SlideShare une entreprise Scribd logo
1  sur  4
บทที่ ๑
ธรรมชาติและพลังของภาษาไทย
สาระสาคัญ
๑. ความหมายของภาษา
๒. ธรรมชาติของภาษา
๓. พลังของภาษา
๔. ธรรมชาติของภาษาไทย
๕. ระดับของภาษา

แนวคิดสาคัญ
ภาษาเป็ นเครื่ องมือที่มนุ ษย์กาหนดหรื อสร้างขึ้นมาเพื่อใช้ในการติดต่อสื่ อสารกับบุคคลอื่น
เพื่อให้เกิ ดความเข้าใจซึ่ งกันและกัน ธรรมชาติของภาษาทุกภาษามีบางส่ วนเหมือนกันแต่บางส่ วน
ต่างกัน ทาให้เกิดเอกลักษณ์เฉพาะของแต่ละภาษา นอกจากนี้ ภาษายังมีพลังที่สามารถสร้างประโยชน์
ให้แก่มนุษย์ได้มากมาย

จุดประสงค์เชิงพฤติกรรม
๑. บอกความหมายของภาษาได้
๒. อธิบายธรรมชาติของภาษาได้
๓. อธิบายพลังของภาษาได้
๔. อธิบายธรรมชาติของภาษาไทยได้
๕. อธิบายระดับของภาษาได้

คุณธรรมจริยธรรมและค่านิยมที่พงประสงค์
ึ
ตระหนักถึงความสาคัญของธรรมชาติและพลังของภาษาไทย
คาแนะนาการใช้ บทเรียนบทที่ ๑

บทเรี ยนสื่ อประสม คือ สื่ อที่มีลกษณะกึ่งบทเรี ยนสาเร็ จรู ป
ั
และในรู ปแบบเว็บไซต์ http://www.kruampornsri.com

ก่อนเข้าบทเรี ยนบทที่ ๑ ต้องทา
แบบทดสอบก่อนเรี ยนก่อนนะจ๊ะ

หากไม่อยากทาในบทเรี ยนสื่ อประสมที่เป็ น
เอกสารนี้ ก็ไปเข้าอินเทอร์ เน็ตแล้วเปิ ด
เว็บไซต์ http://www.kruampornsri.com
ทาแบบทดสอบก่อนเรี ยนบนเว็บก็ได้ใช่ไหมคะ
คุณครู หนูอ่านคู่มือมาแล้วค่ะ

หน้ า ๒
แบบทดสอบก่อนเรียนบทที่ ๑
คาชี้แจง
1. ข้อสอบชุดนี้มี จานวน ๑๐ ข้อ ข้อละ ๑ คะแนน รวม ๑๐ คะแนน
2. ให้เลือกคาตอบที่ถูกที่สุดเพียงคาตอบเดียวแล้วเขียนเครื่ องหมาย × ลงในกระดาษคาตอบ
------------------------------------------------------------------------------------------------------------่
๑. มนุษย์ที่ตกอยูใต้อิทธิ พลของภาษาจะได้รับผลอย่างไรมากที่สุด
ก. จะถูกหลอกได้ง่ายเพราะขาดการไตร่ ตรอง
ข. จะทางานต่าง ๆ ล้มเหลวเพราะความโง่เขลา
ค. จะมีสภาพจิตใจที่อ่อนแอไม่กล้าต่อสู ้ความเป็ นจริ ง
ง. จะขาดความมันใจในตัวเองคอยแต่หวาดระแวง
่
่
๒. มนุษย์ควรปฏิบติอย่างไรจึงไม่ตกอยูใต้อิทธิ พลภาษา
ั
ก. ควรเลิกล้มความเชื่อเกี่ยวกับเรื่ องคาถาอาคมและโชคลาภ
ข. ควรคานึงว่าภาษาเป็ นเพียงสัญลักษณ์ใช้แทนสิ่ งต่าง ๆ เท่านั้น
้
ค. ควรนาความรู ้ที่กาวหน้าทันสมัยเผยแพร่ ให้ผคนได้รู้กว้างขวาง
ู้
ง. ควรมีอิสระในการใช้ภาษาโดยไม่ตองคอยระวังว่าใครจะจับผิด
้
๓. เหตุผลสาคัญที่ทาให้ภาษาไทยมีการแบ่งภาษาออกเป็ นระดับต่าง ๆ คืออะไร
ก. เพื่อทาให้ผฟังเกิดความพึงพอใจ
ู้
ข. เพื่อทาให้การสื่ อสารมีประสิ ทธิ ภาพยิงขึ้น
่
ค. เพื่อต้องการแสดงเอกลักษณ์ของภาษาไทย
ง. เพื่อจะได้เลือกใช้ให้เหมาะสมกับบุคคลเวลาและสถานที่ต่าง ๆ
๔. คาว่า “เด็กปั๊ ม” ควรใช้คาใดแทนเพื่อก่อให้เกิดความพึงพอใจแก่ผถูกเรี ยก
ู้
ก. พนักงานปั๊ มน้ ามัน
ข. พนักงานเติมน้ ามัน
ค. พนักงานบริ การเติมน้ ามัน
ง. พนักงานสถานีบริ การน้ ามันเชื้อเพลิง

หน้ า ๓
๕. ข้อใดใช้ภาษาเหมาะสมกับบุคคล
่
ก. พ่อแม่เราเขาไม่วางเลยมาด้วยไม่ได้
่
ข. ใคร ๆ เขาก็รู้วาคุณครู แก่แล้วทาอย่างนั้นไม่ได้
ค. น้องจ๊ะ ช่วยพี่จดแจกันสาหรับโต๊ะรับแขกหน่อย
ั
ง. หลวงตารับเชิญมาฉันเพลที่บานพรุ่ งนี้
้
๖. ข้อใดเป็ นภาษาระดับทางการ
ก. สุ นทรี ไปเผาศพบิดาของเพื่อนที่วดเนกขัมมาราม
ั
ข. ผุสดีโทรศัพท์คุยกับสุ ดาทุกวัน
ค. นายวิชิต กาลังบรรยายเรื่ องปั ญหาวัยรุ่ นที่หอประชุม
ง. สุ มิตรไปร่ วมงานแต่งงานน้องสาวขอรับแขกหน่อย
๗. ข้อใดใช้ระดับภาษาเหมาะสมในการเขียนรายงานทางวิชาการ
ก. สมัยนี้ของแพงทุกอย่าง เพราะสภาวะเศรษฐกิจกาลังตกต่า
ข. วัฒนธรรมทางจิตใจของชาวไทยที่สาคัญ คือ วัฒนธรรมเกี่ยวกับความคิด ความเชื่อ
และความศรัทธาในศาสนา
ค. เขาเป็ นนักร้องชื่อก้องของสหรัฐ ฯ ที่ประสบความสาเร็ จไม่แพ้รัฐบุรุษคนสาคัญทีเดียว
ง. ฝนได้โปรยปรายลงมาให้ความปรานีแก่ชีวตสัตว์
ิ
๘. ภาษาช่วยพัฒนามนุษย์ได้อย่างไร
ก. ภาษาช่วยให้ความรู ้แก่มนุษย์
ข. มนุษย์ใช้ภาษาเป็ นสื่ อความคิด ความเข้าใจ
ค. มนุษย์ใช้ภาษาแสดงศิลปวัฒนธรรมและประเพณี อนดีงามของตน
ั
ง. ภาษาช่วยเก็บสะสมถ่ายทอดเผยแพร่ ความรู ้และประสบการณ์
๙. ส่ วนประกอบของประโยคในข้อใดมีการเรี ยงลาดับคาต่อประโยค “เพลงนี้ พ่อร้องบ่อย”
ก. หนังสื อนี้บริ ษทแจกทุกปี
ั
ข. น้อยนี่ซนเหลือเกิน
ค. รู ปเขียนพวกนี้ฉนเห็นแทบทุกวัน
ั
ง. น้ ายาล้างจานชนิดนี้แม่บานชอบมาก
้
๑o. ประโยคใดมีรูปแบบประโยคที่แตกต่างไปจากประโยคในภาษาไทย
ก. ห้องนี้มีนกเรี ยนชาย ๑๔ คน นักเรี ยนหญิง ๑๖ คน
ั
ข. หนังสื อเล่มนี้แต่งโดย อัมพร ภิญญาคง
ค. โรงเรี ยนนี้สร้างขึ้นในสมัยสงครามโลกครั้งที่ ๒
ง. พรุ่ งนี้ให้นกเรี ยนทุกคนนาเครื่ องมือเขียนแบบมาด้วยนะ
ั
หน้ า ๔

Contenu connexe

Tendances

ภาษาพูด ภาษาเขียน
ภาษาพูด ภาษาเขียนภาษาพูด ภาษาเขียน
ภาษาพูด ภาษาเขียน
monnawan
 
ธรรมชาติของภาษา
ธรรมชาติของภาษาธรรมชาติของภาษา
ธรรมชาติของภาษา
wattanaka
 
การเปลี่ยนแปลงของภาษา
การเปลี่ยนแปลงของภาษาการเปลี่ยนแปลงของภาษา
การเปลี่ยนแปลงของภาษา
Ppor Elf'ish
 
ม.ปลาย ภาษาไทย_ระดับภาษา 03
 ม.ปลาย ภาษาไทย_ระดับภาษา 03 ม.ปลาย ภาษาไทย_ระดับภาษา 03
ม.ปลาย ภาษาไทย_ระดับภาษา 03
Chaichan Boonmak
 
แผนการจัดการเรียนรู้ ภาษาเขมร
แผนการจัดการเรียนรู้ ภาษาเขมรแผนการจัดการเรียนรู้ ภาษาเขมร
แผนการจัดการเรียนรู้ ภาษาเขมร
itnogkamix
 
แผ่นพับ ระดับภาษา อิงอิง
แผ่นพับ ระดับภาษา อิงอิงแผ่นพับ ระดับภาษา อิงอิง
แผ่นพับ ระดับภาษา อิงอิง
Aing Aingg
 

Tendances (19)

ภาษาพูด ภาษาเขียน
ภาษาพูด ภาษาเขียนภาษาพูด ภาษาเขียน
ภาษาพูด ภาษาเขียน
 
ธรรมชาติของภาษา
ธรรมชาติของภาษาธรรมชาติของภาษา
ธรรมชาติของภาษา
 
ความหมายของภาษา.ส
ความหมายของภาษา.สความหมายของภาษา.ส
ความหมายของภาษา.ส
 
เสียงในภาษา
เสียงในภาษาเสียงในภาษา
เสียงในภาษา
 
ธรรมชาติของภาษาออนไลน์
ธรรมชาติของภาษาออนไลน์ธรรมชาติของภาษาออนไลน์
ธรรมชาติของภาษาออนไลน์
 
ระดับภาษา
ระดับภาษาระดับภาษา
ระดับภาษา
 
การเปลี่ยนแปลงของภาษา
การเปลี่ยนแปลงของภาษาการเปลี่ยนแปลงของภาษา
การเปลี่ยนแปลงของภาษา
 
ม.ปลาย ภาษาไทย_ระดับภาษา 03
 ม.ปลาย ภาษาไทย_ระดับภาษา 03 ม.ปลาย ภาษาไทย_ระดับภาษา 03
ม.ปลาย ภาษาไทย_ระดับภาษา 03
 
ระดับของภาษา
ระดับของภาษาระดับของภาษา
ระดับของภาษา
 
แผนการจัดการเรียนรู้ ภาษาเขมร
แผนการจัดการเรียนรู้ ภาษาเขมรแผนการจัดการเรียนรู้ ภาษาเขมร
แผนการจัดการเรียนรู้ ภาษาเขมร
 
แผ่นพับ ระดับภาษา อิงอิง
แผ่นพับ ระดับภาษา อิงอิงแผ่นพับ ระดับภาษา อิงอิง
แผ่นพับ ระดับภาษา อิงอิง
 
บทที่ 5 ปัญหาและข้อบกพร่อง
บทที่ 5 ปัญหาและข้อบกพร่องบทที่ 5 ปัญหาและข้อบกพร่อง
บทที่ 5 ปัญหาและข้อบกพร่อง
 
ใบความรู้ลักษณะเฉพาะของภาษาไทยการสร้างคำ
ใบความรู้ลักษณะเฉพาะของภาษาไทยการสร้างคำใบความรู้ลักษณะเฉพาะของภาษาไทยการสร้างคำ
ใบความรู้ลักษณะเฉพาะของภาษาไทยการสร้างคำ
 
ระบบคำยืมเสนอ
ระบบคำยืมเสนอระบบคำยืมเสนอ
ระบบคำยืมเสนอ
 
Tha203 3
Tha203 3Tha203 3
Tha203 3
 
ลักษณะภาษาไทย
ลักษณะภาษาไทยลักษณะภาษาไทย
ลักษณะภาษาไทย
 
ใบความรู้เรื่อง ธรรมชาติของภาษา
ใบความรู้เรื่อง ธรรมชาติของภาษาใบความรู้เรื่อง ธรรมชาติของภาษา
ใบความรู้เรื่อง ธรรมชาติของภาษา
 
การอ่าน
การอ่านการอ่าน
การอ่าน
 
หน่วยที่ 1 การเปลี่ยนแปลงของภาษา
หน่วยที่ 1 การเปลี่ยนแปลงของภาษาหน่วยที่ 1 การเปลี่ยนแปลงของภาษา
หน่วยที่ 1 การเปลี่ยนแปลงของภาษา
 

Similaire à ก่อนเรียน

การพิจารณาในมุมกว้าง
การพิจารณาในมุมกว้างการพิจารณาในมุมกว้าง
การพิจารณาในมุมกว้าง
nattaya
 
Language
LanguageLanguage
Language
nattaya
 
ภาษาไทย ม.ปลาย พท31001
ภาษาไทย ม.ปลาย พท31001ภาษาไทย ม.ปลาย พท31001
ภาษาไทย ม.ปลาย พท31001
Thidarat Termphon
 
หนังสือการสอนภาษาไทยสำหรับชาวต่างชาติ
หนังสือการสอนภาษาไทยสำหรับชาวต่างชาติหนังสือการสอนภาษาไทยสำหรับชาวต่างชาติ
หนังสือการสอนภาษาไทยสำหรับชาวต่างชาติ
Sutat Inpa
 

Similaire à ก่อนเรียน (20)

9789740335610
97897403356109789740335610
9789740335610
 
การพิจารณาในมุมกว้าง
การพิจารณาในมุมกว้างการพิจารณาในมุมกว้าง
การพิจารณาในมุมกว้าง
 
1
11
1
 
ปฐมวัย
ปฐมวัยปฐมวัย
ปฐมวัย
 
ภาษาถิ่นตะโหมด
ภาษาถิ่นตะโหมดภาษาถิ่นตะโหมด
ภาษาถิ่นตะโหมด
 
บทที่ 1 แก้
บทที่ 1 แก้บทที่ 1 แก้
บทที่ 1 แก้
 
คำนาม
คำนามคำนาม
คำนาม
 
Language
LanguageLanguage
Language
 
สรุปเนื้อหา ติว
สรุปเนื้อหา ติวสรุปเนื้อหา ติว
สรุปเนื้อหา ติว
 
9789740329787
97897403297879789740329787
9789740329787
 
ภาษาไทย ม.ปลาย พท31001
ภาษาไทย ม.ปลาย พท31001ภาษาไทย ม.ปลาย พท31001
ภาษาไทย ม.ปลาย พท31001
 
บทที่ 5
บทที่ 5บทที่ 5
บทที่ 5
 
Chapter การพัฒนาทักษะการพูดภาษาอังกฤษของนักเรียนชั้นประถมศึกษาปีที่ 4 โดยใช้เ...
Chapter การพัฒนาทักษะการพูดภาษาอังกฤษของนักเรียนชั้นประถมศึกษาปีที่ 4 โดยใช้เ...Chapter การพัฒนาทักษะการพูดภาษาอังกฤษของนักเรียนชั้นประถมศึกษาปีที่ 4 โดยใช้เ...
Chapter การพัฒนาทักษะการพูดภาษาอังกฤษของนักเรียนชั้นประถมศึกษาปีที่ 4 โดยใช้เ...
 
ธรรมชาติของภาษา
ธรรมชาติของภาษาธรรมชาติของภาษา
ธรรมชาติของภาษา
 
แผนการเรียนรู้ ภาษาอังกฤษแผนที่1
แผนการเรียนรู้ ภาษาอังกฤษแผนที่1แผนการเรียนรู้ ภาษาอังกฤษแผนที่1
แผนการเรียนรู้ ภาษาอังกฤษแผนที่1
 
หนังสือการสอนภาษาไทยสำหรับชาวต่างชาติ
หนังสือการสอนภาษาไทยสำหรับชาวต่างชาติหนังสือการสอนภาษาไทยสำหรับชาวต่างชาติ
หนังสือการสอนภาษาไทยสำหรับชาวต่างชาติ
 
บทที่ 1-หลักการความหมายของท้องถิ่นศึกษา
บทที่ 1-หลักการความหมายของท้องถิ่นศึกษาบทที่ 1-หลักการความหมายของท้องถิ่นศึกษา
บทที่ 1-หลักการความหมายของท้องถิ่นศึกษา
 
3 lang
3 lang3 lang
3 lang
 
คู่มือหนังสือส่งเสริมการอ่าน
คู่มือหนังสือส่งเสริมการอ่านคู่มือหนังสือส่งเสริมการอ่าน
คู่มือหนังสือส่งเสริมการอ่าน
 
ภาษาไทย ปลาย
ภาษาไทย ปลายภาษาไทย ปลาย
ภาษาไทย ปลาย
 

Plus de อัมพร ศรีพิทักษ์

0 คำแนะนำการใช้เอกสารประกอบการเรียน
0 คำแนะนำการใช้เอกสารประกอบการเรียน0 คำแนะนำการใช้เอกสารประกอบการเรียน
0 คำแนะนำการใช้เอกสารประกอบการเรียน
อัมพร ศรีพิทักษ์
 
7 การเขียนเรียงความและการเขียนย่อความ(209-237)
7 การเขียนเรียงความและการเขียนย่อความ(209-237)7 การเขียนเรียงความและการเขียนย่อความ(209-237)
7 การเขียนเรียงความและการเขียนย่อความ(209-237)
อัมพร ศรีพิทักษ์
 
6 การพูดเพื่อติดต่อสื่อสารในชีวิตประจำวัน(188-208)
6 การพูดเพื่อติดต่อสื่อสารในชีวิตประจำวัน(188-208)6 การพูดเพื่อติดต่อสื่อสารในชีวิตประจำวัน(188-208)
6 การพูดเพื่อติดต่อสื่อสารในชีวิตประจำวัน(188-208)
อัมพร ศรีพิทักษ์
 
5 การฟังและการดูอย่างมีประสิทธิภาพ(154-183)
5 การฟังและการดูอย่างมีประสิทธิภาพ(154-183)5 การฟังและการดูอย่างมีประสิทธิภาพ(154-183)
5 การฟังและการดูอย่างมีประสิทธิภาพ(154-183)
อัมพร ศรีพิทักษ์
 
4 การอ่านอย่างมีประสิทธิภาพ(108-147)
4 การอ่านอย่างมีประสิทธิภาพ(108-147)4 การอ่านอย่างมีประสิทธิภาพ(108-147)
4 การอ่านอย่างมีประสิทธิภาพ(108-147)
อัมพร ศรีพิทักษ์
 
3 การใช้ทักษะทางภาษาสื่อสารเพื่อพัฒนาตนเอง(74-103)
3 การใช้ทักษะทางภาษาสื่อสารเพื่อพัฒนาตนเอง(74-103)3 การใช้ทักษะทางภาษาสื่อสารเพื่อพัฒนาตนเอง(74-103)
3 การใช้ทักษะทางภาษาสื่อสารเพื่อพัฒนาตนเอง(74-103)
อัมพร ศรีพิทักษ์
 
2 ภูมิปัญญาภาษาไทยในสำนวนโวหาร(40-68)
2 ภูมิปัญญาภาษาไทยในสำนวนโวหาร(40-68)2 ภูมิปัญญาภาษาไทยในสำนวนโวหาร(40-68)
2 ภูมิปัญญาภาษาไทยในสำนวนโวหาร(40-68)
อัมพร ศรีพิทักษ์
 

Plus de อัมพร ศรีพิทักษ์ (11)

0 คำแนะนำการใช้เอกสารประกอบการเรียน
0 คำแนะนำการใช้เอกสารประกอบการเรียน0 คำแนะนำการใช้เอกสารประกอบการเรียน
0 คำแนะนำการใช้เอกสารประกอบการเรียน
 
1 ก่อนเรียน(1-4)
1 ก่อนเรียน(1-4)1 ก่อนเรียน(1-4)
1 ก่อนเรียน(1-4)
 
8 การเขียนเชิงวิชาการ(238 262)
8 การเขียนเชิงวิชาการ(238 262)8 การเขียนเชิงวิชาการ(238 262)
8 การเขียนเชิงวิชาการ(238 262)
 
7 การเขียนเรียงความและการเขียนย่อความ(209-237)
7 การเขียนเรียงความและการเขียนย่อความ(209-237)7 การเขียนเรียงความและการเขียนย่อความ(209-237)
7 การเขียนเรียงความและการเขียนย่อความ(209-237)
 
6 การพูดเพื่อติดต่อสื่อสารในชีวิตประจำวัน(188-208)
6 การพูดเพื่อติดต่อสื่อสารในชีวิตประจำวัน(188-208)6 การพูดเพื่อติดต่อสื่อสารในชีวิตประจำวัน(188-208)
6 การพูดเพื่อติดต่อสื่อสารในชีวิตประจำวัน(188-208)
 
5 การฟังและการดูอย่างมีประสิทธิภาพ(154-183)
5 การฟังและการดูอย่างมีประสิทธิภาพ(154-183)5 การฟังและการดูอย่างมีประสิทธิภาพ(154-183)
5 การฟังและการดูอย่างมีประสิทธิภาพ(154-183)
 
4 การอ่านอย่างมีประสิทธิภาพ(108-147)
4 การอ่านอย่างมีประสิทธิภาพ(108-147)4 การอ่านอย่างมีประสิทธิภาพ(108-147)
4 การอ่านอย่างมีประสิทธิภาพ(108-147)
 
3 การใช้ทักษะทางภาษาสื่อสารเพื่อพัฒนาตนเอง(74-103)
3 การใช้ทักษะทางภาษาสื่อสารเพื่อพัฒนาตนเอง(74-103)3 การใช้ทักษะทางภาษาสื่อสารเพื่อพัฒนาตนเอง(74-103)
3 การใช้ทักษะทางภาษาสื่อสารเพื่อพัฒนาตนเอง(74-103)
 
2 ภูมิปัญญาภาษาไทยในสำนวนโวหาร(40-68)
2 ภูมิปัญญาภาษาไทยในสำนวนโวหาร(40-68)2 ภูมิปัญญาภาษาไทยในสำนวนโวหาร(40-68)
2 ภูมิปัญญาภาษาไทยในสำนวนโวหาร(40-68)
 
9 การกรอกแบบฟอร์ม(263-287)
9 การกรอกแบบฟอร์ม(263-287)9 การกรอกแบบฟอร์ม(263-287)
9 การกรอกแบบฟอร์ม(263-287)
 
2 ภูมิปัญญาภาษาไทยในสำนวนโวหาร(40-68)
2 ภูมิปัญญาภาษาไทยในสำนวนโวหาร(40-68)2 ภูมิปัญญาภาษาไทยในสำนวนโวหาร(40-68)
2 ภูมิปัญญาภาษาไทยในสำนวนโวหาร(40-68)
 

ก่อนเรียน

  • 1. บทที่ ๑ ธรรมชาติและพลังของภาษาไทย สาระสาคัญ ๑. ความหมายของภาษา ๒. ธรรมชาติของภาษา ๓. พลังของภาษา ๔. ธรรมชาติของภาษาไทย ๕. ระดับของภาษา แนวคิดสาคัญ ภาษาเป็ นเครื่ องมือที่มนุ ษย์กาหนดหรื อสร้างขึ้นมาเพื่อใช้ในการติดต่อสื่ อสารกับบุคคลอื่น เพื่อให้เกิ ดความเข้าใจซึ่ งกันและกัน ธรรมชาติของภาษาทุกภาษามีบางส่ วนเหมือนกันแต่บางส่ วน ต่างกัน ทาให้เกิดเอกลักษณ์เฉพาะของแต่ละภาษา นอกจากนี้ ภาษายังมีพลังที่สามารถสร้างประโยชน์ ให้แก่มนุษย์ได้มากมาย จุดประสงค์เชิงพฤติกรรม ๑. บอกความหมายของภาษาได้ ๒. อธิบายธรรมชาติของภาษาได้ ๓. อธิบายพลังของภาษาได้ ๔. อธิบายธรรมชาติของภาษาไทยได้ ๕. อธิบายระดับของภาษาได้ คุณธรรมจริยธรรมและค่านิยมที่พงประสงค์ ึ ตระหนักถึงความสาคัญของธรรมชาติและพลังของภาษาไทย
  • 2. คาแนะนาการใช้ บทเรียนบทที่ ๑ บทเรี ยนสื่ อประสม คือ สื่ อที่มีลกษณะกึ่งบทเรี ยนสาเร็ จรู ป ั และในรู ปแบบเว็บไซต์ http://www.kruampornsri.com ก่อนเข้าบทเรี ยนบทที่ ๑ ต้องทา แบบทดสอบก่อนเรี ยนก่อนนะจ๊ะ หากไม่อยากทาในบทเรี ยนสื่ อประสมที่เป็ น เอกสารนี้ ก็ไปเข้าอินเทอร์ เน็ตแล้วเปิ ด เว็บไซต์ http://www.kruampornsri.com ทาแบบทดสอบก่อนเรี ยนบนเว็บก็ได้ใช่ไหมคะ คุณครู หนูอ่านคู่มือมาแล้วค่ะ หน้ า ๒
  • 3. แบบทดสอบก่อนเรียนบทที่ ๑ คาชี้แจง 1. ข้อสอบชุดนี้มี จานวน ๑๐ ข้อ ข้อละ ๑ คะแนน รวม ๑๐ คะแนน 2. ให้เลือกคาตอบที่ถูกที่สุดเพียงคาตอบเดียวแล้วเขียนเครื่ องหมาย × ลงในกระดาษคาตอบ ------------------------------------------------------------------------------------------------------------่ ๑. มนุษย์ที่ตกอยูใต้อิทธิ พลของภาษาจะได้รับผลอย่างไรมากที่สุด ก. จะถูกหลอกได้ง่ายเพราะขาดการไตร่ ตรอง ข. จะทางานต่าง ๆ ล้มเหลวเพราะความโง่เขลา ค. จะมีสภาพจิตใจที่อ่อนแอไม่กล้าต่อสู ้ความเป็ นจริ ง ง. จะขาดความมันใจในตัวเองคอยแต่หวาดระแวง ่ ่ ๒. มนุษย์ควรปฏิบติอย่างไรจึงไม่ตกอยูใต้อิทธิ พลภาษา ั ก. ควรเลิกล้มความเชื่อเกี่ยวกับเรื่ องคาถาอาคมและโชคลาภ ข. ควรคานึงว่าภาษาเป็ นเพียงสัญลักษณ์ใช้แทนสิ่ งต่าง ๆ เท่านั้น ้ ค. ควรนาความรู ้ที่กาวหน้าทันสมัยเผยแพร่ ให้ผคนได้รู้กว้างขวาง ู้ ง. ควรมีอิสระในการใช้ภาษาโดยไม่ตองคอยระวังว่าใครจะจับผิด ้ ๓. เหตุผลสาคัญที่ทาให้ภาษาไทยมีการแบ่งภาษาออกเป็ นระดับต่าง ๆ คืออะไร ก. เพื่อทาให้ผฟังเกิดความพึงพอใจ ู้ ข. เพื่อทาให้การสื่ อสารมีประสิ ทธิ ภาพยิงขึ้น ่ ค. เพื่อต้องการแสดงเอกลักษณ์ของภาษาไทย ง. เพื่อจะได้เลือกใช้ให้เหมาะสมกับบุคคลเวลาและสถานที่ต่าง ๆ ๔. คาว่า “เด็กปั๊ ม” ควรใช้คาใดแทนเพื่อก่อให้เกิดความพึงพอใจแก่ผถูกเรี ยก ู้ ก. พนักงานปั๊ มน้ ามัน ข. พนักงานเติมน้ ามัน ค. พนักงานบริ การเติมน้ ามัน ง. พนักงานสถานีบริ การน้ ามันเชื้อเพลิง หน้ า ๓
  • 4. ๕. ข้อใดใช้ภาษาเหมาะสมกับบุคคล ่ ก. พ่อแม่เราเขาไม่วางเลยมาด้วยไม่ได้ ่ ข. ใคร ๆ เขาก็รู้วาคุณครู แก่แล้วทาอย่างนั้นไม่ได้ ค. น้องจ๊ะ ช่วยพี่จดแจกันสาหรับโต๊ะรับแขกหน่อย ั ง. หลวงตารับเชิญมาฉันเพลที่บานพรุ่ งนี้ ้ ๖. ข้อใดเป็ นภาษาระดับทางการ ก. สุ นทรี ไปเผาศพบิดาของเพื่อนที่วดเนกขัมมาราม ั ข. ผุสดีโทรศัพท์คุยกับสุ ดาทุกวัน ค. นายวิชิต กาลังบรรยายเรื่ องปั ญหาวัยรุ่ นที่หอประชุม ง. สุ มิตรไปร่ วมงานแต่งงานน้องสาวขอรับแขกหน่อย ๗. ข้อใดใช้ระดับภาษาเหมาะสมในการเขียนรายงานทางวิชาการ ก. สมัยนี้ของแพงทุกอย่าง เพราะสภาวะเศรษฐกิจกาลังตกต่า ข. วัฒนธรรมทางจิตใจของชาวไทยที่สาคัญ คือ วัฒนธรรมเกี่ยวกับความคิด ความเชื่อ และความศรัทธาในศาสนา ค. เขาเป็ นนักร้องชื่อก้องของสหรัฐ ฯ ที่ประสบความสาเร็ จไม่แพ้รัฐบุรุษคนสาคัญทีเดียว ง. ฝนได้โปรยปรายลงมาให้ความปรานีแก่ชีวตสัตว์ ิ ๘. ภาษาช่วยพัฒนามนุษย์ได้อย่างไร ก. ภาษาช่วยให้ความรู ้แก่มนุษย์ ข. มนุษย์ใช้ภาษาเป็ นสื่ อความคิด ความเข้าใจ ค. มนุษย์ใช้ภาษาแสดงศิลปวัฒนธรรมและประเพณี อนดีงามของตน ั ง. ภาษาช่วยเก็บสะสมถ่ายทอดเผยแพร่ ความรู ้และประสบการณ์ ๙. ส่ วนประกอบของประโยคในข้อใดมีการเรี ยงลาดับคาต่อประโยค “เพลงนี้ พ่อร้องบ่อย” ก. หนังสื อนี้บริ ษทแจกทุกปี ั ข. น้อยนี่ซนเหลือเกิน ค. รู ปเขียนพวกนี้ฉนเห็นแทบทุกวัน ั ง. น้ ายาล้างจานชนิดนี้แม่บานชอบมาก ้ ๑o. ประโยคใดมีรูปแบบประโยคที่แตกต่างไปจากประโยคในภาษาไทย ก. ห้องนี้มีนกเรี ยนชาย ๑๔ คน นักเรี ยนหญิง ๑๖ คน ั ข. หนังสื อเล่มนี้แต่งโดย อัมพร ภิญญาคง ค. โรงเรี ยนนี้สร้างขึ้นในสมัยสงครามโลกครั้งที่ ๒ ง. พรุ่ งนี้ให้นกเรี ยนทุกคนนาเครื่ องมือเขียนแบบมาด้วยนะ ั หน้ า ๔