SlideShare une entreprise Scribd logo
1  sur  27
Télécharger pour lire hors ligne
แบบฝึกทักษะการอ่านคิดวิเคราะห์ และวิจารณ์
กลุ่มสาระการเรียนรู้ภาษาไทย
ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ ๔
ชุดที่ ๑
ความรู้เบื้องต้นการอ่านคิดวิเคราะห์และวิจารณ์
นางบุปผา ฮาวกองแก้ว
โรงเรียนเมืองมายวิทยา
ตาบลบ้านแลง อาเภอเมืองลาปาง จังหวัดลาปาง
สานักงานเขตพื้นที่การศึกษามัธยมศึกษา เขต ๓๕
สานักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน
กระทรวงศึกษาธิการ
คานา
แบบฝึกทักษะการอ่านคิดวิเคราะห์ และวิจารณ์ ของนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ ๔ ชุดที่ ๑ ความรู้
เบื้องต้น การอ่านคิดวิเคราะห์ และวิจารณ์ ได้จัดทาขึ้นเพื่อใช้ในการฝึกทักษะด้านการอ่านคิดวิเคราะห์ และ
วิจารณ์ ซึ่งจะทาให้นักเรียนสามารถคิดวิเคราะห์ วิจารณ์ได้อย่างถูกต้อง ชัดเจน และสมเหตุสมผล สามารถนา
ความรู้ ความเข้าใจ ความคิด และประสบการณ์ที่ได้รับไปใช้ให้เกิดประโยชน์ด้านการเรียน และนาไป
ประยุกต์ใช้ในชีวิตประจาวัน ซึ่งนักเรียนสามารถศึกษาได้ด้วยตนเอง เกิดความสุข สนุกสนาน เพลิดเพลิน
มีความสามารถในการคิด รู้จักคิดเป็น และมีความภูมิใจในผลงานของตนเอง ตลอดจนครูผู้สอนยังสามารถ
นามาใช้ทบทวน และสอนซ่อมเสริมนักเรียนที่มีปัญหาด้านทักษะการคิดวิเคราะห์ และวิจารณ์ได้
ผู้จัดทาหวังเป็นอย่างยิ่งว่าแบบฝึกทักษะการคิดวิเคราะห์ และวิจารณ์เล่มนี้ จะเป็นประโยชน์และช่วย
พัฒนาทักษะการคิดชั้นสูงของนักเรียนได้เป็นอย่างดี
นางบุปผา ฮาวกองแก้ว
ครูชานาญการ
โรงเรียนเมืองมายวิทยา
ก
สารบัญ
เรื่อง หน้า
คานา ก
สารบัญ ข
คาชี้แจงสาหรับครู ๑
คาชี้แจงสาหรับนักเรียน ๒
จุดประสงค์การเรียนรู้ ๓
แบบทดสอบก่อนเรียน แบบฝึกทักษะชุดที่ ๑ เรื่อง ความรู้เบื้องต้นการอ่านคิดวิเคราะห์
และวิจารณ์ ๔
ใบความรู้ ๑ เรื่องการคิดวิเคราะห์ และวิจารณ์ ๖
กิจกรรมที่ ๑ เรื่องการคิดวิเคราะห์ และวิจารณ์ ๙
ใบความรู้ ๒ เรื่องคาถามการคิดวิเคราะห์ ๑๐
กิจกรรมที่ ๒ เรื่องคาถามการคิดวิเคราะห์ ๑๑
ใบความรู้ ๓ เรื่องคาถามการคิดวิจารณ์ ๑๒
กิจกรรมที่ ๓ เรื่องคาถามการคิดวิจารณ์ ๑๓
แบบทดสอบหลังเรียน แบบฝึกทักษะชุดที่ ๑ เรื่อง ความรู้เบื้องต้นการอ่านคิดวิเคราะห์
และวิจารณ์ ๑๕
ภาคผนวก ๑๗
เฉลยแบบทดสอบก่อนเรียน แบบฝึกทักษะชุดที่ ๑ เรื่อง ความรู้เบื้องต้นการอ่านคิดวิเคราะห์
และวิจารณ์ ๑๘
แนวการตอบกิจกรรมที่ ๑ เรื่องการคิดวิเคราะห์และ วิจารณ์ ๑๙
แนวการตอบกิจกรรมที่ ๒ เรื่องคาถามการคิดวิเคราะห์ ๒๐
แนวการตอบกิจกรรมที่ ๓ เรื่องคาถามการคิดวิจารณ์ ๒๑
เฉลยแบบทดสอบหลังเรียน แบบฝึกทักษะชุดที่ ๑ เรื่อง ความรู้เบื้องต้นการอ่านคิดวิเคราะห์
และวิจารณ์ ๒๓
บรรณานุกรม ๒๔
ข
แบบฝึกทักษะการอ่านคิดวิเคราะห์ และวิจารณ์ จัดทาขึ้นเพื่อใช้พัฒนาทักษะการคิดวิเคราะห์และ
วิจารณ์ให้กับนักเรียน โดยสอนแทรกในการจัดกิจกรรมการเรียนการสอน และให้นักเรียนศึกษาเพิ่มเติมนอก
เวลาเรียน ในรายวิชาภาษาไทย กลุ่มสาระการเรียนรู้ภาษาไทย สาหรับนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ ๔ มีทั้งหมด
จานวน ๗ ชุด ดังนี้
ชุดที่ ๑ ความรู้เบื้องต้นการอ่านคิดวิเคราะห์ และวิจารณ์
ชุดที่ ๒ นิทานชวนคิดวิเคราะห์ และวิจารณ์
ชุดที่ ๓ สะกิดความคิดวิเคราะห์ และวิจารณ์ด้วยสารคดี
ชุดที่ ๔ บทความชวนอ่านคิดวิเคราะห์ และวิจารณ์
ชุดที่ ๕ เรื่องสั้นเพิ่มพลังคิดวิเคราะห์ และวิจารณ์
ชุดที่ ๖ เพิ่มพูนความคิดวิเคราะห์ และวิจารณ์ด้วยข่าว
ชุดที่ ๗ สุนทรีย์แห่งอักษรบทร้อยกรองชวนคิดวิเคราะห์ และวิจารณ์
แบบฝึกทักษะการอ่านคิดวิเคราะห์ และวิจารณ์ กลุ่มสาระการเรียนรู้ภาษาไทย ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ ๔
ชุดนี้เป็นชุดที่ ๑ เรื่อง ความรู้เบื้องต้นการอ่านคิดวิเคราะห์ และวิจารณ์ หลังจากนักเรียนศึกษาชุดที่ ๑ นี้แล้ว
จะทาให้มีความรู้ ความเข้าใจความหมาย องค์ประกอบ และหลักการคิดวิเคราะห์ และวิจารณ์ได้ เป็นการ
เริ่มต้นเพื่อเป็นพื้นฐานในการเรียนรู้สาหรับการคิดวิเคราะห์ และวิจารณ์ของแบบฝึกทักษะชุดต่อไปที่เหลืออีก
๖ ชุด
ใช้ประกอบแผนการจัดการเรียนรู้ที่ ๒ และ ๓ จานวน ๒ แผน ๆ ละ ๑ คาบ (๕๐ นาที) โดยแบบฝึก
ทักษะชุดที่ ๑ ประกอบด้วยแบบทดสอบก่อนเรียน เนื้อหา กิจกรรมจานวน ๓ กิจกรรม แบบทดสอบหลังเรียน
และแบบเฉลย เพื่อให้ครูผู้สอนและนักเรียนได้ตรวจคาตอบได้ อย่างไรก็ตามกิจกรรมบางอย่างมีการใช้คาถาม
ปลายเปิดดังนั้นแนวการเขียนตอบแสดงความคิดของนักเรียนครูผู้สอนควรใช้ดุลยพินิจในการตรวจคาตอบ เมื่อ
ตรวจแล้ว ควรแจ้งให้นักเรียนทราบผลทันทีเพื่อนักเรียนจะได้มีกาลังใจ และครูจะได้นาไปพัฒนาการจัดการ
เรียนการสอนต่อไป
คาชี้แจงสาหรับครู
1
แบบฝึกทักษะการอ่านคิดวิเคราะห์ และวิจารณ์ กลุ่มสาระการเรียนรู้ภาษาไทย ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ ๔
ชุดที่ ๑ เรื่อง ความรู้เบื้องต้นการอ่านคิดวิเคราะห์ และวิจารณ์ มีทั้งหมด ๓ ใบความรู้ ๓ กิจกรรม ให้นักเรียน
อ่านคาแนะนาการใช้และปฏิบัติตามขั้นตอนดังนี้
๑. ศึกษาจุดประสงค์การเรียนรู้
๒. อ่านคาชี้แจงการใช้แบบฝึกทักษะการอ่านคิดวิเคราะห์ และวิจารณ์ ให้เข้าใจตามขั้นตอน
๓. ทาแบบทดสอบก่อนเรียนจานวน ๑๐ ข้อ ในเวลา ๒๐ นาทีลงในกระดาษคาตอบ แล้วตรวจ
คาตอบจากเฉลยส่งให้ครูตรวจสอบความถูกต้องแล้วบันทึกคะแนนลงท้ายเล่ม
๔. ศึกษากรอบเนื้อหาในใบความรู้ ทาความเข้าใจแล้วทากิจกรรมที่กาหนดให้จนครบทุกกิจกรรม
ตามลาดับอย่างรอบคอบและตั้งใจ
๕. ทาแบบทดสอบหลังเรียนจานวน ๑๐ ข้อ ในเวลา ๒๐ นาทีลงในกระดาษคาตอบ แล้วตรวจคาตอบ
จากเฉลยส่งให้ครูตรวจสอบความถูกต้องแล้วบันทึกคะแนนลงท้ายเล่ม
๖. ตรวจคาตอบจากเฉลยท้ายแบบฝึกทักษะ
๗. นักเรียนต้องมีความซื่อสัตย์ และไม่แอบดูเฉลยก่อนทากิจกรรมในแบบฝึกทักษะ
คาชี้แจงสาหรับนักเรียน
๒
จุดประสงค์การเรียนรู้
หลังจากนักเรียนได้เรียนรู้จากการทาแบบฝึกทักษะการอ่านคิดวิเคราะห์ และวิจารณ์ กลุ่มสาระการ
เรียนรู้ภาษาไทย ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ ๔ ชุดที่ ๑ การอ่านคิดวิเคราะห์ และวิจารณ์ เรียบร้อยแล้ว นักเรียนมี
ความสามารถ ดังนี้
๑. สามารถอธิบายความหมายการคิดวิเคราะห์ และวิจารณ์ได้
๒. สามารถอธิบายองค์ประกอบการคิดวิเคราะห์ได้
๓. มีความเข้าใจลักษณะคาถามการคิดวิเคราะห์ และวิจารณ์ได้
๔. สามารถตั้งคาถามการคิดวิเคราะห์ และวิจารณ์ได้
๕. สามารถแยกแยะการคิดวิเคราะห์ และวิจารณ์ได้
๓
แบบทดสอบก่อนเรียน
แบบฝึกทักษะชุดที่ ๑ เรื่อง ความรู้เบื้องต้นการอ่านคิดวิเคราะห์ และวิจารณ์
คาชี้แจง ให้นักเรียนเลือกคาตอบที่ถูกต้องที่สุดเพียงข้อเดียว โดยกาเครื่องหมายกากบาท (X)
ลงในกระดาษคาตอบ
๑. การคิดวิเคราะห์มีประโยชน์อย่างไร
ก. มีความสามารถในการสรุปประเด็นสาคัญ
ข. มีความสามารถในการศึกษา การเรียนรู้ และการแสวงหาความรู้
ค. มีทักษะในการสื่อสารที่ดี
ง. มีความคิดขั้นสูง
๒. การคิดวิเคราะห์ และวิจารณ์มีความแตกต่างกันในด้านใด
ก. การให้เหตุผล
ข. การพิจารณา
ค. การใช้ความรู้
ง. การใช้ความรู้สึก
๓. การคิดวิเคราะห์หมายความว่าอย่างไร
ก. การคิดจาแนก เปรียบเทียบ
ข. กระบวนการคิดระดับสูง
ค. การคิดเกี่ยวกับข้อเท็จจริง
ง. การคิดอย่างมีเหตุผลโดยใช้ปัญญา
๔. การคิดวิจารณ์หมายความว่าอย่างไร
ก. การแสดงความคิดเห็น
ข. การพิจารณาตัดสินโดยใช้เหตุผล
ค. การพิจารณาตัดสินจากความคิดเห็นส่วนตัว
ง. การไม่เห็นด้วยกับข้อเท็จจริงอย่างมีเหตุผล
๕. การคิดวิเคราะห์มีองค์ประกอบกี่อย่าง อะไรบ้าง
ก. มีองค์ประกอบ ๓ อย่าง คือ ช่างสังเกต ช่างสงสัย และช่างถาม
ข. มีองค์ประกอบ ๓ อย่าง คือ ความสามารถในการตีความ ความรู้ความเข้าใจในเรื่องที่จะวิเคราะห์
และช่างมอง ช่างสังเกต ช่างสงสัย และช่างถาม
ค. มีองค์ประกอบ ๔ อย่าง คือ ความสามารถในการตีความ ความรู้ความเข้าใจในเรื่องที่จะวิเคราะห์
ช่างมอง ช่างสังเกต ช่างสงสัย และช่างถาม และความสามารถในการหาความเชื่อมโยง
ง. มีองค์ประกอบ ๔ อย่าง คือ ช่างมอง ช่างสังเกต ช่างสงสัย และช่างถาม
๔
๖. คาถามเชิงวิเคราะห์ยึดหลักคาถามในลักษณะใด
ก. ใคร ทาอะไร ที่ไหน เมื่อไร อย่างไร ทาไมหรือเพราะเหตุใด
ข. ใคร ทาอะไร ที่ไหน อย่างไร ทาไม
ค. เห็นด้วยหรือไม่เห็นด้วยอย่างไร
ง. เพราะเหตุใด ใช่หรือไม่
๗. ข้อใดไม่ใช่คาถามการคิดวิเคราะห์
ก. วงจรชีวิตของกบ กับผีเสื้อ เหมือนกันหรือไม่อย่างไร
ข. ๑๒ เมืองต้องห้ามพลาด ในด้านการท่องเที่ยวที่ได้รับประกาศจาก ททท. ประกอบด้วย
จังหวัดอะไรบ้าง
ค. เพราะเหตุใดประเพณีการลงแขกจึงจางหายไปจากสังคมเมือง
ง. หนึ่งตาบลหนึ่งผลิตภัณฑ์สร้างรายได้ให้กับประชาชนในชุมชนได้อย่างยั่งยืนหรือไม่
๘. ข้อใดเป็นคาถามคิดวิจารณ์
ก. การทาขนมเค้กมีขั้นตอนการทาอย่างไรบ้าง
ข. ประเทศไทยมีการคมนาคมกีประเภท อะไรบ้าง
ค. ท่านมีความคิดเห็นอย่างไรกับการเรียนรู้อย่างไม่จากัดกับการท่องโลกอินเทอร์เน็ต
ง. จงบอกวิธีการประหยัดไฟฟ้าที่ได้ผลมาอย่างน้อย ๕ วิธี
๙. “ล้านนาอยู่ทางภาคใดของประเทศไทย และมีจังหวัดใดบ้าง” คาถามนี้เป็นคาถามประเภทใด
ก. คาถามคิดสังเคราะห์
ข. คาถามคิดวิเคราะห์
ค. คาถามคิดวิจารณ์
ง. คาถามคิดสร้างสรรค์
๑๐. “ท่านเห็นด้วยหรือไม่อย่างไรที่จะนาพลังงานแสงอาทิตย์มาผลิตกระแสไฟฟ้าแทนถ่านหิน และน้ามัน”
คาถามนี้เป็นคาถามประเภทใด
ก. คาถามคิดสังเคราะห์
ข. คาถามคิดวิเคราะห์
ค. คาถามคิดวิจารณ์
ง. คาถามคิดสร้างสรรค์
๕
ใบความรู้ ๑
เรื่องการคิดวิเคราะห์ และวิจารณ์
ความสาคัญการคิดวิเคราะห์
การคิดวิเคราะห์เป็นรากฐานสาคัญของการเรียนรู้และการดาเนินชีวิต การคิดวิเคราะห์เป็นพื้นฐาน
ของการคิดทั้งมวล บุคคลที่มีความสามารถในการคิดวิเคราะห์จะมีความสามารถในด้านอื่น ๆ เหนือกว่าบุคคล
ทั่วไป ทั้งทางด้านสติปัญญาและการดาเนินชีวิต เป็นทักษะที่ทุกคนสามารถพัฒนาได้ การคิดวิเคราะห์ จึงมี
ความสาคัญที่จะทาให้ผู้เรียนเป็นผู้ที่มีความสามารถในการเรียนรู้
ประโยชน์การคิดวิเคราะห์
การคิดวิเคราะห์เป็นประโยชน์ต่อผู้เรียนในการแสวงหาความรู้ การเรียนรู้ คิด วิเคราะห์ อย่างมี
เหตุผลในการที่จะรับรู้ โดยเฉพาะอย่างยิ่งเพื่อเป็นพื้นฐานของการนาไปสู่การให้ผู้เรียนมีคุณธรรม จริยธรรม มี
ค่านิยมที่พึงประสงค์ มีวินัย มีความรับผิดชอบ ซื่อสัตย์ สุจริต มีความเมตตา กรุณา เอื้อเฟื้อ เผื่อแผ่ ประหยัด
เสียสละเพื่อส่วนรวม สามารถจาแนก เปรียบเทียบ คิดรวบยอด ประเมินค่า มีปฏิภาณในการแก้ปัญหา มี
ความคิดริเริ่มสร้างสรรค์สิ่งใหม่ สามารถควบคุม พยากรณ์ อธิบายได้ เลือกปฏิบัติอย่างมีเหตุผลในทาง
จริยธรรม และจะทาให้ผู้เรียนมีความรู้ ความสามารถในการศึกษา เรียนรู้ได้อย่างมีประสิทธิภาพ เกิด
ประสิทธิผลพัฒนาผู้เรียนให้เป็นบุคคลแห่งการเรียนรู้ดารงชีวิตอยู่อย่างมีความสุข
ความหมายการคิดวิเคราะห์ วิจารณ์
วิเคราะห์ หมายถึง แยกแยะออกเป็นส่วน ๆ เพื่อทาความเข้าใจ และแลเห็นความสัมพันธ์ระหว่างส่วน
ต่าง ๆ เหล่านั้น
การวิเคราะห์ หมายถึง การพิจารณาแยกสิ่งใดสิ่งหนึ่งออกเป็นส่วน ๆ เพื่อทาความเข้าใจแต่ละส่วนให้
แจ่มแจ้ง แล้วทาความเข้าใจต่อไปว่า แต่ละส่วนสัมพันธ์เกี่ยวเนื่องกันอย่างไร
การคิดวิเคราะห์ หมายถึง การคิดโดยพิจารณา จาแนก แยกแยะ ไตร่ตรอง ใคร่ครวญ แจกแจง
ส่วนประกอบของการจัดหมวดหมู่ ในเรื่องราวหรือสถานการณ์โดยใช้ความรู้ ความคิดในการแก้ปัญหาอย่างมี
เหตุผลเพื่อนาไปสู่ข้อสรุปที่เป็นไปได้
วิจารณ์ หมายถึง การคิดใคร่ครวญโดยใช้เหตุผล
วิจารณ์ ตามพจนานุกรม หมายถึง ให้คาตัดสินสิ่งที่กาลังพิจารณา เช่น การวิจารณ์ศิลปกรรมหรือ
วรรณกรรม โดยมีความรู้ควรเชื่อถือได้ ว่ามีค่าความงามความไพเราะดีอย่างไร หรือมีข้อขาดตกบกพร่อง
อย่างไรบ้าง ขอบข่ายของการพิจารณาตัดสินที่เรียกว่าวิจารณ์นั้น การตัดสินมักขึ้นอยู่กับความรู้และความรู้สึก
ของผู้วิจารณ์เป็นสาคัญ อีกทั้งโดยทั่วไปการวิจารณ์มีแนวโน้มที่จะพูดถึงแต่ข้อเสีย สิ่งที่ตนไม่เห็นด้วย ไม่สบ
อารมณ์ จุดมุ่งหมายเพื่อแสดงความคิดเห็นของผู้วิจารณ์ที่มีต่อสิ่งนั้น ๆ หรือต่อผลงานชิ้นนั้นเป็นสาคัญการคิด
เชิงวิจารณ์ (critical thinking) เป็นการคิดเพื่อพิจารณาข้อเท็จจริงหรือสภาพการณ์ต่าง ๆ ว่าถูกหรือผิดโดยใช้
เหตุผลประกอบการคิดว่าอะไรเป็นเหตุอะไรเป็นผล
๖
องค์ประกอบการคิดวิเคราะห์
ความสามารถในการคิดวิเคราะห์ควรประกอบไปด้วย
๑. ความสามารถในการตีความ
๒. ความรู้ความเข้าใจในเรื่องที่จะวิเคราะห์ ข้อมูล
๓. ช่างมอง ช่างสังเกต ช่างสงสัย และช่างถาม
๔. ความสามารถในการหาความเชื่อมโยง ความสัมพันธ์เชิงเหตุผล
ความสามารถในการตีความ
การคิดวิเคราะห์สิ่งต่าง ๆ ได้ เกิดจากการทาความเข้าใจกับข้อมูลที่ปรากฏ เริ่มต้นจากเรา
จาเป็นต้องพิจารณาข้อมูลที่ได้รับเพื่อให้เกิดความเข้าใจด้วยการตีความ โดยการตีความ เป็นการพยายามทา
ความเข้าใจและให้เหตุผลแก่สิ่งที่เราต้องการจะวิเคราะห์ เพื่อแปลความหมายที่ไม่ปรากฏโดยตรง เป็นข้อมูลที่
ซ่อนแฝงอยู่ กล่าวคือ ตัวข้อมูลไม่ได้บอกโดยตรงแต่จะต้องทาความเข้าใจที่มากเกินกว่าสิ่งที่ปรากฏในข้อมูล
ในการตีความของแต่ละคนนั้น จะแตกต่างกันไปตามความรู้ ประสบการณ์ ภูมิหลัง และค่านิยมของแต่ละ
บุคคล
ความรู้ความเข้าใจในเรื่องที่จะวิเคราะห์ ข้อมูล
ความรู้เป็นปัจจัยสาคัญมากต่อประสิทธิภาพในการคิดวิเคราะห์ การที่จะคิดวิเคราะห์ได้ดีนั้น
จาเป็นต้องมีความรู้ความเข้าใจพื้นฐานในเรื่องนั้น เพราะความรู้จะช่วยในการกาหนดขอบเขตของการ
วิเคราะห์ แจกแจงและจาแนกได้ว่าเรื่องนั้นเกี่ยวข้องกับอะไร มีองค์ประกอบย่อย ๆ อะไรบ้าง มีกี่หมวดหมู่
จัดลาดับความสาคัญอย่างไร มีเรื่องใดเกี่ยวข้องเชื่อมโยงสัมพันธ์กัน และรู้ว่าอะไรเป็นสาเหตุก่อให้เกิดอะไร
ช่างมอง ช่างสังเกต ช่างสงสัย และช่างถาม
นักคิดเชิงวิเคราะห์จะต้องมีองค์ประกอบทั้งสามนี้ร่วมด้วย คือ ต้องเป็นคนที่ช่างมอง และ
สังเกต สามารถค้นพบความผิดปกติที่ซ่อนอยู่ท่ามกลางสิ่งที่ดู อย่างผิวเผินแล้วเหมือนไม่มีอะไรผิดปกติเกิดขึ้น
ต้องเป็นคนที่ช่างสงสัย เมื่อเห็นความผิดปกติแล้วไม่ละเลยไป แต่หยุดพิจารณา ขบคิดไตร่ตรอง และต้องการ
สืบสาวราวเรื่องเพื่อหาคาตอบ และต้องเป็นคนช่างถาม ชอบตั้งคาถามกับตัวเองและคนรอบ ๆ ข้างเกี่ยวกับสิ่ง
ที่เกิดขึ้น เพื่อนาไปสู่การคิดเกี่ยวกับเรื่องนั้นต่อไป การตั้งคาถามจะนาไปสู่การสืบค้นความจริงและเกิดความ
ชัดเจนในประเด็นที่ต้องการวิเคราะห์ ขอบเขตคาถามที่เกี่ยวข้องกับการคิดเชิงวิเคราะห์ จะยึดหลักการตั้ง
คาถามโดยใช้หลัก ๕ W ๑ H คือ ใคร (Who) ทาอะไร (What) ที่ไหน (Where) เมื่อไหร่ (When) เพราะเหตุ
ใด เพราะอะไร(Why) อย่างไร (How) คาถามเหล่านี้อาจไม่จาเป็นต้องใช้ทุกข้อ เพราะการตั้งคาถามมี
จุดมุ่งหมายเพื่อให้เกิดความชัดเจนครอบคลุมและตรงประเด็นที่เราต้องการสืบค้นจึงต้องเลือกใช้คาถมให้ตรง
ประเด็น
๗
ความสามารถในการหาความเชื่อมโยง ความสัมพันธ์เชิงเหตุผล
นักคิดวิเคราะห์จะต้องมีความสามารถในการหาความเชื่อมโยง สัมพันธ์เชิงเหตุผล สามารถ
ค้นหาคาตอบได้ว่าสิ่งที่คิดมีความเกี่ยวกับเรื่องใด และเกี่ยวข้องอย่างไร เช่น ... สาเหตุที่ก่อให้เกิดเหตุการณ์นี้
.... อะไรเป็นสาเหตุให้เกิดสิ่งนี้ .... เรื่องนั้นเชื่อมโยงกับเรื่องนี้ได้อย่างไร .... เรื่องนี้มีใครเกี่ยวข้องบ้าง เกี่ยวข้อง
กันอย่างไร ... เมื่อเกิดเรื่องนี้ จะส่งผลกระทบอย่างไรบ้าง
คุณสมบัติที่เอื้อต่อการคิดวิเคราะห์
คุณสมบัติที่เอื้อต่อการคิดวิเคราะห์มี ๔ ประการ คือ
๑. ความรู้ ความเข้าใจในเรื่องที่จะวิเคราะห์
๒. ช่างสังเกต ช่างสงสัย ช่างไต่ถาม
๓. ความสามารถในการตีความ
๔. ความสามารถในการหาความสัมพันธ์เชิงเหตุผล
ความรู้ ความเข้าใจในเรื่องที่จะวิเคราะห์
ผู้คิดต้องมีความรู้ความเข้าใจพื้นฐานในเรื่องนั้น ๆ เพราะจะช่วยกาหนดขอบเขตการวิเคระห์
จาแนก การแจกแจงองค์ประกอบ จัดหมวดหมู่ และลาดับความสาคัญหรือหาสาเหตุของเรื่องราวเหตุการณ์ได้
ชัดเจน
ช่างสังเกต ช่างสงสัย ช่างไต่ถาม
คนที่ช่างสังเกต ย่อมสามารถมองเห็นหรือค้นหาความผิดปรกติของสิ่งของหรือเหตุการณ์ที่ดู
แล้วเหมือนไม่มีอะไรเกิดขึ้น มองเห็นแง่มุมที่แตกต่างไปจากคนอื่น คนช่างสงสัย เมื่อเห็นความผิดปรกติแล้วจะ
ไม่ละเลย แต่จะหยุดคิดพิจารณา คนช่างไต่ถาม ชอบตั้งคาถามเกี่ยวกับสิ่งที่เกิดขึ้นอยู่เสมอ เพื่อนาไปสู่การขบ
คิดค้นหาความจริงในเรื่องนั้น คาถามที่มักใช้กับการคิดวิเคราะห์ คือ ๕ W ๑ H ประกอบด้วย What (อะไร)
Where (ที่ไหน) When (เมื่อใด) Why (ทาไม) Who (ใคร) และ How (อย่างไร)
ความสามารถในการตีความ
การตีความ เกิดจากการรับรู้ข้อมูลเข้ามาทางประสาทสัมผัส สมองจะทาการตีความข้อมูล
โดยวิเคราะห์เทียบเคียงกับความทรงจาหรือความรู้เดิมที่เกี่ยวกับเรื่องนั้น เกณฑ์ที่ใช้เป็นมาตรฐานในการ
ตัดสินจะแตกต่างกันไปตามความรู้ ประสบการณ์ และค่านิยมของแต่ละบุคคล ดังนั้นความรู้ต่างกัน
ประสบการณ์ต่างกันและค่านิยมต่างกัน การตีความข้อมูลหรือเหตุการณ์ที่พบเห็นก็จะแตกต่างกันไปด้วย
ความสามารถในการหาความสัมพันธ์เชิงเหตุผล
การคิดวิเคราะห์จะเกิดขึ้น เมื่อพบสิ่งที่มีความคลุมเครือ เกิดข้อสงสัยตามมาด้วยคาถามต้อง
ค้นหาคาตอบหรือความน่าจะเป็นว่ามีความเป็นมาอย่างไร ซึ่งสมองจะพยายามคิดเพื่อหาข้อสรุปความรู้ความ
เข้าใจอย่างสมเหตุสมผล
๘
กิจกรรมที่ ๑
เรื่อง การคิดวิเคราะห์ และวิจารณ์
คาชี้แจง ให้นักเรียนตอบคาถามในข้อคาถามที่ ๑ – ๕ ให้ครบถ้วนสมบูรณ์ลงในช่องว่าให้ถูกต้อง
(๑๐ คะแนน)
๑. คิดวิเคราะห์มีความสาคัญอย่างไร (๑ คะแนน)
........................................................................................................................................................
........................................................................................................................................................
........................................................................................................................................................
๒. คิดวิเคราะห์มีประโยชน์อย่างไร (๒ คะแนน)
........................................................................................................................................................
........................................................................................................................................................
........................................................................................................................................................
........................................................................................................................................................
........................................................................................................................................................
๓. คิดวิเคราะห์ และวิจารณ์ มีความหมายว่าอย่างไร และมีความเหมือน หรือแตกต่างกันอย่างไร
(๒ คะแนน)
........................................................................................................................................................
........................................................................................................................................................
........................................................................................................................................................
........................................................................................................................................................
........................................................................................................................................................
๔. คิดวิเคราะห์ และวิจารณ์ มีความเหมือน หรือแตกต่างกันอย่างไร (๒ คะแนน)
........................................................................................................................................................
........................................................................................................................................................
........................................................................................................................................................
........................................................................................................................................................
........................................................................................................................................................
๕. ความสามารถในการคิดวิเคราะห์ประกอบด้วยองค์ประกอบอะไรบ้าง พร้อมทั้งอธิบายประกอบ
สั้น ๆ ให้ได้ใจความ (๓ คะแนน)
........................................................................................................................................................
........................................................................................................................................................
........................................................................................................................................................
........................................................................................................................................................
........................................................................................................................................................
๙
ใบความรู้ ๒
เรื่อง คาถามการคิดวิเคราะห์
คาถามการวิเคราะห์
เป็นคาถามที่แสดงถึงการจาแนก แยกแยะเรื่องราว ส่วนประกอบย่อย ๆ โดยอาศัยหลักการ ทฤษฎี
แนวคิด ในการตั้งคาถามเพื่อการวิเคราะห์ อาจถามด้วยการเปรียบเทียบความเหมือน ความแตกต่าง ต้องคิด
อย่างรอบคอบก่อนตอบก็ได้ นอกจากนี้ยังสามารถถามเพื่อให้จาแนก จัดหมวดหมู่ จัดกลุ่ม จัดพวกใหม่ อาศัย
การเปรียบเทียบความแตกต่าง ความเหมือน ความสัมพันธ์
ตัวอย่างคาถามให้คิดวิเคราะห์
บอกคุณลักษณะของเด็กดี
องค์ประกอบโครงสร้างของสังคมไทยมีอะไรบ้าง
ลักษณะของวัฒนธรรมไทยเป็นอย่างไร
ส่วนประกอบของต้นไม้มีอะไรบ้าง
ควรตั้งชื่อเรื่องที่อ่านนี้ว่าอะไร
ทายสิว่าถ้าเอาลูกอมรสมิ้นท์ใส่ผสมลงไปในขวดโค้กแล้วคว่าขวดลงปิดฝา จะเกิดอะไรขึ้น
ผีเสื้อใช้อวัยวะส่วนใดรับรส
จะเกิดอะไรขึ้นถ้าเอาแม่เหล็กไปจ่อหน้าโทรทัศน์
เหตุสาคัญที่ทาให้ ................. คืออะไร
จะเป็นอย่างไรถ้าคบเพื่อนติดยา
ในขณะที่นักเรียนทาการทดลองอยู่นี้ นักเรียนพบอะไรบ้าง มีข้อสงสัยหรือไม่ น่าจะมีสาเหตุมา
จากอะไร ................................
๑๐
กิจกรรมที่ ๒
เรื่อง คาถามการคิดวิเคราะห์
คาชี้แจง ให้นักเรียนตอบคาถามต่อไปนี้ (๑๐ คะแนน)
๑. ใส่เครื่องหมายถูก () หน้าข้อที่เห็นว่าถูก ใส่เครื่องหมายผิด () หน้าข้อที่เห็นว่าผิด (๕ คะแนน)
.............. ๑.๑ คาถามการวิเคราะห์แสดงถึงการเปรียบเทียบ การจาแนก และความสัมพันธ์
.............. ๑.๒ คาถามการวิเคราะห์เป็นคาถามแสดงความคิดเห็น
.............. ๑.๓ “ทาไมเทคโนโลยีถึงมีอิทธิพลต่อการดารงชีวิตในยุคปัจจุบัน” คาถามนี้เป็นคาถาม
การคิดวิเคราะห์
.............. ๑.๔ “สภาพภูมิศาสตร์ของประเทศไทยแต่ละภาคมีความแตกต่างกันอย่างไรบ้าง”
คาถามนี้เป็นคาถามการคิดวิเคราะห์
.............. ๑.๕ “ท่านมีความคิดเห็นอย่างไรกับ ลดเวลาเรียน เพิ่มเวลารู้ ที่เป็นนโยบายของ
กระทรวงศึกษาธิการ” คาถามนี้เป็นคาถามการคิดวิเคราะห์
๒. ให้นักเรียนคิดคาถามลงในช่องว่างจานวน ๕ ข้อ ที่เป็นคาถามการคิดวิเคราะห์ (๕ คะแนน)
....................................................................................................................................................................
....................................................................................................................................................................
...................................................................................................................................................................
...................................................................................................................................................................
...................................................................................................................................................................
...................................................................................................................................................................
...................................................................................................................................................................
...................................................................................................................................................................
๑๑
ใบความรู้ ๓
เรื่อง คาถามการคิดวิจารณ์
ตั้งคาถามเพื่อให้เกิดการคิดวิจารณ์
เป็นคาถามที่เน้นความสมบูรณ์ ความถูกต้อง โดยใคร่ครวญอย่างรอบคอบก่อนตอบเป็นความคิดของ
ตนเอง
เป็นคาถามที่ให้ผู้ตอบคิดในเรื่องความสมบูรณ์ ความถูกต้อง ผู้ตอบจะต้องใคร่ครวญอย่างดีก่อนที่จะ
ตอบ
ตัวอย่างคาถามคิดวิจารณ์
ประเทศไทยควรแบ่งเป็น ๒ รัฐ นักเรียนเห็นด้วยหรือไม่ เพราะอะไร
สังคมในปัจจุบันทาให้วัยรุ่นขาดความรับผิดชอบ นักเรียนเห็นด้วยหรือไม่ อย่างไร
การจัดกิจกรรมที่ผ่านมา เราได้บทเรียนอะไรบ้าง เป็นต้น
๑๒
กิจกรรมที่ ๓
เรื่อง คาถามการคิดวิจารณ์
คาชี้แจง ให้นักเรียนตอบคาถามต่อไปนี้ (๑๐ คะแนน)
๑. ให้นักเรียนเขียนคาถามจานวน ๕ ข้อ ลงในช่องว่างของแผนผังความคิด (๕ คะแนน)
..........................................
..........................................
..........................................
........................................
...................................
...................................
...................................
...................................
...................................
.....
........................................
........................................
........................................
........................................
......
........................................
........................................
........................................
........................................
......
........................................
........................................
........................................
........................................
......
๑๓
๒. ให้นักเรียนอ่านข้อความที่ปรากฏด้านล่างนี้แล้วตอบคาถาม (๕ คะแนน)
คิดบวกย่อมได้บวก
“คนมองโลกในแง่ดี มักมีโอกาสดีกว่าคนอื่นเสมอ เพราะเมื่อมองทุกอย่างเป็นบวก ก็ช่วยให้มีสุขภาพจิตดี
ความคิดโปร่งใส ทาอะไรก็ดูจะสบายๆกว่าคนอื่น แต่ที่น่าสนใจก็คือผลจากการวิจัยที่ชี้ให้เห็นว่าคนมองโลกใน
แง่ดียังมีแนวโน้มว่าจะมีอายุยืนยาวกว่าคนอื่นได้ด้วย การวิจัยที่ว่านั้นนากลุ่มคนที่อายุ ๒๐ ปีขึ้นไป ๑ กลุ่มที่มี
ความคิดทางบวก เป็นคนอารมณ์ดี อีกกลุ่มหนึ่ง.ซึม เศร้า ไม่มีความเชื่อมั่นตนเอง ในอีก ๔๐ ปีต่อมา คืออายุ
๖๐ ปีขึ้นไป ปรากฏว่าคนมองโลกในแง่ดีนั้นมีคนที่อายุยืนยาวมากกว่ากลุ่มหลังถึง ๔๒%
คนที่มีความคิดเชิงบวก อารมณ์มักไม่ค่อยแปรปรวน ไม่รู้สึกกระวนกระวาย ในเรื่องจิตวิทยาบอกไว้ว่า คนที่มี
การคิดบวกจะทาให้มีโอกาสมีสุขภาพดี และสุดท้ายตามมาด้วยความสาเร็จและความสุข”
(ที่มา : http://www.kidbuak.com/Good%20idea1.html)
จากข้อความข้างต้นนักเรียนเห็นด้วยหรือไม่กับการมองโลกในแง่ดีแล้วจะทาให้มีอายุที่ยืนยาว มีความสุข และ
ประสบความสาเร็จในการดาเนินชีวิต
...........................................................................................................................................................................
...........................................................................................................................................................................
...........................................................................................................................................................................
...........................................................................................................................................................................
...........................................................................................................................................................................
...........................................................................................................................................................................
...........................................................................................................................................................................
...........................................................................................................................................................................
...........................................................................................................................................................................
...........................................................................................................................................................................
...........................................................................................................................................................................
...........................................................................................................................................................................
...........................................................................................................................................................................
...........................................................................................................................................................................
๑๔
แบบทดสอบหลังเรียน
แบบฝึกทักษะชุดที่ ๑ เรื่อง ความรู้เบื้องต้นการอ่านคิดวิเคราะห์ และวิจารณ์
คาชี้แจง ให้นักเรียนเลือกคาตอบที่ถูกต้องที่สุดเพียงข้อเดียว โดยกาเครื่องหมายกากบาท (X)
ลงในกระดาษคาตอบ
๑. การคิดวิจารณ์หมายความว่าอย่างไร
ก. การแสดงความคิดเห็น
ข. การพิจารณาตัดสินโดยใช้เหตุผล
ค. การพิจารณาตัดสินจากความคิดเห็นส่วนตัว
ง. การไม่เห็นด้วยกับข้อเท็จจริงอย่างมีเหตุผล
๒. การคิดวิเคราะห์มีประโยชน์อย่างไร
ก. มีความสามารถในการสรุปประเด็นสาคัญ
ข. มีความสามารถในการศึกษา การเรียนรู้ และการแสวงหาความรู้
ค. มีทักษะในการสื่อสารที่ดี
ง. มีความคิดขั้นสูง
๓. คาถามเชิงวิเคราะห์ยึดหลักคาถามในลักษณะใด
ก. ใคร ทาอะไร ที่ไหน เมื่อไร อย่างไร ทาไมหรือเพราะเหตุใด
ข. ใคร ทาอะไร ที่ไหน อย่างไร ทาไม
ค. เห็นด้วยหรือไม่เห็นด้วยอย่างไร
ง. เพราะเหตุใด ใช่หรือไม่
๔. การคิดวิเคราะห์ วิจารณ์มีความแตกต่างกันด้านใด
ก. การให้เหตุผล
ข. การพิจารณา
ค. การใช้ความรู้
ง. การใช้ความรู้สึก
๕. การคิดวิเคราะห์หมายความว่าอย่างไร
ก. การคิดจาแนก เปรียบเทียบ
ข. กระบวนการคิดระดับสูง
ค. การคิดเกี่ยวกับข้อเท็จจริง
ง. การคิดอย่างมีเหตุผลโดยใช้ปัญญา
๑๕
๖. การคิดวิเคราะห์มีองค์ประกอบกี่อย่าง อะไรบ้าง
ก. มีองค์ประกอบ ๓ อย่าง คือ ช่างสังเกต ช่างสงสัย และช่างถาม
ข. มีองค์ประกอบ ๓ อย่าง คือ ความสามารถในการตีความ ความรู้ความเข้าใจในเรื่องที่จะวิเคราะห์
และช่างมอง ช่างสังเกต ช่างสงสัย และช่างถาม
ค. มีองค์ประกอบ ๔ อย่าง คือ ความสามารถในการตีความ ความรู้ความเข้าใจในเรื่องที่จะวิเคราะห์
ช่างมอง ช่างสังเกต ช่างสงสัย และช่างถาม และความสามารถในการหาความเชื่อมโยง
ง. มีองค์ประกอบ ๔ อย่าง คือ ช่างมอง ช่างสังเกต ช่างสงสัย และช่างถาม
๗. ข้อใดเป็นคาถามคิดวิจารณ์
ก. การทาขนมเค้กมีขั้นตอนการทาอย่างไรบ้าง
ข. ประเทศไทยมีการคมนาคมกีประเภท อะไรบ้าง
ค. ท่านมีความคิดเห็นอย่างไรกับการเรียนรู้อย่างไม่จากัดกับการท่องโลกอินเทอร์เน็ต
ง. จงบอกวิธีการประหยัดไฟฟ้าที่ได้ผลมาอย่างน้อย ๕ วิธี
๘. “ล้านนาอยู่ทางภาคใดของประเทศไทย และมีจังหวัดใดบ้าง” คาถามนี้เป็นคาถามประเภทใด
ก. คาถามคิดสังเคราะห์
ข. คาถามคิดวิเคราะห์
ค. คาถามคิดวิจารณ์
ง. คาถามคิดสร้างสรรค์
๙. “ท่านเห็นด้วยหรือไม่อย่างไรที่จะนาพลังงานแสงอาทิตย์มาผลิตกระแสไฟฟ้าแทนถ่านหิน และน้ามัน”
คาถามนี้เป็นคาถามประเภทใด
ก. คาถามคิดสังเคราะห์
ข. คาถามคิดวิเคราะห์
ค. คาถามคิดวิจารณ์
ง. คาถามคิดสร้างสรรค์
๑๐. ข้อใดไม่ใช่คาถามการคิดวิเคราะห์
ก. วงจรชีวิตของกบ กับผีเสื้อ เหมือนกันหรือไม่อย่างไร
ข. ๑๒ เมืองต้องห้ามพลาด ในด้านการท่องเที่ยวที่ได้รับประกาศจาก ททท. ประกอบด้วย
จังหวัดอะไรบ้าง
ค. เพราะเหตุใดประเพณีการลงแขกจึงจางหายไปจากสังคมเมือง
ง. หนึ่งตาบลหนึ่งผลิตภัณฑ์สร้างรายได้ให้กับประชาชนในชุมชนได้อย่างยั่งยืนหรือไม่
๑๖
ภาคผนวก
เฉลยแบบทดสอบก่อนเรียน
แบบฝึกทักษะชุดที่ ๑ เรื่อง ความรู้เบื้องต้นการอ่านคิดวิเคราะห์ และวิจารณ์
ข้อที่ คาตอบ
๑ ข
๒ ง
๓ ก
๔ ข
๕ ค
๖ ก
๗ ง
๘ ค
๙ ข
๑๐ ค
๑๘
แนวการตอบ กิจกรรมที่ ๑
เรื่อง การคิดวิเคราะห์ และวิจารณ์
๑. คิดวิเคราะห์มีความสาคัญอย่างไร
ตอบ คิดวิเคราะห์ มีความสาคัญทาให้ผู้เรียนมีความสามารถในการเรียนรู้ มีความสามารถด้าน
สติปัญญาและการดาเนินชีวิต
๒. คิดวิเคราะห์มีประโยชน์อย่างไร
ตอบ คิดวิเคราะห์มีประโยชน์ต่อการแสวงหาความรู้ การเรียนรู้ การคิดวิเคราะห์อย่างมีเหตุผล
ในการที่จะรับรู้ เป็นพื้นฐานการนาไปสู่การเป็นผู้มีคุณธรรม จริยธรรม มีความสามารถในการจาแนก
เปรียบเทียบ การประเมินค่า มีความคิดรวบยอด มีทักษะการแก้ปัญหา มีเหตุผลในการเลือกปฏิบัติในสิ่งที่
เหมาะสมที่ถูกต้อง และมีความสามารถในการคิดริเริ่มสร้างสรรค์ มีความสามารถในการศึกษา ทาให้การเรียนรู้
ได้อย่างมีประสิทธิภาพ
๓. คิดวิเคราะห์ และวิจารณ์ มีความหมายว่าอย่างไร และมีความเหมือน หรือแตกต่างกันอย่างไร
ตอบ คิดวิเคราะห์ หมายถึง การคิดโดยพิจารณา จาแนก แยกแยะ ไตร่ตรอง ใคร่ครวญ แจกแจง
ส่วนประกอบ ในเรื่องราวหรือสถานการณ์ และหาความสัมพันธ์ที่เชื่อมโยงกันในเรื่องราว หรือสถานการณ์โดย
ใช้ความรู้ ความคิดอย่างมีเหตุผลเพื่อนาไปสู่ข้อสรุปที่เป็นไปได้ การคิดวิจารณ์ หมายถึง การคิดเพื่อพิจารณา
ข้อเท็จจริง หรือสภาพการณ์ต่าง ๆ ว่าถูกหรือผิดอย่างมีเหตุผลโดยอาศัยความรู้ ประสบการณ์ และความรู้สึก
๔. คิดวิเคราะห์ และวิจารณ์ มีความเหมือน หรือแตกต่างกันอย่างไร
ตอบ คิดวิเคราะห์ และวิจารณ์ มีความเหมือนกัน คือใช้ความคิดจากความรู้ และประสบการณ์ มา
เป็นเหตุและผลในการพิจารณา มีความแตกต่างกัน คือ คิดวิเคราะห์เป็นการจาแนก แยกแยะ และหา
ความสัมพันธ์ของสถานการณ์หรือเหตุการณ์ และไม่ใช้ความรู้สึกมาพิจารณา แต่คิดวิจารณ์เป็นการตัดสิน หรือ
พิจารณาที่ใช้ความรู้สึกเข้ามาเกี่ยวข้องนอกเหนือจากความรู้ ประสบการณ์
๕. ความสามารถในการคิดวิเคราะห์ประกอบด้วยองค์ประกอบอะไรบ้าง พร้อมทั้งอธิบายประกอบสั้น ๆ
ให้ได้ใจความ
ตอบ ความสามารถคิดวิเคราะห์ประกอบด้วย ๑) ความสามารถในการตีความ โดยต้องทาความเข้าใจ
ในข้อมูล เหตุการณ์ สถานการณ์ หรือสิ่งที่เราต้องการวิเคราะห์ ซึ่งอาจมีข้อมูลบางอย่างไม่ปรากฎความชัดเจน
หรือไม่บอกมาโดยตรงเป็นการแฝงซ่อนอยู่ การตีความจะขึ้นอยู่กับความรู้ ประสบการณ์ ภูมิหลัง และค่านิยม
๒) ความรู้ ความเข้าใจในเรื่องที่จะวิเคราะห์ข้อมูล การวิเคราะห์จาเป็นที่จะต้องมีความรู้ความเข้าใจในเรื่องที่
จะวิเคราะห์ ทาให้เกิดประสิทธิภาพในการวิเคราะห์ และความรู้จะเป็นสิ่งกาหนดขอบเขต การจาแนก
แยกแยะ และการหาความสัมพันธ์กัน ๓) ช่างมอง ช่างสังเกต ช่างสงสัย และช่างถาม เพราะบางครั้งอาจมีสิ่ง
ผิดปกติอยู่ในข้อมูล เหตุการณ์ หรือสถานการณ์ หากพบสิ่งผิดปกติควรที่จะหยุดเพื่อพิจารณา ไตร่ตรอง ขบคิด
และค้นหาข้อเท็จจริง ด้วยความสงสัย และความเป็นคนช่างถาม ด้วยการตั้งคาถามให้กับตัวเองเพื่อการสืบ
เสาะหาความเป็นจริง หรือข้อเท็จจริงในสิ่งที่จะวิเคราะห์ ในหลักของคาถามที่ว่า ใคร ทาอะไร ที่ไหน เมื่อไร
อย่างไร และเพราะอะไร ๔) ความสามารถในการหาความเชื่อมโยง ความสัมพันธ์เชิงเหตุผล สาหรับการค้นหา
คาตอบหรือข้อสรุปว่าสิ่งที่คิดมีความเกี่ยวข้องกับเรื่องใด และเกี่ยวข้องอย่างไร
๑๙
แนวการตอบ กิจกรรมที่ ๒
เรื่อง คาถามการคิดวิเคราะห์
๑. ใส่เครื่องหมายถูก ( ) หน้าข้อที่เห็นว่าถูก ใส่เครื่องหมายผิด ( ) หน้าข้อที่เห็นว่าผิด
......... ๑.๑ คาถามการวิเคราะห์แสดงถึงการเปรียบเทียบ การจาแนก และความสัมพันธ์
......... ๑.๒ คาถามการวิเคราะห์เป็นคาถามแสดงความคิดเห็น
......... ๑.๓ “ทาไมเทคโนโลยีถึงมีอิทธิพลต่อการดารงชีวิตในยุคปัจจุบัน” คาถามนี้เป็นคาถาม
การคิดวิเคราะห์
......... ๑.๔ “สภาพภูมิศาสตร์ของประเทศไทยแต่ละภาคมีความแตกต่างกันอย่างไรบ้าง”
คาถามนี้เป็นคาถามการคิดวิเคราะห์
......... ๑.๕ “ท่านมีความคิดเห็นอย่างไรกับ ลดเวลาเรียน เพิ่มเวลารู้ ที่เป็นนโยบายของ
กระทรวงศึกษาธิการ” คาถามนี้เป็นคาถามการคิดวิเคราะห์
๒. ให้นักเรียนคิดคาถามลงในช่องว่างจานวน ๕ ข้อ ที่เป็นคาถามการคิดวิเคราะห์
๑. ประชาคมอาเซ๊ยนประกอบด้วยประเทศอะไรบ้าง
๒. มีวิธีการใดบ้างที่จะลดภาวะโลกร้อนได้
๓. วิถีชีวิตของชุมชนเมือง และชุมชนชนบทแตกต่างกันหรือไม่ อย่างไร
๔. ทาไมครอบครัวจึงเป็นปัจจัยสาคัญในการป้องกันปัญหาของสังคมได้
๕. คาว่า “กระดูกสันหลังของประเทศไทย” หมายถึงใคร และมีส่วนสาคัญอย่างไรกับประเทศไทย
๒๐
แนวการตอบ กิจกรรมที่ ๓
เรื่อง คาถามการคิดวิจารณ์
๑. ให้นักเรียนเขียนคาถามจานวน ๕ ข้อ ลงในช่องว่างของแผนผังความคิด
ท่านมีความคิดเห็น
อย่างไรกับภัยแล้งที่
ประเทศไทยประสบ
ปัญหาในขณนี้
ท่านมีความเห็นอย่างไรกับ
ความเท่าเทียมกันของหญิง
และชายในปัจจุบัน ไม่ว่าจะ
ด้านการทางาน ครอบครัว
และสังคม รวมทั้ง การเมืองท่านเห็นด้วยหรือไม่อย่างไร
กับ “การลดเวลาเรียน เพิ่ม
เวลารู้” ที่เป็นนโยบายของ
กระทรวงศึกษาธิการ
ท่านมีความคิดเห็น
อย่างไรกับการเลี้ยงดู
ของพ่อแม่ตามสานวน
สุภาษิตที่ว่า “รักวัวให้
ผูก รักลูกให้ตี”
ท่านมีความคิดเห็น
อย่างไรกับการก้าวสู่
ประชาคมอาเซียนของ
ประเทศไทย
๒๑
๒. ให้นักเรียนอ่านข้อความที่ปรากฏด้านล่างนี้แล้วตอบคาถาม
คิดบวกย่อมได้บวก
“คนมองโลกในแง่ดี มักมีโอกาสดีกว่าคนอื่นเสมอ เพราะเมื่อมองทุกอย่างเป็นบวก ก็ช่วยให้มีสุขภาพจิตดี
ความคิดโปร่งใส ทาอะไรก็ดูจะสบาย ๆ กว่าคนอื่น แต่ที่น่าสนใจก็คือผลจากการวิจัยที่ชี้ให้เห็นว่าคนมองโลก
ในแง่ดียังมีแนวโน้มว่าจะมีอายุยืนยาวกว่าคนอื่นได้ด้วย การวิจัยที่ว่านั้นนากลุ่มคนที่อายุ ๒๐ ปีขึ้นไป ๑ กลุ่ม
ที่มีความคิดทางบวก เป็นคนอารมณ์ดี อีกกลุ่มหนึ่ง.ซึม เศร้า ไม่มีความเชื่อมั่นตนเอง ในอีก ๔๐ ปีต่อมา คือ
อายุ ๖๐ ปีขึ้นไป ปรากฏว่าคนมองโลกในแง่ดีนั้นมีคนที่อายุยืนยาวมากกว่ากลุ่มหลังถึง ๔๒%
คนที่มีความคิดเชิงบวก อารมณ์มักไม่ค่อยแปรปรวน ไม่รู้สึกกระวนกระวาย ในเรื่องจิตวิทยาบอกไว้ว่า คนที่มี
การคิดบวกจะทาให้มีโอกาสมีสุขภาพดี และสุดท้ายตามมาด้วยความสาเร็จและความสุข”
(ที่มา : http://www.kidbuak.com/Good%20idea1.html)
จากข้อความข้างต้นนักเรียนเห็นด้วยหรือไม่กับการมองโลกในแง่ดีแล้วจะทาให้มีอายุที่ยืนยาว มีความสุข และ
ประสบความสาเร็จในการดาเนินชีวิต
ตอบ ข้าพเจ้าเห็นด้วยกับการที่คนเรามองโลกแง่ดี จะทาให้มีความสุขเพราะเป็นคนมีจิตใจที่ดีงาม มี
ความสดชื่นในใจ แจ่มใส มีสุขภาพจิตที่ดี ไม่เกิดความขุ่นมัวในใจ ไม่นาเรื่องราวไม่ดีของคนอื่นที่เข้ามากระทบ
กับตนเองมาเป็นสิ่งที่ทาให้เกิดความทุกข์ใจ ไม่เกิดความเครียด จึงทาให้การดารงชีวิตมีแต่ความสุข ไม่รังเกียจ
ผู้อื่น ไม่ทาร้ายผู้อื่น มีแต่ความปรารถนาดีให้ผู้อื่น อยู่ร่วมกับผู้อื่นได้อย่างมีความสุข แต่การที่จะทาให้อายุ
ยืนยาวได้นั้นมีองค์ประกอบมากมายที่สาคัญนอกจากสภาพจิตใจที่มองโลกแง่ดีแล้ว จะอยู่ที่การดูแลสุขภาพ
รวมทั้งโรคบางอย่างเราไม่อาจห้ามได้จากกรรมพันธุ์โดยเฉพาะโรคมะเร็ง ฉะนั้น การมองโลกแง่ดีทาให้อายุ
ยืนยาวประเด็นนี้ไม่เห็นด้วยเพราะมีปัจจัยอื่นสนับสนุนร่วมด้วย
๒๒
เฉลยแบบทดสอบหลังเรียน
แบบฝึกทักษะชุดที่ ๑ เรื่อง ความรู้เบื้องต้นการอ่านคิดวิเคราะห์ และวิจารณ์
ข้อที่ คาตอบ
๑ ข
๒ ข
๓ ก
๔ ง
๕ ก
๖ ค
๗ ค
๘ ข
๙ ค
๑๐ ง
๒๓
บรรณานุกรม
เกรียงศักดิ์ เจริญวงศ์ศักดิ์. (๒๕๕๕). การคิดเชิงวิพากษ์. พิมพ์ครั้งที่ ๙. กรุงเทพฯ : ซัคเซส มีเดีย จากัด.
คณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน, สานักงาน. (๒๕๕๒). หนังสือเรียน รายวิชพื้นฐาน ภาษาไทย
หลักภาษา และการใช้ภาษาเพื่อการสื่อสาร ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ ๔. กรุงเทพฯ : โรงพิมพ์ สกสค.
ลาดพร้าว.
________. (๒๕๕๓). หนังสือเรียน รายวิชพื้นฐาน ภาษาไทย หลักภาษา และการใช้ภาษาเพื่อการสื่อสาร
ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ ๕. กรุงเทพฯ : โรงพิมพ์ สกสค. ลาดพร้าว.
________. (๒๕๕๔). หนังสือเรียน รายวิชพื้นฐาน ภาษาไทย หลักภาษา และการใช้ภาษาเพื่อการสื่อสาร
ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ ๖. กรุงเทพฯ : โรงพิมพ์ สกสค. ลาดพร้าว.
ฆนัท ธาตุทอง. (๒๕๕๔). สอนคิด : การจัดการเรียนรู้เพื่อพัฒนาการคิด. พิมพ์ครั้งที่ ๒. กรุงเทพฯ :
เพชรเกษมการพิมพ์.
ชัยวัฒน์ สุทธิรัตน์. (๒๕๕๕). เทคนิคการใช้คาถามพัฒนาการคิด. กรุงเทพฯ : วีพรินท์ (๑๙๙๑)
ประพันธ์ศิริ สุเสารัจ. (๒๕๕๖). การพัฒนาการคิด (พิมพ์ครั้งที่ ๕ ฉบับปรับปรุงใหม่). กรุงเทพฯ :
โรงพิมพ์ห้างหุ้นส่วนจากัด ๙๑๑๙ เทคนิคพริ้นติ้ง.
วีระ สุดสังข์. (๒๕๕๐). การคิดวิเคราะห์ คิดอย่างมีวิจารณญาณ และคิดสร้างสรรค์. กรุงเทพฯ :
สุวีริยาสาส์น.
สุวัฒน์ วิวัฒนานนท์. (๒๕๕๑). ทักษะการอ่าน คิดวิเคราะห์ และเขียน. พิมพ์ครั้งที่ ๒. กรุงเทพฯ :
เฟื่องฟ้า.
๒๔

Contenu connexe

Tendances

แบบทดสอบหลังเรียนเรื่องบทนมัสการมาตาปิตุคุณและอาจาริยคุณ_ม.4
แบบทดสอบหลังเรียนเรื่องบทนมัสการมาตาปิตุคุณและอาจาริยคุณ_ม.4แบบทดสอบหลังเรียนเรื่องบทนมัสการมาตาปิตุคุณและอาจาริยคุณ_ม.4
แบบทดสอบหลังเรียนเรื่องบทนมัสการมาตาปิตุคุณและอาจาริยคุณ_ม.4
Sivagon Soontong
 
ข้อสอบอ่านจับใจความสำคัญ ป.6
ข้อสอบอ่านจับใจความสำคัญ ป.6ข้อสอบอ่านจับใจความสำคัญ ป.6
ข้อสอบอ่านจับใจความสำคัญ ป.6
sapatchanook
 
แบบบันทึกการศึกษาแหล่งเรียนรู้
แบบบันทึกการศึกษาแหล่งเรียนรู้แบบบันทึกการศึกษาแหล่งเรียนรู้
แบบบันทึกการศึกษาแหล่งเรียนรู้
เทวัญ ภูพานทอง
 
แบบฝึกทักษะการอ่านเชิงวิเคราะห์ ๑
แบบฝึกทักษะการอ่านเชิงวิเคราะห์ ๑แบบฝึกทักษะการอ่านเชิงวิเคราะห์ ๑
แบบฝึกทักษะการอ่านเชิงวิเคราะห์ ๑
bangonchin
 
สารพันเลือกสรรตีความ
สารพันเลือกสรรตีความสารพันเลือกสรรตีความ
สารพันเลือกสรรตีความ
พัน พัน
 
แบบทดสอบมัทนะพาธา
แบบทดสอบมัทนะพาธาแบบทดสอบมัทนะพาธา
แบบทดสอบมัทนะพาธา
krudow14
 
โวหารในการเขียน
โวหารในการเขียนโวหารในการเขียน
โวหารในการเขียน
krubuatoom
 
หน่วยที่ 5 การวางโครงเรื่องของเรียงความ
หน่วยที่ 5 การวางโครงเรื่องของเรียงความหน่วยที่ 5 การวางโครงเรื่องของเรียงความ
หน่วยที่ 5 การวางโครงเรื่องของเรียงความ
ขนิษฐา ทวีศรี
 
บทสวดมนต์แปลภาษาไทยและภาษาอังกฤษ 7 บทสำหรับแข่งทักษะ
บทสวดมนต์แปลภาษาไทยและภาษาอังกฤษ 7 บทสำหรับแข่งทักษะบทสวดมนต์แปลภาษาไทยและภาษาอังกฤษ 7 บทสำหรับแข่งทักษะ
บทสวดมนต์แปลภาษาไทยและภาษาอังกฤษ 7 บทสำหรับแข่งทักษะ
อุษณีษ์ ศรีสม
 
ร่ายสุภาพ
ร่ายสุภาพร่ายสุภาพ
ร่ายสุภาพ
khorntee
 

Tendances (20)

แบบสอบถามความพึงพอใจ
แบบสอบถามความพึงพอใจแบบสอบถามความพึงพอใจ
แบบสอบถามความพึงพอใจ
 
แบบทดสอบหลังเรียนเรื่องบทนมัสการมาตาปิตุคุณและอาจาริยคุณ_ม.4
แบบทดสอบหลังเรียนเรื่องบทนมัสการมาตาปิตุคุณและอาจาริยคุณ_ม.4แบบทดสอบหลังเรียนเรื่องบทนมัสการมาตาปิตุคุณและอาจาริยคุณ_ม.4
แบบทดสอบหลังเรียนเรื่องบทนมัสการมาตาปิตุคุณและอาจาริยคุณ_ม.4
 
ข้อสอบอ่านจับใจความสำคัญ ป.6
ข้อสอบอ่านจับใจความสำคัญ ป.6ข้อสอบอ่านจับใจความสำคัญ ป.6
ข้อสอบอ่านจับใจความสำคัญ ป.6
 
แบบฝึกการอ่านชุดที่ 1
แบบฝึกการอ่านชุดที่ 1แบบฝึกการอ่านชุดที่ 1
แบบฝึกการอ่านชุดที่ 1
 
การอ่านแปลความ ตีความและขยายความ
การอ่านแปลความ ตีความและขยายความการอ่านแปลความ ตีความและขยายความ
การอ่านแปลความ ตีความและขยายความ
 
คำกล่าวเปิดค่ายจริยธรรม
คำกล่าวเปิดค่ายจริยธรรมคำกล่าวเปิดค่ายจริยธรรม
คำกล่าวเปิดค่ายจริยธรรม
 
คำขอขมาพระอาจารย์และครูอาจารย์
คำขอขมาพระอาจารย์และครูอาจารย์คำขอขมาพระอาจารย์และครูอาจารย์
คำขอขมาพระอาจารย์และครูอาจารย์
 
แบบฝึกทักษะเรื่องคำสมาสสนธิ
แบบฝึกทักษะเรื่องคำสมาสสนธิแบบฝึกทักษะเรื่องคำสมาสสนธิ
แบบฝึกทักษะเรื่องคำสมาสสนธิ
 
แบบบันทึกการศึกษาแหล่งเรียนรู้
แบบบันทึกการศึกษาแหล่งเรียนรู้แบบบันทึกการศึกษาแหล่งเรียนรู้
แบบบันทึกการศึกษาแหล่งเรียนรู้
 
แบบฝึกทักษะการอ่านเชิงวิเคราะห์ ๑
แบบฝึกทักษะการอ่านเชิงวิเคราะห์ ๑แบบฝึกทักษะการอ่านเชิงวิเคราะห์ ๑
แบบฝึกทักษะการอ่านเชิงวิเคราะห์ ๑
 
สารพันเลือกสรรตีความ
สารพันเลือกสรรตีความสารพันเลือกสรรตีความ
สารพันเลือกสรรตีความ
 
แบบรายงานผลการปฏิบัติงาน ผอ.ณัฏฐ์ดนัย รุ่งกลิ่นขจรกุล
แบบรายงานผลการปฏิบัติงาน ผอ.ณัฏฐ์ดนัย รุ่งกลิ่นขจรกุล แบบรายงานผลการปฏิบัติงาน ผอ.ณัฏฐ์ดนัย รุ่งกลิ่นขจรกุล
แบบรายงานผลการปฏิบัติงาน ผอ.ณัฏฐ์ดนัย รุ่งกลิ่นขจรกุล
 
แบบฝึกเสริมทักษะการอ่านจับใจความชั้นป.3
แบบฝึกเสริมทักษะการอ่านจับใจความชั้นป.3แบบฝึกเสริมทักษะการอ่านจับใจความชั้นป.3
แบบฝึกเสริมทักษะการอ่านจับใจความชั้นป.3
 
แบบทดสอบมัทนะพาธา
แบบทดสอบมัทนะพาธาแบบทดสอบมัทนะพาธา
แบบทดสอบมัทนะพาธา
 
โวหารในการเขียน
โวหารในการเขียนโวหารในการเขียน
โวหารในการเขียน
 
หน่วยที่ 5 การวางโครงเรื่องของเรียงความ
หน่วยที่ 5 การวางโครงเรื่องของเรียงความหน่วยที่ 5 การวางโครงเรื่องของเรียงความ
หน่วยที่ 5 การวางโครงเรื่องของเรียงความ
 
แบบประเมินทักษะกระบวนการ
แบบประเมินทักษะกระบวนการแบบประเมินทักษะกระบวนการ
แบบประเมินทักษะกระบวนการ
 
บทอาขยาน ภาษาไทย ม.๓
บทอาขยาน ภาษาไทย ม.๓บทอาขยาน ภาษาไทย ม.๓
บทอาขยาน ภาษาไทย ม.๓
 
บทสวดมนต์แปลภาษาไทยและภาษาอังกฤษ 7 บทสำหรับแข่งทักษะ
บทสวดมนต์แปลภาษาไทยและภาษาอังกฤษ 7 บทสำหรับแข่งทักษะบทสวดมนต์แปลภาษาไทยและภาษาอังกฤษ 7 บทสำหรับแข่งทักษะ
บทสวดมนต์แปลภาษาไทยและภาษาอังกฤษ 7 บทสำหรับแข่งทักษะ
 
ร่ายสุภาพ
ร่ายสุภาพร่ายสุภาพ
ร่ายสุภาพ
 

En vedette

การจัดการเรียนรู้ตามแนวคิดคอนสตรัคติวิสต์
การจัดการเรียนรู้ตามแนวคิดคอนสตรัคติวิสต์การจัดการเรียนรู้ตามแนวคิดคอนสตรัคติวิสต์
การจัดการเรียนรู้ตามแนวคิดคอนสตรัคติวิสต์
Fern's Supakyada
 
แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 2
แผนการจัดการเรียนรู้ที่   2แผนการจัดการเรียนรู้ที่   2
แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 2
kruruttika
 
แผนการจัดการาเรียนรู้ที่ 1
แผนการจัดการาเรียนรู้ที่  1แผนการจัดการาเรียนรู้ที่  1
แผนการจัดการาเรียนรู้ที่ 1
kruruttika
 
คำทับศัพท์
คำทับศัพท์คำทับศัพท์
คำทับศัพท์
phornphan1111
 
งานนำเสนอ1ภาษาไทย(ประโยคความรวม) (2)
งานนำเสนอ1ภาษาไทย(ประโยคความรวม) (2)งานนำเสนอ1ภาษาไทย(ประโยคความรวม) (2)
งานนำเสนอ1ภาษาไทย(ประโยคความรวม) (2)
Nongkran Jarurnphong
 
ประโยคตามเจตนา 7
ประโยคตามเจตนา 7ประโยคตามเจตนา 7
ประโยคตามเจตนา 7
Nongkran Jarurnphong
 
ชนิดของประโยคแบ่งตามเจตนา ๕ ๙
ชนิดของประโยคแบ่งตามเจตนา ๕ ๙ชนิดของประโยคแบ่งตามเจตนา ๕ ๙
ชนิดของประโยคแบ่งตามเจตนา ๕ ๙
Nongkran Jarurnphong
 
ประโยคความรวม กลุ่ม๓
ประโยคความรวม กลุ่ม๓ประโยคความรวม กลุ่ม๓
ประโยคความรวม กลุ่ม๓
Nongkran Jarurnphong
 

En vedette (12)

ชุดกิจกรรม ๒ การคิดวิเคราะห์ บทความ
ชุดกิจกรรม ๒ การคิดวิเคราะห์ บทความชุดกิจกรรม ๒ การคิดวิเคราะห์ บทความ
ชุดกิจกรรม ๒ การคิดวิเคราะห์ บทความ
 
การจัดการเรียนรู้ตามแนวคิดคอนสตรัคติวิสต์
การจัดการเรียนรู้ตามแนวคิดคอนสตรัคติวิสต์การจัดการเรียนรู้ตามแนวคิดคอนสตรัคติวิสต์
การจัดการเรียนรู้ตามแนวคิดคอนสตรัคติวิสต์
 
แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 2
แผนการจัดการเรียนรู้ที่   2แผนการจัดการเรียนรู้ที่   2
แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 2
 
แผนการจัดการาเรียนรู้ที่ 1
แผนการจัดการาเรียนรู้ที่  1แผนการจัดการาเรียนรู้ที่  1
แผนการจัดการาเรียนรู้ที่ 1
 
คำทับศัพท์
คำทับศัพท์คำทับศัพท์
คำทับศัพท์
 
กลุ่มที่ ๑
กลุ่มที่ ๑กลุ่มที่ ๑
กลุ่มที่ ๑
 
งานนำเสนอ1ภาษาไทย(ประโยคความรวม) (2)
งานนำเสนอ1ภาษาไทย(ประโยคความรวม) (2)งานนำเสนอ1ภาษาไทย(ประโยคความรวม) (2)
งานนำเสนอ1ภาษาไทย(ประโยคความรวม) (2)
 
ประโยคตามเจตนา 7
ประโยคตามเจตนา 7ประโยคตามเจตนา 7
ประโยคตามเจตนา 7
 
ชนิดของประโยคแบ่งตามเจตนา ๕ ๙
ชนิดของประโยคแบ่งตามเจตนา ๕ ๙ชนิดของประโยคแบ่งตามเจตนา ๕ ๙
ชนิดของประโยคแบ่งตามเจตนา ๕ ๙
 
กลุ่มที่ ๒
กลุ่มที่ ๒กลุ่มที่ ๒
กลุ่มที่ ๒
 
Flickr
FlickrFlickr
Flickr
 
ประโยคความรวม กลุ่ม๓
ประโยคความรวม กลุ่ม๓ประโยคความรวม กลุ่ม๓
ประโยคความรวม กลุ่ม๓
 

Similaire à แบบฝึกทักษะการอ่านคิดวิเคราะห์ และวิจารณ์ กลุ่มสาระการเรียนรู้ภาษาไทย ชั้นมัธยมศึกษาปีท

เล่มที่ 1 สืบค้น วิเคราะห์ เจาะข่าว
เล่มที่ 1 สืบค้น วิเคราะห์ เจาะข่าวเล่มที่ 1 สืบค้น วิเคราะห์ เจาะข่าว
เล่มที่ 1 สืบค้น วิเคราะห์ เจาะข่าว
นิตยา ทองดียิ่ง
 
วิจัยชั้นเรียน ดอยเต่า
วิจัยชั้นเรียน ดอยเต่าวิจัยชั้นเรียน ดอยเต่า
วิจัยชั้นเรียน ดอยเต่า
NDuangkaew
 
Research 1333352020 pichai
Research 1333352020 pichaiResearch 1333352020 pichai
Research 1333352020 pichai
little-pig
 
หลักสูตร51สู่ห้องเรียน
หลักสูตร51สู่ห้องเรียนหลักสูตร51สู่ห้องเรียน
หลักสูตร51สู่ห้องเรียน
Pitima Boonprasit
 
Unlicensed-นวัตกรรมช่วยสอน
 Unlicensed-นวัตกรรมช่วยสอน Unlicensed-นวัตกรรมช่วยสอน
Unlicensed-นวัตกรรมช่วยสอน
kuneena
 
นวัฒกรรมช่วยสอน
นวัฒกรรมช่วยสอนนวัฒกรรมช่วยสอน
นวัฒกรรมช่วยสอน
kuneena
 
บทที่ 2วิจัยการอ่าน
บทที่ 2วิจัยการอ่านบทที่ 2วิจัยการอ่าน
บทที่ 2วิจัยการอ่าน
Kanjana Pothinam
 

Similaire à แบบฝึกทักษะการอ่านคิดวิเคราะห์ และวิจารณ์ กลุ่มสาระการเรียนรู้ภาษาไทย ชั้นมัธยมศึกษาปีท (20)

4 บทความ
4 บทความ4 บทความ
4 บทความ
 
การอ่านอย่างมีวิจารณญาณฯ
การอ่านอย่างมีวิจารณญาณฯการอ่านอย่างมีวิจารณญาณฯ
การอ่านอย่างมีวิจารณญาณฯ
 
เล่มที่ 1 สืบค้น วิเคราะห์ เจาะข่าว
เล่มที่ 1 สืบค้น วิเคราะห์ เจาะข่าวเล่มที่ 1 สืบค้น วิเคราะห์ เจาะข่าว
เล่มที่ 1 สืบค้น วิเคราะห์ เจาะข่าว
 
นวัตกรรม
นวัตกรรมนวัตกรรม
นวัตกรรม
 
วิจัยชั้นเรียน ดอยเต่า
วิจัยชั้นเรียน ดอยเต่าวิจัยชั้นเรียน ดอยเต่า
วิจัยชั้นเรียน ดอยเต่า
 
Pan14
Pan14Pan14
Pan14
 
Unit3
Unit3Unit3
Unit3
 
Research 1333352020 pichai
Research 1333352020 pichaiResearch 1333352020 pichai
Research 1333352020 pichai
 
การเขียนโครงการวิจัยปฏิบัติการในชั้นเรียน
การเขียนโครงการวิจัยปฏิบัติการในชั้นเรียนการเขียนโครงการวิจัยปฏิบัติการในชั้นเรียน
การเขียนโครงการวิจัยปฏิบัติการในชั้นเรียน
 
หลักสูตร51สู่ห้องเรียน
หลักสูตร51สู่ห้องเรียนหลักสูตร51สู่ห้องเรียน
หลักสูตร51สู่ห้องเรียน
 
บทคัดย่่อครูวรินทร
บทคัดย่่อครูวรินทรบทคัดย่่อครูวรินทร
บทคัดย่่อครูวรินทร
 
Surapol3
Surapol3Surapol3
Surapol3
 
Expand
ExpandExpand
Expand
 
Unlicensed-นวัตกรรมช่วยสอน
 Unlicensed-นวัตกรรมช่วยสอน Unlicensed-นวัตกรรมช่วยสอน
Unlicensed-นวัตกรรมช่วยสอน
 
นวัฒกรรมช่วยสอน
นวัฒกรรมช่วยสอนนวัฒกรรมช่วยสอน
นวัฒกรรมช่วยสอน
 
นวัตกรรมช่วยสอน
นวัตกรรมช่วยสอนนวัตกรรมช่วยสอน
นวัตกรรมช่วยสอน
 
บทที่ 2วิจัยการอ่าน
บทที่ 2วิจัยการอ่านบทที่ 2วิจัยการอ่าน
บทที่ 2วิจัยการอ่าน
 
งานส่งคศ.3
งานส่งคศ.3งานส่งคศ.3
งานส่งคศ.3
 
แบบฝึกเสริมทักษะการอ่าน การเรียนรู้คำศัพท์ภาษาอังกฤษ (Introductory Stories)
แบบฝึกเสริมทักษะการอ่าน การเรียนรู้คำศัพท์ภาษาอังกฤษ (Introductory Stories)แบบฝึกเสริมทักษะการอ่าน การเรียนรู้คำศัพท์ภาษาอังกฤษ (Introductory Stories)
แบบฝึกเสริมทักษะการอ่าน การเรียนรู้คำศัพท์ภาษาอังกฤษ (Introductory Stories)
 
เรียนดีมีคุณธรรมก้าวนำเทคโนโลยี(Cornell Note Style)
เรียนดีมีคุณธรรมก้าวนำเทคโนโลยี(Cornell Note Style)เรียนดีมีคุณธรรมก้าวนำเทคโนโลยี(Cornell Note Style)
เรียนดีมีคุณธรรมก้าวนำเทคโนโลยี(Cornell Note Style)
 

แบบฝึกทักษะการอ่านคิดวิเคราะห์ และวิจารณ์ กลุ่มสาระการเรียนรู้ภาษาไทย ชั้นมัธยมศึกษาปีท

  • 1. แบบฝึกทักษะการอ่านคิดวิเคราะห์ และวิจารณ์ กลุ่มสาระการเรียนรู้ภาษาไทย ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ ๔ ชุดที่ ๑ ความรู้เบื้องต้นการอ่านคิดวิเคราะห์และวิจารณ์ นางบุปผา ฮาวกองแก้ว โรงเรียนเมืองมายวิทยา ตาบลบ้านแลง อาเภอเมืองลาปาง จังหวัดลาปาง สานักงานเขตพื้นที่การศึกษามัธยมศึกษา เขต ๓๕ สานักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน กระทรวงศึกษาธิการ
  • 2. คานา แบบฝึกทักษะการอ่านคิดวิเคราะห์ และวิจารณ์ ของนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ ๔ ชุดที่ ๑ ความรู้ เบื้องต้น การอ่านคิดวิเคราะห์ และวิจารณ์ ได้จัดทาขึ้นเพื่อใช้ในการฝึกทักษะด้านการอ่านคิดวิเคราะห์ และ วิจารณ์ ซึ่งจะทาให้นักเรียนสามารถคิดวิเคราะห์ วิจารณ์ได้อย่างถูกต้อง ชัดเจน และสมเหตุสมผล สามารถนา ความรู้ ความเข้าใจ ความคิด และประสบการณ์ที่ได้รับไปใช้ให้เกิดประโยชน์ด้านการเรียน และนาไป ประยุกต์ใช้ในชีวิตประจาวัน ซึ่งนักเรียนสามารถศึกษาได้ด้วยตนเอง เกิดความสุข สนุกสนาน เพลิดเพลิน มีความสามารถในการคิด รู้จักคิดเป็น และมีความภูมิใจในผลงานของตนเอง ตลอดจนครูผู้สอนยังสามารถ นามาใช้ทบทวน และสอนซ่อมเสริมนักเรียนที่มีปัญหาด้านทักษะการคิดวิเคราะห์ และวิจารณ์ได้ ผู้จัดทาหวังเป็นอย่างยิ่งว่าแบบฝึกทักษะการคิดวิเคราะห์ และวิจารณ์เล่มนี้ จะเป็นประโยชน์และช่วย พัฒนาทักษะการคิดชั้นสูงของนักเรียนได้เป็นอย่างดี นางบุปผา ฮาวกองแก้ว ครูชานาญการ โรงเรียนเมืองมายวิทยา ก
  • 3. สารบัญ เรื่อง หน้า คานา ก สารบัญ ข คาชี้แจงสาหรับครู ๑ คาชี้แจงสาหรับนักเรียน ๒ จุดประสงค์การเรียนรู้ ๓ แบบทดสอบก่อนเรียน แบบฝึกทักษะชุดที่ ๑ เรื่อง ความรู้เบื้องต้นการอ่านคิดวิเคราะห์ และวิจารณ์ ๔ ใบความรู้ ๑ เรื่องการคิดวิเคราะห์ และวิจารณ์ ๖ กิจกรรมที่ ๑ เรื่องการคิดวิเคราะห์ และวิจารณ์ ๙ ใบความรู้ ๒ เรื่องคาถามการคิดวิเคราะห์ ๑๐ กิจกรรมที่ ๒ เรื่องคาถามการคิดวิเคราะห์ ๑๑ ใบความรู้ ๓ เรื่องคาถามการคิดวิจารณ์ ๑๒ กิจกรรมที่ ๓ เรื่องคาถามการคิดวิจารณ์ ๑๓ แบบทดสอบหลังเรียน แบบฝึกทักษะชุดที่ ๑ เรื่อง ความรู้เบื้องต้นการอ่านคิดวิเคราะห์ และวิจารณ์ ๑๕ ภาคผนวก ๑๗ เฉลยแบบทดสอบก่อนเรียน แบบฝึกทักษะชุดที่ ๑ เรื่อง ความรู้เบื้องต้นการอ่านคิดวิเคราะห์ และวิจารณ์ ๑๘ แนวการตอบกิจกรรมที่ ๑ เรื่องการคิดวิเคราะห์และ วิจารณ์ ๑๙ แนวการตอบกิจกรรมที่ ๒ เรื่องคาถามการคิดวิเคราะห์ ๒๐ แนวการตอบกิจกรรมที่ ๓ เรื่องคาถามการคิดวิจารณ์ ๒๑ เฉลยแบบทดสอบหลังเรียน แบบฝึกทักษะชุดที่ ๑ เรื่อง ความรู้เบื้องต้นการอ่านคิดวิเคราะห์ และวิจารณ์ ๒๓ บรรณานุกรม ๒๔ ข
  • 4. แบบฝึกทักษะการอ่านคิดวิเคราะห์ และวิจารณ์ จัดทาขึ้นเพื่อใช้พัฒนาทักษะการคิดวิเคราะห์และ วิจารณ์ให้กับนักเรียน โดยสอนแทรกในการจัดกิจกรรมการเรียนการสอน และให้นักเรียนศึกษาเพิ่มเติมนอก เวลาเรียน ในรายวิชาภาษาไทย กลุ่มสาระการเรียนรู้ภาษาไทย สาหรับนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ ๔ มีทั้งหมด จานวน ๗ ชุด ดังนี้ ชุดที่ ๑ ความรู้เบื้องต้นการอ่านคิดวิเคราะห์ และวิจารณ์ ชุดที่ ๒ นิทานชวนคิดวิเคราะห์ และวิจารณ์ ชุดที่ ๓ สะกิดความคิดวิเคราะห์ และวิจารณ์ด้วยสารคดี ชุดที่ ๔ บทความชวนอ่านคิดวิเคราะห์ และวิจารณ์ ชุดที่ ๕ เรื่องสั้นเพิ่มพลังคิดวิเคราะห์ และวิจารณ์ ชุดที่ ๖ เพิ่มพูนความคิดวิเคราะห์ และวิจารณ์ด้วยข่าว ชุดที่ ๗ สุนทรีย์แห่งอักษรบทร้อยกรองชวนคิดวิเคราะห์ และวิจารณ์ แบบฝึกทักษะการอ่านคิดวิเคราะห์ และวิจารณ์ กลุ่มสาระการเรียนรู้ภาษาไทย ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ ๔ ชุดนี้เป็นชุดที่ ๑ เรื่อง ความรู้เบื้องต้นการอ่านคิดวิเคราะห์ และวิจารณ์ หลังจากนักเรียนศึกษาชุดที่ ๑ นี้แล้ว จะทาให้มีความรู้ ความเข้าใจความหมาย องค์ประกอบ และหลักการคิดวิเคราะห์ และวิจารณ์ได้ เป็นการ เริ่มต้นเพื่อเป็นพื้นฐานในการเรียนรู้สาหรับการคิดวิเคราะห์ และวิจารณ์ของแบบฝึกทักษะชุดต่อไปที่เหลืออีก ๖ ชุด ใช้ประกอบแผนการจัดการเรียนรู้ที่ ๒ และ ๓ จานวน ๒ แผน ๆ ละ ๑ คาบ (๕๐ นาที) โดยแบบฝึก ทักษะชุดที่ ๑ ประกอบด้วยแบบทดสอบก่อนเรียน เนื้อหา กิจกรรมจานวน ๓ กิจกรรม แบบทดสอบหลังเรียน และแบบเฉลย เพื่อให้ครูผู้สอนและนักเรียนได้ตรวจคาตอบได้ อย่างไรก็ตามกิจกรรมบางอย่างมีการใช้คาถาม ปลายเปิดดังนั้นแนวการเขียนตอบแสดงความคิดของนักเรียนครูผู้สอนควรใช้ดุลยพินิจในการตรวจคาตอบ เมื่อ ตรวจแล้ว ควรแจ้งให้นักเรียนทราบผลทันทีเพื่อนักเรียนจะได้มีกาลังใจ และครูจะได้นาไปพัฒนาการจัดการ เรียนการสอนต่อไป คาชี้แจงสาหรับครู 1
  • 5. แบบฝึกทักษะการอ่านคิดวิเคราะห์ และวิจารณ์ กลุ่มสาระการเรียนรู้ภาษาไทย ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ ๔ ชุดที่ ๑ เรื่อง ความรู้เบื้องต้นการอ่านคิดวิเคราะห์ และวิจารณ์ มีทั้งหมด ๓ ใบความรู้ ๓ กิจกรรม ให้นักเรียน อ่านคาแนะนาการใช้และปฏิบัติตามขั้นตอนดังนี้ ๑. ศึกษาจุดประสงค์การเรียนรู้ ๒. อ่านคาชี้แจงการใช้แบบฝึกทักษะการอ่านคิดวิเคราะห์ และวิจารณ์ ให้เข้าใจตามขั้นตอน ๓. ทาแบบทดสอบก่อนเรียนจานวน ๑๐ ข้อ ในเวลา ๒๐ นาทีลงในกระดาษคาตอบ แล้วตรวจ คาตอบจากเฉลยส่งให้ครูตรวจสอบความถูกต้องแล้วบันทึกคะแนนลงท้ายเล่ม ๔. ศึกษากรอบเนื้อหาในใบความรู้ ทาความเข้าใจแล้วทากิจกรรมที่กาหนดให้จนครบทุกกิจกรรม ตามลาดับอย่างรอบคอบและตั้งใจ ๕. ทาแบบทดสอบหลังเรียนจานวน ๑๐ ข้อ ในเวลา ๒๐ นาทีลงในกระดาษคาตอบ แล้วตรวจคาตอบ จากเฉลยส่งให้ครูตรวจสอบความถูกต้องแล้วบันทึกคะแนนลงท้ายเล่ม ๖. ตรวจคาตอบจากเฉลยท้ายแบบฝึกทักษะ ๗. นักเรียนต้องมีความซื่อสัตย์ และไม่แอบดูเฉลยก่อนทากิจกรรมในแบบฝึกทักษะ คาชี้แจงสาหรับนักเรียน ๒
  • 6. จุดประสงค์การเรียนรู้ หลังจากนักเรียนได้เรียนรู้จากการทาแบบฝึกทักษะการอ่านคิดวิเคราะห์ และวิจารณ์ กลุ่มสาระการ เรียนรู้ภาษาไทย ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ ๔ ชุดที่ ๑ การอ่านคิดวิเคราะห์ และวิจารณ์ เรียบร้อยแล้ว นักเรียนมี ความสามารถ ดังนี้ ๑. สามารถอธิบายความหมายการคิดวิเคราะห์ และวิจารณ์ได้ ๒. สามารถอธิบายองค์ประกอบการคิดวิเคราะห์ได้ ๓. มีความเข้าใจลักษณะคาถามการคิดวิเคราะห์ และวิจารณ์ได้ ๔. สามารถตั้งคาถามการคิดวิเคราะห์ และวิจารณ์ได้ ๕. สามารถแยกแยะการคิดวิเคราะห์ และวิจารณ์ได้ ๓
  • 7. แบบทดสอบก่อนเรียน แบบฝึกทักษะชุดที่ ๑ เรื่อง ความรู้เบื้องต้นการอ่านคิดวิเคราะห์ และวิจารณ์ คาชี้แจง ให้นักเรียนเลือกคาตอบที่ถูกต้องที่สุดเพียงข้อเดียว โดยกาเครื่องหมายกากบาท (X) ลงในกระดาษคาตอบ ๑. การคิดวิเคราะห์มีประโยชน์อย่างไร ก. มีความสามารถในการสรุปประเด็นสาคัญ ข. มีความสามารถในการศึกษา การเรียนรู้ และการแสวงหาความรู้ ค. มีทักษะในการสื่อสารที่ดี ง. มีความคิดขั้นสูง ๒. การคิดวิเคราะห์ และวิจารณ์มีความแตกต่างกันในด้านใด ก. การให้เหตุผล ข. การพิจารณา ค. การใช้ความรู้ ง. การใช้ความรู้สึก ๓. การคิดวิเคราะห์หมายความว่าอย่างไร ก. การคิดจาแนก เปรียบเทียบ ข. กระบวนการคิดระดับสูง ค. การคิดเกี่ยวกับข้อเท็จจริง ง. การคิดอย่างมีเหตุผลโดยใช้ปัญญา ๔. การคิดวิจารณ์หมายความว่าอย่างไร ก. การแสดงความคิดเห็น ข. การพิจารณาตัดสินโดยใช้เหตุผล ค. การพิจารณาตัดสินจากความคิดเห็นส่วนตัว ง. การไม่เห็นด้วยกับข้อเท็จจริงอย่างมีเหตุผล ๕. การคิดวิเคราะห์มีองค์ประกอบกี่อย่าง อะไรบ้าง ก. มีองค์ประกอบ ๓ อย่าง คือ ช่างสังเกต ช่างสงสัย และช่างถาม ข. มีองค์ประกอบ ๓ อย่าง คือ ความสามารถในการตีความ ความรู้ความเข้าใจในเรื่องที่จะวิเคราะห์ และช่างมอง ช่างสังเกต ช่างสงสัย และช่างถาม ค. มีองค์ประกอบ ๔ อย่าง คือ ความสามารถในการตีความ ความรู้ความเข้าใจในเรื่องที่จะวิเคราะห์ ช่างมอง ช่างสังเกต ช่างสงสัย และช่างถาม และความสามารถในการหาความเชื่อมโยง ง. มีองค์ประกอบ ๔ อย่าง คือ ช่างมอง ช่างสังเกต ช่างสงสัย และช่างถาม ๔
  • 8. ๖. คาถามเชิงวิเคราะห์ยึดหลักคาถามในลักษณะใด ก. ใคร ทาอะไร ที่ไหน เมื่อไร อย่างไร ทาไมหรือเพราะเหตุใด ข. ใคร ทาอะไร ที่ไหน อย่างไร ทาไม ค. เห็นด้วยหรือไม่เห็นด้วยอย่างไร ง. เพราะเหตุใด ใช่หรือไม่ ๗. ข้อใดไม่ใช่คาถามการคิดวิเคราะห์ ก. วงจรชีวิตของกบ กับผีเสื้อ เหมือนกันหรือไม่อย่างไร ข. ๑๒ เมืองต้องห้ามพลาด ในด้านการท่องเที่ยวที่ได้รับประกาศจาก ททท. ประกอบด้วย จังหวัดอะไรบ้าง ค. เพราะเหตุใดประเพณีการลงแขกจึงจางหายไปจากสังคมเมือง ง. หนึ่งตาบลหนึ่งผลิตภัณฑ์สร้างรายได้ให้กับประชาชนในชุมชนได้อย่างยั่งยืนหรือไม่ ๘. ข้อใดเป็นคาถามคิดวิจารณ์ ก. การทาขนมเค้กมีขั้นตอนการทาอย่างไรบ้าง ข. ประเทศไทยมีการคมนาคมกีประเภท อะไรบ้าง ค. ท่านมีความคิดเห็นอย่างไรกับการเรียนรู้อย่างไม่จากัดกับการท่องโลกอินเทอร์เน็ต ง. จงบอกวิธีการประหยัดไฟฟ้าที่ได้ผลมาอย่างน้อย ๕ วิธี ๙. “ล้านนาอยู่ทางภาคใดของประเทศไทย และมีจังหวัดใดบ้าง” คาถามนี้เป็นคาถามประเภทใด ก. คาถามคิดสังเคราะห์ ข. คาถามคิดวิเคราะห์ ค. คาถามคิดวิจารณ์ ง. คาถามคิดสร้างสรรค์ ๑๐. “ท่านเห็นด้วยหรือไม่อย่างไรที่จะนาพลังงานแสงอาทิตย์มาผลิตกระแสไฟฟ้าแทนถ่านหิน และน้ามัน” คาถามนี้เป็นคาถามประเภทใด ก. คาถามคิดสังเคราะห์ ข. คาถามคิดวิเคราะห์ ค. คาถามคิดวิจารณ์ ง. คาถามคิดสร้างสรรค์ ๕
  • 9. ใบความรู้ ๑ เรื่องการคิดวิเคราะห์ และวิจารณ์ ความสาคัญการคิดวิเคราะห์ การคิดวิเคราะห์เป็นรากฐานสาคัญของการเรียนรู้และการดาเนินชีวิต การคิดวิเคราะห์เป็นพื้นฐาน ของการคิดทั้งมวล บุคคลที่มีความสามารถในการคิดวิเคราะห์จะมีความสามารถในด้านอื่น ๆ เหนือกว่าบุคคล ทั่วไป ทั้งทางด้านสติปัญญาและการดาเนินชีวิต เป็นทักษะที่ทุกคนสามารถพัฒนาได้ การคิดวิเคราะห์ จึงมี ความสาคัญที่จะทาให้ผู้เรียนเป็นผู้ที่มีความสามารถในการเรียนรู้ ประโยชน์การคิดวิเคราะห์ การคิดวิเคราะห์เป็นประโยชน์ต่อผู้เรียนในการแสวงหาความรู้ การเรียนรู้ คิด วิเคราะห์ อย่างมี เหตุผลในการที่จะรับรู้ โดยเฉพาะอย่างยิ่งเพื่อเป็นพื้นฐานของการนาไปสู่การให้ผู้เรียนมีคุณธรรม จริยธรรม มี ค่านิยมที่พึงประสงค์ มีวินัย มีความรับผิดชอบ ซื่อสัตย์ สุจริต มีความเมตตา กรุณา เอื้อเฟื้อ เผื่อแผ่ ประหยัด เสียสละเพื่อส่วนรวม สามารถจาแนก เปรียบเทียบ คิดรวบยอด ประเมินค่า มีปฏิภาณในการแก้ปัญหา มี ความคิดริเริ่มสร้างสรรค์สิ่งใหม่ สามารถควบคุม พยากรณ์ อธิบายได้ เลือกปฏิบัติอย่างมีเหตุผลในทาง จริยธรรม และจะทาให้ผู้เรียนมีความรู้ ความสามารถในการศึกษา เรียนรู้ได้อย่างมีประสิทธิภาพ เกิด ประสิทธิผลพัฒนาผู้เรียนให้เป็นบุคคลแห่งการเรียนรู้ดารงชีวิตอยู่อย่างมีความสุข ความหมายการคิดวิเคราะห์ วิจารณ์ วิเคราะห์ หมายถึง แยกแยะออกเป็นส่วน ๆ เพื่อทาความเข้าใจ และแลเห็นความสัมพันธ์ระหว่างส่วน ต่าง ๆ เหล่านั้น การวิเคราะห์ หมายถึง การพิจารณาแยกสิ่งใดสิ่งหนึ่งออกเป็นส่วน ๆ เพื่อทาความเข้าใจแต่ละส่วนให้ แจ่มแจ้ง แล้วทาความเข้าใจต่อไปว่า แต่ละส่วนสัมพันธ์เกี่ยวเนื่องกันอย่างไร การคิดวิเคราะห์ หมายถึง การคิดโดยพิจารณา จาแนก แยกแยะ ไตร่ตรอง ใคร่ครวญ แจกแจง ส่วนประกอบของการจัดหมวดหมู่ ในเรื่องราวหรือสถานการณ์โดยใช้ความรู้ ความคิดในการแก้ปัญหาอย่างมี เหตุผลเพื่อนาไปสู่ข้อสรุปที่เป็นไปได้ วิจารณ์ หมายถึง การคิดใคร่ครวญโดยใช้เหตุผล วิจารณ์ ตามพจนานุกรม หมายถึง ให้คาตัดสินสิ่งที่กาลังพิจารณา เช่น การวิจารณ์ศิลปกรรมหรือ วรรณกรรม โดยมีความรู้ควรเชื่อถือได้ ว่ามีค่าความงามความไพเราะดีอย่างไร หรือมีข้อขาดตกบกพร่อง อย่างไรบ้าง ขอบข่ายของการพิจารณาตัดสินที่เรียกว่าวิจารณ์นั้น การตัดสินมักขึ้นอยู่กับความรู้และความรู้สึก ของผู้วิจารณ์เป็นสาคัญ อีกทั้งโดยทั่วไปการวิจารณ์มีแนวโน้มที่จะพูดถึงแต่ข้อเสีย สิ่งที่ตนไม่เห็นด้วย ไม่สบ อารมณ์ จุดมุ่งหมายเพื่อแสดงความคิดเห็นของผู้วิจารณ์ที่มีต่อสิ่งนั้น ๆ หรือต่อผลงานชิ้นนั้นเป็นสาคัญการคิด เชิงวิจารณ์ (critical thinking) เป็นการคิดเพื่อพิจารณาข้อเท็จจริงหรือสภาพการณ์ต่าง ๆ ว่าถูกหรือผิดโดยใช้ เหตุผลประกอบการคิดว่าอะไรเป็นเหตุอะไรเป็นผล ๖
  • 10. องค์ประกอบการคิดวิเคราะห์ ความสามารถในการคิดวิเคราะห์ควรประกอบไปด้วย ๑. ความสามารถในการตีความ ๒. ความรู้ความเข้าใจในเรื่องที่จะวิเคราะห์ ข้อมูล ๓. ช่างมอง ช่างสังเกต ช่างสงสัย และช่างถาม ๔. ความสามารถในการหาความเชื่อมโยง ความสัมพันธ์เชิงเหตุผล ความสามารถในการตีความ การคิดวิเคราะห์สิ่งต่าง ๆ ได้ เกิดจากการทาความเข้าใจกับข้อมูลที่ปรากฏ เริ่มต้นจากเรา จาเป็นต้องพิจารณาข้อมูลที่ได้รับเพื่อให้เกิดความเข้าใจด้วยการตีความ โดยการตีความ เป็นการพยายามทา ความเข้าใจและให้เหตุผลแก่สิ่งที่เราต้องการจะวิเคราะห์ เพื่อแปลความหมายที่ไม่ปรากฏโดยตรง เป็นข้อมูลที่ ซ่อนแฝงอยู่ กล่าวคือ ตัวข้อมูลไม่ได้บอกโดยตรงแต่จะต้องทาความเข้าใจที่มากเกินกว่าสิ่งที่ปรากฏในข้อมูล ในการตีความของแต่ละคนนั้น จะแตกต่างกันไปตามความรู้ ประสบการณ์ ภูมิหลัง และค่านิยมของแต่ละ บุคคล ความรู้ความเข้าใจในเรื่องที่จะวิเคราะห์ ข้อมูล ความรู้เป็นปัจจัยสาคัญมากต่อประสิทธิภาพในการคิดวิเคราะห์ การที่จะคิดวิเคราะห์ได้ดีนั้น จาเป็นต้องมีความรู้ความเข้าใจพื้นฐานในเรื่องนั้น เพราะความรู้จะช่วยในการกาหนดขอบเขตของการ วิเคราะห์ แจกแจงและจาแนกได้ว่าเรื่องนั้นเกี่ยวข้องกับอะไร มีองค์ประกอบย่อย ๆ อะไรบ้าง มีกี่หมวดหมู่ จัดลาดับความสาคัญอย่างไร มีเรื่องใดเกี่ยวข้องเชื่อมโยงสัมพันธ์กัน และรู้ว่าอะไรเป็นสาเหตุก่อให้เกิดอะไร ช่างมอง ช่างสังเกต ช่างสงสัย และช่างถาม นักคิดเชิงวิเคราะห์จะต้องมีองค์ประกอบทั้งสามนี้ร่วมด้วย คือ ต้องเป็นคนที่ช่างมอง และ สังเกต สามารถค้นพบความผิดปกติที่ซ่อนอยู่ท่ามกลางสิ่งที่ดู อย่างผิวเผินแล้วเหมือนไม่มีอะไรผิดปกติเกิดขึ้น ต้องเป็นคนที่ช่างสงสัย เมื่อเห็นความผิดปกติแล้วไม่ละเลยไป แต่หยุดพิจารณา ขบคิดไตร่ตรอง และต้องการ สืบสาวราวเรื่องเพื่อหาคาตอบ และต้องเป็นคนช่างถาม ชอบตั้งคาถามกับตัวเองและคนรอบ ๆ ข้างเกี่ยวกับสิ่ง ที่เกิดขึ้น เพื่อนาไปสู่การคิดเกี่ยวกับเรื่องนั้นต่อไป การตั้งคาถามจะนาไปสู่การสืบค้นความจริงและเกิดความ ชัดเจนในประเด็นที่ต้องการวิเคราะห์ ขอบเขตคาถามที่เกี่ยวข้องกับการคิดเชิงวิเคราะห์ จะยึดหลักการตั้ง คาถามโดยใช้หลัก ๕ W ๑ H คือ ใคร (Who) ทาอะไร (What) ที่ไหน (Where) เมื่อไหร่ (When) เพราะเหตุ ใด เพราะอะไร(Why) อย่างไร (How) คาถามเหล่านี้อาจไม่จาเป็นต้องใช้ทุกข้อ เพราะการตั้งคาถามมี จุดมุ่งหมายเพื่อให้เกิดความชัดเจนครอบคลุมและตรงประเด็นที่เราต้องการสืบค้นจึงต้องเลือกใช้คาถมให้ตรง ประเด็น ๗
  • 11. ความสามารถในการหาความเชื่อมโยง ความสัมพันธ์เชิงเหตุผล นักคิดวิเคราะห์จะต้องมีความสามารถในการหาความเชื่อมโยง สัมพันธ์เชิงเหตุผล สามารถ ค้นหาคาตอบได้ว่าสิ่งที่คิดมีความเกี่ยวกับเรื่องใด และเกี่ยวข้องอย่างไร เช่น ... สาเหตุที่ก่อให้เกิดเหตุการณ์นี้ .... อะไรเป็นสาเหตุให้เกิดสิ่งนี้ .... เรื่องนั้นเชื่อมโยงกับเรื่องนี้ได้อย่างไร .... เรื่องนี้มีใครเกี่ยวข้องบ้าง เกี่ยวข้อง กันอย่างไร ... เมื่อเกิดเรื่องนี้ จะส่งผลกระทบอย่างไรบ้าง คุณสมบัติที่เอื้อต่อการคิดวิเคราะห์ คุณสมบัติที่เอื้อต่อการคิดวิเคราะห์มี ๔ ประการ คือ ๑. ความรู้ ความเข้าใจในเรื่องที่จะวิเคราะห์ ๒. ช่างสังเกต ช่างสงสัย ช่างไต่ถาม ๓. ความสามารถในการตีความ ๔. ความสามารถในการหาความสัมพันธ์เชิงเหตุผล ความรู้ ความเข้าใจในเรื่องที่จะวิเคราะห์ ผู้คิดต้องมีความรู้ความเข้าใจพื้นฐานในเรื่องนั้น ๆ เพราะจะช่วยกาหนดขอบเขตการวิเคระห์ จาแนก การแจกแจงองค์ประกอบ จัดหมวดหมู่ และลาดับความสาคัญหรือหาสาเหตุของเรื่องราวเหตุการณ์ได้ ชัดเจน ช่างสังเกต ช่างสงสัย ช่างไต่ถาม คนที่ช่างสังเกต ย่อมสามารถมองเห็นหรือค้นหาความผิดปรกติของสิ่งของหรือเหตุการณ์ที่ดู แล้วเหมือนไม่มีอะไรเกิดขึ้น มองเห็นแง่มุมที่แตกต่างไปจากคนอื่น คนช่างสงสัย เมื่อเห็นความผิดปรกติแล้วจะ ไม่ละเลย แต่จะหยุดคิดพิจารณา คนช่างไต่ถาม ชอบตั้งคาถามเกี่ยวกับสิ่งที่เกิดขึ้นอยู่เสมอ เพื่อนาไปสู่การขบ คิดค้นหาความจริงในเรื่องนั้น คาถามที่มักใช้กับการคิดวิเคราะห์ คือ ๕ W ๑ H ประกอบด้วย What (อะไร) Where (ที่ไหน) When (เมื่อใด) Why (ทาไม) Who (ใคร) และ How (อย่างไร) ความสามารถในการตีความ การตีความ เกิดจากการรับรู้ข้อมูลเข้ามาทางประสาทสัมผัส สมองจะทาการตีความข้อมูล โดยวิเคราะห์เทียบเคียงกับความทรงจาหรือความรู้เดิมที่เกี่ยวกับเรื่องนั้น เกณฑ์ที่ใช้เป็นมาตรฐานในการ ตัดสินจะแตกต่างกันไปตามความรู้ ประสบการณ์ และค่านิยมของแต่ละบุคคล ดังนั้นความรู้ต่างกัน ประสบการณ์ต่างกันและค่านิยมต่างกัน การตีความข้อมูลหรือเหตุการณ์ที่พบเห็นก็จะแตกต่างกันไปด้วย ความสามารถในการหาความสัมพันธ์เชิงเหตุผล การคิดวิเคราะห์จะเกิดขึ้น เมื่อพบสิ่งที่มีความคลุมเครือ เกิดข้อสงสัยตามมาด้วยคาถามต้อง ค้นหาคาตอบหรือความน่าจะเป็นว่ามีความเป็นมาอย่างไร ซึ่งสมองจะพยายามคิดเพื่อหาข้อสรุปความรู้ความ เข้าใจอย่างสมเหตุสมผล ๘
  • 12. กิจกรรมที่ ๑ เรื่อง การคิดวิเคราะห์ และวิจารณ์ คาชี้แจง ให้นักเรียนตอบคาถามในข้อคาถามที่ ๑ – ๕ ให้ครบถ้วนสมบูรณ์ลงในช่องว่าให้ถูกต้อง (๑๐ คะแนน) ๑. คิดวิเคราะห์มีความสาคัญอย่างไร (๑ คะแนน) ........................................................................................................................................................ ........................................................................................................................................................ ........................................................................................................................................................ ๒. คิดวิเคราะห์มีประโยชน์อย่างไร (๒ คะแนน) ........................................................................................................................................................ ........................................................................................................................................................ ........................................................................................................................................................ ........................................................................................................................................................ ........................................................................................................................................................ ๓. คิดวิเคราะห์ และวิจารณ์ มีความหมายว่าอย่างไร และมีความเหมือน หรือแตกต่างกันอย่างไร (๒ คะแนน) ........................................................................................................................................................ ........................................................................................................................................................ ........................................................................................................................................................ ........................................................................................................................................................ ........................................................................................................................................................ ๔. คิดวิเคราะห์ และวิจารณ์ มีความเหมือน หรือแตกต่างกันอย่างไร (๒ คะแนน) ........................................................................................................................................................ ........................................................................................................................................................ ........................................................................................................................................................ ........................................................................................................................................................ ........................................................................................................................................................ ๕. ความสามารถในการคิดวิเคราะห์ประกอบด้วยองค์ประกอบอะไรบ้าง พร้อมทั้งอธิบายประกอบ สั้น ๆ ให้ได้ใจความ (๓ คะแนน) ........................................................................................................................................................ ........................................................................................................................................................ ........................................................................................................................................................ ........................................................................................................................................................ ........................................................................................................................................................ ๙
  • 13. ใบความรู้ ๒ เรื่อง คาถามการคิดวิเคราะห์ คาถามการวิเคราะห์ เป็นคาถามที่แสดงถึงการจาแนก แยกแยะเรื่องราว ส่วนประกอบย่อย ๆ โดยอาศัยหลักการ ทฤษฎี แนวคิด ในการตั้งคาถามเพื่อการวิเคราะห์ อาจถามด้วยการเปรียบเทียบความเหมือน ความแตกต่าง ต้องคิด อย่างรอบคอบก่อนตอบก็ได้ นอกจากนี้ยังสามารถถามเพื่อให้จาแนก จัดหมวดหมู่ จัดกลุ่ม จัดพวกใหม่ อาศัย การเปรียบเทียบความแตกต่าง ความเหมือน ความสัมพันธ์ ตัวอย่างคาถามให้คิดวิเคราะห์ บอกคุณลักษณะของเด็กดี องค์ประกอบโครงสร้างของสังคมไทยมีอะไรบ้าง ลักษณะของวัฒนธรรมไทยเป็นอย่างไร ส่วนประกอบของต้นไม้มีอะไรบ้าง ควรตั้งชื่อเรื่องที่อ่านนี้ว่าอะไร ทายสิว่าถ้าเอาลูกอมรสมิ้นท์ใส่ผสมลงไปในขวดโค้กแล้วคว่าขวดลงปิดฝา จะเกิดอะไรขึ้น ผีเสื้อใช้อวัยวะส่วนใดรับรส จะเกิดอะไรขึ้นถ้าเอาแม่เหล็กไปจ่อหน้าโทรทัศน์ เหตุสาคัญที่ทาให้ ................. คืออะไร จะเป็นอย่างไรถ้าคบเพื่อนติดยา ในขณะที่นักเรียนทาการทดลองอยู่นี้ นักเรียนพบอะไรบ้าง มีข้อสงสัยหรือไม่ น่าจะมีสาเหตุมา จากอะไร ................................ ๑๐
  • 14. กิจกรรมที่ ๒ เรื่อง คาถามการคิดวิเคราะห์ คาชี้แจง ให้นักเรียนตอบคาถามต่อไปนี้ (๑๐ คะแนน) ๑. ใส่เครื่องหมายถูก () หน้าข้อที่เห็นว่าถูก ใส่เครื่องหมายผิด () หน้าข้อที่เห็นว่าผิด (๕ คะแนน) .............. ๑.๑ คาถามการวิเคราะห์แสดงถึงการเปรียบเทียบ การจาแนก และความสัมพันธ์ .............. ๑.๒ คาถามการวิเคราะห์เป็นคาถามแสดงความคิดเห็น .............. ๑.๓ “ทาไมเทคโนโลยีถึงมีอิทธิพลต่อการดารงชีวิตในยุคปัจจุบัน” คาถามนี้เป็นคาถาม การคิดวิเคราะห์ .............. ๑.๔ “สภาพภูมิศาสตร์ของประเทศไทยแต่ละภาคมีความแตกต่างกันอย่างไรบ้าง” คาถามนี้เป็นคาถามการคิดวิเคราะห์ .............. ๑.๕ “ท่านมีความคิดเห็นอย่างไรกับ ลดเวลาเรียน เพิ่มเวลารู้ ที่เป็นนโยบายของ กระทรวงศึกษาธิการ” คาถามนี้เป็นคาถามการคิดวิเคราะห์ ๒. ให้นักเรียนคิดคาถามลงในช่องว่างจานวน ๕ ข้อ ที่เป็นคาถามการคิดวิเคราะห์ (๕ คะแนน) .................................................................................................................................................................... .................................................................................................................................................................... ................................................................................................................................................................... ................................................................................................................................................................... ................................................................................................................................................................... ................................................................................................................................................................... ................................................................................................................................................................... ................................................................................................................................................................... ๑๑
  • 15. ใบความรู้ ๓ เรื่อง คาถามการคิดวิจารณ์ ตั้งคาถามเพื่อให้เกิดการคิดวิจารณ์ เป็นคาถามที่เน้นความสมบูรณ์ ความถูกต้อง โดยใคร่ครวญอย่างรอบคอบก่อนตอบเป็นความคิดของ ตนเอง เป็นคาถามที่ให้ผู้ตอบคิดในเรื่องความสมบูรณ์ ความถูกต้อง ผู้ตอบจะต้องใคร่ครวญอย่างดีก่อนที่จะ ตอบ ตัวอย่างคาถามคิดวิจารณ์ ประเทศไทยควรแบ่งเป็น ๒ รัฐ นักเรียนเห็นด้วยหรือไม่ เพราะอะไร สังคมในปัจจุบันทาให้วัยรุ่นขาดความรับผิดชอบ นักเรียนเห็นด้วยหรือไม่ อย่างไร การจัดกิจกรรมที่ผ่านมา เราได้บทเรียนอะไรบ้าง เป็นต้น ๑๒
  • 16. กิจกรรมที่ ๓ เรื่อง คาถามการคิดวิจารณ์ คาชี้แจง ให้นักเรียนตอบคาถามต่อไปนี้ (๑๐ คะแนน) ๑. ให้นักเรียนเขียนคาถามจานวน ๕ ข้อ ลงในช่องว่างของแผนผังความคิด (๕ คะแนน) .......................................... .......................................... .......................................... ........................................ ................................... ................................... ................................... ................................... ................................... ..... ........................................ ........................................ ........................................ ........................................ ...... ........................................ ........................................ ........................................ ........................................ ...... ........................................ ........................................ ........................................ ........................................ ...... ๑๓
  • 17. ๒. ให้นักเรียนอ่านข้อความที่ปรากฏด้านล่างนี้แล้วตอบคาถาม (๕ คะแนน) คิดบวกย่อมได้บวก “คนมองโลกในแง่ดี มักมีโอกาสดีกว่าคนอื่นเสมอ เพราะเมื่อมองทุกอย่างเป็นบวก ก็ช่วยให้มีสุขภาพจิตดี ความคิดโปร่งใส ทาอะไรก็ดูจะสบายๆกว่าคนอื่น แต่ที่น่าสนใจก็คือผลจากการวิจัยที่ชี้ให้เห็นว่าคนมองโลกใน แง่ดียังมีแนวโน้มว่าจะมีอายุยืนยาวกว่าคนอื่นได้ด้วย การวิจัยที่ว่านั้นนากลุ่มคนที่อายุ ๒๐ ปีขึ้นไป ๑ กลุ่มที่มี ความคิดทางบวก เป็นคนอารมณ์ดี อีกกลุ่มหนึ่ง.ซึม เศร้า ไม่มีความเชื่อมั่นตนเอง ในอีก ๔๐ ปีต่อมา คืออายุ ๖๐ ปีขึ้นไป ปรากฏว่าคนมองโลกในแง่ดีนั้นมีคนที่อายุยืนยาวมากกว่ากลุ่มหลังถึง ๔๒% คนที่มีความคิดเชิงบวก อารมณ์มักไม่ค่อยแปรปรวน ไม่รู้สึกกระวนกระวาย ในเรื่องจิตวิทยาบอกไว้ว่า คนที่มี การคิดบวกจะทาให้มีโอกาสมีสุขภาพดี และสุดท้ายตามมาด้วยความสาเร็จและความสุข” (ที่มา : http://www.kidbuak.com/Good%20idea1.html) จากข้อความข้างต้นนักเรียนเห็นด้วยหรือไม่กับการมองโลกในแง่ดีแล้วจะทาให้มีอายุที่ยืนยาว มีความสุข และ ประสบความสาเร็จในการดาเนินชีวิต ........................................................................................................................................................................... ........................................................................................................................................................................... ........................................................................................................................................................................... ........................................................................................................................................................................... ........................................................................................................................................................................... ........................................................................................................................................................................... ........................................................................................................................................................................... ........................................................................................................................................................................... ........................................................................................................................................................................... ........................................................................................................................................................................... ........................................................................................................................................................................... ........................................................................................................................................................................... ........................................................................................................................................................................... ........................................................................................................................................................................... ๑๔
  • 18. แบบทดสอบหลังเรียน แบบฝึกทักษะชุดที่ ๑ เรื่อง ความรู้เบื้องต้นการอ่านคิดวิเคราะห์ และวิจารณ์ คาชี้แจง ให้นักเรียนเลือกคาตอบที่ถูกต้องที่สุดเพียงข้อเดียว โดยกาเครื่องหมายกากบาท (X) ลงในกระดาษคาตอบ ๑. การคิดวิจารณ์หมายความว่าอย่างไร ก. การแสดงความคิดเห็น ข. การพิจารณาตัดสินโดยใช้เหตุผล ค. การพิจารณาตัดสินจากความคิดเห็นส่วนตัว ง. การไม่เห็นด้วยกับข้อเท็จจริงอย่างมีเหตุผล ๒. การคิดวิเคราะห์มีประโยชน์อย่างไร ก. มีความสามารถในการสรุปประเด็นสาคัญ ข. มีความสามารถในการศึกษา การเรียนรู้ และการแสวงหาความรู้ ค. มีทักษะในการสื่อสารที่ดี ง. มีความคิดขั้นสูง ๓. คาถามเชิงวิเคราะห์ยึดหลักคาถามในลักษณะใด ก. ใคร ทาอะไร ที่ไหน เมื่อไร อย่างไร ทาไมหรือเพราะเหตุใด ข. ใคร ทาอะไร ที่ไหน อย่างไร ทาไม ค. เห็นด้วยหรือไม่เห็นด้วยอย่างไร ง. เพราะเหตุใด ใช่หรือไม่ ๔. การคิดวิเคราะห์ วิจารณ์มีความแตกต่างกันด้านใด ก. การให้เหตุผล ข. การพิจารณา ค. การใช้ความรู้ ง. การใช้ความรู้สึก ๕. การคิดวิเคราะห์หมายความว่าอย่างไร ก. การคิดจาแนก เปรียบเทียบ ข. กระบวนการคิดระดับสูง ค. การคิดเกี่ยวกับข้อเท็จจริง ง. การคิดอย่างมีเหตุผลโดยใช้ปัญญา ๑๕
  • 19. ๖. การคิดวิเคราะห์มีองค์ประกอบกี่อย่าง อะไรบ้าง ก. มีองค์ประกอบ ๓ อย่าง คือ ช่างสังเกต ช่างสงสัย และช่างถาม ข. มีองค์ประกอบ ๓ อย่าง คือ ความสามารถในการตีความ ความรู้ความเข้าใจในเรื่องที่จะวิเคราะห์ และช่างมอง ช่างสังเกต ช่างสงสัย และช่างถาม ค. มีองค์ประกอบ ๔ อย่าง คือ ความสามารถในการตีความ ความรู้ความเข้าใจในเรื่องที่จะวิเคราะห์ ช่างมอง ช่างสังเกต ช่างสงสัย และช่างถาม และความสามารถในการหาความเชื่อมโยง ง. มีองค์ประกอบ ๔ อย่าง คือ ช่างมอง ช่างสังเกต ช่างสงสัย และช่างถาม ๗. ข้อใดเป็นคาถามคิดวิจารณ์ ก. การทาขนมเค้กมีขั้นตอนการทาอย่างไรบ้าง ข. ประเทศไทยมีการคมนาคมกีประเภท อะไรบ้าง ค. ท่านมีความคิดเห็นอย่างไรกับการเรียนรู้อย่างไม่จากัดกับการท่องโลกอินเทอร์เน็ต ง. จงบอกวิธีการประหยัดไฟฟ้าที่ได้ผลมาอย่างน้อย ๕ วิธี ๘. “ล้านนาอยู่ทางภาคใดของประเทศไทย และมีจังหวัดใดบ้าง” คาถามนี้เป็นคาถามประเภทใด ก. คาถามคิดสังเคราะห์ ข. คาถามคิดวิเคราะห์ ค. คาถามคิดวิจารณ์ ง. คาถามคิดสร้างสรรค์ ๙. “ท่านเห็นด้วยหรือไม่อย่างไรที่จะนาพลังงานแสงอาทิตย์มาผลิตกระแสไฟฟ้าแทนถ่านหิน และน้ามัน” คาถามนี้เป็นคาถามประเภทใด ก. คาถามคิดสังเคราะห์ ข. คาถามคิดวิเคราะห์ ค. คาถามคิดวิจารณ์ ง. คาถามคิดสร้างสรรค์ ๑๐. ข้อใดไม่ใช่คาถามการคิดวิเคราะห์ ก. วงจรชีวิตของกบ กับผีเสื้อ เหมือนกันหรือไม่อย่างไร ข. ๑๒ เมืองต้องห้ามพลาด ในด้านการท่องเที่ยวที่ได้รับประกาศจาก ททท. ประกอบด้วย จังหวัดอะไรบ้าง ค. เพราะเหตุใดประเพณีการลงแขกจึงจางหายไปจากสังคมเมือง ง. หนึ่งตาบลหนึ่งผลิตภัณฑ์สร้างรายได้ให้กับประชาชนในชุมชนได้อย่างยั่งยืนหรือไม่ ๑๖
  • 21. เฉลยแบบทดสอบก่อนเรียน แบบฝึกทักษะชุดที่ ๑ เรื่อง ความรู้เบื้องต้นการอ่านคิดวิเคราะห์ และวิจารณ์ ข้อที่ คาตอบ ๑ ข ๒ ง ๓ ก ๔ ข ๕ ค ๖ ก ๗ ง ๘ ค ๙ ข ๑๐ ค ๑๘
  • 22. แนวการตอบ กิจกรรมที่ ๑ เรื่อง การคิดวิเคราะห์ และวิจารณ์ ๑. คิดวิเคราะห์มีความสาคัญอย่างไร ตอบ คิดวิเคราะห์ มีความสาคัญทาให้ผู้เรียนมีความสามารถในการเรียนรู้ มีความสามารถด้าน สติปัญญาและการดาเนินชีวิต ๒. คิดวิเคราะห์มีประโยชน์อย่างไร ตอบ คิดวิเคราะห์มีประโยชน์ต่อการแสวงหาความรู้ การเรียนรู้ การคิดวิเคราะห์อย่างมีเหตุผล ในการที่จะรับรู้ เป็นพื้นฐานการนาไปสู่การเป็นผู้มีคุณธรรม จริยธรรม มีความสามารถในการจาแนก เปรียบเทียบ การประเมินค่า มีความคิดรวบยอด มีทักษะการแก้ปัญหา มีเหตุผลในการเลือกปฏิบัติในสิ่งที่ เหมาะสมที่ถูกต้อง และมีความสามารถในการคิดริเริ่มสร้างสรรค์ มีความสามารถในการศึกษา ทาให้การเรียนรู้ ได้อย่างมีประสิทธิภาพ ๓. คิดวิเคราะห์ และวิจารณ์ มีความหมายว่าอย่างไร และมีความเหมือน หรือแตกต่างกันอย่างไร ตอบ คิดวิเคราะห์ หมายถึง การคิดโดยพิจารณา จาแนก แยกแยะ ไตร่ตรอง ใคร่ครวญ แจกแจง ส่วนประกอบ ในเรื่องราวหรือสถานการณ์ และหาความสัมพันธ์ที่เชื่อมโยงกันในเรื่องราว หรือสถานการณ์โดย ใช้ความรู้ ความคิดอย่างมีเหตุผลเพื่อนาไปสู่ข้อสรุปที่เป็นไปได้ การคิดวิจารณ์ หมายถึง การคิดเพื่อพิจารณา ข้อเท็จจริง หรือสภาพการณ์ต่าง ๆ ว่าถูกหรือผิดอย่างมีเหตุผลโดยอาศัยความรู้ ประสบการณ์ และความรู้สึก ๔. คิดวิเคราะห์ และวิจารณ์ มีความเหมือน หรือแตกต่างกันอย่างไร ตอบ คิดวิเคราะห์ และวิจารณ์ มีความเหมือนกัน คือใช้ความคิดจากความรู้ และประสบการณ์ มา เป็นเหตุและผลในการพิจารณา มีความแตกต่างกัน คือ คิดวิเคราะห์เป็นการจาแนก แยกแยะ และหา ความสัมพันธ์ของสถานการณ์หรือเหตุการณ์ และไม่ใช้ความรู้สึกมาพิจารณา แต่คิดวิจารณ์เป็นการตัดสิน หรือ พิจารณาที่ใช้ความรู้สึกเข้ามาเกี่ยวข้องนอกเหนือจากความรู้ ประสบการณ์ ๕. ความสามารถในการคิดวิเคราะห์ประกอบด้วยองค์ประกอบอะไรบ้าง พร้อมทั้งอธิบายประกอบสั้น ๆ ให้ได้ใจความ ตอบ ความสามารถคิดวิเคราะห์ประกอบด้วย ๑) ความสามารถในการตีความ โดยต้องทาความเข้าใจ ในข้อมูล เหตุการณ์ สถานการณ์ หรือสิ่งที่เราต้องการวิเคราะห์ ซึ่งอาจมีข้อมูลบางอย่างไม่ปรากฎความชัดเจน หรือไม่บอกมาโดยตรงเป็นการแฝงซ่อนอยู่ การตีความจะขึ้นอยู่กับความรู้ ประสบการณ์ ภูมิหลัง และค่านิยม ๒) ความรู้ ความเข้าใจในเรื่องที่จะวิเคราะห์ข้อมูล การวิเคราะห์จาเป็นที่จะต้องมีความรู้ความเข้าใจในเรื่องที่ จะวิเคราะห์ ทาให้เกิดประสิทธิภาพในการวิเคราะห์ และความรู้จะเป็นสิ่งกาหนดขอบเขต การจาแนก แยกแยะ และการหาความสัมพันธ์กัน ๓) ช่างมอง ช่างสังเกต ช่างสงสัย และช่างถาม เพราะบางครั้งอาจมีสิ่ง ผิดปกติอยู่ในข้อมูล เหตุการณ์ หรือสถานการณ์ หากพบสิ่งผิดปกติควรที่จะหยุดเพื่อพิจารณา ไตร่ตรอง ขบคิด และค้นหาข้อเท็จจริง ด้วยความสงสัย และความเป็นคนช่างถาม ด้วยการตั้งคาถามให้กับตัวเองเพื่อการสืบ เสาะหาความเป็นจริง หรือข้อเท็จจริงในสิ่งที่จะวิเคราะห์ ในหลักของคาถามที่ว่า ใคร ทาอะไร ที่ไหน เมื่อไร อย่างไร และเพราะอะไร ๔) ความสามารถในการหาความเชื่อมโยง ความสัมพันธ์เชิงเหตุผล สาหรับการค้นหา คาตอบหรือข้อสรุปว่าสิ่งที่คิดมีความเกี่ยวข้องกับเรื่องใด และเกี่ยวข้องอย่างไร ๑๙
  • 23. แนวการตอบ กิจกรรมที่ ๒ เรื่อง คาถามการคิดวิเคราะห์ ๑. ใส่เครื่องหมายถูก ( ) หน้าข้อที่เห็นว่าถูก ใส่เครื่องหมายผิด ( ) หน้าข้อที่เห็นว่าผิด ......... ๑.๑ คาถามการวิเคราะห์แสดงถึงการเปรียบเทียบ การจาแนก และความสัมพันธ์ ......... ๑.๒ คาถามการวิเคราะห์เป็นคาถามแสดงความคิดเห็น ......... ๑.๓ “ทาไมเทคโนโลยีถึงมีอิทธิพลต่อการดารงชีวิตในยุคปัจจุบัน” คาถามนี้เป็นคาถาม การคิดวิเคราะห์ ......... ๑.๔ “สภาพภูมิศาสตร์ของประเทศไทยแต่ละภาคมีความแตกต่างกันอย่างไรบ้าง” คาถามนี้เป็นคาถามการคิดวิเคราะห์ ......... ๑.๕ “ท่านมีความคิดเห็นอย่างไรกับ ลดเวลาเรียน เพิ่มเวลารู้ ที่เป็นนโยบายของ กระทรวงศึกษาธิการ” คาถามนี้เป็นคาถามการคิดวิเคราะห์ ๒. ให้นักเรียนคิดคาถามลงในช่องว่างจานวน ๕ ข้อ ที่เป็นคาถามการคิดวิเคราะห์ ๑. ประชาคมอาเซ๊ยนประกอบด้วยประเทศอะไรบ้าง ๒. มีวิธีการใดบ้างที่จะลดภาวะโลกร้อนได้ ๓. วิถีชีวิตของชุมชนเมือง และชุมชนชนบทแตกต่างกันหรือไม่ อย่างไร ๔. ทาไมครอบครัวจึงเป็นปัจจัยสาคัญในการป้องกันปัญหาของสังคมได้ ๕. คาว่า “กระดูกสันหลังของประเทศไทย” หมายถึงใคร และมีส่วนสาคัญอย่างไรกับประเทศไทย ๒๐
  • 24. แนวการตอบ กิจกรรมที่ ๓ เรื่อง คาถามการคิดวิจารณ์ ๑. ให้นักเรียนเขียนคาถามจานวน ๕ ข้อ ลงในช่องว่างของแผนผังความคิด ท่านมีความคิดเห็น อย่างไรกับภัยแล้งที่ ประเทศไทยประสบ ปัญหาในขณนี้ ท่านมีความเห็นอย่างไรกับ ความเท่าเทียมกันของหญิง และชายในปัจจุบัน ไม่ว่าจะ ด้านการทางาน ครอบครัว และสังคม รวมทั้ง การเมืองท่านเห็นด้วยหรือไม่อย่างไร กับ “การลดเวลาเรียน เพิ่ม เวลารู้” ที่เป็นนโยบายของ กระทรวงศึกษาธิการ ท่านมีความคิดเห็น อย่างไรกับการเลี้ยงดู ของพ่อแม่ตามสานวน สุภาษิตที่ว่า “รักวัวให้ ผูก รักลูกให้ตี” ท่านมีความคิดเห็น อย่างไรกับการก้าวสู่ ประชาคมอาเซียนของ ประเทศไทย ๒๑
  • 25. ๒. ให้นักเรียนอ่านข้อความที่ปรากฏด้านล่างนี้แล้วตอบคาถาม คิดบวกย่อมได้บวก “คนมองโลกในแง่ดี มักมีโอกาสดีกว่าคนอื่นเสมอ เพราะเมื่อมองทุกอย่างเป็นบวก ก็ช่วยให้มีสุขภาพจิตดี ความคิดโปร่งใส ทาอะไรก็ดูจะสบาย ๆ กว่าคนอื่น แต่ที่น่าสนใจก็คือผลจากการวิจัยที่ชี้ให้เห็นว่าคนมองโลก ในแง่ดียังมีแนวโน้มว่าจะมีอายุยืนยาวกว่าคนอื่นได้ด้วย การวิจัยที่ว่านั้นนากลุ่มคนที่อายุ ๒๐ ปีขึ้นไป ๑ กลุ่ม ที่มีความคิดทางบวก เป็นคนอารมณ์ดี อีกกลุ่มหนึ่ง.ซึม เศร้า ไม่มีความเชื่อมั่นตนเอง ในอีก ๔๐ ปีต่อมา คือ อายุ ๖๐ ปีขึ้นไป ปรากฏว่าคนมองโลกในแง่ดีนั้นมีคนที่อายุยืนยาวมากกว่ากลุ่มหลังถึง ๔๒% คนที่มีความคิดเชิงบวก อารมณ์มักไม่ค่อยแปรปรวน ไม่รู้สึกกระวนกระวาย ในเรื่องจิตวิทยาบอกไว้ว่า คนที่มี การคิดบวกจะทาให้มีโอกาสมีสุขภาพดี และสุดท้ายตามมาด้วยความสาเร็จและความสุข” (ที่มา : http://www.kidbuak.com/Good%20idea1.html) จากข้อความข้างต้นนักเรียนเห็นด้วยหรือไม่กับการมองโลกในแง่ดีแล้วจะทาให้มีอายุที่ยืนยาว มีความสุข และ ประสบความสาเร็จในการดาเนินชีวิต ตอบ ข้าพเจ้าเห็นด้วยกับการที่คนเรามองโลกแง่ดี จะทาให้มีความสุขเพราะเป็นคนมีจิตใจที่ดีงาม มี ความสดชื่นในใจ แจ่มใส มีสุขภาพจิตที่ดี ไม่เกิดความขุ่นมัวในใจ ไม่นาเรื่องราวไม่ดีของคนอื่นที่เข้ามากระทบ กับตนเองมาเป็นสิ่งที่ทาให้เกิดความทุกข์ใจ ไม่เกิดความเครียด จึงทาให้การดารงชีวิตมีแต่ความสุข ไม่รังเกียจ ผู้อื่น ไม่ทาร้ายผู้อื่น มีแต่ความปรารถนาดีให้ผู้อื่น อยู่ร่วมกับผู้อื่นได้อย่างมีความสุข แต่การที่จะทาให้อายุ ยืนยาวได้นั้นมีองค์ประกอบมากมายที่สาคัญนอกจากสภาพจิตใจที่มองโลกแง่ดีแล้ว จะอยู่ที่การดูแลสุขภาพ รวมทั้งโรคบางอย่างเราไม่อาจห้ามได้จากกรรมพันธุ์โดยเฉพาะโรคมะเร็ง ฉะนั้น การมองโลกแง่ดีทาให้อายุ ยืนยาวประเด็นนี้ไม่เห็นด้วยเพราะมีปัจจัยอื่นสนับสนุนร่วมด้วย ๒๒
  • 26. เฉลยแบบทดสอบหลังเรียน แบบฝึกทักษะชุดที่ ๑ เรื่อง ความรู้เบื้องต้นการอ่านคิดวิเคราะห์ และวิจารณ์ ข้อที่ คาตอบ ๑ ข ๒ ข ๓ ก ๔ ง ๕ ก ๖ ค ๗ ค ๘ ข ๙ ค ๑๐ ง ๒๓
  • 27. บรรณานุกรม เกรียงศักดิ์ เจริญวงศ์ศักดิ์. (๒๕๕๕). การคิดเชิงวิพากษ์. พิมพ์ครั้งที่ ๙. กรุงเทพฯ : ซัคเซส มีเดีย จากัด. คณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน, สานักงาน. (๒๕๕๒). หนังสือเรียน รายวิชพื้นฐาน ภาษาไทย หลักภาษา และการใช้ภาษาเพื่อการสื่อสาร ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ ๔. กรุงเทพฯ : โรงพิมพ์ สกสค. ลาดพร้าว. ________. (๒๕๕๓). หนังสือเรียน รายวิชพื้นฐาน ภาษาไทย หลักภาษา และการใช้ภาษาเพื่อการสื่อสาร ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ ๕. กรุงเทพฯ : โรงพิมพ์ สกสค. ลาดพร้าว. ________. (๒๕๕๔). หนังสือเรียน รายวิชพื้นฐาน ภาษาไทย หลักภาษา และการใช้ภาษาเพื่อการสื่อสาร ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ ๖. กรุงเทพฯ : โรงพิมพ์ สกสค. ลาดพร้าว. ฆนัท ธาตุทอง. (๒๕๕๔). สอนคิด : การจัดการเรียนรู้เพื่อพัฒนาการคิด. พิมพ์ครั้งที่ ๒. กรุงเทพฯ : เพชรเกษมการพิมพ์. ชัยวัฒน์ สุทธิรัตน์. (๒๕๕๕). เทคนิคการใช้คาถามพัฒนาการคิด. กรุงเทพฯ : วีพรินท์ (๑๙๙๑) ประพันธ์ศิริ สุเสารัจ. (๒๕๕๖). การพัฒนาการคิด (พิมพ์ครั้งที่ ๕ ฉบับปรับปรุงใหม่). กรุงเทพฯ : โรงพิมพ์ห้างหุ้นส่วนจากัด ๙๑๑๙ เทคนิคพริ้นติ้ง. วีระ สุดสังข์. (๒๕๕๐). การคิดวิเคราะห์ คิดอย่างมีวิจารณญาณ และคิดสร้างสรรค์. กรุงเทพฯ : สุวีริยาสาส์น. สุวัฒน์ วิวัฒนานนท์. (๒๕๕๑). ทักษะการอ่าน คิดวิเคราะห์ และเขียน. พิมพ์ครั้งที่ ๒. กรุงเทพฯ : เฟื่องฟ้า. ๒๔