ สมาชิก อย่าให้สื่อสังคม เครือข่ายสังคม เช่น Facebook เป็นเพียงช่องทางถามอย่างเดียวนะครับ ควรมี บุคลากรสื่อสาร โต้ตอบ รวมทังการส่งต่อคำาถามไปยังผู้เกี่ยวข้อง ้ 10.การกำาหนดสิทธิ์การเข้าถึงเนื้อหาแต่ละส่วนให้เหมาะสม อันนี้ สำาคัญมาก การกลั่นกรองเนื้อหาเพื่อป้องกันการละเมิดปัญหาทรัพย์สินทาง ปัญญา ถ้าไม่อยากถูกจับ หรือมีประเด็นฟ้องร้องควรให้ความ สำาคัญกับการนำาเสนอภาพ ฟอนต์ (กราฟิก) และข้อความด้วยนะ ครับ เช่น การนำาข้อความสำาคัญจากหนังสือมาเผยแพร่ ซึ่งถือว่า เป็นการทำาซำ้าการใช้ความสามารถอัตโนมัติเพื่อเผยแพร่ข้อมูลจาก แหล่งอื่นๆ เช่น RSS Feed, TwitterFeed อันนี้มีจุดเด่นมากเช่น กัน 11.การเลือกใช้ Facebook Apps อย่างเหมาะสม และหมั่นตรวจ สอบข้อมูลจากหลายๆ แหล่งว่าไม่ใช่ Spy & Spam Apps ที่จะไป สร้างภาระให้ผู้อื่นด้วยนะค่ะ 2.2.2 ประวัติความเป็นมาและพัฒนาการของ Social Media ปัจจุบันโลกอินเตอร์เน็ตกำาลังอยู่ในยุคกลางหรือยุคปลาย ๆ ของ web 2.0 กันแล้ว จึงทำาให้มีเว็บไซต์ในลักษณะ Social Networking Service (SNS) ออกมามากมาย เป็นบริการผ่าน เว็บไซต์ที่เป็นจุดโยงระหว่างบุคคลแต่ละคนที่มีเครือข่ายสังคม ของตัวเองผ่านเน็ตเวิร์คอินเทอร์เน็ต รวมทั้งเชื่อมโยงบริการต่างๆ อย่างเมล์เมสเซ็นเจอร์เว็บบอร์ด บล็อก ฯลฯ เข้าด้วยกันตั้งแต่ Hi5, MySpace, Facebook, Bebo, LinkedIn, Multiply, Ning และอื่นๆ อีกมากมาย ซึงทั้งหมดจะมีสวนที่คล้ายกันคือ "การแอ๊ด ่ ่ เพื่อน" ตามหลักการ Friend-Of-A-Friend (FOAF) โดยปกติแล้ว สิ่งที่ SNS ให้บริการพื้นฐานคือ การให้ผู้สนใจสร้าง profile ลงใน เว็บ บางที่อาจอนุญาตให้อัพโหลดไฟล์แบบต่างๆ ไม่ว่าจะภาพ เสียง หรือ คลิปวีดีโอ จากนั้นก็จะมีเรื่องของการ comment (เม้น) มี Personal Messeage (PM) ให้คุยส่วนตัวกับเพื่อนบาง
  5. คน และที่ต้องทำาก็คือ ไล่อ่าน ไล่เม้น ไปตาม Profile ของคนอื่น เรื่อยๆ Social Network ยังไม่มีคำาไทยเป็นทางการ มีการใช้คำาว่า “เครือ ข่ายสังคม” บ้าง “เครือข่ายมิตรภาพบ้าง” “กลุ่มสังคมออนไลน์” Social Network นีถือว่าเป็นเทคโนโลยีอีกอันนึ่ง ทีสามารถช่วย ้ ่ ให้เราได้มามีปฏิสัมพันธ์กัน ซึ่งวัตถุประสงค์ทแท้จริงของคำาว่า ี่ Social Network นี้จริงๆ แล้วก็คือ Participation หรือ การมีส่วน ร่วมด้วยกันได้ทุก ๆ คน (ซึ่งหวังว่าผู้ที่ติดต่อกันเหล่านั้นจะมีแต่ ความปรารถนาดี สิ่งที่ดีๆ มอบให้แก่กันและกัน) ถ้าพูดถึง Social Network แล้ว คนที่อยู่ในโลกออนไลน์คงจะรู้จักกันเป็นอย่างดี และก็คงมีอีกหลายคนที่ได้เข้าไปท่องอยู่ในโลกของ Social Network มาแล้ว ถึงแม้ว่า Social Network จะไม่ใช่สิ่งใหม่ใน โลกออนไลน์ แต่ก็ยงเป็นที่นยมอย่างมากในกลุ่มคนที่ใช้ ั ิ อินเตอร์เน็ต ทำาให้เครือข่ายขยายวงกว้างออกไปเรื่อยๆ และจะยัง คงแรงต่อไปอีกในอนาคต จากผลการสำารวจจากประเทศ สหรัฐอเมริกายืนยันการใช้บริการ Social Network ที่เพิ่มสูงขึ้น อย่างต่อเนื่องทุกปี และมาแรงเป็นอันดับต้นๆ ของโลกออนไลน์ ส่วนเว็บไซต์ที่มีจำานวนผู้เข้าชมสูงสุดทั่วโลก ก็เห็นจะเป็น My space, Facebook และ Orkut สำาหรับเว็บไซต์ ทีมีเปอร์เซ็นต์ ่ เติบโตเพิ่มขึ้นเป็นเท่าตัวก็เห็นจะเป็น Facebook แต่สำาหรับ ประเทศไทยที่ฮอตฮิตมากๆ ก็คงจะหนีไม่พ้น Hi5 2.2.3 ประเภทเว็บไซต์ที่ให้บริการ Social Media เนื้อหา สาระเว็บไซต์ ทีให้บริการ Social Network หรือ ่ Social Media 1.Google Group – เว็บไซต์ในรูปแบบ Social Networking 2.Wikipedia – เว็บไซต์ในรูปแบบข้อมูลอ้างอิง 3.MySpace – เว็บไซต์ในรูปแบบ Social Networking
  6. 4.Facebook -เว็บไซต์ในรูปแบบ Social Networking 5.MouthShut – เว็บไซต์ในรูปแบบ Product Reviews 6.Yelp – เว็บไซต์ในรูปแบบ Product Reviews 7.Youmeo – เว็บที่รวม Social Network 8.Last.fm – เว็บเพลงส่วนตัว Personal Music 9.YouTube – เว็บไซต์ Social Networking และ แชร์วิดีโอ 10.Avatars United – เว็บไซต์ในรูปแบบ Social Networking 11.Second Life – เว็บไซต์ในรูปแบบโลกเสมือนจริง Virtual Reality 13.Flickr – เว็บแชร์รูปภาพ 2.3 เว็บบล็อก (WebBlog) 2.3.1 ความหมายของเว็บบล็อก (WebBlog) เนื้อหา สาระ Blog คือ การบันทึกบทความของ ตนเอง (Personal Korunal) ลงบนเว็บไซต์ โดยเนื้อหาของ b log นั้นจะครอบคลุมได้ทุกเรื่อง ไม่ว่าจะเป็นเรื่องส่วนตัว การ มองโลกของเรา ความคิดเห็นของเราต่อเรื่องต่าง ๆ หรือเป็น บทความเฉพาะด้าน เช่น เรื่องการเมือง เรื่องกล้องถ่ายรูป เรื่อ งกีฬา เรื่องธุรกิจ Blog มาจากคำาว่า WeBlog บางคนอ่านว่า We Blog บางคนอ่านว่า Web Log แต่ทั้งหมดคือ Blog ซึ่ง หมายถึง การบันทึกบทความของตนเอง (อาจเป็นอักษร รูปภาพ มัลติมีเดีย) ลงบนเว็บผ่านเครือข่ายอินเตอร์เน็ต เพื่อเผย แพร่ให้ผู้อื่นได้รับทราบ Blog หรือ Web Blog เป็นการสื่อสาร สองทางระหว่างผู้เขียนและผู้อ่าน โดยผู้อ่านสามารถโต้ตอบได้ โดยการ comment 2.3.2 ประเภทของเว็บบล็อก เนื้อหา สาระประเภทของ Blog
  7. บล็อกที่เราเห็นอยู่ในปัจจุบันนี้ ใช่มีเพียงแค่บล็อกที่เป็นตัวหนังสือ และรูปภาพเท่านั้น หรือ มีแค่ออนไลน์ไดอารี่ เราแบ่งบล็อกออก ได้ ดังต่อไปนี้ 1. แบ่งตามลักษณะของมีเดียที่มีในบล็อกได้แก่ 1.1. Linklog บล็อกแบบนี้นาจะเป็นบล็อกรุ่นแรก ๆ เป็นบล็อกที่ ่ รวมลิงค์ที่เจ้าของบล็อกสนใจเอาไว้ ถ้าคุณยังจำาผูให้กำาเนิดคำาว่า ้ “บล็อก” ทีชื่อ จอห์น บาจเจอร์ได้ นั่นแหล่ะครับ ่ robotwisdom.com ของเขาคือตัวอย่างของ linklog นั่นเอง แม้ว่าจะบล็อกแบบนี้จะเป็นการรวมลิงค์เท่านั้น แต่ก็ไม่เรียง เหมือนเว็บไดเร็กทอรี่ เพราะเจ้าของบล็อกจะโพสต์ลิงค์ของเขา 1 – 2 ลิงก์ต่อโพสต์เท่านั้นครับ ใครที่อยากมีบล็อกเป็นของตนเอง ๊ แต่ยังนึกไม่ออกว่าจะทำาบล็อกแบบไหน linklog น่าจะเป็นการเริ่ม ต้นการทำาบล็อกได้เป็นอย่างดี 1.2 Photoblog ชื่อก็บอกอยู่แล้วครับว่า Photo บล็อกประเภทนี้ เน้นในโพสต์ภาพถ่ายที่เจ้าของบล็อกอยากนำาเสนอ และมักจะไม่ เน้นที่จะเขียนข้อความมากนัก บางบล็อกเรียกได้ว่าภาพโดย เจ้าของบล็อกล้วน ๆ เลยครับ 1.3. Vlog ย่อมาจาก Videoblog เป็นบล็อกที่รวมวิดีโอคลิปไว้ในบล็อก Vlog เป็นบล็อกที่เรียกได้ ว่าเป็นบล็อกที่นยมทำากันมากในอนาคต เพราะการเจริญเติบโต ิ ของไฮสปีด อินเตอร์เน็ต หรือ อินเตอร์เน็ตบอร์ดแบนด์ ทีทำาให้ ่ การถ่ายทอดเสียง ภาพเคลื่อนไหว movie […] 2. แบ่งตามประเภทเนื้อหา ได้แก่ 2.1 บล็อกส่วนตัว(Personal Blog) นำาแสนอความคิดเห็นกิจวัตร ประจำาวันของเจ้าของบล็อกเป็นหลัก 2.2 บล็อกข่าว(News Blog) บล็อกทีนำาเสนอข่าวเป็นหลัก ่ 2.3 บล็อกกลุ่ม(Collaborative Blog) เป็นบล็อกที่เขียนกันเป็นก ลุ่ม เช่น blognone.com 2.4 บล็อกการเมือง(Politic Blog) ว่าด้วยเรื่องการเมืองล้วน ๆ 2.5 บล็อกเพื่อสิ่งแวดล้อม(Environment Blog) พูดถึงเรื่องราว ของธรรมชาติและการรักษาสิ่งแวดล้อม
  8. 2.6 มีเดียบล็อก(Media Blog) เป็นบล็อกที่วิเคราะห์สื่อต่างๆ สารคดีและสิ่งที่เกี่ยวกับสื่อ เช่น oknation.net/blog/black ของ สุทธิชัย หยุ่น 2.7 บล็อกบันเทิง(Entertainment Blog) บล็อกทีนำาเสนอเรื่อง ่ ราวบันเทิงทังทางจอแก้ว และจอเงิน เรื่องซุบซุดารา กองถ่าย ้ ฯลฯ 2.8 บล็อกเพื่อการศึกษา(Educational Blog) ในโรงเรียน หรือมหาวิทยาลัยในต่างประเทศมักจะใช้บล็อกเป็นสื่อในการสอน หรือ แลกเปลี่ยนความคิดกัน 2.9 ติวเตอร์บล็อก(Tutorial Blog) เป็นบล็อกที่นำาเสนอวิธีการต่าง 2.3.3 เว็บไซต์ที่ให้บริการเว็บบล็อก เนื้อหา สาระ www.blogger.com www.exteen.com www.mapandy.com www.buddythai.com www.imigg.com www.5iam.com www.blogprathai.com www.ndesignsblog.com
  9. 2.3.4 ประวัติของเว็บไซต์ Wordpress ไปดูที่เว็บนี้ค่ะ http://wordpress.9supawat.com/10/what-is- wordpress.html และ เว็บไซต์นี้ จะแนะนำาถึงวิธี การใช้ WordPress ตั้งแต่ พื้นฐานเริ่มต้น ไปจนถึงการเพิ่มเทคนิคลูกเล่นต่าง ๆ แต่ก่อนที่จะ ไปเรียนรู้กัน เราควรมารู้จักก่อนว่า WordPress คือ อะไร WordPress คือ โปรแกรมสำาเร็จรูปตัวหนึ่ง ที่เอาไว้สำาหรับสร้าง บล็ อก หรื อ เว็ บ ไซต์ สามารถใช้ ง านได้ ฟรี ถู ก จั ดอยู่ ใ นประเภท CMS (Contents Management System) ซึ่งหมายถึง โปรแกรม สำาเร็จรูปที่มีไว้สำาหรับสร้างและบริหารจัดการเนื้อหาและข้อมูลบน เว็บไซต์ WordPress ได้ รั บ การพั ฒ นาและเขี ย นชุ ด คำา สั่ ง มาจากภาษา PHP (เป็ น ภาษาโปรแกรมมิ่ ง ตั ว หนึ่ ง ) ทำา งานบนฐานข้ อ มู ล MySQL ซึ่ ง เป็ น โปรแกรมสำา หรั บ จั ดการฐานข้ อ มู ล มี ห น้ า ที่ เ ก็ บ เรี ย กดู แก้ ไ ข เพิ่ ม และลบข้ อ มู ล การใช้ ง าน WordPress ร่ ว ม กั บ MySQL อยู่ ภ ายใต้ สั ญ ญาอนุ ญ าตใช้ ง านแบบ GNU General Public License WordPress ป ร า ก ฏ โ ฉ ม ค รั้ ง แ ร ก ใ น โ ล ก เ มื่ อ ปี พ .ศ . 2546 (2003) เป็นความร่วมมือกันระหว่าง Matt Mullenweg และ Mike Littlej มี เ ว็ บ ไซต์ ห ลั ก อยู่ ที่ http://wordpress.org และยั ง มี บ ริ ก าร Free Hosting (พื้นที่สำาหรับเก็บทุกอย่างของเว็บ/บล็อก) โดยขอ ใช้บริการได้ที่ http://wordpress.com ปัจจุบันนี้ WordPress ได้รับความนิยมเพิ่มขึ้นอย่างรวดเร็วจนมี ผู้ใช้งานมากกว่า 200 ล้านเว็บบล็อกไปแล้วแซงหน้า CMS ตัวอื่น ๆไม่ว่ า จะเป็ น Drupal , Mambo และ Joomla สาเหตุ เ ป็ น เพราะ
  10. ใช้งานง่ายไม่จำา เป็นต้องมีความรู้ในเรื่อ ง Programin มีรูปแบบที่ สวยงามอีกทั้งยังมีผู้พัฒนา Theme (รูปแบบการแสดงผล)และ P lugins(โปรแกรมเสริ ม )ให้ เ ลื อ กใช้ ฟ รี อ ย่ า งมากมายนอกจากนี้ สำา หรั บ นั ก พั ฒ นา WordPress ยั ง มี Codex เอาไว้ ใ ห้ เ ราได้ เ ป็ น ไกด์ ไ ลน์ เ พื่ อ ศึ ก ษาองค์ ป ระกอบส่ ว นต่ า งๆที่ อ ยู่ ภ ายใน สำา หรั บ พัฒนาต่อยอด หรือ นำา ไปสร้าง Theme และ Plugins ขึ้นมาเอง ได้อีกด้วย หนำาซำ้า ยังมีรุ่นพิเศษ คือ WordPress MU สำาหรับไว้ ให้ ผู้ นำา ไปใช้ สามารถเปิ ด ให้ บ ริ ก ารพื้ น ที่ ทำา เว็ บ บล็ อ กเป็ น ของ ตนเองเพื่อให้ผู้อื่นมาสมัครขอร่วมใช้บริการในการสร้างเว็บบล็อก ภายใต้ ชื่ อ โดเมนของเขาหรื อ ที่ เ รี ย กว่ า Sub-Domain จากที่ ไ ด้ เกริ่นนำา ไปในบทความนี้คงจะทำา ให้รู้จักและได้ทราบประวัติความ เป็นมารวมถึงความหมายกันไปบ้างแล้วว่า WordPress คืออะไร ในบทความหน้าเราจะได้เริ่มเรียนรู้ถึงรูปแบบและวิธีการใช้งานไป จนถึงการเพิ่มลูกเล่นต่าง ๆ ต่อไป
Publicité