SlideShare une entreprise Scribd logo
1  sur  15
Télécharger pour lire hors ligne
โครงการศึกษาวิเคราะห์ข้อมูลเพื่อการจัดทําแผนพัฒนา
                                                            ระบบบริหารจัดการของกระทรวงเกษตรและสหกรณ์




   การวิเคราะห์ SWOT เบื้องต้น
                                                     รศ.ดร.ดํารงค์ วัฒนา
                                                     เอกสารนี้ เป็นส่วนหนึ่งของการวิเคราะห์และสอบ
                                               ทานผลการวิเคราะห์ตามแนวทางเทคนิคเดลฟาย (Delphi
                                               Technique) เพื่ อ การจั ด ทํ า แผนยุ ท ธศาสตร์ ข อง
                                               มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลพระนคร




                                คณะรัฐศาสตร์
                       จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย
                    wdamrong@hotmail.com
                      โทรศัพท์ ๐๒-๒๑๘๗๒๓๙
                                ๑ พ.ค. ๒๕๕๔
คณะรัฐศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย                                                       หน้าที่
การจัดทําแผนยุทธศาสตร์ศมหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลพระนคร

                                                                            สารบัญ
   สารบัญ                                                                                                                                               ก 
   ส่วนที่ 1 การวิเคราะห์ SWOT จากการสํารวจ                                                                                                             3 
           1. ประเด็น SWOT ที่สําคัญ ............................................................................................................ 3 
           2. วิธีการเก็บรวบรวมข้อมูล ............................................................................................................ 3 
           3 ผลการรวบรวมข้อมูลและวิเคราะห์ขอมูล .................................................................................... 3 
                                                      ้
   ส่วนที่ 2 การวิเคราะห์เชิงยุทธศาสตร์                                                                                                                 10 
           1. การวิเคราะห์เทาว์เมทริกซ์ (TOWS Matrix) ............................................................................. 10 
           2. การวิเคราะห์เชิงรับ หรือ WT ................................................................................................... 10 
           3. การวิเคราะห์เชิงพัฒนา หรือ WO............................................................................................. 10 
           4. การวิเคราะห์เชิงป้องกัน หรือ ST ............................................................................................. 10 
           5. การวิเคราะห์เชิงรุก หรือ SO .................................................................................................... 10 
           6. การตัดสินใจเชิงยุทธศาสตร์ ...................................................................................................... 13 
   ส่วนที่ 3 การสอบทานประเด็น SWOT                                                                                                                      14 
           1. การปรับปรุงประเด็น SWOT .................................................................................................... 14 
           2. การประเมินประเด็น SWOT..................................................................................................... 14 




จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย                                                                                                                      หน้าที่ ก
โครงการศึกษาวิเคราะห์ข้อมูลเพื่อการจัดทําแผนพัฒนา
    ระบบบริหารจัดการของกระทรวงเกษตรและสหกรณ์
                                                                           สารบัญตาราง
    ตารางที่ 1 ข้อมูลทั่วไปของผูตอบแบบสํารวจ......................................................................................................... 4 
                                ้
    ตารางที่ 2 สรุปประเด็นปัจจัย SWOT ที่ได้จากแบบสอบถาม ................................................................................ 7 
    ตารางที่ 3 ค่าเฉลี่ยของปัจจัย SWOT ที่ได้จากแบบสอบถาม ................................................................................. 9 
    ตารางที่ 4 การวิเคราะห์ตาม TOWS Matrix ในด้าน WT .................................................................................. 11 
    ตารางที่ 5 การวิเคราะห์ตาม TOWS Matrix ในด้าน WO .................................................................................. 12 
    ตารางที่ 6 การวิเคราะห์ตาม TOWS Matrix ในด้าน ST .................................................................................... 12 
    ตารางที่ 12 การวิเคราะห์ตาม TOWS Matrix ในด้าน SO ................................................................................. 13 

                                                                          สารบัญรูปภาพ
    รูปภาพที่ 1 ตําแหน่งทางยุทธศาสตร์ของมหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลพระนคร จากการสํารวจด้วยแบบสอบถาม
          ............................................................................................................................................................... 9 




หน้าที่ ข                                              รศ.ดร.ดํารงค์ วัฒนา
การจัดทําแผนยุทธศาสตร์ศมหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลพระนคร


                                              ส่วนที่ 1
                                 การวิเคราะห์ SWOT จากการสํารวจ
   1. ประเด็น SWOT ที่สําคัญ
            การกําหนดประเด็น SWOT ที่สําคัญ อาศัยการรวบรวมของมหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลพระนครแล้ว
   นํามาวิเคราะห์จัดหมวดหมู่โดยอาศัยหลักการและวิธีการ ดังนี้
          1. ประเด็นสภาพปัจจัยภายในของมหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลพระนครที่สําคัญ อาศัยตัวแบบ 7-S เป็น
               แนวทางในการกําหนดปัจจัยสภาพแวดล้อมภายใน ได้แก่ Staff, Style, Skill, Structure, Strategy,
               System, Shared-value และเพิ่มอีก 3-S ได้แก่ Stang (เงินงบประมาณ), Stanti (สถานที่ : Location)
               และ Sti (สติ) นอกจากนี้ ยังสามารถใช้ข้อมูลที่มีการดําเนินการอื่นๆ ได้แก่ การใช้โอกาสในการปรับปรุง
               (OFI) จาก PMQA หรือใช้ประสบการณ์ของผู้บริหาร และระบุว่าสภาพภายในเชิงทางบวก ซึ่งเป็นจุดแข็ง
               (Strengths) หรือส่งผลต่อ ในทางลบ ซึ่งเป็นจุดอ่อน (Weaknesses) ของมหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราช
               มงคลพระนคร
          2. ประเด็นสภาพแวดล้อมภายนอกของมหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลพระนครที่สําคัญ อาศัยตัวแบบ
               ISTEP (ได้แก่ International, Society, Technology, Economy, Politics) เป็นแนวทางในการ
               วิเคราะห์หรือใช้ประสบการณ์จากผู้บริหาร และระบุว่า สภาพภายนอกมหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคล
               พระนครฯ นั้ น ส่ ง ผลต่ อ มหาวิ ท ยาลั ย เทคโนโลยี ร าชมงคลพระนคร ในทางบวก ซึ่ ง เป็ น โอกาส
               (Opportunities) หรือส่งผลต่อมหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลพระนครฯ ในทางลบ ซึ่งเป็นภัยคุกคาม
               (Threats) ของมหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลพระนครฯ
            ประเด็น SWOT ที่สําคัญที่ได้มาจากการดําเนินการข้างต้น จะนํามาใช้ในการสํารวจประเด็น SWOT ที่สําคัญ
   ซึ่งอาศัยการรวบรวมข้อมูลจากบุคลากรของมหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลพระนครที่สามารถทําได้อย่างกว้างขวาง
   ได้แก่ การสํารวจข้อมูลเชิงสํามะโนประชากร (Population) ด้วยแบบสอบถาม และประยุกต์เทคนิคเดลฟาย โดยมีการ
   ปรับปรุงแบบสอบถามจากคําตอบที่ได้ พร้อมทั้งมีผลการวิเคราะห์ข้อมูลส่งกลับให้ผู้ตอบได้มีโอกาสสอบทาน ซึ่งจะทํา
   ให้ผลการวิเคราะห์ข้อมูลที่ได้ทีความถูกต้องและน่าเชื่อมากยิ่งขึ้น แบบสํารวจดังกล่าว ประกอบด้วยประเด็นปัจจัยที่มี
   ผลกระทบต่อการดําเนินงานของมหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลพระนคร ซึ่งมีประเด็นการสํารวจ ดังนี ้
          1. ข้อมูล เกี่ย วกับผู้ตอบแบบสํ ารวจ ประกอบด้วย เพศ อายุตัว อายุราชการ ระดั บตําแหน่ง และระดั บ
               การศึกษา
          2. ประเด็นสภาพปัจจัยภายในของมหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลพระนครที่สําคัญ
          3. ประเด็นสภาพแวดล้อมภายนอกของมหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลพระนครที่สําคัญ
   2. วิธีการเก็บรวบรวมข้อมูล
            ในการดําเนินการสํารวจข้อมูลในรอบแรก มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลพระนคร ดําเนินการรวบรวมข้อมูล
   และได้รับแบบสอบถามกลับคืนเป็นจํานวน 518 ชุด
   3 ผลการรวบรวมข้อมูลและวิเคราะห์ข้อมูล
              ก. ข้อมูลเกี่ยวกับผู้ตอบแบบสํารวจ
                 ผู้ตอบแบบสํารวจจํานวนทั้งสิ้น 612 ฉบับ มีข้อมูลทั่วไปของผู้ตอบแบบสอบถามปรากฏตามตาราง
   ต่อไปนี้



จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย                                                                            หน้าที่ 3
โครงการจัดทําแผนยุทธศาสตร์มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลพระนคร

             ตารางที่ 1 ข้อมูลทั่วไปของผูตอบแบบสํารวจ
                                         ้
                                                                                   การศึกษา
      เพศ                     ตําแหน่ง                          ต่ํากว่า   ปริญญา ปริญญา   ปริญญา    ไม่      รวม
                                                               ปริญญาตรี     ตรี     โท      เอก    ระบุ   ทั้งหมด
    ชาย     ไม่ระบุ                                                  28       30      37        3     7       105
            คนงาน                                                                                     1         1
            เจ้าหน้าที่                                                3       2                                5
            เจ้าหน้าที่ควบคุมการออกอากาศ2                                      1                                1
            เจ้าหน้าที่บ.เดอะคอมมูนิเคชั่นจํากัด                                                      1         1
            เจ้าหน้าที่บ.เบญจะไอทีจํากัด                                                              1         1
            เจ้าหน้าที่บริหารงานทั่วไป                                 1       7       2                       10
            เจ้าหน้าที่วจัย
                        ิ                                                      1                                1
            ช่างเขียนแบบ                                                       1                                1
            ช่างศิลป์                                                  1                                        1
            นักประชาสัมพันธ์                                                   1                                1
            นักวิชาการคอมพิวเตอร์                                              5       1                        6
            นักวิชาการเงินและบัญชี                                             1                                1
            นักวิชาการพัสดุ                                                    1                                1
            นักวิชาการศึกษา                                                    5       1                        6
            นักวิชาการโสตทัศนศึกษา                                     1                                        1
            นักศึกษา                                                   4      11       1              1        17
            ผู้ช่วยศาสตราจารย์                                                         2                        2
            ผู้ปฏิบัติงานบริหาร                                        1                                        1
            พนักงานขับรถ                                               1                                        1
            พนักงานโทรศัพท์                                            1                                        1
            พนักงานมหาวิทยาลัย                                                 1                                1
            รองคณบดี                                                                   2                        2
            ลูกมือช่าง                                                 1                                        1
            วิศวกร                                                             1                                1
            หัวหน้าสาขา                                                                            1            1
            อาจารย์                                                            4      28           2           34
    รวม                                                              42       72      74        3 14          205
    หญิง    ไม่ระบุ                                                  20       86      63        2 11          181
            คนงาน                                                     1                                         1
            เจ้าหน้าที่                                               1        3                      2         6
            เจ้าหน้าที่บ.เบญจะไอทีจํากัด                                                              1         1
            เจ้าหน้าที่บริหารงานทั่วไป                                 1      60       8        1              70
            เจ้าหน้าที่บริหารงานวิจัย                                          1                                1
            เจ้าหน้าที่บัญชี                                                   1                                1
            เจ้าหน้าที่วจัย
                        ิ                                                      2                                2
            นักตรวจสอบภายใน                                                            1                        1

หน้าที่ 4                                รศ.ดร.ดํารงค์ วัฒนา
การจัดทําแผนยุทธศาสตร์ศมหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลพระนคร


                                                                        การศึกษา
    เพศ                   ตําแหน่ง                ต่ํากว่า   ปริญญา ปริญญา      ปริญญา        ไม่         รวม
                                                 ปริญญาตรี     ตรี     โท         เอก        ระบุ      ทั้งหมด
             นักประชาสัมพันธ์                                      3                                        3
             นักวิเคราะห์นโยบายและแผน                              3                                        3
             นักวิเคราะห์นโยบายและแผนชํานาญการ                     1        1                               2
             นักวิชาการ                                            1        1                               2
             นักวิชาการชํานาญการ                                            1                               1
             นักวิชาการคอมพิวเตอร์                                1                                         1
             นักวิชาการเงินและบัญชี                               4                                         4
             นักวิชาการเงินและบัญชีชํานาญการ                      1                             1           2
             นักวิชาการพัสดุ                                      1                                         1
             นักวิชาการศึกษา                                     14         3                   1          18
             นักวิชาการโสตทัศนศึกษา                               1                                         1
             นักศึกษา                                    3       20         1                              24
             บรรณารักษ์                                                     1                               1
             บุคลากร                                                        1                               1
             ผู้ช่วยศาสตราจารย์                                            10          1                   11
             ผู้บริหาร                                                      1                               1
             ผู้ปฏิบัติงานบริหาร                         7         4        1                              12
             ผู้อํานวยการ                                                   1                               1
             ผู้อํานวยการกองประชาสัมพันธ์                                   1                               1
             พนักงานพิมพ์                                          1                                        1
             พนักงานพิมพ์ดีด1                            1                                                  1
             พนักงานพิมพ์ดีด2                                      1                                        1
             พนักงานมหาวิทยาลัย                                    1                                        1
             รองศาสตราจารย์                                                 1                               1
             หัวหน้างานแผนและงบประมาณ                              1                                        1
             หัวหน้าสาขา                                                    1                               1
             หัวหน้าสํานักงาน                                      1                                        1
             หัวหน้าสํานักงานคณบดี                                 2                                        2
             อาจารย์                                     2         5       26          1        1          35
             นักวิชาการศึกษาชํานาญการ                              1        2                               3
             นักวิชาการศึกษาชํานาญการพิเศษ                         1                                        1
   รวม                                                  36       221      124          5       17          403
   -                                                                                            3            3
      รวม                                               78       293      199          8       34          612
   ทั้งหมด




จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย                                                                      หน้าที่ 5
โครงการจัดทําแผนยุทธศาสตร์มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลพระนคร

                   จากตารางข้างต้น แสดงข้อมูลทั่วไปของผู้ตอบแบบสํารวจ พบว่า เป็นเพศชาย จํานวน 205 คน (ร้อยละ
    33.50) เป็นเพศหญิง จํานวน 404 คน (ร้อยละ 66.01) ไม่ตอบจํานวน 3 คน (ร้อยละ 0.49) ส่วนใหญ่มีระดับ
    การศึกษาอยู่ในระดับปริญญาตรี จํานวน 293 คน (ร้อยละ 47.88) รองลงมาคือ ระดับปริญญาโท จํานวน 199 คน
    (ร้อยละ 32.52) ตําแหน่งส่วนใหญ่เป็นอาจารย์ จํานวน 69 คน (ร้อยละ 11.28) อายุตัวอยู่ระหว่าง (ค่าพิสัย) 16-60 ปี
    มีค่าเฉลี่ยเท่ากับ 36.72 ปี (ส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐานเท่ากับ 11.40 ปี) สําหรับอายุงานอยู่ระหว่าง (ค่าพิสัย) 1--38 ปี มี
    ค่าเฉลี่ยเท่ากับ 13.65 ปี (ส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐานเท่ากับ 10.60 ปี)
                ข. ข้อมูลปัจจัย SWOT ที่สําคัญ
                   ผู้ตอบแบบสํารวจได้ระบุสภาพภายในของมหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลพระนครที่มีความสําคัญ ซึ่ง
    เป็นจุดแข็ง (Strengths) และจุดอ่อน (Weaknesses) และสภาพแวดล้อมภายนอกองค์การที่สําคัญซึ่งเป็นโอกาส
    (Opportunities) และภัยคุกคาม (Threats) สรุปได้ดังแสดงในตารางที่ 2
                ค. ตําแหน่งยุทธศาสตร์ของมหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลพระนคร
                   ตําแหน่งยุทธศาสตร์ของมหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลพระนครจากการวิเคราะห์ข้อมูลปัจจัย SWOT
    ที่สําคัญ จากผู้ตอบแบบสํารวจดังที่แสดงข้างต้น อาศัยค่าเฉลี่ยของผลกระทบต่อมหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลพระ
    นครและความสามารถในการจัดการปัจจัยของมหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลพระนคร ดังแสดงในตารางที่ 3 ซึ่ง
    พบว่า ค่าเฉลี่ยของผลกระทบต่อมหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลพระนครมีน้ําหนักจุดอ่อน ( x =3.99) มากกว่าจุด
    แข็ง ( x =3.80) และมีน้ําหนักภัยคุกคาม ( x =4.01) มากกว่าโอกาส ( x =3.91) ซึ่งอยู่ตําแหน่งยุทธศาสตร์เชิงรับ
    (defensive strategy) ส่วนค่าเฉลี่ยของความสามารถในการจัดการปัจจัยของมหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลพระ
    นคร มีน้ําหนักจุดแข็ง ( x =2.74) มากกว่าจุดอ่อน ( x =2.43) และมีน้ําหนักโอกาส ( x =2.92) มากกว่าภัยคุกคาม (
     x =2.64) ซึ่งอยู่ตําแหน่งยุทธศาสตร์เชิงรุก (offensive strategy) ดังแสดงในรูปภาพที่ 1 ชี้ว่า ผู้ตอบแบบสอบถาม
    เห็นว่าปัจจัย SWOT ที่สําคัญมีผลต่อมหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลพระนคร ทําให้ ส่วนความสามารถในการ
    จัดการปัจจัยของมหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลพระนครทําให้มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลพระนครอยู่
    ตําแหน่งรุก




หน้าที่ 6                              รศ.ดร.ดํารงค์ วัฒนา
การจัดทําแผนยุทธศาสตร์ศมหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลพระนคร


             ตารางที่ 2 สรุปประเด็นปัจจัย SWOT ที่ได้จากแบบสอบถาม
   การวิเคราะห์ข้อมูลสองส่วน 1) ผลกระทบต่อมหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลพระนคร 2) ความสามารถในการจัดการของมหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคล ส่วนที่ 1)        ส่วนที่ 2)
                                                                                                                                   พระนคร
    ที่ ประเด็นสําคัญที่มีผลกระทบต่อการดําเนินการของมหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลพระนครและสํานักงานมหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราช SWOT Mean SD Mean SD                   ลําดับที่
         มงคลพระนคร
   1     การขยายตัวทางเศรษฐกิจทําให้เกิดความต้องการบุคลากรที่มีความรู้ และทักษะในวิชาชีพและบัณฑิตนักปฏิบัติ                           O   3.81 0.93 3.38 0.89         7
   2     นโยบายของรัฐให้การสนับสนุนสถานศึกษาที่ผลิตบุคลากรด้านวิชาชีพและเทคโนโลยี และภาคเอกชนให้การสนับสนุนเช่นกัน                    O   3.63 0.89 3.42 0.88        19
   3     ภาครัฐมีนโยบายสนับสนุนระบบให้ทุนกู้ยืมเพื่อการศึกษาเป็นการสร้างโอกาสให้กับผู้ด้อยโอกาสมากขึ้น                                O   3.63 1.03 3.61 0.91        21
   4     นโยบายภาครัฐสนับสนุนด้านการบริหารจัดการอุดมศึกษาเพื่อเพิ่มประสิทธิภาพ ทําให้การทํางานคล่องตัว                                O   3.56 0.91 3.36 0.89        26
   5     เป็นมหาวิทยาลัยทางเลือกสําหรับนักศึกษาเพื่อมุ่งสู่วิชาชีพ                                                                    O   3.63 0.98 3.56 0.95        20
   6     โครงสร้างประชากร เปิดโอกาสให้มหาวิทยาลัยสามารถจัดการศึกษาได้หลากหลาย                                                         O   3.50 1.25 3.40 0.91        29
   7     การจัดการศึกษาทางด้านวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีต้องใช้การลงทุนสูงในด้านอุปกรณ์และห้องปฏิบตการสูง
                                                                                                   ัิ                                 T   3.89 0.91 3.33 0.96         6
   8     นโยบายการปรับลดงบประมาณและอัตรากําลังทําให้การดําเนินงานของมหาวิทยาลัยฯ เป็นไปได้ช้า                                         T   3.89 0.95 3.26 0.99         5
   9     การเปิดการศึกษาเสรีทําให้มหาวิทยาลัยฯ มีคู่แข่งมากสถานศึกษาอื่นทั้งภาครัฐและเอกชนเปิดสอนและจัดการศึกษาวิชาชีพแขนงต่างๆ กัน T     3.98 0.91 3.41 1.00         1
         อย่างกว้างขวาง
   10 โครงสร้างประชากรส่งผลให้ประชากรวัยเรียนลดลง                                                                                     T   3.72 2.42 3.30 0.93        13
   11 การจัดการศึกษาด้านวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีที่สอดคล้องกับแนวทางการพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมของประเทศ                                  S   3.62 0.87 3.40 0.88        22
   12 จัดการศึกษาหลากหลายสาขาวิชาชีพและครอบคลุมองค์ความรู้ตั้งแต่ระดับวิชาชีพขั้นพื้นฐานจนถึงขั้นสูง                                  S   3.60 0.93 3.44 0.90        24
   13 มีบคลากรที่มีความรู้ความเชี่ยวชาญในสาขาวิชาชีพ
              ุ                                                                                                                       S   3.56 0.96 3.44 0.96        25
   14 บัณฑิตมีคุณภาพและเป็นที่ต้องการของตลาดแรงงาน                                                                                    S   3.62 0.96 3.43 0.95        23
   15 มหาวิทยาลัยมีชื่อเสียงทางด้านวิชาชีพและผลิตบัณฑิตมายาวนาน                                                                       S   3.71 1.90 3.60 0.97        14
   16 สถานที่ต้ังอยู่กลางใจเมือง มีทําเลที่เหมาะสม                                                                                    S   3.55 1.11 3.57 1.00        28
   17 มีการส่งเสริมและพัฒนาบุคลากรอย่างต่อเนื่อง ทําให้บุคลากรมีความรู้และประสบการณ์                                                  S   3.56 1.54 3.37 0.98        27
   18 มีอตลักษณ์ที่โดดเด่นด้านวิชาชีพที่สามารถให้บริการวิชาการแก่สังคม
            ั                                                                                                                         S   3.48 0.99 3.44 0.90        30
   19 มีระบบประกันคุณภาพที่เข้มแข็ง                                                                                                   S   3.43 1.01 3.41 0.98        31
   20 สัดส่วนคุณวุฒิและตําแหน่งทางวิชาการของอาจารย์ไม่เป็นไปตามเกณฑ์มาตรฐาน                                                           W   3.63 1.63 3.19 0.95        18
   21 บุคลากรบางส่วนขาดแนวคิดเชิงรุก และขาดกระบวนทัศน์ใหม่ในการแก้ปัญหา                                                               W   3.67 1.01 3.21 1.01        17
   22 สถานที่จํากัด ทําให้การขยายตัวเป็นไปได้ยาก                                                                                      W   3.95 1.03 3.14 1.14         3


จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย                                                                           หน้าที่ 7
โครงการจัดทําแผนยุทธศาสตร์มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลพระนคร
    การวิเคราะห์ข้อมูลสองส่วน 1) ผลกระทบต่อมหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลพระนคร 2) ความสามารถในการจัดการของมหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคล ส่วนที่ 1) ส่วนที่ 2)
                                                                                                                             พระนคร
     ที่ ประเด็นสําคัญที่มีผลกระทบต่อการดําเนินการของมหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลพระนครและสํานักงานมหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราช SWOT Mean SD Mean SD            ลําดับที่
          มงคลพระนคร
    23 ขาดแคลนบุคลากรสายสนับสนุนทําให้ต้องใช้บุคลากรสายสอนรับภาระงานสนับสนุนควบคู่กันส่งผลกระทบต่อประสิทธิภาพในการจัดการ        W   3.91 1.00 3.14 1.12
          เรียนการสอน และงานวิจัย                                                                                                                               4
    24 ผู้บริหารใหม่บางส่วนยังขาดทักษะประสบการณ์ด้านการบริหาร                                                                   W   3.78 1.03 3.19 1.06         8
    25 งานวิจัยบางสาขายังมีน้อย                                                                                                 W   3.74 1.06 3.15 1.09        12
    26 ขาดระบบติดตามประเมินผลและการนําผลประเมินมาปรับปรุงและพัฒนา                                                               W   3.68 0.94 3.20 0.97        16
    27 บุคลากรและนักศึกษาขาดทักษะในการสื่อสารภาษาอังกฤษ                                                                         W   3.96 1.00 3.14 1.12         2
    28 นักศึกษาที่รับเข้าศึกษา (Input) ไม่ค่อยมีคุณภาพ                                                                          W   3.78 0.99 3.08 1.04        10
    29 ขาดการประชาสัมพันธ์เชิงรุก                                                                                               W   3.78 0.94 3.21 1.01         9
    30 ขาดการติดต่อสื่อสารภายในองค์กรที่ขาดประสิทธิภาพ                                                                          W   3.70 0.97 3.20 1.01        15
    31 ขาดผู้บริหารมืออาชีพ                                                                                                     W   3.76 1.09 3.12 1.14        11




หน้าที่ 8                            รศ.ดร.ดํารงค์ วัฒนา
การจัดทําแผนยุทธศาสตร์ศมหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลพระนคร


             ตารางที่ 3 ค่าเฉลี่ยของปัจจัย SWOT ที่ได้จากแบบสอบถาม

                            ผลกระทบต่อ                 ความสามารถในการ
                            มหาวิทยาล ัยฯ              จ ัดการปัจจ ัย

                        S         3.568642                   3.455156
                        W         3.777376                   3.165074
                        O         3.625588                   3.456267
                        T         3.868761                   3.323982


                                                   O
                                               4
                                             3.5
                                               3
                                             2.5
                                               2
                                             1.5
                                               1
                                             0.5                                                        Wieght
                        W                      0                          S
                                                                                                        Score




                                                   T

   รูปภาพที่ 1 ตําแหน่งทางยุทธศาสตร์ของมหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลพระนคร จากการสํารวจด้วยแบบสอบถาม




จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย                                                                           หน้าที่ 9
โครงการจัดทําแผนยุทธศาสตร์มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลพระนคร

                                                    ส่วนที่ 2
                                           การวิเคราะห์เชิงยุทธศาสตร์
    1. การวิเคราะห์เทาว์เมทริกซ์ (TOWS Matrix)
             จากการวิเคราะห์ข้อมูลเชิงประจักษ์ (Empirical Studies) โดยการให้บุคลากรและผู้บริหารประเมินประเด็น
    SWOT ที่สําคัญ พบว่า ตําแหน่งยุทธศาสตร์ของมหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลพระนครอยู่ที่ตั้งรับ ซึ่งเป็นตําแหน่ง
    ที่เสียเปรียบเชิงการแข่งขันทางยุทธศาสตร์ การวางแผนยุทธศาสตร์จึงควรมุ่งเน้นปัจจัยสําคัญที่ช่วยลดหรือขจัด
    จุดอ่อนลงได้มากที่สุด การผลิกวิกฤตจากภัยคุกคามให้เป็นโอกาส หรือใช้จุดแข็งช้อนโอกาส โดยพิจารณาประเด็น
    SWOT ที่สําคัญ โดยอาศัยเทคนิคเทาว์เมทริกซ์ TOWS (TOWS matix) มาใช้ในการวิเคราะห์ประเด็นยุทธศาสตร์
    โดยนําประเด็นสําคัญที่สุด ของ SWOT ทั้งสี่ด้านมาใช้ในการวิเคราะห์ ทั้งนี้ ได้คํานึงถึงตําแหน่งยุทธศาสตร์ด้วย ซึ่ง
    ตําแหน่งยุทธศาสตร์ของมหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลพระนครอยู่ที่ “ตั้งรับ” จึงนําประเด็นจุดอ่อนและภัยคุกคาม
    มาพิจารณาก่อน ดังต่อไปนี้
    2. การวิเคราะห์เชิงรับ หรือ WT
             การที่ ตํา แหน่ ง ยุท ธศาสตร์ข องมหาวิ ท ยาลัย เทคโนโลยี ราชมงคลพระนครอยู่ที่ตั้ง รั บ ซึ่ ง เป็ นตํา แหน่ ง ที่
    เสียเปรียบเชิงการแข่งขันทางยุทธศาสตร์ การวางแผนยุทธศาสตร์จึงควรมุ่งเน้นปัจจัยสําคัญที่ช่วยลดหรือขจัดจุดอ่อน
    ลงได้มากที่สุด ดังการวิเคราะห์ตามตารางที่ 4 ซึ่งมีข้อเสนอเชิงยุทธศาสตร์เชิงรับที่สําคัญ ดังนี้
           1. พัฒนาความเข็มแข็งของบุคลากร
           2. ส่งเสริมการประชาสัมพันธ์เชิงรุก
           3. การอาศัยเครือข่ายงาน
    3. การวิเคราะห์เชิงพัฒนา หรือ WO
             การที่ ตํา แหน่ ง ยุท ธศาสตร์ข องมหาวิ ท ยาลัย เทคโนโลยี ราชมงคลพระนครอยู่ที่ตั้ง รั บ ซึ่ ง เป็ นตํา แหน่ ง ที่
    เสียเปรียบเชิงการแข่งขันทางยุทธศาสตร์ การวางแผนยุทธศาสตร์จึงควรมุ่งเน้นปัจจัยสําคัญที่ช่วยลดหรือขจัดจุดอ่อน
    ลงได้มากที่สุด หลังการวิเคราะห์ WT แล้ว จะได้วิเคราะห์ WO ดังการวิเคราะห์ตามตารางที่ 5 ซึ่งพิจารณา
    ยุทธศาสตร์เชิงพัฒนา หรือ WO โดยมีข้อเสนอเชิงยุทธศาสตร์ที่สําคัญคล้ายกับข้อเสนอเชิงยุทธศาสตร์เชิงรับ ได้แก่
    สร้างและขยายเครือข่ายงานทางด้านการพัฒนาด้านวิชาชีพและเทคโนโลยี
    4. การวิเคราะห์เชิงป้องกัน หรือ ST
           การที่ตําแหน่งยุทธศาสตร์ของมหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลพระนครอยู่ที่ตั้งรับ ซึ่ สมควรให้มีการเร่งรัด
    ยุทธศาสตร์ด้าน WT และ WO ซึ่งจะทําให้มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลพระนคร ได้รับการปรับปรุง แก้ไขและ
    พัฒนาให้มีความพร้อม ซึ่งควรพิจารณายุทธศาสตร์เชิงป้องกัน กล่าวคือ การใช้จุดแข็งป้องกันภัยคุกคาม จึงพิจารณา
    ยุทธศาสตร์เชิงป้องกัน หรือ ST ได้แก่ เร่งงานด้านวิชาชีพ วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี
    5. การวิเคราะห์เชิงรุก หรือ SO
            การที่มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลพระนคร สามารถเร่งรัดยุทธศาสตร์ด้าน WT, WO และ ST ซึ่งจะทํา
    ให้มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลพระนคร ได้รับการปรับปรุง แก้ไขและพัฒนาให้มีความได้เปรียบ ซึ่งควรพิจารณา
    ยุทธศาสตร์เชิงรุก กล่าวคือ การใช้จุดแข็งในการช้อนโอกาส จึงพิจารณายุทธศาสตร์เชิงรุก หรือ SO ได้แก่ ขยายงาน
    ด้านวิชาชีพ วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี



หน้าที่ 10                               รศ.ดร.ดํารงค์ วัฒนา
การจัดทําแผนยุทธศาสตร์ศมหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลพระนคร

         ตารางที่ 4 การวิเคราะห์ตาม TOWS Matrix ในด้าน WT
                                                                 O:           T: ภัยคุกคาม
                      ยุทธศาสตร์เชิงรับ (WT)                     โอกาส 1) การเปิ ด การศึ ก ษาเสรี ทํ าให้ ม หาวิ ท ยาลั ย ฯ มี
                                                                             คู่แข่งมากสถานศึกษาอื่นทั้งภาครัฐและเอกชน
    S: จุดแข็ง                                                               เปิ ด สอนและจั ด การศึก ษาวิ ช าชีพ แขนงต่ างๆ
                                                                             กันอย่างกว้างขวาง
    W: จุดอ่อน                                                           2) นโยบายการปรับลดงบประมาณและอัตรากําลัง
   1) บุคลากรและนักศึกษาขาดทักษะในการสื่อสารภาษาอังกฤษ                       ทําให้การดําเนินงานของมหาวิทยาลัยฯ เป็นไป
   2) สถานที่จํากัด ทําให้การขยายตัวเป็นไปได้ยาก                             ได้ช้า
   3) ขาดแคลนบุคลากรสายสนับสนุนทําให้ต้องใช้บุคลากรสายสอน                3) การจั ด การศึ ก ษาทางด้ า นวิ ท ยาศาสตร์ แ ละ
        รับภาระงานสนับสนุนควบคู่กันส่งผลกระทบต่อประสิทธิภาพใน                เทคโนโลยีต้องใช้ การลงทุ นสูงในด้านอุ ปกรณ์
        การจัดการเรียนการสอน และงานวิจัย                                     และห้องปฏิบัติการสูง
   4) ผู้บริหารใหม่บางส่วนยังขาดทักษะประสบการณ์ด้านการบริหาร             4) โครงสร้างประชากรส่งผลให้ประชากรวัยเรียน
   5) ขาดการประชาสัมพันธ์เชิงรุก                                             ลดลง
   6) นักศึกษาที่รบเข้าศึกษา (Input) ไม่ค่อยมีคุณภาพ
                  ั
   7) ขาดผู้บริหารมืออาชีพ                                           ข้อเสนอเชิงยุทธศาสตร์
   8) งานวิจัยบางสาขายังมีน้อย                                   1. พัฒนาความเข็มแข็งของบุคลากร
   9) ขาดการติดต่อสื่อสารภายในองค์กรที่ขาดประสิทธิภาพ            2. ส่งเสริมการประชาสัมพันธ์เชิงรุก
   10) ขาดระบบติดตามประเมินผลและการนําผลประเมินมาปรับปรุง 3. การอาศัยเครือข่ายงาน
        และพัฒนา
   11) บุคลากรบางส่วนขาดแนวคิดเชิงรุก และขาดกระบวนทัศน์ใหม่ใน
        การแก้ปัญหา
   12) สัดส่วนคุณวุฒิและตําแหน่งทางวิชาการของอาจารย์ไม่เป็นไปตาม
        เกณฑ์มาตรฐาน




จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย                                                                                   หน้าที่ 11
โครงการจัดทําแผนยุทธศาสตร์มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลพระนคร

             ตารางที่ 5 การวิเคราะห์ตาม TOWS Matrix ในด้าน WO
                                                                           O: โอกาส                                              T:
                      ยุทธศาสตร์เชิงพัฒนา (WO)                             1) การขยายตัวทางเศรษฐกิจทําให้เกิดความ ภัย
     S: จุดแข็ง                                                                ต้องการบุคลากรที่มีความรู้ และทักษะใน คุก
                                                                               วิชาชีพและบัณฑิตนักปฏิบัติ                      คาม
     W: จุดอ่อน                                                            2) น โ ย บ า ย ข อ ง รั ฐ ใ ห้ ก า ร ส นั บ ส นุ น
    1) บุคลากรและนักศึกษาขาดทักษะในการสื่อสารภาษาอังกฤษ                        สถานศึ ก ษาที่ ผ ลิ ต บุ ค ลากรด้ า นวิ ช าชี พ
    2) สถานที่จํากัด ทําให้การขยายตัวเป็นไปได้ยาก                              และเทคโนโลยี และภาคเอกชนให้ ก าร
    3) ขาดแคลนบุ ค ลากรสายสนั บ สนุ น ทํ า ให้ ต้ อ งใช้ บุ ค ลากรสายสอน       สนับสนุนเช่นกัน
        รับภาระงานสนับสนุนควบคู่กันส่งผลกระทบต่อประสิทธิภาพในการ           3) เป็ นม หาวิ ทยาลั ยทางเลื อก สํ าห รั บ
        จัดการเรียนการสอน และงานวิจัย                                          นักศึกษาเพื่อมุ่งสู่วิชาชีพ
    4) ผู้บริหารใหม่บางส่วนยังขาดทักษะประสบการณ์ด้านการบริหาร              4) ภาครั ฐ มี น โยบายสนั บ สนุ น ระบบให้ ทุ น
    5) ขาดการประชาสัมพันธ์เชิงรุก                                              กู้ ยื ม เพื่ อ การศึ ก ษาเป็ น การสร้ า งโอกาส
    6) นักศึกษาที่รับเข้าศึกษา (Input) ไม่ค่อยมีคุณภาพ                         ให้กับผู้ด้อยโอกาสมากขึ้น
    7) ขาดผู้บริหารมืออาชีพ                                                5) นโยบายภาครัฐสนับสนุนด้านการบริหาร
    8) งานวิจัยบางสาขายังมีน้อย                                                จัดการอุด มศึ กษาเพื่อเพิ่ ม ประสิ ทธิภ าพ
    9) ขาดการติดต่อสื่อสารภายในองค์กรที่ขาดประสิทธิภาพ                         ทําให้การทํางานคล่องตัว
    10) ขาดระบบติดตามประเมินผลและการนําผลประเมินมาปรับปรุงและ              6) โครงสร้ า งประชากร เปิ ด โอกาสให้
        พัฒนา                                                                  มหาวิ ท ยาลั ย สามารถจั ด การศึ ก ษาได้
    11) บุคลากรบางส่วนขาดแนวคิดเชิงรุก และขาดกระบวนทัศน์ใหม่ใน                 หลากหลาย
        การแก้ปัญหา
                                                                                ข้อเสนอเชิงยุทธศาสตร์
    12) สัดส่วนคุณวุฒิและตําแหน่งทางวิชาการของอาจารย์ไม่เป็นไปตาม
        เกณฑ์มาตรฐาน                                                              1. สร้างและขยายเครือข่ายงานทางด้าน
                                                                                      การพัฒนาด้านวิชาชีพและเทคโนโลยี
             ตารางที่ 6 การวิเคราะห์ตาม TOWS Matrix ในด้าน ST
                                                                                O: โอ     T: ภัยคุกคาม
                         ยุทธศาสตร์เชิงป้องกัน (ST)                             กาส   1) การเปิดการศึกษาเสรีทําให้
                                                                                            มหาวิทยาลัยฯ มีคู่แข่งมาก
     S: จุดแข็ง                                                                             สถานศึกษาอื่นทั้งภาครัฐและเอกชน
      1) มหาวิทยาลัยมีช่ือเสียงทางด้านวิชาชีพและผลิตบัณฑิตมายาวนาน                          เปิดสอนและจัดการศึกษาวิชาชีพ
      2) การจัดการศึกษาด้านวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีที่สอดคล้องกับแนว                         แขนงต่างๆ กันอย่างกว้างขวาง
          ทางการพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมของประเทศ                                           2) นโยบายการปรับลดงบประมาณและ
      3) บัณฑิตมีคุณภาพและเป็นที่ต้องการของตลาดแรงงาน                                       อัตรากําลังทําให้การดําเนินงานของ
      4) จัดการศึกษาหลากหลายสาขาวิชาชีพและครอบคลุมองค์ความรู้ตั้งแต่                        มหาวิทยาลัยฯ เป็นไปได้ช้า
          ระดับวิชาชีพขั้นพื้นฐานจนถึงขั้นสูง                                            3) ก า ร จั ด ก า ร ศึ ก ษ า ท า ง ด้ า น
      5) มีบุคลากรที่มีความรู้ความเชี่ยวชาญในสาขาวิชาชีพ                                    วิ ท ยาศาสตร์ แ ละเทคโนโลยี ต้ อ งใช้
      6) มีการส่งเสริมและพัฒนาบุคลากรอย่างต่อเนื่อง ทําให้บุคลากรมีความรู้                  การลงทุ น สู ง ในด้ า นอุ ป กรณ์ แ ละ
          และประสบการณ์                                                                     ห้องปฏิบติการสูง
                                                                                                      ั
      7) สถานที่ตั้งอยู่กลางใจเมือง มีทําเลที่เหมาะสม                                    4) โ ค ร ง ส ร้ า ง ป ร ะ ช า ก ร ส่ ง ผ ล ใ ห้
      8) อัตลักษณ์โดดเด่นด้านวิชาชีพในการบริการวิชาการแก่สังคม                              ประชากรวัยเรียนลดลง
      9) มีระบบประกันคุณภาพที่เข้มแข็ง                                              ข้อเสนอเชิงยุทธศาสตร์
     W: จุดอ่อน                                                                  1. เร่ ง งานด้ า นวิ ช าชี พ วิ ท ยาศาสตร์ แ ละ
                                                                                     เทคโนโลยี



หน้าที่ 12                                รศ.ดร.ดํารงค์ วัฒนา
การจัดทําแผนยุทธศาสตร์ศมหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลพระนคร

          ตารางที่ 7 การวิเคราะห์ตาม TOWS Matrix ในด้าน SO
                                                                 O: โอกาส                                                  T:
                   ยุทธศาสตร์เชิงรุก (SO)                        1) การขยายตั ว ทางเศรษฐกิ จ ทํ า ให้ เ กิ ด ความต้ อ งการ ภัย
                                                                    บุคลากรที่มีความรู้ และทักษะในวิชาชีพและบัณฑิต คุก
    S: จุดแข็ง                                                      นักปฏิบัติ                                             คาม
     1) มหาวิทยาลัยมีช่ือเสียงทางด้านวิชาชีพและผลิตบัณฑิต        2) นโยบายของรั ฐ ให้ ก ารสนั บ สนุ น สถานศึ ก ษาที่ ผ ลิ ต
         มายาวนาน                                                    บุคลากรด้านวิชาชีพและเทคโนโลยี และภาคเอกชนให้
     2) การจัดการศึกษาด้านวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีที่                 การสนับสนุนเช่นกัน
         สอดคล้องกับแนวทางการพัฒนาเศรษฐกิจและสังคม               3) เป็ นมหาวิ ทยาลั ยทางเลื อ กสํ า หรั บ นั กศึ ก ษาเพื่ อ มุ่ งสู่
         ของประเทศ                                                   วิชาชีพ
     3) บัณฑิตมีคุณภาพและเป็นที่ต้องการของตลาดแรงงาน             4) ภาครั ฐ มี น โยบายสนั บ สนุ น ระบบให้ ทุ น กู้ ยื ม เพื่ อ
     4) จัดการศึกษาหลากหลายสาขาวิชาชีพและครอบคลุม                    การศึกษาเป็นการสร้างโอกาสให้กับผู้ด้อยโอกาสมาก
         องค์ความรู้ตั้งแต่ระดับวิชาชีพขั้นพื้นฐานจนถึงขั้นสูง       ขึ้น
     5) มีบุคลากรที่มความรู้ความเชี่ยวชาญในสาขาวิชาชีพ
                       ี                                         5) นโยบายภาครั ฐ สนั บ สนุ น ด้ า นการบริ ห ารจั ด การ
     6) มีการส่งเสริมและพัฒนาบุคลากรอย่างต่อเนื่อง ทําให้            อุ ด มศึ ก ษาเพื่ อ เพิ่ ม ประสิ ท ธิ ภ าพ ทํ า ให้ ก ารทํ า งาน
         บุคลากรมีความรู้และประสบการณ์                               คล่องตัว
     7) สถานที่ตั้งอยู่กลางใจเมือง มีทําเลที่เหมาะสม             6) โครงสร้างประชากร เปิดโอกาสให้มหาวิทยาลัยสามารถ
     8) อัตลักษณ์โดดเด่นด้านวิชาชีพในการบริการวิชาการแก่             จัดการศึกษาได้หลากหลาย
         สังคม                                                      ข้อเสนอเชิงยุทธศาสตร์
     9) มีระบบประกันคุณภาพที่เข้มแข็ง                            1. ขยายงานด้านวิชาชีพ วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี
    W: จุดอ่อน

           จากการวิเคราะห์ SWOT และ TOWS Matrix พบว่ามหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลพระนคร มีภาวะของ
   การขยายตัวทางการตลาดด้านวิชาชีพ วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี แต่ความสามารถในการแข่งขันของมหาวิทยาลัย
   เทคโนโลยีราชมงคลพระนครอยู่ในระดับไม่สูง ยุทธศาสตร์หลัก หรือ Grand Strategy ของมหาวิทยาลัยเทคโนโลยี
   ราชมงคลพระนครจึงเป็นเรื่องของยุทธศาสตร์การตั้งรับและการพัฒนาเป็นหลัก เมื่อมีความได้เปรียบเชิงการแข่งขันที่
   อยู่ในระดับสูง ก็สมควรพิจารณาใช้ยุทธศาสตร์เชิงรุกต่อไป
   6. การตัดสินใจเชิงยุทธศาสตร์
             จากผลการวิเคราะห์เชิงของมหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลพระนครข้างต้น มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราช
   มงคลพระนครควรมีการตัดสินใจตามแนวทาง ดังนี้
             1. กําหนดยุทธศาสตร์เชิงรับและพัฒนา ได้แก่ พัฒนาความเข็มแข็งของบุคคล เร่งประชาสัมพันธ์เชิงรุกและ
   การสร้างภาพลักษณ์ที่ดี การสร้างและอาศัยเครือข่ายงานทางด้านวิชาชีพ วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี
             2. การกําหนดยุทธศาสตร์ระยะสั้น ระยะปานกลาง และระยะยาว ในส่วนของการกําหนดยุทธศาสตร์ระยะ
   สั้นนั้น ให้เร่งรัดยุทธศาสตร์เชิงรับ ได้แก่ “ยุทธศาสตร์เข้มแข็ง” และยุทธศาสตร์เชิงพัฒนา ได้แก่ “ยุทธศาสตร์
   ภาพลักษณ์ที่ดี” โดยมียุทธศาสตร์ประกอบที่สําคัญ คือ การสร้างและอาศัยเครือข่ายงานทางด้านวิชาชีพ วิทยาศาสตร์
   และเทคโนโลยี
              3. การกําหนดระยะปานกลาง และระยะยาว ได้แก่ “ยุทธศาสตร์ขับเคลื่อน” โดยมียุทธศาสตร์ประกอบ
   คือ การให้ข้อมูล ข่าวสาร ความรู้ และะการขยายงานด้านวิชาชีพ วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี




จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย                                                                                                   หน้าที่ 13
โครงการจัดทําแผนยุทธศาสตร์มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลพระนคร

                                              ส่วนที่ 3
                                       การสอบทานประเด็น SWOT
    1. การปรับปรุงประเด็น SWOT
              จากการประเด็น SWOT ที่ได้จากการรสํารวจ จักได้นํามาปรับปรุงให้เป็นหมวดหมู่
    2. การประเมินประเด็น SWOT
             จากการประเด็น SWOT ที่ได้รับการปรับปรุงแล้ว จะนําไปใช้ในการประเมินต่อไป




หน้าที่ 14                            รศ.ดร.ดํารงค์ วัฒนา

Contenu connexe

Tendances

ตัวอย่างแผนธุรกิจPocket tissue
ตัวอย่างแผนธุรกิจPocket tissueตัวอย่างแผนธุรกิจPocket tissue
ตัวอย่างแผนธุรกิจPocket tissueNattakorn Sunkdon
 
องค์ประกอบของหลักสูตร
องค์ประกอบของหลักสูตรองค์ประกอบของหลักสูตร
องค์ประกอบของหลักสูตรSunisa199444
 
รายงาน น.ส.ณัฐชญา วรรณดี กศบ.5603ข.เลขที่ 7
รายงาน              น.ส.ณัฐชญา วรรณดี กศบ.5603ข.เลขที่ 7รายงาน              น.ส.ณัฐชญา วรรณดี กศบ.5603ข.เลขที่ 7
รายงาน น.ส.ณัฐชญา วรรณดี กศบ.5603ข.เลขที่ 7Nookker Ktc
 
โมเดลและทฤษฎีที่สำคัญเกี่ยวกับการจัดการความรู้ (Km)
โมเดลและทฤษฎีที่สำคัญเกี่ยวกับการจัดการความรู้ (Km) โมเดลและทฤษฎีที่สำคัญเกี่ยวกับการจัดการความรู้ (Km)
โมเดลและทฤษฎีที่สำคัญเกี่ยวกับการจัดการความรู้ (Km) Sasichay Sritep
 
Organizational management concepts 4M
Organizational management concepts 4MOrganizational management concepts 4M
Organizational management concepts 4MiamthesisTH
 
แบบประเมินความพึงพอใจในการจัดกิจกรรมต่อต้านยาไอซ์ในโรงเรียน (1)
แบบประเมินความพึงพอใจในการจัดกิจกรรมต่อต้านยาไอซ์ในโรงเรียน (1)แบบประเมินความพึงพอใจในการจัดกิจกรรมต่อต้านยาไอซ์ในโรงเรียน (1)
แบบประเมินความพึงพอใจในการจัดกิจกรรมต่อต้านยาไอซ์ในโรงเรียน (1)Kruthai Kidsdee
 
4. โจทย์ปัญหาการซื้อขาย กำไร ขาดทุน
4. โจทย์ปัญหาการซื้อขาย กำไร ขาดทุน4. โจทย์ปัญหาการซื้อขาย กำไร ขาดทุน
4. โจทย์ปัญหาการซื้อขาย กำไร ขาดทุนApirak Potpipit
 
Casestudy การศึกษารายกรณี
Casestudy การศึกษารายกรณีCasestudy การศึกษารายกรณี
Casestudy การศึกษารายกรณีrewat Chitthaing
 
รูปแบบการเรียนการสอนตามทฤษฎีคอนสตรัคติวิสต์
รูปแบบการเรียนการสอนตามทฤษฎีคอนสตรัคติวิสต์รูปแบบการเรียนการสอนตามทฤษฎีคอนสตรัคติวิสต์
รูปแบบการเรียนการสอนตามทฤษฎีคอนสตรัคติวิสต์Mod DW
 
คู่มือการเขียนรายงาน การอ้างอิง การประกวดโครงงานวิทยาศาสตร์ สมาคมวิทยาศาสตร์ ...
คู่มือการเขียนรายงาน การอ้างอิง การประกวดโครงงานวิทยาศาสตร์ สมาคมวิทยาศาสตร์ ...คู่มือการเขียนรายงาน การอ้างอิง การประกวดโครงงานวิทยาศาสตร์ สมาคมวิทยาศาสตร์ ...
คู่มือการเขียนรายงาน การอ้างอิง การประกวดโครงงานวิทยาศาสตร์ สมาคมวิทยาศาสตร์ ...Totsaporn Inthanin
 
การพับกระดาษ
การพับกระดาษการพับกระดาษ
การพับกระดาษnochaya
 
วิจัยในชั้นเรียนโครงงานเป็นฐาน
วิจัยในชั้นเรียนโครงงานเป็นฐานวิจัยในชั้นเรียนโครงงานเป็นฐาน
วิจัยในชั้นเรียนโครงงานเป็นฐานthkitiya
 
เอกสารประกอบการสอนงานประดิษฐ์ดอกไม้
เอกสารประกอบการสอนงานประดิษฐ์ดอกไม้เอกสารประกอบการสอนงานประดิษฐ์ดอกไม้
เอกสารประกอบการสอนงานประดิษฐ์ดอกไม้Ploykarn Lamdual
 
แบบประเมินผลชิ้นงาน
แบบประเมินผลชิ้นงานแบบประเมินผลชิ้นงาน
แบบประเมินผลชิ้นงานpacharawalee
 
ตัวอย่างการนำเสนอโครงร่างวิจัย 3 บท
ตัวอย่างการนำเสนอโครงร่างวิจัย 3 บทตัวอย่างการนำเสนอโครงร่างวิจัย 3 บท
ตัวอย่างการนำเสนอโครงร่างวิจัย 3 บทDr.Krisada [Hua] RMUTT
 

Tendances (20)

ตัวอย่างแผนธุรกิจPocket tissue
ตัวอย่างแผนธุรกิจPocket tissueตัวอย่างแผนธุรกิจPocket tissue
ตัวอย่างแผนธุรกิจPocket tissue
 
องค์ประกอบของหลักสูตร
องค์ประกอบของหลักสูตรองค์ประกอบของหลักสูตร
องค์ประกอบของหลักสูตร
 
ภาคผนวก
ภาคผนวกภาคผนวก
ภาคผนวก
 
Business plan
Business planBusiness plan
Business plan
 
รายงาน น.ส.ณัฐชญา วรรณดี กศบ.5603ข.เลขที่ 7
รายงาน              น.ส.ณัฐชญา วรรณดี กศบ.5603ข.เลขที่ 7รายงาน              น.ส.ณัฐชญา วรรณดี กศบ.5603ข.เลขที่ 7
รายงาน น.ส.ณัฐชญา วรรณดี กศบ.5603ข.เลขที่ 7
 
โมเดลและทฤษฎีที่สำคัญเกี่ยวกับการจัดการความรู้ (Km)
โมเดลและทฤษฎีที่สำคัญเกี่ยวกับการจัดการความรู้ (Km) โมเดลและทฤษฎีที่สำคัญเกี่ยวกับการจัดการความรู้ (Km)
โมเดลและทฤษฎีที่สำคัญเกี่ยวกับการจัดการความรู้ (Km)
 
กิตติกรรมประกาศ
กิตติกรรมประกาศกิตติกรรมประกาศ
กิตติกรรมประกาศ
 
Organizational management concepts 4M
Organizational management concepts 4MOrganizational management concepts 4M
Organizational management concepts 4M
 
แบบประเมินความพึงพอใจในการจัดกิจกรรมต่อต้านยาไอซ์ในโรงเรียน (1)
แบบประเมินความพึงพอใจในการจัดกิจกรรมต่อต้านยาไอซ์ในโรงเรียน (1)แบบประเมินความพึงพอใจในการจัดกิจกรรมต่อต้านยาไอซ์ในโรงเรียน (1)
แบบประเมินความพึงพอใจในการจัดกิจกรรมต่อต้านยาไอซ์ในโรงเรียน (1)
 
4. โจทย์ปัญหาการซื้อขาย กำไร ขาดทุน
4. โจทย์ปัญหาการซื้อขาย กำไร ขาดทุน4. โจทย์ปัญหาการซื้อขาย กำไร ขาดทุน
4. โจทย์ปัญหาการซื้อขาย กำไร ขาดทุน
 
Stem workshop summary
Stem workshop summaryStem workshop summary
Stem workshop summary
 
Casestudy การศึกษารายกรณี
Casestudy การศึกษารายกรณีCasestudy การศึกษารายกรณี
Casestudy การศึกษารายกรณี
 
รูปแบบการเรียนการสอนตามทฤษฎีคอนสตรัคติวิสต์
รูปแบบการเรียนการสอนตามทฤษฎีคอนสตรัคติวิสต์รูปแบบการเรียนการสอนตามทฤษฎีคอนสตรัคติวิสต์
รูปแบบการเรียนการสอนตามทฤษฎีคอนสตรัคติวิสต์
 
คู่มือการเขียนรายงาน การอ้างอิง การประกวดโครงงานวิทยาศาสตร์ สมาคมวิทยาศาสตร์ ...
คู่มือการเขียนรายงาน การอ้างอิง การประกวดโครงงานวิทยาศาสตร์ สมาคมวิทยาศาสตร์ ...คู่มือการเขียนรายงาน การอ้างอิง การประกวดโครงงานวิทยาศาสตร์ สมาคมวิทยาศาสตร์ ...
คู่มือการเขียนรายงาน การอ้างอิง การประกวดโครงงานวิทยาศาสตร์ สมาคมวิทยาศาสตร์ ...
 
การพับกระดาษ
การพับกระดาษการพับกระดาษ
การพับกระดาษ
 
วิจัยในชั้นเรียนโครงงานเป็นฐาน
วิจัยในชั้นเรียนโครงงานเป็นฐานวิจัยในชั้นเรียนโครงงานเป็นฐาน
วิจัยในชั้นเรียนโครงงานเป็นฐาน
 
เอกสารประกอบการสอนงานประดิษฐ์ดอกไม้
เอกสารประกอบการสอนงานประดิษฐ์ดอกไม้เอกสารประกอบการสอนงานประดิษฐ์ดอกไม้
เอกสารประกอบการสอนงานประดิษฐ์ดอกไม้
 
ปพ5 ปีการศึกษา2553 รายปี ชั้น ม3 วิชาคณิตศาสตร์
ปพ5 ปีการศึกษา2553 รายปี ชั้น ม3 วิชาคณิตศาสตร์ปพ5 ปีการศึกษา2553 รายปี ชั้น ม3 วิชาคณิตศาสตร์
ปพ5 ปีการศึกษา2553 รายปี ชั้น ม3 วิชาคณิตศาสตร์
 
แบบประเมินผลชิ้นงาน
แบบประเมินผลชิ้นงานแบบประเมินผลชิ้นงาน
แบบประเมินผลชิ้นงาน
 
ตัวอย่างการนำเสนอโครงร่างวิจัย 3 บท
ตัวอย่างการนำเสนอโครงร่างวิจัย 3 บทตัวอย่างการนำเสนอโครงร่างวิจัย 3 บท
ตัวอย่างการนำเสนอโครงร่างวิจัย 3 บท
 

En vedette

ข้อมูลวิเคราะห์จุดอ่อน จุดแข็ง การสอนอาเซียนศึกษาปี 2556
ข้อมูลวิเคราะห์จุดอ่อน จุดแข็ง การสอนอาเซียนศึกษาปี 2556 ข้อมูลวิเคราะห์จุดอ่อน จุดแข็ง การสอนอาเซียนศึกษาปี 2556
ข้อมูลวิเคราะห์จุดอ่อน จุดแข็ง การสอนอาเซียนศึกษาปี 2556 Duangnapa Inyayot
 
1ผลการวิเคราะห์ swot ของศูนย์คอมพิวเตอร์ มหาวิทยาลัยราชภัฏเลย
1ผลการวิเคราะห์ swot   ของศูนย์คอมพิวเตอร์  มหาวิทยาลัยราชภัฏเลย1ผลการวิเคราะห์ swot   ของศูนย์คอมพิวเตอร์  มหาวิทยาลัยราชภัฏเลย
1ผลการวิเคราะห์ swot ของศูนย์คอมพิวเตอร์ มหาวิทยาลัยราชภัฏเลยjeabjeabloei
 
Swot1 ผลวิเคราะห์
Swot1 ผลวิเคราะห์Swot1 ผลวิเคราะห์
Swot1 ผลวิเคราะห์nang_phy29
 
การจัดทำ Tows matrix
การจัดทำ  Tows matrixการจัดทำ  Tows matrix
การจัดทำ Tows matrixLateefah Hansuek
 
สภาเศรษฐกิจ กีฬาแห่งชาติ
สภาเศรษฐกิจ กีฬาแห่งชาติสภาเศรษฐกิจ กีฬาแห่งชาติ
สภาเศรษฐกิจ กีฬาแห่งชาติGoldberryBeauty
 
จุดเด่น 10 ประเทศในอาเซียน
จุดเด่น 10 ประเทศในอาเซียนจุดเด่น 10 ประเทศในอาเซียน
จุดเด่น 10 ประเทศในอาเซียนCheeses 'Zee
 
ThaiYuan Saraburi SWOT
ThaiYuan Saraburi SWOTThaiYuan Saraburi SWOT
ThaiYuan Saraburi SWOTJintanaphorn j
 
การวิเคราะห์ Swot chicken little group
การวิเคราะห์  Swot chicken little groupการวิเคราะห์  Swot chicken little group
การวิเคราะห์ Swot chicken little groupjanjirapansri
 
กรณีตัวอย่างการวิเคราะห์สภาพโรงเรียนด้วยเทคนิคSwot
กรณีตัวอย่างการวิเคราะห์สภาพโรงเรียนด้วยเทคนิคSwotกรณีตัวอย่างการวิเคราะห์สภาพโรงเรียนด้วยเทคนิคSwot
กรณีตัวอย่างการวิเคราะห์สภาพโรงเรียนด้วยเทคนิคSwotWeerachai Jansook
 
การประชุมระดมความคิดเห็น Focus Group เทศบาลเมืองหัวหิน 07092015
การประชุมระดมความคิดเห็น Focus Group เทศบาลเมืองหัวหิน 07092015การประชุมระดมความคิดเห็น Focus Group เทศบาลเมืองหัวหิน 07092015
การประชุมระดมความคิดเห็น Focus Group เทศบาลเมืองหัวหิน 07092015Thana Chirapiwat
 
Lean 2 เรียนรู้จาก โตโยต้า
Lean 2 เรียนรู้จาก โตโยต้าLean 2 เรียนรู้จาก โตโยต้า
Lean 2 เรียนรู้จาก โตโยต้าmaruay songtanin
 
02 การจัดการเชิงกลยุทธ์ tp university
02 การจัดการเชิงกลยุทธ์  tp university02 การจัดการเชิงกลยุทธ์  tp university
02 การจัดการเชิงกลยุทธ์ tp universitythammasat university
 
แผนการสอนการบัญชีการเงิน01ความรู้ทั่วไป
แผนการสอนการบัญชีการเงิน01ความรู้ทั่วไปแผนการสอนการบัญชีการเงิน01ความรู้ทั่วไป
แผนการสอนการบัญชีการเงิน01ความรู้ทั่วไปNoree Sapsopon
 

En vedette (20)

ข้อมูลวิเคราะห์จุดอ่อน จุดแข็ง การสอนอาเซียนศึกษาปี 2556
ข้อมูลวิเคราะห์จุดอ่อน จุดแข็ง การสอนอาเซียนศึกษาปี 2556 ข้อมูลวิเคราะห์จุดอ่อน จุดแข็ง การสอนอาเซียนศึกษาปี 2556
ข้อมูลวิเคราะห์จุดอ่อน จุดแข็ง การสอนอาเซียนศึกษาปี 2556
 
1ผลการวิเคราะห์ swot ของศูนย์คอมพิวเตอร์ มหาวิทยาลัยราชภัฏเลย
1ผลการวิเคราะห์ swot   ของศูนย์คอมพิวเตอร์  มหาวิทยาลัยราชภัฏเลย1ผลการวิเคราะห์ swot   ของศูนย์คอมพิวเตอร์  มหาวิทยาลัยราชภัฏเลย
1ผลการวิเคราะห์ swot ของศูนย์คอมพิวเตอร์ มหาวิทยาลัยราชภัฏเลย
 
Swot1 ผลวิเคราะห์
Swot1 ผลวิเคราะห์Swot1 ผลวิเคราะห์
Swot1 ผลวิเคราะห์
 
Strategic Management
Strategic ManagementStrategic Management
Strategic Management
 
การจัดทำ Tows matrix
การจัดทำ  Tows matrixการจัดทำ  Tows matrix
การจัดทำ Tows matrix
 
สภาเศรษฐกิจ กีฬาแห่งชาติ
สภาเศรษฐกิจ กีฬาแห่งชาติสภาเศรษฐกิจ กีฬาแห่งชาติ
สภาเศรษฐกิจ กีฬาแห่งชาติ
 
จุดเด่น 10 ประเทศในอาเซียน
จุดเด่น 10 ประเทศในอาเซียนจุดเด่น 10 ประเทศในอาเซียน
จุดเด่น 10 ประเทศในอาเซียน
 
Handbook of service minds
Handbook of service mindsHandbook of service minds
Handbook of service minds
 
ThaiYuan Saraburi SWOT
ThaiYuan Saraburi SWOTThaiYuan Saraburi SWOT
ThaiYuan Saraburi SWOT
 
10.ฝ่ายธนาคารเลือด
10.ฝ่ายธนาคารเลือด10.ฝ่ายธนาคารเลือด
10.ฝ่ายธนาคารเลือด
 
Swot analysis
Swot analysisSwot analysis
Swot analysis
 
การวิเคราะห์ Swot chicken little group
การวิเคราะห์  Swot chicken little groupการวิเคราะห์  Swot chicken little group
การวิเคราะห์ Swot chicken little group
 
Job3
Job3Job3
Job3
 
กรณีตัวอย่างการวิเคราะห์สภาพโรงเรียนด้วยเทคนิคSwot
กรณีตัวอย่างการวิเคราะห์สภาพโรงเรียนด้วยเทคนิคSwotกรณีตัวอย่างการวิเคราะห์สภาพโรงเรียนด้วยเทคนิคSwot
กรณีตัวอย่างการวิเคราะห์สภาพโรงเรียนด้วยเทคนิคSwot
 
การประชุมระดมความคิดเห็น Focus Group เทศบาลเมืองหัวหิน 07092015
การประชุมระดมความคิดเห็น Focus Group เทศบาลเมืองหัวหิน 07092015การประชุมระดมความคิดเห็น Focus Group เทศบาลเมืองหัวหิน 07092015
การประชุมระดมความคิดเห็น Focus Group เทศบาลเมืองหัวหิน 07092015
 
Lean 2 เรียนรู้จาก โตโยต้า
Lean 2 เรียนรู้จาก โตโยต้าLean 2 เรียนรู้จาก โตโยต้า
Lean 2 เรียนรู้จาก โตโยต้า
 
02 การจัดการเชิงกลยุทธ์ tp university
02 การจัดการเชิงกลยุทธ์  tp university02 การจัดการเชิงกลยุทธ์  tp university
02 การจัดการเชิงกลยุทธ์ tp university
 
Week 1
Week 1Week 1
Week 1
 
Swot analysis
Swot analysisSwot analysis
Swot analysis
 
แผนการสอนการบัญชีการเงิน01ความรู้ทั่วไป
แผนการสอนการบัญชีการเงิน01ความรู้ทั่วไปแผนการสอนการบัญชีการเงิน01ความรู้ทั่วไป
แผนการสอนการบัญชีการเงิน01ความรู้ทั่วไป
 

Similaire à วิเคราะห์Swotเบื้องต้น

การพัฒนาการเรียนการสอนผ่านเว็บบล็อก เรื่อง คำสั่งพื้นฐานของ Visual Basic ในรา...
การพัฒนาการเรียนการสอนผ่านเว็บบล็อก เรื่อง คำสั่งพื้นฐานของ Visual Basic ในรา...การพัฒนาการเรียนการสอนผ่านเว็บบล็อก เรื่อง คำสั่งพื้นฐานของ Visual Basic ในรา...
การพัฒนาการเรียนการสอนผ่านเว็บบล็อก เรื่อง คำสั่งพื้นฐานของ Visual Basic ในรา...Usmaan Hawae
 
2009 11 11 Pm Kwtc Report52
2009 11 11 Pm Kwtc Report522009 11 11 Pm Kwtc Report52
2009 11 11 Pm Kwtc Report52Invest Ment
 
Quality Assurance communication Arts KBU
Quality Assurance communication Arts KBUQuality Assurance communication Arts KBU
Quality Assurance communication Arts KBUPises Tantimala
 
สรุปงาน อนุกรรมการ กรอ.อศ. กลุ่มอาชีพแม่พิมพ์
สรุปงาน อนุกรรมการ กรอ.อศ. กลุ่มอาชีพแม่พิมพ์สรุปงาน อนุกรรมการ กรอ.อศ. กลุ่มอาชีพแม่พิมพ์
สรุปงาน อนุกรรมการ กรอ.อศ. กลุ่มอาชีพแม่พิมพ์Totsaporn Inthanin
 
รายงานการปฏิบัติงานสหกิจศึกษา
รายงานการปฏิบัติงานสหกิจศึกษารายงานการปฏิบัติงานสหกิจศึกษา
รายงานการปฏิบัติงานสหกิจศึกษาAttaporn Ninsuwan
 
07 เสนอจัดตังศูนย์เทคโนโลยีสารสนเทศเพื่อการศึกษาสพป.สพม. เป็นการภายใน
07 เสนอจัดตังศูนย์เทคโนโลยีสารสนเทศเพื่อการศึกษาสพป.สพม. เป็นการภายใน07 เสนอจัดตังศูนย์เทคโนโลยีสารสนเทศเพื่อการศึกษาสพป.สพม. เป็นการภายใน
07 เสนอจัดตังศูนย์เทคโนโลยีสารสนเทศเพื่อการศึกษาสพป.สพม. เป็นการภายในPrachoom Rangkasikorn
 
รูปเล่มวิชาโครงงาน
รูปเล่มวิชาโครงงานรูปเล่มวิชาโครงงาน
รูปเล่มวิชาโครงงานAjBenny Pong
 
แผนแม่บทพัฒนาระบบมาตรวิทยาแห่งชาติ ฉบับที่ 2 (2552-2559)
แผนแม่บทพัฒนาระบบมาตรวิทยาแห่งชาติ ฉบับที่ 2 (2552-2559)  แผนแม่บทพัฒนาระบบมาตรวิทยาแห่งชาติ ฉบับที่ 2 (2552-2559)
แผนแม่บทพัฒนาระบบมาตรวิทยาแห่งชาติ ฉบับที่ 2 (2552-2559) NIMT
 
การวางแผนการจัดการความรู้
การวางแผนการจัดการความรู้การวางแผนการจัดการความรู้
การวางแผนการจัดการความรู้Prachyanun Nilsook
 
Annual report2552
Annual report2552Annual report2552
Annual report2552KKU Library
 
การเขียนรายงานการวิจัย3
การเขียนรายงานการวิจัย3การเขียนรายงานการวิจัย3
การเขียนรายงานการวิจัย3Prachyanun Nilsook
 
3ประเมินผลโครงการการศึกษาดูงานสาขาการวิจัยและประเมินผลการศึกษา
3ประเมินผลโครงการการศึกษาดูงานสาขาการวิจัยและประเมินผลการศึกษา3ประเมินผลโครงการการศึกษาดูงานสาขาการวิจัยและประเมินผลการศึกษา
3ประเมินผลโครงการการศึกษาดูงานสาขาการวิจัยและประเมินผลการศึกษาjeabjeabloei
 
สรุปโครงการEbook56
สรุปโครงการEbook56สรุปโครงการEbook56
สรุปโครงการEbook56Akrapol Tomarasoi
 
ตยคู่มือ
ตยคู่มือตยคู่มือ
ตยคู่มือunyaparnss
 
บันทึกข้อความเวียนข้อสอบ Pre o net ปี2555
บันทึกข้อความเวียนข้อสอบ Pre o net ปี2555บันทึกข้อความเวียนข้อสอบ Pre o net ปี2555
บันทึกข้อความเวียนข้อสอบ Pre o net ปี2555ทับทิม เจริญตา
 
เนื้อหารายวิชาโครงการ ปวช.3 chepter i อ.จำรัส
เนื้อหารายวิชาโครงการ ปวช.3 chepter i อ.จำรัสเนื้อหารายวิชาโครงการ ปวช.3 chepter i อ.จำรัส
เนื้อหารายวิชาโครงการ ปวช.3 chepter i อ.จำรัสครูสม ฟาร์มมะนาว
 
คู่มือขั้นตอนการดำิเนินงาน ศูนย์เทคโนโลยีเพื่อการศึกษา ภายในสพป.สพม.
คู่มือขั้นตอนการดำิเนินงาน ศูนย์เทคโนโลยีเพื่อการศึกษา ภายในสพป.สพม.คู่มือขั้นตอนการดำิเนินงาน ศูนย์เทคโนโลยีเพื่อการศึกษา ภายในสพป.สพม.
คู่มือขั้นตอนการดำิเนินงาน ศูนย์เทคโนโลยีเพื่อการศึกษา ภายในสพป.สพม.Prachoom Rangkasikorn
 
ปวชชอ2.4ผ 2552
ปวชชอ2.4ผ 2552ปวชชอ2.4ผ 2552
ปวชชอ2.4ผ 2552guest1cd0265
 

Similaire à วิเคราะห์Swotเบื้องต้น (20)

การพัฒนาการเรียนการสอนผ่านเว็บบล็อก เรื่อง คำสั่งพื้นฐานของ Visual Basic ในรา...
การพัฒนาการเรียนการสอนผ่านเว็บบล็อก เรื่อง คำสั่งพื้นฐานของ Visual Basic ในรา...การพัฒนาการเรียนการสอนผ่านเว็บบล็อก เรื่อง คำสั่งพื้นฐานของ Visual Basic ในรา...
การพัฒนาการเรียนการสอนผ่านเว็บบล็อก เรื่อง คำสั่งพื้นฐานของ Visual Basic ในรา...
 
2009 11 11 Pm Kwtc Report52
2009 11 11 Pm Kwtc Report522009 11 11 Pm Kwtc Report52
2009 11 11 Pm Kwtc Report52
 
Annual Report 2009
Annual Report 2009Annual Report 2009
Annual Report 2009
 
Quality Assurance communication Arts KBU
Quality Assurance communication Arts KBUQuality Assurance communication Arts KBU
Quality Assurance communication Arts KBU
 
สรุปงาน อนุกรรมการ กรอ.อศ. กลุ่มอาชีพแม่พิมพ์
สรุปงาน อนุกรรมการ กรอ.อศ. กลุ่มอาชีพแม่พิมพ์สรุปงาน อนุกรรมการ กรอ.อศ. กลุ่มอาชีพแม่พิมพ์
สรุปงาน อนุกรรมการ กรอ.อศ. กลุ่มอาชีพแม่พิมพ์
 
รายงานการปฏิบัติงานสหกิจศึกษา
รายงานการปฏิบัติงานสหกิจศึกษารายงานการปฏิบัติงานสหกิจศึกษา
รายงานการปฏิบัติงานสหกิจศึกษา
 
07 เสนอจัดตังศูนย์เทคโนโลยีสารสนเทศเพื่อการศึกษาสพป.สพม. เป็นการภายใน
07 เสนอจัดตังศูนย์เทคโนโลยีสารสนเทศเพื่อการศึกษาสพป.สพม. เป็นการภายใน07 เสนอจัดตังศูนย์เทคโนโลยีสารสนเทศเพื่อการศึกษาสพป.สพม. เป็นการภายใน
07 เสนอจัดตังศูนย์เทคโนโลยีสารสนเทศเพื่อการศึกษาสพป.สพม. เป็นการภายใน
 
รูปเล่มวิชาโครงงาน
รูปเล่มวิชาโครงงานรูปเล่มวิชาโครงงาน
รูปเล่มวิชาโครงงาน
 
แผนแม่บทพัฒนาระบบมาตรวิทยาแห่งชาติ ฉบับที่ 2 (2552-2559)
แผนแม่บทพัฒนาระบบมาตรวิทยาแห่งชาติ ฉบับที่ 2 (2552-2559)  แผนแม่บทพัฒนาระบบมาตรวิทยาแห่งชาติ ฉบับที่ 2 (2552-2559)
แผนแม่บทพัฒนาระบบมาตรวิทยาแห่งชาติ ฉบับที่ 2 (2552-2559)
 
แผนคอม๑ ๒๕๕๓ ม.๑
แผนคอม๑ ๒๕๕๓ ม.๑แผนคอม๑ ๒๕๕๓ ม.๑
แผนคอม๑ ๒๕๕๓ ม.๑
 
การวางแผนการจัดการความรู้
การวางแผนการจัดการความรู้การวางแผนการจัดการความรู้
การวางแผนการจัดการความรู้
 
Annual report2552
Annual report2552Annual report2552
Annual report2552
 
การเขียนรายงานการวิจัย3
การเขียนรายงานการวิจัย3การเขียนรายงานการวิจัย3
การเขียนรายงานการวิจัย3
 
3ประเมินผลโครงการการศึกษาดูงานสาขาการวิจัยและประเมินผลการศึกษา
3ประเมินผลโครงการการศึกษาดูงานสาขาการวิจัยและประเมินผลการศึกษา3ประเมินผลโครงการการศึกษาดูงานสาขาการวิจัยและประเมินผลการศึกษา
3ประเมินผลโครงการการศึกษาดูงานสาขาการวิจัยและประเมินผลการศึกษา
 
สรุปโครงการEbook56
สรุปโครงการEbook56สรุปโครงการEbook56
สรุปโครงการEbook56
 
ตยคู่มือ
ตยคู่มือตยคู่มือ
ตยคู่มือ
 
บันทึกข้อความเวียนข้อสอบ Pre o net ปี2555
บันทึกข้อความเวียนข้อสอบ Pre o net ปี2555บันทึกข้อความเวียนข้อสอบ Pre o net ปี2555
บันทึกข้อความเวียนข้อสอบ Pre o net ปี2555
 
เนื้อหารายวิชาโครงการ ปวช.3 chepter i อ.จำรัส
เนื้อหารายวิชาโครงการ ปวช.3 chepter i อ.จำรัสเนื้อหารายวิชาโครงการ ปวช.3 chepter i อ.จำรัส
เนื้อหารายวิชาโครงการ ปวช.3 chepter i อ.จำรัส
 
คู่มือขั้นตอนการดำิเนินงาน ศูนย์เทคโนโลยีเพื่อการศึกษา ภายในสพป.สพม.
คู่มือขั้นตอนการดำิเนินงาน ศูนย์เทคโนโลยีเพื่อการศึกษา ภายในสพป.สพม.คู่มือขั้นตอนการดำิเนินงาน ศูนย์เทคโนโลยีเพื่อการศึกษา ภายในสพป.สพม.
คู่มือขั้นตอนการดำิเนินงาน ศูนย์เทคโนโลยีเพื่อการศึกษา ภายในสพป.สพม.
 
ปวชชอ2.4ผ 2552
ปวชชอ2.4ผ 2552ปวชชอ2.4ผ 2552
ปวชชอ2.4ผ 2552
 

วิเคราะห์Swotเบื้องต้น

  • 1. โครงการศึกษาวิเคราะห์ข้อมูลเพื่อการจัดทําแผนพัฒนา ระบบบริหารจัดการของกระทรวงเกษตรและสหกรณ์ การวิเคราะห์ SWOT เบื้องต้น รศ.ดร.ดํารงค์ วัฒนา เอกสารนี้ เป็นส่วนหนึ่งของการวิเคราะห์และสอบ ทานผลการวิเคราะห์ตามแนวทางเทคนิคเดลฟาย (Delphi Technique) เพื่ อ การจั ด ทํ า แผนยุ ท ธศาสตร์ ข อง มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลพระนคร คณะรัฐศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย wdamrong@hotmail.com โทรศัพท์ ๐๒-๒๑๘๗๒๓๙ ๑ พ.ค. ๒๕๕๔ คณะรัฐศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย หน้าที่
  • 2. การจัดทําแผนยุทธศาสตร์ศมหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลพระนคร สารบัญ สารบัญ ก  ส่วนที่ 1 การวิเคราะห์ SWOT จากการสํารวจ 3  1. ประเด็น SWOT ที่สําคัญ ............................................................................................................ 3  2. วิธีการเก็บรวบรวมข้อมูล ............................................................................................................ 3  3 ผลการรวบรวมข้อมูลและวิเคราะห์ขอมูล .................................................................................... 3  ้ ส่วนที่ 2 การวิเคราะห์เชิงยุทธศาสตร์ 10  1. การวิเคราะห์เทาว์เมทริกซ์ (TOWS Matrix) ............................................................................. 10  2. การวิเคราะห์เชิงรับ หรือ WT ................................................................................................... 10  3. การวิเคราะห์เชิงพัฒนา หรือ WO............................................................................................. 10  4. การวิเคราะห์เชิงป้องกัน หรือ ST ............................................................................................. 10  5. การวิเคราะห์เชิงรุก หรือ SO .................................................................................................... 10  6. การตัดสินใจเชิงยุทธศาสตร์ ...................................................................................................... 13  ส่วนที่ 3 การสอบทานประเด็น SWOT 14  1. การปรับปรุงประเด็น SWOT .................................................................................................... 14  2. การประเมินประเด็น SWOT..................................................................................................... 14  จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย หน้าที่ ก
  • 3. โครงการศึกษาวิเคราะห์ข้อมูลเพื่อการจัดทําแผนพัฒนา ระบบบริหารจัดการของกระทรวงเกษตรและสหกรณ์ สารบัญตาราง ตารางที่ 1 ข้อมูลทั่วไปของผูตอบแบบสํารวจ......................................................................................................... 4  ้ ตารางที่ 2 สรุปประเด็นปัจจัย SWOT ที่ได้จากแบบสอบถาม ................................................................................ 7  ตารางที่ 3 ค่าเฉลี่ยของปัจจัย SWOT ที่ได้จากแบบสอบถาม ................................................................................. 9  ตารางที่ 4 การวิเคราะห์ตาม TOWS Matrix ในด้าน WT .................................................................................. 11  ตารางที่ 5 การวิเคราะห์ตาม TOWS Matrix ในด้าน WO .................................................................................. 12  ตารางที่ 6 การวิเคราะห์ตาม TOWS Matrix ในด้าน ST .................................................................................... 12  ตารางที่ 12 การวิเคราะห์ตาม TOWS Matrix ในด้าน SO ................................................................................. 13  สารบัญรูปภาพ รูปภาพที่ 1 ตําแหน่งทางยุทธศาสตร์ของมหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลพระนคร จากการสํารวจด้วยแบบสอบถาม ............................................................................................................................................................... 9  หน้าที่ ข รศ.ดร.ดํารงค์ วัฒนา
  • 4. การจัดทําแผนยุทธศาสตร์ศมหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลพระนคร ส่วนที่ 1 การวิเคราะห์ SWOT จากการสํารวจ 1. ประเด็น SWOT ที่สําคัญ การกําหนดประเด็น SWOT ที่สําคัญ อาศัยการรวบรวมของมหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลพระนครแล้ว นํามาวิเคราะห์จัดหมวดหมู่โดยอาศัยหลักการและวิธีการ ดังนี้ 1. ประเด็นสภาพปัจจัยภายในของมหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลพระนครที่สําคัญ อาศัยตัวแบบ 7-S เป็น แนวทางในการกําหนดปัจจัยสภาพแวดล้อมภายใน ได้แก่ Staff, Style, Skill, Structure, Strategy, System, Shared-value และเพิ่มอีก 3-S ได้แก่ Stang (เงินงบประมาณ), Stanti (สถานที่ : Location) และ Sti (สติ) นอกจากนี้ ยังสามารถใช้ข้อมูลที่มีการดําเนินการอื่นๆ ได้แก่ การใช้โอกาสในการปรับปรุง (OFI) จาก PMQA หรือใช้ประสบการณ์ของผู้บริหาร และระบุว่าสภาพภายในเชิงทางบวก ซึ่งเป็นจุดแข็ง (Strengths) หรือส่งผลต่อ ในทางลบ ซึ่งเป็นจุดอ่อน (Weaknesses) ของมหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราช มงคลพระนคร 2. ประเด็นสภาพแวดล้อมภายนอกของมหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลพระนครที่สําคัญ อาศัยตัวแบบ ISTEP (ได้แก่ International, Society, Technology, Economy, Politics) เป็นแนวทางในการ วิเคราะห์หรือใช้ประสบการณ์จากผู้บริหาร และระบุว่า สภาพภายนอกมหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคล พระนครฯ นั้ น ส่ ง ผลต่ อ มหาวิ ท ยาลั ย เทคโนโลยี ร าชมงคลพระนคร ในทางบวก ซึ่ ง เป็ น โอกาส (Opportunities) หรือส่งผลต่อมหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลพระนครฯ ในทางลบ ซึ่งเป็นภัยคุกคาม (Threats) ของมหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลพระนครฯ ประเด็น SWOT ที่สําคัญที่ได้มาจากการดําเนินการข้างต้น จะนํามาใช้ในการสํารวจประเด็น SWOT ที่สําคัญ ซึ่งอาศัยการรวบรวมข้อมูลจากบุคลากรของมหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลพระนครที่สามารถทําได้อย่างกว้างขวาง ได้แก่ การสํารวจข้อมูลเชิงสํามะโนประชากร (Population) ด้วยแบบสอบถาม และประยุกต์เทคนิคเดลฟาย โดยมีการ ปรับปรุงแบบสอบถามจากคําตอบที่ได้ พร้อมทั้งมีผลการวิเคราะห์ข้อมูลส่งกลับให้ผู้ตอบได้มีโอกาสสอบทาน ซึ่งจะทํา ให้ผลการวิเคราะห์ข้อมูลที่ได้ทีความถูกต้องและน่าเชื่อมากยิ่งขึ้น แบบสํารวจดังกล่าว ประกอบด้วยประเด็นปัจจัยที่มี ผลกระทบต่อการดําเนินงานของมหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลพระนคร ซึ่งมีประเด็นการสํารวจ ดังนี ้ 1. ข้อมูล เกี่ย วกับผู้ตอบแบบสํ ารวจ ประกอบด้วย เพศ อายุตัว อายุราชการ ระดั บตําแหน่ง และระดั บ การศึกษา 2. ประเด็นสภาพปัจจัยภายในของมหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลพระนครที่สําคัญ 3. ประเด็นสภาพแวดล้อมภายนอกของมหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลพระนครที่สําคัญ 2. วิธีการเก็บรวบรวมข้อมูล ในการดําเนินการสํารวจข้อมูลในรอบแรก มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลพระนคร ดําเนินการรวบรวมข้อมูล และได้รับแบบสอบถามกลับคืนเป็นจํานวน 518 ชุด 3 ผลการรวบรวมข้อมูลและวิเคราะห์ข้อมูล ก. ข้อมูลเกี่ยวกับผู้ตอบแบบสํารวจ ผู้ตอบแบบสํารวจจํานวนทั้งสิ้น 612 ฉบับ มีข้อมูลทั่วไปของผู้ตอบแบบสอบถามปรากฏตามตาราง ต่อไปนี้ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย หน้าที่ 3
  • 5. โครงการจัดทําแผนยุทธศาสตร์มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลพระนคร ตารางที่ 1 ข้อมูลทั่วไปของผูตอบแบบสํารวจ ้ การศึกษา เพศ ตําแหน่ง ต่ํากว่า ปริญญา ปริญญา ปริญญา ไม่ รวม ปริญญาตรี ตรี โท เอก ระบุ ทั้งหมด ชาย ไม่ระบุ 28 30 37 3 7 105 คนงาน 1 1 เจ้าหน้าที่ 3 2 5 เจ้าหน้าที่ควบคุมการออกอากาศ2 1 1 เจ้าหน้าที่บ.เดอะคอมมูนิเคชั่นจํากัด 1 1 เจ้าหน้าที่บ.เบญจะไอทีจํากัด 1 1 เจ้าหน้าที่บริหารงานทั่วไป 1 7 2 10 เจ้าหน้าที่วจัย ิ 1 1 ช่างเขียนแบบ 1 1 ช่างศิลป์ 1 1 นักประชาสัมพันธ์ 1 1 นักวิชาการคอมพิวเตอร์ 5 1 6 นักวิชาการเงินและบัญชี 1 1 นักวิชาการพัสดุ 1 1 นักวิชาการศึกษา 5 1 6 นักวิชาการโสตทัศนศึกษา 1 1 นักศึกษา 4 11 1 1 17 ผู้ช่วยศาสตราจารย์ 2 2 ผู้ปฏิบัติงานบริหาร 1 1 พนักงานขับรถ 1 1 พนักงานโทรศัพท์ 1 1 พนักงานมหาวิทยาลัย 1 1 รองคณบดี 2 2 ลูกมือช่าง 1 1 วิศวกร 1 1 หัวหน้าสาขา 1 1 อาจารย์ 4 28 2 34 รวม 42 72 74 3 14 205 หญิง ไม่ระบุ 20 86 63 2 11 181 คนงาน 1 1 เจ้าหน้าที่ 1 3 2 6 เจ้าหน้าที่บ.เบญจะไอทีจํากัด 1 1 เจ้าหน้าที่บริหารงานทั่วไป 1 60 8 1 70 เจ้าหน้าที่บริหารงานวิจัย 1 1 เจ้าหน้าที่บัญชี 1 1 เจ้าหน้าที่วจัย ิ 2 2 นักตรวจสอบภายใน 1 1 หน้าที่ 4 รศ.ดร.ดํารงค์ วัฒนา
  • 6. การจัดทําแผนยุทธศาสตร์ศมหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลพระนคร การศึกษา เพศ ตําแหน่ง ต่ํากว่า ปริญญา ปริญญา ปริญญา ไม่ รวม ปริญญาตรี ตรี โท เอก ระบุ ทั้งหมด นักประชาสัมพันธ์ 3 3 นักวิเคราะห์นโยบายและแผน 3 3 นักวิเคราะห์นโยบายและแผนชํานาญการ 1 1 2 นักวิชาการ 1 1 2 นักวิชาการชํานาญการ 1 1 นักวิชาการคอมพิวเตอร์ 1 1 นักวิชาการเงินและบัญชี 4 4 นักวิชาการเงินและบัญชีชํานาญการ 1 1 2 นักวิชาการพัสดุ 1 1 นักวิชาการศึกษา 14 3 1 18 นักวิชาการโสตทัศนศึกษา 1 1 นักศึกษา 3 20 1 24 บรรณารักษ์ 1 1 บุคลากร 1 1 ผู้ช่วยศาสตราจารย์ 10 1 11 ผู้บริหาร 1 1 ผู้ปฏิบัติงานบริหาร 7 4 1 12 ผู้อํานวยการ 1 1 ผู้อํานวยการกองประชาสัมพันธ์ 1 1 พนักงานพิมพ์ 1 1 พนักงานพิมพ์ดีด1 1 1 พนักงานพิมพ์ดีด2 1 1 พนักงานมหาวิทยาลัย 1 1 รองศาสตราจารย์ 1 1 หัวหน้างานแผนและงบประมาณ 1 1 หัวหน้าสาขา 1 1 หัวหน้าสํานักงาน 1 1 หัวหน้าสํานักงานคณบดี 2 2 อาจารย์ 2 5 26 1 1 35 นักวิชาการศึกษาชํานาญการ 1 2 3 นักวิชาการศึกษาชํานาญการพิเศษ 1 1 รวม 36 221 124 5 17 403 - 3 3 รวม 78 293 199 8 34 612 ทั้งหมด จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย หน้าที่ 5
  • 7. โครงการจัดทําแผนยุทธศาสตร์มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลพระนคร จากตารางข้างต้น แสดงข้อมูลทั่วไปของผู้ตอบแบบสํารวจ พบว่า เป็นเพศชาย จํานวน 205 คน (ร้อยละ 33.50) เป็นเพศหญิง จํานวน 404 คน (ร้อยละ 66.01) ไม่ตอบจํานวน 3 คน (ร้อยละ 0.49) ส่วนใหญ่มีระดับ การศึกษาอยู่ในระดับปริญญาตรี จํานวน 293 คน (ร้อยละ 47.88) รองลงมาคือ ระดับปริญญาโท จํานวน 199 คน (ร้อยละ 32.52) ตําแหน่งส่วนใหญ่เป็นอาจารย์ จํานวน 69 คน (ร้อยละ 11.28) อายุตัวอยู่ระหว่าง (ค่าพิสัย) 16-60 ปี มีค่าเฉลี่ยเท่ากับ 36.72 ปี (ส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐานเท่ากับ 11.40 ปี) สําหรับอายุงานอยู่ระหว่าง (ค่าพิสัย) 1--38 ปี มี ค่าเฉลี่ยเท่ากับ 13.65 ปี (ส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐานเท่ากับ 10.60 ปี) ข. ข้อมูลปัจจัย SWOT ที่สําคัญ ผู้ตอบแบบสํารวจได้ระบุสภาพภายในของมหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลพระนครที่มีความสําคัญ ซึ่ง เป็นจุดแข็ง (Strengths) และจุดอ่อน (Weaknesses) และสภาพแวดล้อมภายนอกองค์การที่สําคัญซึ่งเป็นโอกาส (Opportunities) และภัยคุกคาม (Threats) สรุปได้ดังแสดงในตารางที่ 2 ค. ตําแหน่งยุทธศาสตร์ของมหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลพระนคร ตําแหน่งยุทธศาสตร์ของมหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลพระนครจากการวิเคราะห์ข้อมูลปัจจัย SWOT ที่สําคัญ จากผู้ตอบแบบสํารวจดังที่แสดงข้างต้น อาศัยค่าเฉลี่ยของผลกระทบต่อมหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลพระ นครและความสามารถในการจัดการปัจจัยของมหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลพระนคร ดังแสดงในตารางที่ 3 ซึ่ง พบว่า ค่าเฉลี่ยของผลกระทบต่อมหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลพระนครมีน้ําหนักจุดอ่อน ( x =3.99) มากกว่าจุด แข็ง ( x =3.80) และมีน้ําหนักภัยคุกคาม ( x =4.01) มากกว่าโอกาส ( x =3.91) ซึ่งอยู่ตําแหน่งยุทธศาสตร์เชิงรับ (defensive strategy) ส่วนค่าเฉลี่ยของความสามารถในการจัดการปัจจัยของมหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลพระ นคร มีน้ําหนักจุดแข็ง ( x =2.74) มากกว่าจุดอ่อน ( x =2.43) และมีน้ําหนักโอกาส ( x =2.92) มากกว่าภัยคุกคาม ( x =2.64) ซึ่งอยู่ตําแหน่งยุทธศาสตร์เชิงรุก (offensive strategy) ดังแสดงในรูปภาพที่ 1 ชี้ว่า ผู้ตอบแบบสอบถาม เห็นว่าปัจจัย SWOT ที่สําคัญมีผลต่อมหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลพระนคร ทําให้ ส่วนความสามารถในการ จัดการปัจจัยของมหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลพระนครทําให้มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลพระนครอยู่ ตําแหน่งรุก หน้าที่ 6 รศ.ดร.ดํารงค์ วัฒนา
  • 8. การจัดทําแผนยุทธศาสตร์ศมหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลพระนคร ตารางที่ 2 สรุปประเด็นปัจจัย SWOT ที่ได้จากแบบสอบถาม การวิเคราะห์ข้อมูลสองส่วน 1) ผลกระทบต่อมหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลพระนคร 2) ความสามารถในการจัดการของมหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคล ส่วนที่ 1) ส่วนที่ 2) พระนคร ที่ ประเด็นสําคัญที่มีผลกระทบต่อการดําเนินการของมหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลพระนครและสํานักงานมหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราช SWOT Mean SD Mean SD ลําดับที่ มงคลพระนคร 1 การขยายตัวทางเศรษฐกิจทําให้เกิดความต้องการบุคลากรที่มีความรู้ และทักษะในวิชาชีพและบัณฑิตนักปฏิบัติ O 3.81 0.93 3.38 0.89 7 2 นโยบายของรัฐให้การสนับสนุนสถานศึกษาที่ผลิตบุคลากรด้านวิชาชีพและเทคโนโลยี และภาคเอกชนให้การสนับสนุนเช่นกัน O 3.63 0.89 3.42 0.88 19 3 ภาครัฐมีนโยบายสนับสนุนระบบให้ทุนกู้ยืมเพื่อการศึกษาเป็นการสร้างโอกาสให้กับผู้ด้อยโอกาสมากขึ้น O 3.63 1.03 3.61 0.91 21 4 นโยบายภาครัฐสนับสนุนด้านการบริหารจัดการอุดมศึกษาเพื่อเพิ่มประสิทธิภาพ ทําให้การทํางานคล่องตัว O 3.56 0.91 3.36 0.89 26 5 เป็นมหาวิทยาลัยทางเลือกสําหรับนักศึกษาเพื่อมุ่งสู่วิชาชีพ O 3.63 0.98 3.56 0.95 20 6 โครงสร้างประชากร เปิดโอกาสให้มหาวิทยาลัยสามารถจัดการศึกษาได้หลากหลาย O 3.50 1.25 3.40 0.91 29 7 การจัดการศึกษาทางด้านวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีต้องใช้การลงทุนสูงในด้านอุปกรณ์และห้องปฏิบตการสูง ัิ T 3.89 0.91 3.33 0.96 6 8 นโยบายการปรับลดงบประมาณและอัตรากําลังทําให้การดําเนินงานของมหาวิทยาลัยฯ เป็นไปได้ช้า T 3.89 0.95 3.26 0.99 5 9 การเปิดการศึกษาเสรีทําให้มหาวิทยาลัยฯ มีคู่แข่งมากสถานศึกษาอื่นทั้งภาครัฐและเอกชนเปิดสอนและจัดการศึกษาวิชาชีพแขนงต่างๆ กัน T 3.98 0.91 3.41 1.00 1 อย่างกว้างขวาง 10 โครงสร้างประชากรส่งผลให้ประชากรวัยเรียนลดลง T 3.72 2.42 3.30 0.93 13 11 การจัดการศึกษาด้านวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีที่สอดคล้องกับแนวทางการพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมของประเทศ S 3.62 0.87 3.40 0.88 22 12 จัดการศึกษาหลากหลายสาขาวิชาชีพและครอบคลุมองค์ความรู้ตั้งแต่ระดับวิชาชีพขั้นพื้นฐานจนถึงขั้นสูง S 3.60 0.93 3.44 0.90 24 13 มีบคลากรที่มีความรู้ความเชี่ยวชาญในสาขาวิชาชีพ ุ S 3.56 0.96 3.44 0.96 25 14 บัณฑิตมีคุณภาพและเป็นที่ต้องการของตลาดแรงงาน S 3.62 0.96 3.43 0.95 23 15 มหาวิทยาลัยมีชื่อเสียงทางด้านวิชาชีพและผลิตบัณฑิตมายาวนาน S 3.71 1.90 3.60 0.97 14 16 สถานที่ต้ังอยู่กลางใจเมือง มีทําเลที่เหมาะสม S 3.55 1.11 3.57 1.00 28 17 มีการส่งเสริมและพัฒนาบุคลากรอย่างต่อเนื่อง ทําให้บุคลากรมีความรู้และประสบการณ์ S 3.56 1.54 3.37 0.98 27 18 มีอตลักษณ์ที่โดดเด่นด้านวิชาชีพที่สามารถให้บริการวิชาการแก่สังคม ั S 3.48 0.99 3.44 0.90 30 19 มีระบบประกันคุณภาพที่เข้มแข็ง S 3.43 1.01 3.41 0.98 31 20 สัดส่วนคุณวุฒิและตําแหน่งทางวิชาการของอาจารย์ไม่เป็นไปตามเกณฑ์มาตรฐาน W 3.63 1.63 3.19 0.95 18 21 บุคลากรบางส่วนขาดแนวคิดเชิงรุก และขาดกระบวนทัศน์ใหม่ในการแก้ปัญหา W 3.67 1.01 3.21 1.01 17 22 สถานที่จํากัด ทําให้การขยายตัวเป็นไปได้ยาก W 3.95 1.03 3.14 1.14 3 จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย หน้าที่ 7
  • 9. โครงการจัดทําแผนยุทธศาสตร์มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลพระนคร การวิเคราะห์ข้อมูลสองส่วน 1) ผลกระทบต่อมหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลพระนคร 2) ความสามารถในการจัดการของมหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคล ส่วนที่ 1) ส่วนที่ 2) พระนคร ที่ ประเด็นสําคัญที่มีผลกระทบต่อการดําเนินการของมหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลพระนครและสํานักงานมหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราช SWOT Mean SD Mean SD ลําดับที่ มงคลพระนคร 23 ขาดแคลนบุคลากรสายสนับสนุนทําให้ต้องใช้บุคลากรสายสอนรับภาระงานสนับสนุนควบคู่กันส่งผลกระทบต่อประสิทธิภาพในการจัดการ W 3.91 1.00 3.14 1.12 เรียนการสอน และงานวิจัย 4 24 ผู้บริหารใหม่บางส่วนยังขาดทักษะประสบการณ์ด้านการบริหาร W 3.78 1.03 3.19 1.06 8 25 งานวิจัยบางสาขายังมีน้อย W 3.74 1.06 3.15 1.09 12 26 ขาดระบบติดตามประเมินผลและการนําผลประเมินมาปรับปรุงและพัฒนา W 3.68 0.94 3.20 0.97 16 27 บุคลากรและนักศึกษาขาดทักษะในการสื่อสารภาษาอังกฤษ W 3.96 1.00 3.14 1.12 2 28 นักศึกษาที่รับเข้าศึกษา (Input) ไม่ค่อยมีคุณภาพ W 3.78 0.99 3.08 1.04 10 29 ขาดการประชาสัมพันธ์เชิงรุก W 3.78 0.94 3.21 1.01 9 30 ขาดการติดต่อสื่อสารภายในองค์กรที่ขาดประสิทธิภาพ W 3.70 0.97 3.20 1.01 15 31 ขาดผู้บริหารมืออาชีพ W 3.76 1.09 3.12 1.14 11 หน้าที่ 8 รศ.ดร.ดํารงค์ วัฒนา
  • 10. การจัดทําแผนยุทธศาสตร์ศมหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลพระนคร ตารางที่ 3 ค่าเฉลี่ยของปัจจัย SWOT ที่ได้จากแบบสอบถาม ผลกระทบต่อ ความสามารถในการ มหาวิทยาล ัยฯ จ ัดการปัจจ ัย S 3.568642 3.455156 W 3.777376 3.165074 O 3.625588 3.456267 T 3.868761 3.323982 O 4 3.5 3 2.5 2 1.5 1 0.5 Wieght W 0 S Score T รูปภาพที่ 1 ตําแหน่งทางยุทธศาสตร์ของมหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลพระนคร จากการสํารวจด้วยแบบสอบถาม จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย หน้าที่ 9
  • 11. โครงการจัดทําแผนยุทธศาสตร์มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลพระนคร ส่วนที่ 2 การวิเคราะห์เชิงยุทธศาสตร์ 1. การวิเคราะห์เทาว์เมทริกซ์ (TOWS Matrix) จากการวิเคราะห์ข้อมูลเชิงประจักษ์ (Empirical Studies) โดยการให้บุคลากรและผู้บริหารประเมินประเด็น SWOT ที่สําคัญ พบว่า ตําแหน่งยุทธศาสตร์ของมหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลพระนครอยู่ที่ตั้งรับ ซึ่งเป็นตําแหน่ง ที่เสียเปรียบเชิงการแข่งขันทางยุทธศาสตร์ การวางแผนยุทธศาสตร์จึงควรมุ่งเน้นปัจจัยสําคัญที่ช่วยลดหรือขจัด จุดอ่อนลงได้มากที่สุด การผลิกวิกฤตจากภัยคุกคามให้เป็นโอกาส หรือใช้จุดแข็งช้อนโอกาส โดยพิจารณาประเด็น SWOT ที่สําคัญ โดยอาศัยเทคนิคเทาว์เมทริกซ์ TOWS (TOWS matix) มาใช้ในการวิเคราะห์ประเด็นยุทธศาสตร์ โดยนําประเด็นสําคัญที่สุด ของ SWOT ทั้งสี่ด้านมาใช้ในการวิเคราะห์ ทั้งนี้ ได้คํานึงถึงตําแหน่งยุทธศาสตร์ด้วย ซึ่ง ตําแหน่งยุทธศาสตร์ของมหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลพระนครอยู่ที่ “ตั้งรับ” จึงนําประเด็นจุดอ่อนและภัยคุกคาม มาพิจารณาก่อน ดังต่อไปนี้ 2. การวิเคราะห์เชิงรับ หรือ WT การที่ ตํา แหน่ ง ยุท ธศาสตร์ข องมหาวิ ท ยาลัย เทคโนโลยี ราชมงคลพระนครอยู่ที่ตั้ง รั บ ซึ่ ง เป็ นตํา แหน่ ง ที่ เสียเปรียบเชิงการแข่งขันทางยุทธศาสตร์ การวางแผนยุทธศาสตร์จึงควรมุ่งเน้นปัจจัยสําคัญที่ช่วยลดหรือขจัดจุดอ่อน ลงได้มากที่สุด ดังการวิเคราะห์ตามตารางที่ 4 ซึ่งมีข้อเสนอเชิงยุทธศาสตร์เชิงรับที่สําคัญ ดังนี้ 1. พัฒนาความเข็มแข็งของบุคลากร 2. ส่งเสริมการประชาสัมพันธ์เชิงรุก 3. การอาศัยเครือข่ายงาน 3. การวิเคราะห์เชิงพัฒนา หรือ WO การที่ ตํา แหน่ ง ยุท ธศาสตร์ข องมหาวิ ท ยาลัย เทคโนโลยี ราชมงคลพระนครอยู่ที่ตั้ง รั บ ซึ่ ง เป็ นตํา แหน่ ง ที่ เสียเปรียบเชิงการแข่งขันทางยุทธศาสตร์ การวางแผนยุทธศาสตร์จึงควรมุ่งเน้นปัจจัยสําคัญที่ช่วยลดหรือขจัดจุดอ่อน ลงได้มากที่สุด หลังการวิเคราะห์ WT แล้ว จะได้วิเคราะห์ WO ดังการวิเคราะห์ตามตารางที่ 5 ซึ่งพิจารณา ยุทธศาสตร์เชิงพัฒนา หรือ WO โดยมีข้อเสนอเชิงยุทธศาสตร์ที่สําคัญคล้ายกับข้อเสนอเชิงยุทธศาสตร์เชิงรับ ได้แก่ สร้างและขยายเครือข่ายงานทางด้านการพัฒนาด้านวิชาชีพและเทคโนโลยี 4. การวิเคราะห์เชิงป้องกัน หรือ ST การที่ตําแหน่งยุทธศาสตร์ของมหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลพระนครอยู่ที่ตั้งรับ ซึ่ สมควรให้มีการเร่งรัด ยุทธศาสตร์ด้าน WT และ WO ซึ่งจะทําให้มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลพระนคร ได้รับการปรับปรุง แก้ไขและ พัฒนาให้มีความพร้อม ซึ่งควรพิจารณายุทธศาสตร์เชิงป้องกัน กล่าวคือ การใช้จุดแข็งป้องกันภัยคุกคาม จึงพิจารณา ยุทธศาสตร์เชิงป้องกัน หรือ ST ได้แก่ เร่งงานด้านวิชาชีพ วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี 5. การวิเคราะห์เชิงรุก หรือ SO การที่มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลพระนคร สามารถเร่งรัดยุทธศาสตร์ด้าน WT, WO และ ST ซึ่งจะทํา ให้มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลพระนคร ได้รับการปรับปรุง แก้ไขและพัฒนาให้มีความได้เปรียบ ซึ่งควรพิจารณา ยุทธศาสตร์เชิงรุก กล่าวคือ การใช้จุดแข็งในการช้อนโอกาส จึงพิจารณายุทธศาสตร์เชิงรุก หรือ SO ได้แก่ ขยายงาน ด้านวิชาชีพ วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี หน้าที่ 10 รศ.ดร.ดํารงค์ วัฒนา
  • 12. การจัดทําแผนยุทธศาสตร์ศมหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลพระนคร ตารางที่ 4 การวิเคราะห์ตาม TOWS Matrix ในด้าน WT O: T: ภัยคุกคาม ยุทธศาสตร์เชิงรับ (WT) โอกาส 1) การเปิ ด การศึ ก ษาเสรี ทํ าให้ ม หาวิ ท ยาลั ย ฯ มี คู่แข่งมากสถานศึกษาอื่นทั้งภาครัฐและเอกชน S: จุดแข็ง เปิ ด สอนและจั ด การศึก ษาวิ ช าชีพ แขนงต่ างๆ กันอย่างกว้างขวาง W: จุดอ่อน 2) นโยบายการปรับลดงบประมาณและอัตรากําลัง 1) บุคลากรและนักศึกษาขาดทักษะในการสื่อสารภาษาอังกฤษ ทําให้การดําเนินงานของมหาวิทยาลัยฯ เป็นไป 2) สถานที่จํากัด ทําให้การขยายตัวเป็นไปได้ยาก ได้ช้า 3) ขาดแคลนบุคลากรสายสนับสนุนทําให้ต้องใช้บุคลากรสายสอน 3) การจั ด การศึ ก ษาทางด้ า นวิ ท ยาศาสตร์ แ ละ รับภาระงานสนับสนุนควบคู่กันส่งผลกระทบต่อประสิทธิภาพใน เทคโนโลยีต้องใช้ การลงทุ นสูงในด้านอุ ปกรณ์ การจัดการเรียนการสอน และงานวิจัย และห้องปฏิบัติการสูง 4) ผู้บริหารใหม่บางส่วนยังขาดทักษะประสบการณ์ด้านการบริหาร 4) โครงสร้างประชากรส่งผลให้ประชากรวัยเรียน 5) ขาดการประชาสัมพันธ์เชิงรุก ลดลง 6) นักศึกษาที่รบเข้าศึกษา (Input) ไม่ค่อยมีคุณภาพ ั 7) ขาดผู้บริหารมืออาชีพ ข้อเสนอเชิงยุทธศาสตร์ 8) งานวิจัยบางสาขายังมีน้อย 1. พัฒนาความเข็มแข็งของบุคลากร 9) ขาดการติดต่อสื่อสารภายในองค์กรที่ขาดประสิทธิภาพ 2. ส่งเสริมการประชาสัมพันธ์เชิงรุก 10) ขาดระบบติดตามประเมินผลและการนําผลประเมินมาปรับปรุง 3. การอาศัยเครือข่ายงาน และพัฒนา 11) บุคลากรบางส่วนขาดแนวคิดเชิงรุก และขาดกระบวนทัศน์ใหม่ใน การแก้ปัญหา 12) สัดส่วนคุณวุฒิและตําแหน่งทางวิชาการของอาจารย์ไม่เป็นไปตาม เกณฑ์มาตรฐาน จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย หน้าที่ 11
  • 13. โครงการจัดทําแผนยุทธศาสตร์มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลพระนคร ตารางที่ 5 การวิเคราะห์ตาม TOWS Matrix ในด้าน WO O: โอกาส T: ยุทธศาสตร์เชิงพัฒนา (WO) 1) การขยายตัวทางเศรษฐกิจทําให้เกิดความ ภัย S: จุดแข็ง ต้องการบุคลากรที่มีความรู้ และทักษะใน คุก วิชาชีพและบัณฑิตนักปฏิบัติ คาม W: จุดอ่อน 2) น โ ย บ า ย ข อ ง รั ฐ ใ ห้ ก า ร ส นั บ ส นุ น 1) บุคลากรและนักศึกษาขาดทักษะในการสื่อสารภาษาอังกฤษ สถานศึ ก ษาที่ ผ ลิ ต บุ ค ลากรด้ า นวิ ช าชี พ 2) สถานที่จํากัด ทําให้การขยายตัวเป็นไปได้ยาก และเทคโนโลยี และภาคเอกชนให้ ก าร 3) ขาดแคลนบุ ค ลากรสายสนั บ สนุ น ทํ า ให้ ต้ อ งใช้ บุ ค ลากรสายสอน สนับสนุนเช่นกัน รับภาระงานสนับสนุนควบคู่กันส่งผลกระทบต่อประสิทธิภาพในการ 3) เป็ นม หาวิ ทยาลั ยทางเลื อก สํ าห รั บ จัดการเรียนการสอน และงานวิจัย นักศึกษาเพื่อมุ่งสู่วิชาชีพ 4) ผู้บริหารใหม่บางส่วนยังขาดทักษะประสบการณ์ด้านการบริหาร 4) ภาครั ฐ มี น โยบายสนั บ สนุ น ระบบให้ ทุ น 5) ขาดการประชาสัมพันธ์เชิงรุก กู้ ยื ม เพื่ อ การศึ ก ษาเป็ น การสร้ า งโอกาส 6) นักศึกษาที่รับเข้าศึกษา (Input) ไม่ค่อยมีคุณภาพ ให้กับผู้ด้อยโอกาสมากขึ้น 7) ขาดผู้บริหารมืออาชีพ 5) นโยบายภาครัฐสนับสนุนด้านการบริหาร 8) งานวิจัยบางสาขายังมีน้อย จัดการอุด มศึ กษาเพื่อเพิ่ ม ประสิ ทธิภ าพ 9) ขาดการติดต่อสื่อสารภายในองค์กรที่ขาดประสิทธิภาพ ทําให้การทํางานคล่องตัว 10) ขาดระบบติดตามประเมินผลและการนําผลประเมินมาปรับปรุงและ 6) โครงสร้ า งประชากร เปิ ด โอกาสให้ พัฒนา มหาวิ ท ยาลั ย สามารถจั ด การศึ ก ษาได้ 11) บุคลากรบางส่วนขาดแนวคิดเชิงรุก และขาดกระบวนทัศน์ใหม่ใน หลากหลาย การแก้ปัญหา ข้อเสนอเชิงยุทธศาสตร์ 12) สัดส่วนคุณวุฒิและตําแหน่งทางวิชาการของอาจารย์ไม่เป็นไปตาม เกณฑ์มาตรฐาน 1. สร้างและขยายเครือข่ายงานทางด้าน การพัฒนาด้านวิชาชีพและเทคโนโลยี ตารางที่ 6 การวิเคราะห์ตาม TOWS Matrix ในด้าน ST O: โอ T: ภัยคุกคาม ยุทธศาสตร์เชิงป้องกัน (ST) กาส 1) การเปิดการศึกษาเสรีทําให้ มหาวิทยาลัยฯ มีคู่แข่งมาก S: จุดแข็ง สถานศึกษาอื่นทั้งภาครัฐและเอกชน 1) มหาวิทยาลัยมีช่ือเสียงทางด้านวิชาชีพและผลิตบัณฑิตมายาวนาน เปิดสอนและจัดการศึกษาวิชาชีพ 2) การจัดการศึกษาด้านวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีที่สอดคล้องกับแนว แขนงต่างๆ กันอย่างกว้างขวาง ทางการพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมของประเทศ 2) นโยบายการปรับลดงบประมาณและ 3) บัณฑิตมีคุณภาพและเป็นที่ต้องการของตลาดแรงงาน อัตรากําลังทําให้การดําเนินงานของ 4) จัดการศึกษาหลากหลายสาขาวิชาชีพและครอบคลุมองค์ความรู้ตั้งแต่ มหาวิทยาลัยฯ เป็นไปได้ช้า ระดับวิชาชีพขั้นพื้นฐานจนถึงขั้นสูง 3) ก า ร จั ด ก า ร ศึ ก ษ า ท า ง ด้ า น 5) มีบุคลากรที่มีความรู้ความเชี่ยวชาญในสาขาวิชาชีพ วิ ท ยาศาสตร์ แ ละเทคโนโลยี ต้ อ งใช้ 6) มีการส่งเสริมและพัฒนาบุคลากรอย่างต่อเนื่อง ทําให้บุคลากรมีความรู้ การลงทุ น สู ง ในด้ า นอุ ป กรณ์ แ ละ และประสบการณ์ ห้องปฏิบติการสูง ั 7) สถานที่ตั้งอยู่กลางใจเมือง มีทําเลที่เหมาะสม 4) โ ค ร ง ส ร้ า ง ป ร ะ ช า ก ร ส่ ง ผ ล ใ ห้ 8) อัตลักษณ์โดดเด่นด้านวิชาชีพในการบริการวิชาการแก่สังคม ประชากรวัยเรียนลดลง 9) มีระบบประกันคุณภาพที่เข้มแข็ง ข้อเสนอเชิงยุทธศาสตร์ W: จุดอ่อน 1. เร่ ง งานด้ า นวิ ช าชี พ วิ ท ยาศาสตร์ แ ละ เทคโนโลยี หน้าที่ 12 รศ.ดร.ดํารงค์ วัฒนา
  • 14. การจัดทําแผนยุทธศาสตร์ศมหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลพระนคร ตารางที่ 7 การวิเคราะห์ตาม TOWS Matrix ในด้าน SO O: โอกาส T: ยุทธศาสตร์เชิงรุก (SO) 1) การขยายตั ว ทางเศรษฐกิ จ ทํ า ให้ เ กิ ด ความต้ อ งการ ภัย บุคลากรที่มีความรู้ และทักษะในวิชาชีพและบัณฑิต คุก S: จุดแข็ง นักปฏิบัติ คาม 1) มหาวิทยาลัยมีช่ือเสียงทางด้านวิชาชีพและผลิตบัณฑิต 2) นโยบายของรั ฐ ให้ ก ารสนั บ สนุ น สถานศึ ก ษาที่ ผ ลิ ต มายาวนาน บุคลากรด้านวิชาชีพและเทคโนโลยี และภาคเอกชนให้ 2) การจัดการศึกษาด้านวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีที่ การสนับสนุนเช่นกัน สอดคล้องกับแนวทางการพัฒนาเศรษฐกิจและสังคม 3) เป็ นมหาวิ ทยาลั ยทางเลื อ กสํ า หรั บ นั กศึ ก ษาเพื่ อ มุ่ งสู่ ของประเทศ วิชาชีพ 3) บัณฑิตมีคุณภาพและเป็นที่ต้องการของตลาดแรงงาน 4) ภาครั ฐ มี น โยบายสนั บ สนุ น ระบบให้ ทุ น กู้ ยื ม เพื่ อ 4) จัดการศึกษาหลากหลายสาขาวิชาชีพและครอบคลุม การศึกษาเป็นการสร้างโอกาสให้กับผู้ด้อยโอกาสมาก องค์ความรู้ตั้งแต่ระดับวิชาชีพขั้นพื้นฐานจนถึงขั้นสูง ขึ้น 5) มีบุคลากรที่มความรู้ความเชี่ยวชาญในสาขาวิชาชีพ ี 5) นโยบายภาครั ฐ สนั บ สนุ น ด้ า นการบริ ห ารจั ด การ 6) มีการส่งเสริมและพัฒนาบุคลากรอย่างต่อเนื่อง ทําให้ อุ ด มศึ ก ษาเพื่ อ เพิ่ ม ประสิ ท ธิ ภ าพ ทํ า ให้ ก ารทํ า งาน บุคลากรมีความรู้และประสบการณ์ คล่องตัว 7) สถานที่ตั้งอยู่กลางใจเมือง มีทําเลที่เหมาะสม 6) โครงสร้างประชากร เปิดโอกาสให้มหาวิทยาลัยสามารถ 8) อัตลักษณ์โดดเด่นด้านวิชาชีพในการบริการวิชาการแก่ จัดการศึกษาได้หลากหลาย สังคม ข้อเสนอเชิงยุทธศาสตร์ 9) มีระบบประกันคุณภาพที่เข้มแข็ง 1. ขยายงานด้านวิชาชีพ วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี W: จุดอ่อน จากการวิเคราะห์ SWOT และ TOWS Matrix พบว่ามหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลพระนคร มีภาวะของ การขยายตัวทางการตลาดด้านวิชาชีพ วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี แต่ความสามารถในการแข่งขันของมหาวิทยาลัย เทคโนโลยีราชมงคลพระนครอยู่ในระดับไม่สูง ยุทธศาสตร์หลัก หรือ Grand Strategy ของมหาวิทยาลัยเทคโนโลยี ราชมงคลพระนครจึงเป็นเรื่องของยุทธศาสตร์การตั้งรับและการพัฒนาเป็นหลัก เมื่อมีความได้เปรียบเชิงการแข่งขันที่ อยู่ในระดับสูง ก็สมควรพิจารณาใช้ยุทธศาสตร์เชิงรุกต่อไป 6. การตัดสินใจเชิงยุทธศาสตร์ จากผลการวิเคราะห์เชิงของมหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลพระนครข้างต้น มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราช มงคลพระนครควรมีการตัดสินใจตามแนวทาง ดังนี้ 1. กําหนดยุทธศาสตร์เชิงรับและพัฒนา ได้แก่ พัฒนาความเข็มแข็งของบุคคล เร่งประชาสัมพันธ์เชิงรุกและ การสร้างภาพลักษณ์ที่ดี การสร้างและอาศัยเครือข่ายงานทางด้านวิชาชีพ วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี 2. การกําหนดยุทธศาสตร์ระยะสั้น ระยะปานกลาง และระยะยาว ในส่วนของการกําหนดยุทธศาสตร์ระยะ สั้นนั้น ให้เร่งรัดยุทธศาสตร์เชิงรับ ได้แก่ “ยุทธศาสตร์เข้มแข็ง” และยุทธศาสตร์เชิงพัฒนา ได้แก่ “ยุทธศาสตร์ ภาพลักษณ์ที่ดี” โดยมียุทธศาสตร์ประกอบที่สําคัญ คือ การสร้างและอาศัยเครือข่ายงานทางด้านวิชาชีพ วิทยาศาสตร์ และเทคโนโลยี 3. การกําหนดระยะปานกลาง และระยะยาว ได้แก่ “ยุทธศาสตร์ขับเคลื่อน” โดยมียุทธศาสตร์ประกอบ คือ การให้ข้อมูล ข่าวสาร ความรู้ และะการขยายงานด้านวิชาชีพ วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย หน้าที่ 13
  • 15. โครงการจัดทําแผนยุทธศาสตร์มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลพระนคร ส่วนที่ 3 การสอบทานประเด็น SWOT 1. การปรับปรุงประเด็น SWOT จากการประเด็น SWOT ที่ได้จากการรสํารวจ จักได้นํามาปรับปรุงให้เป็นหมวดหมู่ 2. การประเมินประเด็น SWOT จากการประเด็น SWOT ที่ได้รับการปรับปรุงแล้ว จะนําไปใช้ในการประเมินต่อไป หน้าที่ 14 รศ.ดร.ดํารงค์ วัฒนา