SlideShare une entreprise Scribd logo
1  sur  40
บทที่ ๔
การอ่ านอย่ างมีประสิ ทธิภาพ
สวัสดีค่ะเด็ก ๆ วันนี้ครู จะพาเด็ก ๆ
ไปพบกับเรื่ องของการอ่านหนังสื อนะ
ครับ
สวัสดีครับคุณครู

๑. ความรู้เบืองต้นเกียวกับการอ่าน
้
่

สวัสดีคะคุณครู

การอ่านเป็ นสิ่ งจําเป็ นอย่างยิงในการเพิ่มพูนความรู ้และสติปัญญา การอ่านในใจเป็ นการ
่
อ่านเพื่อเก็บความรู ้ และอ่านเอาเรื่ อง ซึ่ งเป็ นพื้นฐานในการศึกษาความรู ้โดยทัวไป ส่ วนการอ่าน
่
ออกเสี ยงเป็ นการอ่านให้ผอื่นฟั ง ผูอ่านจะต้องเข้าใจหลักการและวิธีการอ่านออกเสี ยงให้ชดเจน
ู้
้
ั
ถูกต้องเพื่อเร้าความสนใจชวนให้ติดตามตลอดเวลาของการอ่าน
การอ่านแบ่งออกเป็ นสองชนิด

อ่านในใจแล้วคิดกับออกเสี ยง

ให้ชดถ้อยชัดคําถูกสําเนียง
ั

ย่อมแท้เที่ยงประโยชน์เลิศเกิดทันใด

ด้วยการอ่านคือประตูสู่โลกกว้าง

เป็ นหนทางเรี ยนรู ้อย่างยิงใหญ่
่

ช่วยเสริ มสร้างโลกทัศน์ให้กว้างไกล

ทันสมัยไม่ตกยุคทุกสถานการณ์

การอ่ า นเป็ นกระบวนการสํา คัญ ในการแสวงหาความรู ้ ข องมนุ ษ ย์ ปั จจุ บ ัน ความ
เจริ ญก้าวหน้าในด้านการพิมพ์และเทคนิ คอื่น ๆ ทําให้วิทยาการต่าง ๆ เผยแพร่ ออกมาในรู ปของ
สิ่ งพิมพ์จานวนมากการอ่านจึงเป็ นเครื่ องมือสําหรับใช้เพื่อการเรี ยนรู ้อย่างกว้างขวาง
ํ
เรื่ องการอ่าน ทุกคนคงอ่านหนังสื อกันมา
มากมายแล้ว แต่การอ่านให้มีประสิ ทธิ ภาพ
เราต้องมีหลักในการอ่านนะคะ

๑.๑ ความหมายของการอ่าน
การอ่าน หมายถึง การรับสารด้วยการแปลความหมายของตัวอักษรออกมาเป็ นถ้อยคํา
และความคิ ด แล้วนําความคิ ดนั้นไปใช้ให้เกิ ดประโยชน์ หัวใจของการอ่านจึ งอยู่ที่การเข้าใจ
ความหมายของการอ่าน
การอ่าน แบ่งออกเป็ น ๒ ลักษณะ มีอะไรบ้าง มีใครตอบได้บางคะ
้

ผมทราบครับ

๑) การอ่านออกเสี ยง คือ การเปล่งเสี ยงถ้อยคํา
และเครื่ องหมายต่าง ๆ ที่เขียนไว้ออกมาให้ชดถ้อยชัดคํา
ั
ให้เป็ นที่เข้าใจแก่ผฟัง
ู้
๒) การอ่ านในใจ คือ การแปลความหมายของ
ข้อความที่อ่านออกมาเป็ นความคิด เพื่อนําความคิดไปใช้
ให้เป็ นประโยชน์แก่ชีวตประจําวันในโอกาสต่าง ๆ
ิ

โดยครู อมพร ศรีพทกษ์
ั
ิ ั

หน้ า ๑๐๙
ต่อไปเรามาดูจุดมุ่งหมายในการอ่านนะคะ เวลาที่เรา
ต้องการรู ้อะไร... นันละคะคือจุดมุ่งหมายของเรา
่

๑.๒ จุดมุ่งหมายในการอ่าน
การอ่านอาจแบ่งจุดมุ่งหมายทัวไป ได้ดงนี้
ั
่
๑) อ่ านเพือศึกษาหาความรู้ เป็ นการอ่านเพื่อให้ได้รับความรู ้ในเรื่ องทัวไป ความรู ้
่
่
ในสาขาใด สาขาหนึ่งโดยตรง หรื อเพื่อเพิ่มพูนความรู ้และประสบการณ์ในงานอาชี พ จึงควรอ่าน
่
จากหนังสื อ หลาย ๆ เล่ม ขณะที่อ่านต้องจับใจความให้ได้วา ใคร ทําอะไร ที่ไหน เมื่อใด อย่างไร
และทําไม ได้แก่ การอ่านหนังสื อประเภทตํารา สารคดี วารสาร หนังสื อพิมพ์และข้อความต่าง ๆ
เป็ นต้น
๒) อ่ านเพื่อเสริ มความคิด เป็ นการอ่านเพื่อสร้างเสริ มความคิดให้เจริ ญงอกงาม มี
ทัศนคติที่กว้างไกล และอาจนํามาเป็ นแนวปฏิบติในการดําเนิ นชี วิตหรื อแก้ปัญหาต่าง ๆ ในชี วิต
ั
ได้ แนวความคิ ดทางปรั ช ญา วัฒ นธรรม จริ ย ธรรมและความคิ ดเห็ นทัวไป มัก แทรกอยู่ใ น
่
หนังสื อแทบทุกประเภท ผูอ่านจะต้องใช้วจารณญาณในการเลือกนําความคิดที่ได้อ่านมาใช้ให้เกิด
้
ิ
ประโยชน์
๓) อ่ า นเพื่ อ ความบั น เทิ ง เป็ นการอ่ า นเพื่ อ ความเพลิ ด เพลิ น เพื่ อ ผ่ อ นคลาย
ความเครี ยดจากการทํางานในชีวตประจําวันเพื่อหาความสุ ขสนุกสนานให้แก่ชีวิต หรื ออ่านเพื่อฆ่า
ิ
เวลา เช่น การอ่านเรื่ องสั้น นวนิยาย บันเทิงคดี เรื่ องขําขัน บทร้อยกรอง ฯลฯ

จุดประสงค์ในการอ่านทั้ง ๓ ประการดังกล่าว อาจรวมอยู่ในการอ่าน
ครั้งเดียวกันก็ได้โดยไม่จาเป็ นต้องแยกจากกันอย่างชัดเจน
ํ

โดยครู อมพร ศรีพทกษ์
ั
ิ ั

หน้ า ๑๑๐
ถ้าอย่างนั้น หนูจะอ่านมาก ๆ นะค่ะ
หนูตองการเป็ นบัณฑิตคะ
้

ใช่คะเข้าใจถูกต้องแล้ว
เพื่อน ๆ ตบมือให้คน
เก่งด้วย

แบบนี้ใช่จุดมุ่งหมายหรื อไม่คะครู

๑.๓ คุณค่าของการอ่าน
การอ่านหนังสื อมีคุณค่าหลายประการ ดังนี้
๑) คุ ณค่ าทางอารมณ์ หนัง สื อที่ ให้คุณค่า ทางอารมณ์ ได้แก่ วรรณคดี ที่ มี
ความงามทั้งถ้อยคํา นํ้าเสี ยง ลี ลาในการประพันธ์ ตลอดจนความงามในเนื้ อหา หรื อ “รส
วรรณคดี” นันเอง
่
๒) คุ ณ ค่ า ทางสติ ปั ญ ญา หนัง สื อ ดี ย่อ มให้ คุ ณ ค่ า ทางสติ ปั ญ ญา อัน ได้แ ก่
ความรู้และความคิดเชิงสร้างสรรค์ ซึ่ งนอกจากความรู้ทางวิชาการแล้วยังรวมถึงความรู้ทาง
การเมือง สังคม ภาษา และสิ่ งต่าง ๆ อันเป็ นประโยชน์แก่ผูอ่าน แม้จะหยิบหนังสื อมาอ่าน
้
เพียง ๒ – ๓ นาที ผูอ่านก็จะได้รับคุณค่าทางสติปัญญาไม่ดานใดก็ดานหนึ่ง
้
้
้
๓) คุ ณ ค่ า ทางสั ง คม การอ่ า นเป็ นมรดกทางวัฒ นธรรมที่ สื บ ต่ อ กัน มาแต่
โบราณกาล หนังสื อและการอ่านเป็ นเครื่ องมือในการเผยแพร่ และพัฒนาสังคม หนังสื ออาจ
่
ทําให้การเมืองเปลี่ยนแปลงไปได้หากมีคนอ่านเป็ นจํานวนมาก จะเห็นได้วาในกลุ่มคนที่ไม่
มีภาษาเขี ยน ไม่มีหนังสื อ ไม่มีการอ่านวัฒนธรรมของสังคมนั้นมักล้าหลัง ปราศจากการ
พัฒนา การอ่านจึงให้คุณค่าทางสังคมในทุกด้าน

โดยครู อมพร ศรีพทกษ์
ั
ิ ั

หน้ า ๑๑๑
๒. หลักการพืนฐานและวิธีการในการอ่านหนังสือ
้
การอ่านหนังสื อ
ต้องมีสิคะ

ต้องมีหลักการด้วย
หรื อครับคุณครู

๒.๑ หลักการพืนฐานในการอ่านหนังสื อ
้
หลักการพื้นฐานในการอ่านหนังสื อทัวไป มีแนวทางดังนี้
่
๑) กาหนดจุดมุ่งหมาย ผูอ่านควรกําหนดจุดมุ่งหมายให้แน่นอนว่าจะอ่าน เพื่ออะไร
้
จะได้ท ราบว่า ควรใช้ค วามพยายามหรื อ ความตั้ง ใจในการอ่ า นระดับ ไหน เช่ น ต้อ งการแค่ รู้
เรื่ องราว หรื อ ต้องการจับสาระสําคัญในเรื่ องให้ได้ หรื อถึงขั้นวิเคราะห์และวินิจสาร ฯลฯ
๒) สารวจแหล่ งที่ม า ผูอ่า นควรหาความรู ้ เกี่ ยวกับผูแต่ ง เวลาที่ แต่ ง เวลาที่ จดพิม พ์
้
้
ั
จํานวนครั้งที่พิมพ์ สถาบันที่จดพิมพ์ ฯลฯ ข้อมูลเหล่านี้ นบเป็ นภูมิหลังที่จะช่วยเสริ มให้ผอ่านมี
ั
ั
ู้
ความรู ้ ความเข้าใจในความเป็ นมาของหนังสื อเล่มนั้น ๆ มากขึ้น
่
๓) พิจารณาส่ วนประกอบ ในการอ่านหนังสื อทุกประเภทไม่วาจะด้วยจุดมุ่งหมายใดก็
ตามผูอ่านควรจะรู ้ ว่าหนังสื อแต่ละเล่ มมี ส่วนประกอบ อย่างไร การพลิ กอ่านส่ วนประกอบของ
้
หนังสื ออย่างรวดเร็ ว เพื่อให้ทราบว่าหนังสื อ มีส่วนใดสําคัญเป็ นพิเศษ ส่ วนสําคัญ ได้แก่ คํานํา
หรื อบทนํา สารบัญ บทสรุ ปท้ายเล่ม ดรรชนี ภาคผนวก อภิธานศัพท์ เป็ นต้น
๔) อ่านอย่างมีสมาธิ เมื่อเริ่ มต้นอ่านเนื้อหาของหนังสื อควรทําใจให้เป็ นสมาธิ แน่วแน่
ั
อยู่กบ เรื่ องที่ อ่าน เพราะจะทําให้ความรู ้ สึกนึ กคิ ดของตนเองและของผูเ้ ขี ยนเข้าสู่ ส มองอย่างมี
ระเบียบสามารถทําความเข้าใจและจดจําข้อความที่อ่านได้อย่างแม่นยํา ทําให้เป็ นคนมีจิตใจสงบ
และมีความจําดีไปโดยอัตโนมัติ

โดยครู อมพร ศรีพทกษ์
ั
ิ ั

หน้ า ๑๑๒
๕) ตั้งคาถามทบทวน ในขณะที่อ่านควรตั้งคําถามทบทวนสิ่ งที่ตนอ่านอยู่ทุกระยะ เช่ น
่
ใคร ทําอะไร ที่ไหน เมื่อไหร่ และทําไม แล้วพยายามให้คาตอบอยูในใจตลอดเวลาจะทําให้เรารู ้จก
ํ
ั
อ่านอย่างมีจุดหมาย คือ อ่านเพื่อค้นหาคําตอบมิใช่อ่านอย่างเลื่อนลอยจับจุดไม่ได้

เด็ก ๆ ทากันได้ หรือเปล่า
ครับ
ถ้ าทาได้ เด็ก ๆ ก็จะเป็ น
คนเก่งนะคะ

๒.๒ วิธีการอ่านหนังสือ
วิธีการอ่านหนังสื ออาจแตกต่างออกไปตาม
ความมุ่ ง หมายของผู ้อ่ า นเป็ นประการสํ า คัญ เช่ น ถ้า ผูอ่ า น
้
ต้องการอ่านเพื่อหาคําตอบอย่างใดอย่างหนึ่ ง ผูอ่านจําเป็ นต้อง
้
รู ้จกกลุ่มพวกหรื อลักษณะของหนังสื อนั้น ๆ เพื่อจะช่วยในการ
ั
หาคําตอบได้รวดเร็ ว ถ้าต้องการอ่านเพื่อการศึกษาก็ตองใช้วิธี
้
อ่านอีกแบบหนึ่ ง ถ้าต้องการอ่านเพื่อความเพลิ ดเพลิ น ผูอ่าน
้
ต้องพยายามสร้างอารมณ์ให้เคลิบเคลิ้มไปตามเนื้ อเรื่ อง อันเป็ น
วิธีอ่านอีกแบบหนึ่ง
การอ่านหนังสื อต้องมี
วิธีการอ่านด้วยหรื อคะ
ต้องมีสิคะ

โดยครู อมพร ศรีพทกษ์
ั
ิ ั

ครับครู

หน้ า ๑๑๓
วิธีการอ่านให้ได้ตามความมุ่งหมาย แบ่งออกเป็ น ๔ แบบ ดังนี้

๑) การอ่านอย่างละเอียด เป็ นการอ่านเพื่อการศึกษา ควรอ่านอย่างละเอียดพร้ อม
กับใช้ความพินิจพิเคราะห์ พยายามทําความเข้าใจเรื่ องราวให้ได้ทุกบททุกตอน ไม่ควรอ่านข้าม
เรื่ องถ้าเป็ นเรื่ องมีเนื้อหาติดต่อสื บเนื่ องกัน เพราะจะทําให้งุนงง ไม่รู้เรื่ อง จับต้นชนปลายไม่ติด
หลังจากอ่านจบตอนแล้วควรหยุดพักใคร่ ครวญ ทบทวน ประมวลความคิดให้เป็ นลําดับ อันจะ
เป็ นพื้นฐานไปสู่ ความรอบรู ้เชี่ยวชาญในเรื่ องนั้น ๆ วิธีน้ ีใช้สาหรับอ่านตําราวิชาการที่ตองศึกษา
ํ
้
อย่างจริ งจัง
๒) การอ่านอย่างถี่ ถ้วน การอ่านแบบนี้ ใช้เมื่ ออ่านเรื่ องที่ ตองการทําความเข้าใจ
้
ต้องการให้รอบรู ้นอยกว่าแบบแรก เช่น อ่านเพื่อวิจารณ์ ติชม เพื่อเขียนคํานิ ยม จะต้องอ่านอย่าง
้
ระมัดระวังโดยอ่านให้ตลอด อย่างทิ้งข้ามอะไรไว้ โดยมิได้อ่านหรื อเห็ นว่าไม่ใช่เรื่ องสําคัญที่
อาจกลายเป็ นสําคัญอย่างยิ่ง การอ่านอย่างรอบคอบถี่ถวนทัวถึ งก็เพื่อสะดวกในการหาแง่คิด ติ
้ ่
ชม คัดค้าน หรื อสนับ สนุ นหนังสื อนั้น ๆ ต้องระมัดระวัง ตรวจพิจารณาข้อความในวงเล็ บ
ข้อความในเครื่ องหมายคําพูด ตลอดจนข้อความตามคําบางคํา เช่น “แต่ ถ้า และ หรื อ” ถ้าอ่าน
ข้าม ๆ ไปโดยไม่ระมัดระวังอาจเข้าใจความหมายคลาดเคลื่อนไปได้
๓) การอ่านอย่างรวดเร็ ว ใช้สําหรับการอ่าน นวนิยาย หนังสื อพิมพ์ รายงาน หรื อ
หนังสื ออื่น ๆ ที่ไม่ตองศึกษาให้ละเอียดลออ นอกจากนั้น ยังใช้อ่านเพื่อทบทวนความจํา อ่าน
้
เรื่ องที่เคยผ่านสายตามาแล้ว ตลอดจนอ่านเรื่ องที่ผอ่านมีความรู ้ มีประสบการณ์มาแล้วค่อนข้าง
ู้
ดี เป็ นการอ่านเพื่อเพิมพูนความรู ้ความเข้าใจให้มากขึ้น บางทีเรี ยกว่า “อ่านตรวจความหรื ออ่าน
่
ตรวจเรื่ อง”
๔) การอ่ า นคร่ า ว ๆ ได้แ ก่ การอ่ า นเพื่ อจะค้นคว้า หาคํา ตอบเรื่ อ งหนึ่ ง เรื่ อ งใด
โดยเฉพาะ เช่น ต้องการค้นชื่อ หาวันที่ สถานที่ หลักฐานอ้างอิง หรื อต้องการตรวจดูสารบัญ
่
เรื่ องว่ามีอะไรบ้างดูสานวนโวหาร ทํานองแต่ง เค้าโครงเรื่ อง เพื่อให้รู้วาหนังสื อนั้นสมควรอ่าน
ํ
หรื อไม่ เป็ นการตรวจแนวทางตามความประสงค์ของตน โดยไม่ตองการรายละเอียด
้
โดยครู อมพร ศรีพทกษ์
ั
ิ ั

หน้ า ๑๑๔
ครู ขอสรุปนะคะ

การอ่ า นแบบคร่ า ว ๆ ถ้า อ่ า นเป็ นหรื ออ่ า นอย่า งมี ห ลัก มี ส มาธิ จะได้ประโยชน์
ไม่นอย แต่จะเป็ นอันตรายมากสําหรับผูที่ไม่รู้จกวิธีการอ่านที่ถูกต้อง และนําวิธีน้ ี ไปใช้อย่าง
้
้
ั
ผิดความประสงค์หรื อจุดหมาย เช่น นําไปอ่านเพื่อการศึกษา อาจเสี ยเวลาเปล่า โดยไม่เข้าใจ
อะไรขึ้นมา ดังนั้น เมื่ออ่าน คร่ าว ๆ จบลงครั้งหนึ่ งแล้ว ควรกลับมาเริ่ มต้นให้ละเอียดใหม่อีก
ครั้งหนึ่งสําหรับหนังสื อที่ตองการศึกษาให้รู้เรื่ องราวโดยละเอียดไม่ควรอ่านทิ้งขว้าง หรื ออ่าน
้
แล้วทิ้งเลย ทิ้งไปเฉย ๆ อันเป็ นการเพาะนิ สัยสะเพร่ าจะอ่านอะไรก็อ่านแต่เพียงลวก ๆ ไม่ได้
เรื่ องได้ราวอะไร นับเป็ นการอ่านที่ สูญเปล่ าอย่างยิ่ง ในชี วิตมนุ ษย์ (จากหลัก การอ่า น ของ
สมบัติ จําปาเงิน และสําเนียง มณี กาญจน์)

แจ๋ วเข้าใจแล้วคะคุณครู

โดยครู อมพร ศรีพทกษ์
ั
ิ ั

หน้ า ๑๑๕
๓. มารยาทในการอ่าน

.. ไข่ น้ ุย วันนีเ้ รามาเรียนมารยาท
ในการอ่ านกันนะ

..ครับคุณครู

มารยาททัว ๆ ไปในการอ่าน มีดงนี้
ั
่
๑) ไม่ควรอ่านเรื่ องที่เป็ นส่ วนตัวของบุคคลอื่น เช่น จดหมาย สมุดบันทึก
๒) ในขณะที่ มีผูอ่านหนังสื อ ไม่ควรชะโงกไปอ่านข้างหลังให้เป็ นที่รําคาญและไม่
้
ควรแย่งหนังสื อมาอ่าน
๓) ไม่อ่านออกเสี ยงดัง ในขณะที่ผอื่นต้องการความสงบ
ู้
๔) ไม่แกล้งอ่านเพื่อล้อเลียนบุคคลอื่น
๕) ไม่ควรถือวิสาสะหยิบหนังสื อของบุคคลอื่นมาอ่านโดยไม่ได้รับอนุ ญาต
่
๖) ไม่อ่านหนังสื อเมื่ออยูในวงสนทนาหรื อมีการประชุม
๗) เมื่ออ่านหนังสื อในห้องสมุดหรื อสถานที่ซ่ ึ งจัดไว้ให้อ่านหนังสื อโดยเฉพาะ ควร
ปฏิบติตามระเบียบกฎเกณฑ์ของสถานที่เหล่านั้นอย่างเคร่ งครัด
ั

เรื่ องมารยาทในการอ่าน
เข้าใจแล้วหรื อยัง....
เข้ าใจแล้วคะ

โดยครู อมพร ศรีพทกษ์
ั
ิ ั

หน้ า ๑๑๖
๔. ลักษณะของผู้ที่อ่านเป็ น

อ่านแบบไหนละครับ
ถึงจะเรี ยกว่าอ่านเป็ น

อ่านถูกวิธีมีมารยาทแล้วยังต้อง
อ่านเป็ นด้วยนะคะ

การอ่ า นหนัง สื อ ไม่ ว่า จะเป็ นการอ่ า นออกเสี ย งหรื อ
อ่านในใจ ไม่ใช่ เพียงแต่อ่านหนังสื อออกเท่านั้นแต่ตองอ่านเป็ น
้
ด้วย จึงจะทําให้รับสารได้ตรงตามจุดมุ่งหมายของผูเ้ ขียนและเป็ น
ผูมีประสิ ทธิ ภาพในการอ่าน
้
ลักษณะของผูที่อ่านเป็ นมีคุณสมบัติอะไรบ้างละครับ
้

๑) อ่านแล้วรู ้เรื่ องราวได้ตลอด คือ อ่านจับใจความและเข้าใจความหมาย
ในเนื้อหาของเรื่ องที่อ่านได้ถูกต้อง
๒) ได้รับรสชาติจากการอ่าน คื อ เมื่ ออ่านเรื่ องใดก็ตามย่อมเกิ ดความ
ซาบซึ้ งตามเนื้ อหา สํานวนและวิธีการประพันธ์ น้ ัน ๆ มีอารมณ์ คล้อยตามและ
เห็นภาพพจน์ตามคําบรรยาย
๓) วินิจฉัยคุณค่าของเรื่ องที่อ่านได้ว่ามีคุณค่าหรื อประโยชน์ในแง่ใด มี
คุ ณ ค่ า ควรให้ ค วามสนใจมากน้อ ยเพี ย งใดและหนัง สื อ ใดเหมาะสมกับ บุ ค คล
ประเภทใด เป็ นต้น
๔) รู ้ จ ัก นํา สิ่ ง ที่ เ ป็ นประโยชน์ จ ากเรื่ อ งที่ อ่ า นมาใช้ไ ด้เ หมาะสมกับ
สถานการณ์ หนังสื อทุกเล่มย่อมมีคุณค่าและประโยชน์จากหนังสื อที่อ่านนําไปใช้
อย่างเหมาะสมเป็ นวิธีการหนึ่งของการอ่านที่มีปะสิ ทธิ ภาพ
๕) รู ้ จ ัก เลื อ กหนัง สื อ ที่ อ่ า นได้ต รงตามความมุ่ ง หมาย เหมาะสมกับ
โอกาส คือ รู ้จกเลือกอ่านหนังสื อได้ตรงตามความต้องการนันเอง
ั
่
โดยครู อมพร ศรีพทกษ์
ั
ิ ั

หน้ า ๑๑๗
๕. การอ่านในใจ

การอ่านในใจ เป็ นการอ่าน
เพือพัฒนาตนเอง
่

มีอะไรบ้ างหรือคะคุณครู

๑) การพัฒนาด้านความรู ้ คือ ได้ท้ งความรู ้รอบตัวและความรู ้ เฉพาะด้าน เช่ น การ
ั
อ่านหนังสื อพิมพ์ นิตยสาร เอกสาร สิ่ งพิมพ์ ฯลฯ
๒) การพัฒนาด้านอารมณ์ ช่ วยให้เกิ ดความเพลิ ดเพลิ นบันเทิงใจ คลายความขุ่นมัว
ต่าง ๆ เช่นการอ่านนวนิยาย เรื่ องสั้น ๆ บทกวีต่าง ๆ
๓) การพัฒนาด้านคุณธรรม การมีคุณธรรมย่อมเกิดมาจากความจรรโลงใจ ซึ่ งได้จาก
การอ่านหนังสื อประเภทธรรมะ ชีวประวัติ สารคดี ฯลฯ

การอ่านในใจจึงเป็ นวิธีการศึกษา
อย่างหนึ่ง เพื่อเรี ยนรู ้และเข้าใจประสบการณ์
ใหม่ ๆ ซึ่ งช่วยให้มนุษย์เกิดการปรับตัวเพื่อ
การดํารงชี วตอย่างเป็ นสุ ข
ิ

โดยครู อมพร ศรีพทกษ์
ั
ิ ั

หน้ า ๑๑๘
จุดมุ่งหมายของการอ่านในใจ

๑) เพื่อจับใจความได้ถูกต้องรวดเร็ ว
๒) เพื่ อให้เกิ ดความรู ้ ค วามเข้า ใจ และความคิ ดกว้า งขวาง
ลึกซึ้ ง เป็ นการเสริ มสร้างประสบการณ์ชีวต
ิ
๓) เพื่อให้เกิ ดความเพลิ ดเพลิ น และเป็ นการใช้เวลาว่างให้
เป็ นประโยชน์
๔) เพื่ อ ให้ ส ามารถถ่ า ยทอดสิ่ ง ที่ อ่ า นให้ ผู ้อื่ น รั บ รู ้ โ ดยไม่
ผิดพลาด

เช่ น อ่ านหนังสื อสอบ เป็ นจุดมุ่งหมาย ของ
การอ่านในใจใช่ ไหมคะ เพราะจะจับใจความได้

ถูกต้ องแล้ วคะ

โดยครู อมพร ศรีพทกษ์
ั
ิ ั

หน้ า ๑๑๙
หลักการอ่านในใจ

ต้ องทาอย่ างไรจึงจะอ่ านถูกวิธีคะ

การฝึ กตนเองให้ เป็ นคนอ่ านเร็วต้ องมีหลักในการอ่ านอย่ างถูกวิธี ดังนี้
๑) ตั้งสมาธิ ให้แน่วแน่สนใจและเอาใจจดจ่อกับสิ่ งที่อ่านไม่คิดเรื่ องอื่นจะทําให้จบ
ั
ใจความของเรื่ องที่อ่านไม่ได้
๒) กะระยะช่วงสายตาในการอ่านแต่ละคราวให้กว้างที่สุด จะทําให้อ่านได้รวดเร็ ว
ไม่ควรมองเป็ นคํา ๆ เพราะจะทําให้อ่านช้าและจับใจความไม่ได้
๓) การเคลื่อนไหวสายตาจากจุดหนึ่ งไปอีกจุดหนึ่ งไม่ควรบ่อยครั้ง แต่ควรเป็ นไป
อย่างมีจงหวะและแน่นอน ไม่ควรส่ ายตาไปตามเส้นบรรทัด
ั
๔) ไม่ควรอ่านย้อนกลับไปเพื่อทบทวนใหม่บ่อย ๆ เพราะจะทําให้อ่านช้าลง
๕) การเปลี่ยนบรรทัดต้องให้แม่นยํา พยายามอย่ากลับไปอ่านซํ้าบรรทัดเดิมอีก
๖) ไม่ทาปากขมุบขมิบหรื อออกเสี ยงในเวลาอ่าน
ํ
๗) ไม่ใช้นิ้ว ปากกา หรื อดินสอ ชี้ที่ตวหนังสื อทีละตัว
ั
๘) จับใจความสําคัญ และใจความประกอบให้ได้ พิจารณาให้เข้าใจ
๙) บันทึกความรู ้ ความเข้าใจ และความคิดไว้เพื่อนําไปใช้ประโยชน์ต่อไป

โดยครู อมพร ศรีพทกษ์
ั
ิ ั

หน้ า ๑๒๐
๖. การอ่านออกเสียง
การอ่านออกเสี ยง
หนูไม่ชอบการอ่านออกเสี ยงเวลาเพื่อนอ่าน
เสี ยงดัง ๆ แข่งกันในห้อง ฟังไม่รู้เรื่ องเลยคะ

เราต้องอ่านให้ถูกที่ถูกเวลาสิ คะ และอ่านให้ถูกต้อง
ถูกความหมายด้วย เช่ นผูสื่อข่าว ถ้าไม่อ่านออก
้
เสี ยงเราก็ฟังไม่ได้จริ งไหมคะ

การอ่ า นออกเสี ย ง เป็ นกระบวนการส่ ง สารที่ ผู ้อ่ า น
จะต้องใช้กลวิธีในการอ่าน เพื่อให้ผฟังได้รับอรรถรสจากสารนั้น
ู้
ตรงตามเจตนารมณ์ ของผูเ้ ขียนให้มากที่สุด ผูอ่านออกเสี ยงได้ดี
้
คือ ผูที่สามารถใช้เสี ยงได้อย่างมีประสิ ทธิ ภาพ อ่านชัดถ้อยชัดคํา
้
อย่างคล่ องแคล่ วถู กต้อง มี ความรู ้ ความเข้าใจในสารที่ อ่านเป็ น
อย่างดี และแสดงกิริยาอาการได้สอดคล้องกับเรื่ องที่อ่าน

โดยครู อมพร ศรีพทกษ์
ั
ิ ั

หน้ า ๑๒๑
๖.๑ ความหมายของการอ่านออกเสี ยง
การอ่านออกเสี ยง หมายถึ ง การอ่านออกเสี ยงถ้อยคําหรื อเครื่ องหมายต่าง ๆ ที่เขียน
ไว้ออกมาอย่างชัดถ้อยชัดคําให้ผฟังรับรู ้และเข้าใจ โดยใช้ศิลปะในการใช้เสี ยง สี หน้าและท่าทาง
ู้
ประกอบเพื่อให้ผฟังเกิดความคิดหรื ออารมณ์ในลักษณะต่าง ๆ เช่น เกิ ดความพอใจหรื อไม่พอใจ
ู้
เกิดความคิดคล้อยตาม หรื อเกิดความคิดในเชิงสร้างสรรค์เป็ นการอ่านเพื่อสร้างความรู้ ความเข้าใจ
และอารมณ์แก่ผฟังในโอกาสต่าง ๆ
ู้
๑) การอ่ านออกเสี ยงเพื่อบุ คคลในครอบครั วผู้ที่ค้ ุนเคย เป็ นการอ่านที่ ไม่เป็ นทางการ
เช่ น บุ ค คลในครอบครั วอ่ า นนิ ท าน หนัง สื อพิ มพ์ อ่ า นข่ า ว จดหมาย ใบปลิ ว คําโฆษณา ใบ
ั
ประกาศ หนังสื อวรรณคดี ต่าง ๆ เป็ นการอ่านสู่ กนฟั งหรื ออ่านให้เพื่อนฟั ง อ่านให้คนบางคนที่
อ่านหนังสื อไม่ออกหรื อมองไม่เห็น
๒) การอ่ านออกเสี ยงที่เป็ นทางการหรืออ่ านในเรื่องของหน้ าที่การงาน การอ่านอย่างเป็ น
ทางการ เช่น การอ่านในห้องเรี ยน อ่านในที่ประชุ ม อ่านรายงาน อ่านในพิธีเปิ ดงาน อ่านคําปราศรัย
การอ่านสารในโอกาสที่สาคัญต่าง ๆ การอ่านของสื่ อมวลชน
ํ

สรุ ปได้ ว่า

การอ่ านออกเสี ยงให้ผูอื่นฟั ง จะต้องอ่ านให้
้
ชัดเจนถูกต้อง ได้ขอความครบถ้วนสมบูรณ์ มีลีลาการ
้
อ่านที่น่าสนใจและน่าติดตามฟังจนจบ
เก่งมาก สรุ ปได้ ถูกต้ องแล้ วคะ

โดยครู อมพร ศรีพทกษ์
ั
ิ ั

หน้ า ๑๒๒
๖.๒ จุดมุ่งหมายของการอ่านออกเสี ยง
๑) เพื่อให้อ่านออกเสี ยงได้ถูกต้องตามอักขรวิธี
๒) เพื่อให้รู้จกใช้น้ าเสี ยงบอกอารมณ์และความรู ้สึกให้สอดคล้องกับเนื้อหา
ั
ํ
เรื่ องที่อ่าน
๓) เพื่อให้เข้าใจเรื่ องที่อ่านได้ถูกต้อง
๔) เพื่อให้ผอ่านและผูฟังมีความรู ้ความเข้าใจในเนื้ อเรื่ องที่อ่านได้ชดเจน
ู้
้
ั
๕) เพื่อให้ผอ่านและผูฟังเกิดความเพลิดเพลิน
ู้
้
๖) เพื่อเป็ นการรับสารและส่ งสารวิธีหนึ่ง

นักเรี ยนที่น่ารักทุกคน ตั้งใจอ่านกันนะคะ

๖.๓ หลักการอ่านออกเสี ยง
๑) อ่านออกเสี ยงให้ถูกต้องและชัดเจน
๒) อ่านให้ดงพอที่ผฟังได้ยนทัวถึง
ั
ู้
ิ ่
๓) อ่านให้เป็ นเสี ยงพูดโดยธรรมชาติ
๔) รู้จกทอดจังหวะ และหยุดหายใจเมื่อจบข้อความตอนหนึ่ง ๆ
ั
๕) อ่านให้เข้าลักษณะของเนื้ อเรื่ อง เช่น บทสนทนา ต้องอ่านให้เหมือนการสนทนา
กันอ่านคําบรรยาย พรรณนาความรู ้สึก หรื อ ปาฐกถาก็อ่านให้เข้ากับลักษณะของเรื่ องนั้น ๆ
๖) อ่านออกเสี ยงและจังหวะให้เป็ นไปตามเนื้ อเรื่ อง เช่ น ดุ หรื อโกรธ ก็ทาเสี ยงขุ่น
ํ
และเร็ วถ้าเป็ นเรื่ องเกี่ยวกับครํ่าครวญ อ้อนวอน ก็ทอดเสี ยงให้ชาลง เป็ นต้น
้

โดยครู อมพร ศรีพทกษ์
ั
ิ ั

หน้ า ๑๒๓
๖.๔ องค์ ประกอบของการอ่านออกเสี ยง
๑) ผู้ อ่ า น เป็ นผูที่ ท า หน้ า ที่ อ่ า นต้น ฉบับ หรื อ บทอ่ า น ผูอ่ า นที่ มี พ้ื น ฐานการศึ ก ษา
้ ํ
้
ประสบการณ์และการฝึ กฝนมาก ๆ จะสามารถอ่านได้อย่างมีประสิ ทธิ ภาพ
๒) ต้ นฉบับหรือบทอ่ าน หมายถึง ข้อเขียนซึ่ งผูอ่านจะอ่านแบบพูด เพื่อถ่ายทอดสาร
้
ไปยังผูฟัง ต้นฉบับที่ดีจะต้องมีความชัดเจน มีลกษณะสร้างสรรค์และเป็ นประโยชน์ต่อผูฟัง
้
ั
้
๓) ผู้ ฟั ง คื อ ผู ้รั บ สารจากการฟั ง จนเกิ ด ความเข้า ใจ แล้ว มี ป ฏิ กิ ริ ยาตอบสนอง
ั
สอดคล้องกับเรื่ องที่ได้ฟัง ทั้งนี้ ข้ ึนอยู่กบประสิ ทธิ ภาพของการอ่านและคุ ณลักษณะพื้นฐานของ
ผูฟัง ได้แก่ ความรอบรู ้ในเรื่ องที่ฟัง ความตั้งใจ ความสามารถในการฟัง เป็ นต้น
้
๔) สื่ อที่ใช้ ในการอ่ าน หมายถึ ง สิ่ งที่ช่วยในการถ่ายทอดข้อความที่อ่าน จากผูอ่านไป
้
ยังผูฟังมี ๒ ประเภท คือ สื่ อภายนอก ได้แก่ โสตทัศนูปกรณ์ต่าง ๆ เช่น เครื่ องขยายเสี ยง และสื่ อ
้
ภายในจากตัวผูอ่านเอง เช่น นํ้าเสี ยง การแสดงสี หน้า แววตา อากัปกิริยา เป็ นต้น
้
๕) สภาพแวดล้ อม หมายถึ ง บรรยากาศ สถานที่ เวลา ในขณะที่ อ่ า น ถ้ า
สภาพแวดล้อมดีเอื้ออํานวยต่อการถ่ายทอดข้อความไปยังผูฟัง การสื่ อสารก็จะได้ผลดี เช่น ผูอ่าน
้
้
อ่านออกเสี ยงได้อย่างชัดเจน มีประสิ ทธิ ภาพ โดยไม่มีเสี ยงอื่น ๆ รบกวน อากาศในห้องไม่หนาว
หรื อร้อนจนเกินไป
มีใครสงสั ยเรื่ององค์ ประกอบหรือเปล่าคะ

เข้ าใจกันแล้ วคะ ขอบคุณนะคะ

โดยครู อมพร ศรีพทกษ์
ั
ิ ั

หน้ า ๑๒๔
๖.๕ การเตรียมตัวเพือการอ่านออกเสี ยง
่
การอ่านออกเสี ยง เป็ นการอ่านจากต้นฉบับซึ่ งร่ างไว้แล้ว
่ ้
ไม่วาผูอ่านจะร่ างข้อความเองหรื อไม่ก็ตามและต้นฉบับจะเป็ นร้ อย
แก้วหรื อร้ อยกรองก็ตาม ควรมีการเตรี ยมตัวก่อนอ่านและฝึ กซ้อม
เพื่อให้สามารถเน้นเสี ยง เว้นจังหวะ ออกเสี ยงสู งตํ่าได้อย่างถูกต้อง
และอ่านได้อย่างคล่องแคล่ว

แล้ว เราจะเตรี ย มตัว เพื่ อ การอ่ า น
ออกเสี ยงอย่างไรได้บางคะ
้

ขั้นตอนการอ่านออกเสี ยงเราต้องเตรี ยมตัว
ก่อน มีดงนี้ นะคะ
ั

โดยครู อมพร ศรีพทกษ์
ั
ิ ั

หน้ า ๑๒๕
๑) ศึ ก ษาเนื้อ หาของบทอ่ า น ผูอ่า นต้องศึ ก ษาเนื้ อหาของบทอ่ า นตอนที่ จะอ่ า นอย่า ง
้
ละเอียดศึกษาความหมายของถ้อยคํา สํานวนและประโยค เพื่อทําความเข้าใจเรื่ องที่อ่านอย่างถ่อง
แท้ ควรอ่านหลาย ๆ ครั้งเพื่อให้ชินกับสายตาและจับจุดมุ่งหมายของผูเ้ ขียน หาแนวคิดสําคัญของ
่
่
เรื่ อง ความสัมพันธ์ของเรื่ องโดยรวม วิเคราะห์เหตุผลหรื ออารมณ์ที่แทรกอยูในเนื้ อหา ดูวาแต่ละ
ย่อ หน้า หรื อ คํา ประพันธ์ แต่ ล ะบทมี ค วามคิ ด สํา คัญ อยู่ที่ ใ ด พิ จ ารณาว่า ควรจะแบ่ ง วรรคตอน
อย่างไร ควรจะหยุดช่วงการหายใจตรงไหน แล้วทําเครื่ องหมายต่าง ๆ ในบทอ่าน เพื่อช่วยในการ
ั
อ่านออกสี ยงให้เหมาะสมหรื อสัมพันธ์กบเนื้อหาในขณะที่อ่าน
๒) เตรียมต้ นฉบับ ต้นฉบับที่จะนําไปอ่านนั้นควรเตรี ยมไว้ล่วงหน้า เขียนหรื อพิมพ์ให้
ชัดเจนเป็ นระเบียบ อ่านง่าย ถ้าเป็ นกระดาษอ่อน ควรผนึ กกับกระดาษแข็งหรื อแฟ้ มให้เรี ยบร้ อย
ใช้กระดาษพื้นสี อ่อนหรื อสี เข้ม ไม่ใช่กระดาษลวดลายหรื อสี ฉูดฉาดแสบตา
๓) เตรียมอารัมภบทและบทสรุ ปทีเ่ หมาะสม ผูอ่านอาจเตรี ยมอารัมภบทและบทสรุ ปไว้
้
เพื่อช่วยเสริ มการอ่านเพราะบางทีผฟังอาจต้องการรู ้รายละเอียดเพิ่มเติมในบางเรื่ อง เช่น เรื่ องราว
ู้
เกี่ยวกับผูเ้ ขียนและเหตุผลในการเขียน เรื่ องย่อของเนื้อหา นิยามศัพท์ใหม่บางคํา เป็ นต้น
๔) ฝึ กซ้ อมการอ่ าน ผูอ่านควรฝึ กซ้อมอ่านให้เหมือนกับอยู่ในสถานการณ์ จริ ง เช่ น
้
อาจจะฝึ กซ้อมกับเพื่อนฝูง ฝึ กการใช้ท่าทางในการนังหรื อยืนอ่าน การถือเอกสารเตรี ยมพร้อมที่จะ
่
อ่านฝึ กกวาดสายตามองตัวอักษรสลับกับการเงยหน้าขึ้นสบตาผูฟังในขณะอ่าน การเปล่งเสี ยง เว้น
้
จังหวะ เน้นเสี ยงสู งตํ่า ตอนใดควรเน้นเสี ยงให้ดงเป็ นพิเศษ ตอนใดควรผ่อนให้เสี ยงเบาลง ตอน
ั
ใดควรอ่านให้เร็ วขึ้ นและตอนใดควรอ่านให้ช้าลง พยายามฝึ กซ้อมให้ออกเสี ยงได้อย่างราบรื่ น
ต่อเนื่องกัน

โดยครู อมพร ศรีพทกษ์
ั
ิ ั

หน้ า ๑๒๖
๖.๖ วิธีการอ่านออกเสี ยง
๑) ควบคุ ม สติใ ห้ ดี เมื่ อถึ งเวลาอ่า นจริ ง ผูอ่านที่ ขาดประสบการณ์ มกจะเกิ ดความ
้
ั
ประหม่าจึงต้องควบคุ มสติให้มนคง สู ดลมหายใจเข้าลึ ก ๆ แล่วค่อย ๆ ผ่อนลมหายใจออกเพื่อ
ั่
ลดความประหม่า มือไม้สั่น ไม่รีบร้อนลุกลี้ลุกลนขณะอ่าน
๒) อ่ านเสี ยงดังพอเหมาะกับสถานทีและจานวนผู้ฟัง อ่านเต็มเสี ยงให้ผฟังได้ยินอย่าง
่
ู้
สบาย ๆ ไม่อ่านเสี ยงเบาจนต้องเงี่ยหู ฟังหรื อเสี ยงดังจนเกินพอดี เพิ่มหรื อลดความดังของเสี ยง
ั
ให้สัมพันธ์กบเนื้อหาและอารมณ์
๓) อ่านให้ คล่อง ผูอานที่ฝึกซ้อมมาแล้วจะอ่านได้อย่างคล่องแคล่ว รื่ นหู ไม่อ่านช้าหรื อ
้่
เร็ วจนเกิ นไป กวาดสายตาอ่านข้อความล่วงหน้าไปก่อนที่จะออกเสี ยง เพื่อให้การอ่านข้อความ
ต่อเนื่ องไม่หยุดชะงัก สายตาต้องไวพอที่จะแยกคํา ออกเสี ยงไม่ผิด อ่านไม่ตก อ่านเกิน หรื ออ่าน
ควบกลํ้า
๔) อ่ านให้ ชัดเจนถูกต้ องตามอักขรวิธีและความนิยม ผูอ่านต้องออกเสี ยงควบกลํ้า ร ล
้
ว อย่างชัดเจน อ่านคําสมาส คําสนธิ คําย่อต่าง ๆได้ถูกต้อง โดยศึกษาคําอ่านจากพจนานุ กรมการ
อ่านร้อยแก้วบางคําควรออกเสี ยงให้คล้ายคลึงกับเสี ยงพูด

มีตัวอย่างให้ บ้างไหมคะ

โดยครู อมพร ศรีพทกษ์
ั
ิ ั

หน้ า ๑๒๗
ตัวอย่าง เช่ น.........
ฉัน

อ่าน

ชั้น

ดิฉน
ั

เขา

อ่าน

เค้า

ดิฉน
ั

อ่าน

เดี๊ยน, ดัน, อะฮั้น
๊

อย่างนี้

อ่าน

อ่าน

ดิช้ น
ั

ยังงี้, อย่างเงี้ย, หยังเงี้ยะ
่

นํ้า
อ่าน
น้าม
แต่อย่าอ่านออกเสี ยงพูดมากไปจนทําให้ขาดความน่าเลื่อมใส เช่น

่
การอ่านบทร้อยกรองที่แทรกอยูในข้อเขียนร้อยแก้วไม่ควรอ่านเป็ นทํานองเสนาะ ยกเว้น
ในกรณี ยกตัวอย่างการอ่านทํานองเสนาะ การอ่านบทร้อยกรองควรใช้วิจารณญาณว่า ตอนใดควร
จะอ่านตามอักขรวิธี ตอนใดควรจะอ่านให้เอื้อต่อสัมผัส เช่น
ฝ่ ายนครกาญจน จัดขุนพลพวกด่าน
ในที่น้ ีตองอ่านออกเสี ยงว่า กาน-จน เพื่อให้เสี ยงสัมผัสกับคําว่า ขุนพล
้
๕) ระดับเสี ยง ใช้น้ าเสี ยงให้เป็ นธรรมชาติเหมื อนกับการพูด สําเนี ยงไม่เพี้ยนหรื อ
ํ
หลง เน้นเสี ยงหนักเบาในตอนที่เหมาะสม เพื่อช่วยให้ผฟังเกิดจินตนาการ อารมณ์หรื อความรู ้สึก
ู้
ั
ตามเนื้อเรื่ อง ควรมีการแปรเปลี่ยนระดับเสี ยงให้สัมพันธ์กบเนื้อหาและอารมณ์ของเรื่ อง
๖) กิริยาอาการ ผูอานต้องรับรู้อารมณ์ความรู้สึกที่ผเู้ ขียนสอดแทรกไว้ในสารได้และ
้่
ถ่ า ยทอดไปยัง ผูฟั ง โดยการใช้น้ ํา เสี ย ง สี หน้า แววตาและท่ า ทางให้ส อดคล้องกลมกลื นกับ
้
ความรู ้สึกและอารมณ์ในบทอ่าน
๗) การตีความ ผูอ่า นต้องมี ความเข้า ใจในสารที่ อ่านอย่างถ่ องแท้เสี ยก่ อน จึ งจะ
้
สามารถชักนําให้ผูรับฟั งรั บรู ้ สารสําคัญของบทอ่านและเห็ นคล้อยตามได้ ด้วยการใช้น้ าเสี ยง
้
ํ
หนักเบา การหยุดเว้นระยะการแสดงออกทางสี หน้าและท่าทางให้สอดคล้อง

โดยครู อมพร ศรีพทกษ์
ั
ิ ั

หน้ า ๑๒๘
๘) จังหวะในการอ่ าน แบ่งวรรคตอนถู กต้องเหมาะสมกับเนื้ อหา เช่ น เรื่ องเบา ๆ
สนุ กสนานควรอ่านในจังหวะที่เร็ วกว่าเรื่ องที่หนักและยาก ถ้าเป็ นการอ่านบทร้อยกรองต้องอ่าน
่ ั
ให้ถูกต้องตามท่วงทํานองและฉันทลักษณ์ของร้อยกรองแต่ละชนิ ด จังหวะในการอ่านยังขึ้นอยูกบ
จํานวนผูฟังด้วยถ้าอ่านให้ผฟังกลุ่มใหญ่ฟัง ควรอ่านในจังหวะที่ชากว่าอ่านให้ผฟังกลุ่มเล็กฟัง
้
ู้
้
ู้
๙) ท่าทางในการอ่าน การทรงตัวที่ถูกวิธี คือ ลําตัวตั้งตรง ขณะยืนอ่านนํ้าหนักตัวตก
ลงบนกลางเท้า ทั้ง ๒ ข้า งปลายเท้า ห่ า งกัน เล็ ก น้อ ย แขนและศอกไม่ อ อกห่ า งหรื อ ชิ ด ลํา ตัว
จนเกินไป ขณะนังอ่านควรวางแขนไว้บนโต๊ะ ถ้าไม่มีโต๊ะควรปล่อยข้อศอกพอสบาย เงยหน้าขึ้น
่
สบตาผูฟั งเป็ นครั้ งคราวในลัก ษณะที่ เหมาะสมและเป็ นธรรมชาติ อ่ านต่ อเนื่ องกันไปโดยไม่
้
หยุดชะงัก
๑o) ถือเอกสารที่อ่านให้ ได้ ระดับพอเหมาะ ไม่สูงหรื อใกล้ระดับสายตาจนชิ ดหน้า
และไม่ ต่ า หรื อ ห่ า งจากระดับ สายตามากจนต้อ งก้ม ลงดู การจับ หนัง สื อ ที่ ถู ก สุ ข ลัก ษณะ คื อ
ํ
ระยะห่ างสายตาประมาณ ๑ ฟุต ถ้าจะพลิกอ่านหน้าต่อไปให้ใช้นิ้วสอดเตรี ยมพลิกล่วงหน้าก่อน
อ่านหน้านั้น ๆ จบ
๑๑) ข้ อความที่ตัดตอนมาเพียงบางส่ วน ควรเกริ่ นนําสั้น ๆ ให้ผูฟังทราบก่อนเริ่ ม
้
อ่าน หรื อกล่าวหลังจากอ่านจบแล้ว เช่ น “ข้ อความที่จะนามาอ่ านให้ ฟังนี้ ตัดตอนมาจากเรื่ อง
............................. ผู้เขียนคือ..........................”

พวกเราเข้าใจแล้วคะ

เข้าใจแล้วไปเรี ยนเรื่ องต่อไปเลยนะคะ

โดยครู อมพร ศรีพทกษ์
ั
ิ ั

หน้ า ๑๒๙
๖.๗ การแบ่ งวรรคตอนในการอ่ าน
ร้ อยแก้ว
การแบ่ ง วรรคตอนในการอ่ า นออกเสี ย งเป็ นเรื่ องสํา คัญมาก เพราะถ้า ผูอ่ า นหยุดเว้น
้
จังหวะผิดที่ทาให้ผฟังไม่เข้าใจสื่ อความหมายผิดพลาด หรื ออาจสื่ อความหมายไม่ได้ เช่น
ํ ู้
แบบที่ ๑ ผมไม่ ร้ ู ว่าจะตอบ / แทนคุณได้ อย่ างไร
แบบที่ ๒ ผมไม่ ร้ ู ว่าจะตอบแทน / คุณได้ อย่ างไร
่
จะเห็นได้วาการเว้นวรรคแบบที่ ๑ กับแบบที่ ๒ สื่ อความหมายแตกกันโดยสิ้ นเชิง
ั
นอกจากนั้น การเว้นวรรคตอนในข้อความที่ อ่าน ยังขึ้ นอยู่กบความหมายของสารที่
ผูอ่านต้องการสื่ อไปยังผูฟังเป็ นสําคัญ บางตอนอาจจะหยุดเว้นระยะเล็กน้อย บางตอนอาจจะ
้
้
หยุด เว้นระยะให้น านขึ้ น ผูอ่ า นต้อ งศึ ก ษาทํา ความเข้า ใจบทอ่ า นและทดลองอ่ า นดู ก่ อ นจึ ง
้
สามารถสื่ อความหมายไปยังผูอ่านได้ถูกต้อง การเว้นวรรคตอนจะทําได้ดีเมื่อผูอ่านฝึ กอ่านอยู่
้
้
เสมอ ในระยะแรกอาจต้องทําเครื่ องหมายเว้นวรรคไว้เพื่อไม่ให้ผิดพลาด เมื่อมีทกษะมากขึ้นจึง
ั
ไม่ตองทําเครื่ องหมาย
้

๖.๘ การอ่านสะกดคา
การอ่ า นออกเสี ย งนั้น การสะกดคํา มี ค วามสํา คัญเป็ นอย่า งยิ่ง ผูอ่า นจํา เป็ นต้องอ่ า นให้
้
ถูกต้องตามพจนานุกรมหรื อการอ่านชื่อเฉพาะ ในพจนานุกรมราชบัณฑิตยสถาน พ.ศ. ๒๕๔๒ ได้
กําหนดคําอ่านไว้โดยอาศัยการเทียบแนวภาษาเดิ มที่เป็ นคําบาลี สันสกฤต หรื อคําที่อ่านตามความ
นิยมจนเป็ นที่ยอมรับทัวไปก็อนุโลมให้อ่านได้ป็นบางกรณี แต่มิใช่จะอ่านตามความสะดวกได้เสมอ
่
ไป หากคําใดไม่แน่ใจให้เปิ ดดูคาอ่านจากพจนานุกรม
ํ
โดยครู อมพร ศรีพทกษ์
ั
ิ ั

หน้ า ๑๓๐
ยกตัวอย่าง คาอ่านให้ ผมฟังสั กนิดนะครับ

ได้เลยคะ

ตัวอย่าง คาอ่าน
คา

อ่านว่า

คา

อ่านว่า

กรรมาธิการ

กํา-มา-ทิ-กาน

ประวัติการณ์

ประ-หวัด-ติ-กาน

กลอุบาย

กน-อุ-บาย

ปราชัย

ปะ – รา - ชัย

กาลเวลา

กาน – เว – ลา

ปรัชญา

ปรัด – ยา

กาลสมัย

กา – ละ – สะ –ไหม

ปริ ญญา

ปะ – ริ น – ยา

เกียรติประวัติ

เกียด – ติ - ประ – หวัด

ผลิตภัณฑ์

ผะ – หลิด – ตะ –พัน

คมนาคม

คะ-มะ-นา-คม

พลการ

พะ-ละ-กาน

คุณค่า

คุน-ค่า

พลความ

พน-ละ-ความ

คุณภาพ

คุน-นะ-พาบ

ภูมิประเทศ

พู-มิ-ประ-เทด

คุณวุฒิ

คุน-นะ-วุด-ทิ

ภูมิลาเนา
ํ

พูม-ลํา-เนา

คุณสมบัติ

คุน-นะ-สม-บัด

ภูมิภาค

พูม-มิ-พาก

ฉัตรมงคล

ฉัด-ตระ-มง-คน

มรรยาท

มัน-ยาด

ดาษดื่น

ดาด-ดื่น

รสนิยม

รด-นิ-ยม

ทารุ ณกรรม

ทา-รุ น-นะ-กํา

สมรรถภาพ

สะ-มัด-ถะ-พาบ

ธนบัตร

ทะ-นะ-บัด

สัปดาห์

สับ-ดา

นามธรรม

นาม-มะ-ทํา

อาสาฬหบูชา

อา-สาน-หะ-บู-ชา

โดยครู อมพร ศรีพทกษ์
ั
ิ ั

หน้ า ๑๓๑
๗. การอ่านทานองเสนาะ
เราควรอ่านทานองเสนาะในใจ
หรืออ่ านออกเสี ยงดีคะคุณครู

การอ่านบทร้ อยกรองเป็ นทํานองเสนาะ เป็ นการอ่านออกสี ยงที่มี
จังหวะทํานองและเสี ยงสู งตํ่าเพื่อให้เกิดความไพเราะ การอ่านทํานองเสนาะ
นี้เป็ นมรดกทางวัฒนธรรมที่สืบทอดกันมาช้านาน ซึ่ งเป็ นสิ่ งที่คนไทยทุกคน
ควรภาคภูมิใจและรักษาวัฒนธรรมนี้ไว้เพื่อถ่ายทอดสื บต่อกันไป

๗.๑ หลักการอ่านทานองเสนาะ
๑) ศึกษาลักษณะบังคับของคาประพันธ์ แต่ ละชนิด เช่ น จํานวนคํา สัมผัส เสี ยง
วรรณยุกต์ เสี ยงหนักเบา การแบ่งวรรคตอน ฯลฯ
๒) อ่านเน้ นคาในตาแหน่ งสั มผัสภายนอก โดยการอ่านออกเสี ยงหนักขึ้นหรื อดังขึ้น
หรื ออาจทอดเสี ยงให้ยาวออกไป คําประพันธ์น้ นจึงจะไพเราะ เช่น
ั
แล้วสอนว่าอย่าไว้ใจมนุษย์

มันแสนสุ ดลึกลํ้าเหลือกําหนด

ถึงเถาวัลย์พนเกี่ยวที่เลี้ยวลด
ั

ก็ไม่คดเหมือนหนึ่งในนํ้าใจคน
ที่มา : สุ นทรภู่

๓) อ่านสั มผัสในเพือเพิมความไพเราะ เช่น
่ ่
เอารสไทนฤเบศ นเรศวรเสวยสวรรยา อ่านว่า นะ-เรด-สวน
ข้อขอเคารพอภิวนท์
ั

โดยครู อมพร ศรีพทกษ์
ั
ิ ั

อ่านว่า อบ-พิ-วัน

หน้ า ๑๓๒
๔) อ่ านออกเสี ยงให้ ถูกต้ องชั ดเจน โดยเฉพาะคําครุ ลหุ ในคําฉันท์ต่าง ๆเช่น
พวกราชมัลโดย

พลโบยมิใช่เบา

สุ ดหัตถแห่งเขา

ขณะหวดสิ พึงกลัว
ผูแต่ง : นายชิต บุรทัต
้

อ่านว่า พวก-ราด-ชะ-มัน-โดย

พะ-ละ-โบย-มิ-ใช่-เบา

สุ ด-หัด-ถะ-แห่ง-เขา

ขะ-หนะ-หวด-สิ -พึง-กลัว

๕) อ่ านให้ ถูกต้ องตามทานองและจังหวะของคาประพันธ์ แต่ ละชนิด เช่น
กลอนสุ ภ าพหรื อ กลอนแปด นิ ย มอ่ านเสี ยงสู ง ๒ วรรค และเสี ย งตํ่า ๒ วรรค
จังหวะ ๓/ ๒/ ๓ ถ้ามีวรรคละ ๗ คํา มีจงหวะ ๒ / ๒/ ๓ ถ้ามี ๙ คํามีจงหวะ ๓/ ๓/ ๓
ั
ั

มีใครยกตัวอย่ าง กลอนสุ ภาพหรือ
กลอนแปด ได้ บ้างคะ ยกมือขึน
้

ผมเองครับคุณครู ผมทําได้

เชิญน้องป๋ อเลยคะ
ท่องกลอนแปดให้เพื่อน ๆ ฟัง

คะ พวกเราอยากฟังจัง

โดยครู อมพร ศรีพทกษ์
ั
ิ ั

หน้ า ๑๓๓
มีสลึง /พึงบรรจบ / ให้ครบบาท

อย่าให้ขาด / สิ่ งของ / ต้องประสงค์

มีนอย / ใช้นอย / ค่อยบรรจง
้
้

อย่าจ่ายลง /ให้มาก / จะยากนาน

ไม่ควรซื้ อ / ก็อย่าไป / พิไรซื้ อ

ให้เป็ นมื้อ / เป็ นคราว / ทั้งคาวหวาน

เมื่อพ่อแม่ / แก่เฒ่า / ชรากาล

จงเลี้ยงท่าน / อย่าให้อด / ระทดใจ
ผูแต่ง : สุ นทรภู่
้

มีใครอธิบายเรื่องกาพย์ยานี ๑๑
ได้ บ้างครับ ยกมือขึน
้
กระผมจ้อยครับ..ผมจําได้ครับ

กาพย์ยานี ๑๑ นิยมอ่านเสี ยงสู งกว่าปกติในบาทโทวรรคหน้า
มีจงหวะ ๒ / ๓ วรรคหลังมีจงหวะ ๓ /๓ ดังนี้
ั
ั
พระเสด็จ / โดยแดนชล ทรงเรื อต้น / งามเฉิดฉาย
กิ่งแก้ว / แพร้วพรรณราย
นาวา / แน่นเป็ นขนัด
เรื อริ้ ว / ทิวธงสลอน

พายอ่อนหยับ / จับงามงอน
ล้วนรู ปสัตว์ / แสนยากร
สาครลัน / ครั่นครื้ นฟอง
่
ผูแต่ง : เจ้าฟ้ าธรรมธิเบศร์
้

เก่งมากครับ เพือน ๆ ตบมือให้ จ้อยหน่ อยคะ
่

โดยครู อมพร ศรีพทกษ์
ั
ิ ั

หน้ า ๑๓๔
แล้วมีใครจะเล่าเรื่องกาพย์ สุรางคนางค์ ๒๘ และ
โคลงสี่ สุภาพ และ อินทรวิเชี ยรฉันท์ ไหมคะ เงียบ
หมดเลย ครู จะอธิบายต่ อนะเด็ก ๆ

กาพย์ สุรางคนางค์ ๒๘ จังหวะในการอ่าน ให้อ่านวรรคละ
๒ จังหวะ จังหวะละ ๒ พยางค์ ดังนี้
เมื่อคืน / ฉันฝัน
ว่าเธอ / กับฉัน

ชวนกัน / ขี่ควาย

ควายมัน / ไล่ขวิด

หวุดหวิด / เจียนตาย

ฝันดี / หรื อร้าย

ทํานาย / ให้ที
ผูแต่ง : จิตติพร เกตุรักษ์
้

โคลงสี่ สุ ภ าพ อ่ า นจัง หวะ ๒ /๓ / ๒ / (๒) ทอดเสี ย งเอื้ อ น
ระหว่างวรรคหน้ากับวรรคหลังในบาทเดียวกัน และทอดเสี ยงระหว่าง
คําสร้อยด้วย ดังนี้
เสี ยงลือ / เสี ยงเล่าอ้าง อันใด / พี่เอย
เสี ยงย่อม / ยอยศใคร

ทัวหล้า
่

สองเขือ / พี่หลับใหล

ลืมตื่น / ฤาพี่

สองพี่ / คิดเองอ้า

อย่าได้ / ถามเผือ
ลิลิตพระลอ

โดยครู อมพร ศรีพทกษ์
ั
ิ ั

หน้ า ๑๓๕
อินทรวิเชียรฉันท์ วรรคหน้ามีจงหวะ ๒ /๓ วรรคหลังมีจงหวะ ๓ /๓ ดังนี้
ั
ั
ผ่องพักตร์ / ละไมพรรณ

ผิวจันทร์ / ละลวยอวล

อ่อนอิ่ม / ละมุนชวน

อภิรมย์ / สวาทยา

งามเนตร / ชําเลืองอาย

ดุจทราย / ชําเลืองมา

ใครพาน / เสน่ห์ตา

กลต้อง / ธนูศิลป์
มัทนะพาธา

ตามป๋ อมาเรี ยนต่อเรื่ อง ศิลปะ
ในการใช้เสี ยงกันเลยครับ.....

๖) ศิลปะในการใช้ เสี ยง คือ ใช้น้ าเสี ยงที่เหมาะสมกับบทบาทและเนื้ อ
ํ
เรื่ องที่ อ่าน คํานึ งถึ งความไพเราะและท่วงทํานองของคําประพันธ์น้ ัน ๆ มีการ
ทอดจังหวะ เน้นเสี ยง เอื้อนเสี ยงเพื่อให้เกิ ดความไพเราะ และใช้เสี ยงเพื่อแสดง
ความรู ้ สึกให้เหมาะกับเนื้ อหา เพื่อเพิ่ม อรรถรสและรั กษาบรรยากาศของเรื่ อง
ที่อ่าน เช่น
เอออุเหม่นะมึงชิช่างกระไร
ทุทาสสถุลฉะนี้ไฉน

ก็มาเป็ น

ศึกบถึงและมึงยังมิเห็น
จะน้อยจะมากจะยากเย็น

ประการใด

อวดฉลาดและคาดแถลงเพราะใจ
ขยาดขยั้นมิทนอะไร
ั

ก็หมิ่นกู
ผูแต่ง : นายชิต บุรทัต
้

โดยครู อมพร ศรีพทกษ์
ั
ิ ั

หน้ า ๑๓๖
ผูอ่านต้องกระแทกเสี ยงแสดงอารมณ์โกรธ เว้นวรรค
้
ตอนตามท่วงทํานองของอิทิสังฉันท์ดวยถ้าไปทําเสี ยงนุ่มนวล
้
ก็ย่อมจะทําให้หมดรสโดยสิ้ นเชิ ง ในทํานองเดี ยวกันถ้าบท
ประพันธ์อื่นมีลีลาและใจความตรงกันข้าม

ตามป๋ อมาเลยครับ....อ่านตามด้วยนะ
เดี๋ยวป๋ อ ณัฐวุฒิ จัดให้เองครับครู

วังเอ๋ ยวังเวง

หง่างเหง่งยํ่าคํ่าระฆังขาน

ฝูงวัวควายผ้ายลาทิวากาล

ค่อยค่อยผ่านท้องทุ่งมุ่งถิ่นตน

ชาวนาเหนื่อยอ่อนต่างจรกลับ

ตะวันลับอับแสงทุกแห่งหน

ทิ้งทุ่งให้มืดมัวทัวมณฑล
่

และทิ้งตนตูเปลี่ยวอยูเ่ ดียวเอย
พระยาอุปกิตศิลปสาร

พี่ป๋อ ของเรานี่ เก่งจังนะคะ

ถูกต้ องแล้ วคะ
อ่านเก่งมากคะ
สรุ ป ผูอ่านต้องใช้เสี ยงนุ่ มนวล รําพึงรําพันตามลักษณะของคนที่เหนื่ อย
้
อ่อนและบรรยากาศใกล้ค่า กล่าวคือ อ่านแล้วให้ผฟังมองเห็นนาฏการณ์หรื อความ
ํ
ู้
เคลื่อนไหวแจ่มชัดในมโนภาพด้วย
โดยครู อมพร ศรีพทกษ์
ั
ิ ั

หน้ า ๑๓๗
๘. ข้ อแตกต่ างระหว่างการอ่านในใจกับการออกเสียง

การอ่านในใจกับการอ่านออกเสี ยงมีข้อแตกต่ างกัน ดังนี้
๑) การอ่ านในใจ เป็ นการถ่ ายทอดตัวอักษรออกมาเป็ นความคิด ส่ วนการออกเสี ยง
เป็ นการถ่ายทอดตัวอักษรออกมาเป็ นความคิด แล้วถ่ายทอดความคิดนั้นออกเป็ นเสี ยงอีกทีหนึ่ง
๒) การอ่ านในใจ เราต้องการทราบความหมายของข้อความเป็ นส่ วนรวม โดยจับ
ใจความสําคัญของเนื้ อเรื่ อง ส่ วนใดที่เป็ นผลความอาจอ่านผ่านเร็ ว ๆ ได้ แต่ การอ่ านออกเสี ยง
จะข้ามข้อความตอนใดไม่ได้เลย และจะเร่ งอ่านให้เร็ วก็ไม่ได้เพราะต้องคํานึงถึงผูฟังเป็ นสําคัญ
้
๓) การอ่านในใจ เป็ นการอ่านเพื่อความเข้าใจของตนเอง ยิ่งเราเข้าใจได้เร็ วเท่าไหร่ ก็
ยิ่งอ่านได้เร็ วขึ้ นเพียงนั้น แต่ การอ่ านออกเสี ยงเป็ นการอ่านเพื่อให้ผูฟังเข้าใจ จึงต้องอ่านด้วย
้
จังหวะที่จะทําให้ผฟังจับใจความได้และคิดตามทัน
ู้
๔) การอ่ านในใจ ทําให้เข้าใจเนื้ อความได้เร็ วกว่าการอ่ านออกเสี ยง เมื่อเบื่อก็หยุดพัก
ได้ หากไม่เข้าใจความหมายก็ยอนกลับไปอ่านอีกได้และอาจเลือกอ่านเฉพาะใจความสําคัญ
้

เป็ นยังไงกันบ้างเด็ก ๆ
เหนื่อยกันรึ ยง…
ั
อย่าลืมทํากิจกรรม และแบบฝึ กหัดด้วยนะ ต้องทําให้เสร็ จก่อน อย่าเปิ ด
ั
เฉลยดูนะ เราต้องมีคุณธรรม ซื่ อสัตย์กบตัวเอง สัญญากับครู นะคะ

โดยครู อมพร ศรีพทกษ์
ั
ิ ั

หน้ า ๑๓๘
เรามาทากิจกรรมเสนอแนะ
ท้ายบทที่ ๔ กันเลยนะคะ

กิจกรรมเสนอแนะท้ ายบทที่ ๔
ให้ ฝึกอ่านเรื่อง การอ่านที่มประสิ ทธิภาพ
ี
จุดประสงค์ ๑) เพื่อฝึ กทักษะการอ่านออกเสี ยง
๒) เพื่อให้นกเรี ยนกล้าแสดงออกในทางสร้างสรรค์
ั
คาสั่ ง ๑) นักเรี ยนอ่านออกเสี ยงเนื้ อหาในใบงานทั้ง ๒ เรื่ องให้ถูกต้อง ชัดเจนตามอักขรวิธีและ
ประเภทของสาร
๒) ตัวแทนนักเรี ยนอ่านเนื้ อหาในใบงานหน้าชั้นเรี ยน
เรื่องที่ ๑ วัฒนธรรม
ในโลกนี้มีอะไรเป็ นไทยแท้
ของไทยแน่น้ นหรื อคือภาษา
ั
ซึ่ งผลิดอกออกผลแต่ตนมา
้
รวมเรี ยกว่าวรรณคดีไทย
อนึ่งศิลป์ งามเด่นเป็ นของชาติ
เช่นปราสาทปรางค์ทองอันผ่องใส
อีกดนตรี รําร่ ายลวดลายไทย
อวดโลกได้ไทยแท้อย่างแน่นอน
และอย่าลืมจิตใจแบบไทยแท้
เชื่อพ่อแม่ฟังธรรมคําสั่งสอน
กําเนิดธรรมจริ ยาเป็ นอาภรณ์
ประชากรโลกเห็นเราเป็ นไทย
แล้วยังมีประเพณี มีระเบียบ
ซึ่ งไม่มีที่เปรี ยบในชาติไหน
เป็ นของร่ วมรวมไทยให้คงไทย
นี่แหละประโยชน์ในประเพณี
ได้รู้เช่นเห็นชัดสมบัติชาติ
เหลือประหลาดล้วนเห็นเป็ นศักดิ์ศรี
ล้วนไทยแท้ไทยแน่ไทยเรามี
สิ่ งเหล่านี้คือวัฒนธรรม
(วัฒนธรรม : หม่อมหลวงปิ่ น มาลากุล)

โดยครู อมพร ศรีพทกษ์
ั
ิ ั

หน้ า ๑๓๙
เรื่องที่ ๒ ความรักที่แท้จริ ง
เมตตาเป็ นความรักที่ประกอบด้วยธรรมะ เป็ นความรักที่สมํ่าเสมอในสรรพสัตว์ท้ งหลาย
ั
บางทีเราอาจเคยสังเกตตัวเองว่า การที่เราจะเมตตาสงสารคนอื่นๆ ที่ประเทศอื่น หรื อคนที่เราไม่
่
เคยได้พบเป็ นสิ่ งที่ง่าย แต่คนที่เราเมตตายากที่สุดคือคนที่อยูใกล้ชิด เพราะคนเหล่านี้ แหละที่ทาให้
ํ
เราหนักใจ ที่มี การกระทําและการพูดที่ กระทบกระเทื อนเราบ่อยๆ ฉะนั้นการแผ่เมตตาของคน
่
ทัวไป มักจะเป็ นไปในทํานองที่วา “ขอให้สรรพสัตว์ท้ งหลายมีความสุ ข ความสุ ขเถิ ด เว้นแต่คน
ั
่
นั้น” ต้องมีเว้นแต่ เว้นแต่คนที่หนาด้วยกิ เลส คนที่เราไม่ชอบ แต่นี่ไม่ใช่ เมตตา เมตตาที่ แท้จริ ง
ย่อมไม่มีความเลือกที่รักมักที่ชง”
ั
“เรื่ องความรักนี้ เป็ นสิ่ งสําคัญในชี วิตของฆราวาสทุกคน บางคนถึงกับเอาเป็ นสรณะที่พ่ ึง
ของชี วิต ซึ่ งมักจะทําให้ชีวิตประสบความทุกข์ระทมบ่อยๆ รักได้ไม่เป็ นไร ไม่ผิดศีล ไม่ผิดอะไร
แต่พุทธศาสนาสอนว่าทุกสิ่ งทุกอย่างชี วิตต้องประกอบด้วยธรรมะ ต้องยอมรับความจริ ง เราต้อง
พยายามพิจารณาทุกเช้าทุกเย็นว่า เราต้องมีความพลัดพรากจากคนที่เรารักทุกคนไม่วนใดวันหนึ่ ง
ั
เราไม่ตายจากเขา เขาก็ตองตายจากเรา อันนี้ ไม่ใช่เพื่อทําให้เรารู ้สึกกลุมใจหรื อเศร้าใจ แต่เป็ นการ
้
้
เปิ ดจิตใจให้กว้างออกไปรับความจริ ง ซึ่งปกติเราชอบพยายามประคับประคองอารมณ์ที่สบายของ
เราไว้ โดยการกลบเกลื่อนความจริ งบางแง่ บางมุม บางประการ คือสิ่ งที่จะลดรสชาติของอารมณ์
นั้น เพราะว่าธรรมชาติของคนเรานั้นชอบเพลิดเพลิ นในอารมณ์ เพลิดเพลิ นในความรักแต่ถาเรา
้
เพลิ ดเพลิ นในสิ่ งใดแล้วความเพลิ ดเพลิ นนั้นแหละเป็ นความยึดมันถื อมัน เกิ ดภพ เกิ ดชาติ เกิ ด
่
่
ความไม่มนคง เกิดความหวันไหวเพราะว่าอารมณ์ท้ งหลายเป็ นของไม่เที่ยง เป็ นสิ่ งที่เกิดขึ้นตาม
ั่
ั
่
่
เหตุตามปั จจัย ผูยึดมันในอารมณ์ ยอมฝื นธรรมชาติไม่ให้เปลี่ยนแปลง แต่มนุ ษย์เราจะสู ้ธรรมชาติ
้ ่
ไม่ได้ มันเป็ นการฝื นที่ลมๆ แล้งๆ เป็ นการฝื นที่จะทําให้รู้สึกระทมขมขื่น รู ้สึกเซ็ง หมดหวัง สิ้ น
หวัง นักปฏิ บติผูปรารภธรรมะจะคํานึ งถึ งความจริ งเกี่ ยวกับเรื่ องนี้ อยูเ่ สมอสํานึ กรู ้ ในโทษของ
ั ้
การไม่ยอมรับความจริ งว่า สิ่ งทั้งหลายทั้งปวงไม่เที่ยง รู ้ว่ายึดมันในสิ่ งที่ไม่เที่ยงเมื่อไร ก็ตองเป็ น
้
่
่
ทุกข์ทนที คิดอย่างนี้ ได้ความรักมันไม่หายหรอก ความรักของเราไม่ใช่วามันจะจืดชื ดหมดรสชาติ
ั
แต่จะเป็ นความรั กที่ สุกงอม เป็ นความรั กของผูใหญ่ เป็ นความรั กที่ไม่มีโทษ” (ชยสาโรภิก ขุ,
้
๒๕๔๘ : ๙๕-๙๗)

โดยครู อมพร ศรีพทกษ์
ั
ิ ั

หน้ า ๑๔๐
อย่าลืมทําแบบฝึ กหัดท้ายบท ด้วยนะคะ

แบบฝึ กหัดท้ ายบทที่ ๔
ตอนที่ ๑ จงตอบคําถามต่อไปนี้
๑. การอ่านหมายถึงอะไร
...........................................................................................................................................................
...........................................................................................................................................................
๒.. จุดมุ่งหมายของการอ่านมีอะไรบ้าง
...........................................................................................................................................................
...........................................................................................................................................................
๓. การอ่านออกเสี ยงกับการอ่านในใจแตกต่างกันอย่างไร
...........................................................................................................................................................
...........................................................................................................................................................
๔. การอ่านตําราเรี ยนเป็ นการอ่านเพื่อจุดมุ่งหมายใด
...........................................................................................................................................................
...........................................................................................................................................................
๕. การอ่านบทความจากหนังสื อพิมพ์เหมาะกับการอ่านแบบใดมากที่สุด
...........................................................................................................................................................
...........................................................................................................................................................

โดยครู อมพร ศรีพทกษ์
ั
ิ ั

หน้ า ๑๔๑
ตอนที่ ๒ ให้ผเู้ รี ยนใส่ เครื่ องหมาย / หน้าข้อที่อ่านถูก และเครื่ องหมาย x หน้าข้อที่อ่านผิด
...............๑. ปกติ
อ่านว่า ปะ-กะ-ติ
...............๒. อุบติเหตุ อ่านว่า อุ-บัด-เหด
ั
...............๓. โฆษณา

อ่านว่า โฆ-ษะ-นา

...............๔. วิตถาร

อ่านว่า วิด-ตะ-ถาน

...............๕. ทฤษฎี

อ่านว่า ทฺ ริด-สะ-ดี

...............๖. บุณฑริ ก อ่านว่า บุน-ทะ-ริ ก
...............๗. บําราศ

อ่านว่า บํา-ราด

...............๘. ปรักหักพัง อ่านว่า ปะ-หรัก-หัก-พัง
...............๙. สตรี

อ่านว่า สัด-ตฺ รี

...............๑o. สัปดาห์

อ่านว่า สับ-ปะ-ดา

โดยครู อมพร ศรีพทกษ์
ั
ิ ั

หน้ า ๑๔๒
แบบทดสอบหลังเรียนบทที่ ๔
คาชี้แจง
๑. ข้อสอบชุดนี้มี จํานวน ๑๐ ข้อ ข้อละ ๑ คะแนน รวมเป็ น ๑๐ คะแนน
๒. ให้เลือกคําตอบที่ถูกที่สุดเพียงคําตอบเดียวแล้วเขียนเครื่ องหมาย × ลงในกระดาษคําตอบ
------------------------------------------------------------------------------------------------------------๑. ข้อใดให้ความหมายของการอ่านชัดเจนที่สุด
ก. การทําความเข้าใจความหมายตามสารที่ได้รับ
ข. การทําความเข้าใจความหมายตามภาพที่ได้เห็น
ค. การทําความเข้าใจความหมายตามตัวหนังสื อ
ง. การทําความเข้าใจความหมายตามสัญลักษณ์
๒. “อันความกรุ ณาปรานี
จะมีใครบังคับก็หาไม่
หลังมาเองเหมือนฝนอันชื่นใจ จากฟากฟ้ าสุ ราลัยสู่ แดนดิน”
่
คําประพันธ์ขางบนนี้ ช่วยพัฒนาในด้านใด
้
ก. ความคิด
ข. คุณธรรม
ค. สังคม
ง. อารมณ์
๓. ข้อใดเป็ นคุณสมบัติของนักอ่านที่ดี
ก. มีความจําดี จําได้ทุกตัวอักษร
ข. มีนิสัยชอบจดบันทึก จดรายละเอียดทุกอย่างที่อ่าน
ค. มีเงินซื้ อหนังสื ออ่านได้ตลอด
ง. มีความอดทนอ่านหนังสื อได้นาน
๔. ผูอ่านที่ดีควรเริ่ มต้นการอ่านอย่างไร
้
ก. ทําสมาธิ เพื่อให้จิตจดจ่อกับเรื่ องที่จะอ่าน
ข. ทบทวนความรู ้เดิม เพื่อนํามาเชื่อมโยงกับเรื่ องที่จะอ่าน
ค. กําหนดจุดประสงค์
ง. พิจารณาส่ วนประกอบของหนังสื อ

โดยครู อมพร ศรีพทกษ์
ั
ิ ั

หน้ า ๑๔๓
4 การอ่านอย่างมีประสิทธิภาพ(108-147)
4 การอ่านอย่างมีประสิทธิภาพ(108-147)
4 การอ่านอย่างมีประสิทธิภาพ(108-147)
4 การอ่านอย่างมีประสิทธิภาพ(108-147)

Contenu connexe

Tendances

โครงสร้างหลักสูตรประถม
โครงสร้างหลักสูตรประถมโครงสร้างหลักสูตรประถม
โครงสร้างหลักสูตรประถมwangasom
 
บทอาขยาน ภาษาไทย ม.๓
บทอาขยาน ภาษาไทย ม.๓บทอาขยาน ภาษาไทย ม.๓
บทอาขยาน ภาษาไทย ม.๓kruthai40
 
โครงสร้างหลักสูตรมัธยม
โครงสร้างหลักสูตรมัธยมโครงสร้างหลักสูตรมัธยม
โครงสร้างหลักสูตรมัธยมwangasom
 
คำกล่าวต้อนรับคณะกรรมการประเมิน
คำกล่าวต้อนรับคณะกรรมการประเมินคำกล่าวต้อนรับคณะกรรมการประเมิน
คำกล่าวต้อนรับคณะกรรมการประเมินpupphawittayacom
 
บทที่ 5 สรุปผล และข้อเสนอแนะ
บทที่ 5 สรุปผล และข้อเสนอแนะบทที่ 5 สรุปผล และข้อเสนอแนะ
บทที่ 5 สรุปผล และข้อเสนอแนะKittichai Pinlert
 
ชุดกิจกรรม เรื่อง รายงานการศึกษาค้นคว้า ชุด รูปแบบและจุดมุ่งหมายของรายงาน
ชุดกิจกรรม เรื่อง รายงานการศึกษาค้นคว้า  ชุด รูปแบบและจุดมุ่งหมายของรายงานชุดกิจกรรม เรื่อง รายงานการศึกษาค้นคว้า  ชุด รูปแบบและจุดมุ่งหมายของรายงาน
ชุดกิจกรรม เรื่อง รายงานการศึกษาค้นคว้า ชุด รูปแบบและจุดมุ่งหมายของรายงานSAKANAN ANANTASOOK
 
โครงงานคณิตบทที่ 1
โครงงานคณิตบทที่ 1โครงงานคณิตบทที่ 1
โครงงานคณิตบทที่ 1Jutarat Bussadee
 
ขอความอนุเคราะห์
ขอความอนุเคราะห์ขอความอนุเคราะห์
ขอความอนุเคราะห์Rapheephan Phola
 
ทักษะการอ่าน
ทักษะการอ่านทักษะการอ่าน
ทักษะการอ่าน0872191189
 
คู่มือสภานักเรียน
คู่มือสภานักเรียนคู่มือสภานักเรียน
คู่มือสภานักเรียนkrupornpana55
 
เฉลยแบบฝึกหัดเรื่อง การเขียนบรรณานุกรมออนไลน์
เฉลยแบบฝึกหัดเรื่อง การเขียนบรรณานุกรมออนไลน์เฉลยแบบฝึกหัดเรื่อง การเขียนบรรณานุกรมออนไลน์
เฉลยแบบฝึกหัดเรื่อง การเขียนบรรณานุกรมออนไลน์Supaporn Khiewwan
 
แบบทดสอบเสียงในภาษา
แบบทดสอบเสียงในภาษาแบบทดสอบเสียงในภาษา
แบบทดสอบเสียงในภาษาPiyarerk Bunkoson
 
วิเคราะห์หลักสูตรไทย55
วิเคราะห์หลักสูตรไทย55วิเคราะห์หลักสูตรไทย55
วิเคราะห์หลักสูตรไทย55Nun'Top Lovely LoveLove
 
คำกล่าวเปิดค่ายจริยธรรม
คำกล่าวเปิดค่ายจริยธรรมคำกล่าวเปิดค่ายจริยธรรม
คำกล่าวเปิดค่ายจริยธรรมniralai
 
โครงงานไอเอส1
โครงงานไอเอส1โครงงานไอเอส1
โครงงานไอเอส1Ocean'Funny Haha
 
ประวัติผู้วิจัย
ประวัติผู้วิจัยประวัติผู้วิจัย
ประวัติผู้วิจัยYanee Chaiwongsa
 
โครงงานชาผักสมุนไพรพื้นบ้าน
โครงงานชาผักสมุนไพรพื้นบ้านโครงงานชาผักสมุนไพรพื้นบ้าน
โครงงานชาผักสมุนไพรพื้นบ้านChok Ke
 

Tendances (20)

โครงสร้างหลักสูตรประถม
โครงสร้างหลักสูตรประถมโครงสร้างหลักสูตรประถม
โครงสร้างหลักสูตรประถม
 
บทอาขยาน ภาษาไทย ม.๓
บทอาขยาน ภาษาไทย ม.๓บทอาขยาน ภาษาไทย ม.๓
บทอาขยาน ภาษาไทย ม.๓
 
โครงสร้างหลักสูตรมัธยม
โครงสร้างหลักสูตรมัธยมโครงสร้างหลักสูตรมัธยม
โครงสร้างหลักสูตรมัธยม
 
คำกล่าวต้อนรับคณะกรรมการประเมิน
คำกล่าวต้อนรับคณะกรรมการประเมินคำกล่าวต้อนรับคณะกรรมการประเมิน
คำกล่าวต้อนรับคณะกรรมการประเมิน
 
บทที่ 5 สรุปผล และข้อเสนอแนะ
บทที่ 5 สรุปผล และข้อเสนอแนะบทที่ 5 สรุปผล และข้อเสนอแนะ
บทที่ 5 สรุปผล และข้อเสนอแนะ
 
ชุดกิจกรรม เรื่อง รายงานการศึกษาค้นคว้า ชุด รูปแบบและจุดมุ่งหมายของรายงาน
ชุดกิจกรรม เรื่อง รายงานการศึกษาค้นคว้า  ชุด รูปแบบและจุดมุ่งหมายของรายงานชุดกิจกรรม เรื่อง รายงานการศึกษาค้นคว้า  ชุด รูปแบบและจุดมุ่งหมายของรายงาน
ชุดกิจกรรม เรื่อง รายงานการศึกษาค้นคว้า ชุด รูปแบบและจุดมุ่งหมายของรายงาน
 
โครงงานคณิตบทที่ 1
โครงงานคณิตบทที่ 1โครงงานคณิตบทที่ 1
โครงงานคณิตบทที่ 1
 
ขอความอนุเคราะห์
ขอความอนุเคราะห์ขอความอนุเคราะห์
ขอความอนุเคราะห์
 
ทักษะการอ่าน
ทักษะการอ่านทักษะการอ่าน
ทักษะการอ่าน
 
คู่มือสภานักเรียน
คู่มือสภานักเรียนคู่มือสภานักเรียน
คู่มือสภานักเรียน
 
ออกแบบและเทคโนโลยี ม.5
ออกแบบและเทคโนโลยี ม.5ออกแบบและเทคโนโลยี ม.5
ออกแบบและเทคโนโลยี ม.5
 
การใช้โวหารในภาษาไทย
การใช้โวหารในภาษาไทยการใช้โวหารในภาษาไทย
การใช้โวหารในภาษาไทย
 
เฉลยแบบฝึกหัดเรื่อง การเขียนบรรณานุกรมออนไลน์
เฉลยแบบฝึกหัดเรื่อง การเขียนบรรณานุกรมออนไลน์เฉลยแบบฝึกหัดเรื่อง การเขียนบรรณานุกรมออนไลน์
เฉลยแบบฝึกหัดเรื่อง การเขียนบรรณานุกรมออนไลน์
 
แบบทดสอบเสียงในภาษา
แบบทดสอบเสียงในภาษาแบบทดสอบเสียงในภาษา
แบบทดสอบเสียงในภาษา
 
วิเคราะห์หลักสูตรไทย55
วิเคราะห์หลักสูตรไทย55วิเคราะห์หลักสูตรไทย55
วิเคราะห์หลักสูตรไทย55
 
คำกล่าวเปิดค่ายจริยธรรม
คำกล่าวเปิดค่ายจริยธรรมคำกล่าวเปิดค่ายจริยธรรม
คำกล่าวเปิดค่ายจริยธรรม
 
โครงงานไอเอส1
โครงงานไอเอส1โครงงานไอเอส1
โครงงานไอเอส1
 
ประวัติผู้วิจัย
ประวัติผู้วิจัยประวัติผู้วิจัย
ประวัติผู้วิจัย
 
โครงงานชาผักสมุนไพรพื้นบ้าน
โครงงานชาผักสมุนไพรพื้นบ้านโครงงานชาผักสมุนไพรพื้นบ้าน
โครงงานชาผักสมุนไพรพื้นบ้าน
 
ระดับของภาษา
ระดับของภาษาระดับของภาษา
ระดับของภาษา
 

En vedette

การอ่านอย่างมีประสิทธิภาพ
การอ่านอย่างมีประสิทธิภาพการอ่านอย่างมีประสิทธิภาพ
การอ่านอย่างมีประสิทธิภาพkruthai40
 
Innovative learning environment
Innovative learning environmentInnovative learning environment
Innovative learning environmentTar Bt
 
ระบบฐานข้อมูล
ระบบฐานข้อมูลระบบฐานข้อมูล
ระบบฐานข้อมูลchanoot29
 
การประยุกต์ของสมการเชิงเส้นตัวแปรเดียว
การประยุกต์ของสมการเชิงเส้นตัวแปรเดียวการประยุกต์ของสมการเชิงเส้นตัวแปรเดียว
การประยุกต์ของสมการเชิงเส้นตัวแปรเดียวkrusongkran
 
วิธีบันทึกข้อมูลจากการอ่าน
วิธีบันทึกข้อมูลจากการอ่านวิธีบันทึกข้อมูลจากการอ่าน
วิธีบันทึกข้อมูลจากการอ่านASI403 : Arsomsilp Institue of the Arts
 
วิทยาศาสตร์ ไฟฟ้า ม3
วิทยาศาสตร์ ไฟฟ้า  ม3วิทยาศาสตร์ ไฟฟ้า  ม3
วิทยาศาสตร์ ไฟฟ้า ม3Mew Meww
 
ภาษาอังกฤษเพื่อการสื่อสาร
ภาษาอังกฤษเพื่อการสื่อสารภาษาอังกฤษเพื่อการสื่อสาร
ภาษาอังกฤษเพื่อการสื่อสารguest5ccbc6
 
โครงงานครั้งที่........
โครงงานครั้งที่........โครงงานครั้งที่........
โครงงานครั้งที่........NattAA
 
ข้อสอบพร้อมเฉลยอย่างละเอียด O net - ภาษาไทย
ข้อสอบพร้อมเฉลยอย่างละเอียด O net - ภาษาไทยข้อสอบพร้อมเฉลยอย่างละเอียด O net - ภาษาไทย
ข้อสอบพร้อมเฉลยอย่างละเอียด O net - ภาษาไทยSuriyawaranya Asatthasonthi
 
ข้อสอบโอเนต Onet ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 3 ปี 52 ถึง 56 พร้อมเฉลย
ข้อสอบโอเนต Onet ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 3 ปี 52 ถึง 56 พร้อมเฉลยข้อสอบโอเนต Onet ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 3 ปี 52 ถึง 56 พร้อมเฉลย
ข้อสอบโอเนต Onet ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 3 ปี 52 ถึง 56 พร้อมเฉลยJareewon Ritthong
 

En vedette (12)

การอ่านอย่างมีประสิทธิภาพ
การอ่านอย่างมีประสิทธิภาพการอ่านอย่างมีประสิทธิภาพ
การอ่านอย่างมีประสิทธิภาพ
 
Innovative learning environment
Innovative learning environmentInnovative learning environment
Innovative learning environment
 
ระบบฐานข้อมูล
ระบบฐานข้อมูลระบบฐานข้อมูล
ระบบฐานข้อมูล
 
เฉลย Pat 4
เฉลย Pat 4เฉลย Pat 4
เฉลย Pat 4
 
การประยุกต์ของสมการเชิงเส้นตัวแปรเดียว
การประยุกต์ของสมการเชิงเส้นตัวแปรเดียวการประยุกต์ของสมการเชิงเส้นตัวแปรเดียว
การประยุกต์ของสมการเชิงเส้นตัวแปรเดียว
 
วิธีบันทึกข้อมูลจากการอ่าน
วิธีบันทึกข้อมูลจากการอ่านวิธีบันทึกข้อมูลจากการอ่าน
วิธีบันทึกข้อมูลจากการอ่าน
 
ระดับของภาษา
ระดับของภาษาระดับของภาษา
ระดับของภาษา
 
วิทยาศาสตร์ ไฟฟ้า ม3
วิทยาศาสตร์ ไฟฟ้า  ม3วิทยาศาสตร์ ไฟฟ้า  ม3
วิทยาศาสตร์ ไฟฟ้า ม3
 
ภาษาอังกฤษเพื่อการสื่อสาร
ภาษาอังกฤษเพื่อการสื่อสารภาษาอังกฤษเพื่อการสื่อสาร
ภาษาอังกฤษเพื่อการสื่อสาร
 
โครงงานครั้งที่........
โครงงานครั้งที่........โครงงานครั้งที่........
โครงงานครั้งที่........
 
ข้อสอบพร้อมเฉลยอย่างละเอียด O net - ภาษาไทย
ข้อสอบพร้อมเฉลยอย่างละเอียด O net - ภาษาไทยข้อสอบพร้อมเฉลยอย่างละเอียด O net - ภาษาไทย
ข้อสอบพร้อมเฉลยอย่างละเอียด O net - ภาษาไทย
 
ข้อสอบโอเนต Onet ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 3 ปี 52 ถึง 56 พร้อมเฉลย
ข้อสอบโอเนต Onet ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 3 ปี 52 ถึง 56 พร้อมเฉลยข้อสอบโอเนต Onet ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 3 ปี 52 ถึง 56 พร้อมเฉลย
ข้อสอบโอเนต Onet ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 3 ปี 52 ถึง 56 พร้อมเฉลย
 

Similaire à 4 การอ่านอย่างมีประสิทธิภาพ(108-147)

Unlicensed-นวัตกรรมช่วยสอน
 Unlicensed-นวัตกรรมช่วยสอน Unlicensed-นวัตกรรมช่วยสอน
Unlicensed-นวัตกรรมช่วยสอนkuneena
 
นวัฒกรรมช่วยสอน
นวัฒกรรมช่วยสอนนวัฒกรรมช่วยสอน
นวัฒกรรมช่วยสอนkuneena
 
นวัตกรรมช่วยสอน
นวัตกรรมช่วยสอนนวัตกรรมช่วยสอน
นวัตกรรมช่วยสอนkuneena
 
ใบความรู้เรื่องการอ่านจับใจความสำคัญ
ใบความรู้เรื่องการอ่านจับใจความสำคัญใบความรู้เรื่องการอ่านจับใจความสำคัญ
ใบความรู้เรื่องการอ่านจับใจความสำคัญPiyarerk Bunkoson
 
เธšเธ—เธ„เธงเธ
เธšเธ—เธ„เธงเธเธšเธ—เธ„เธงเธ
เธšเธ—เธ„เธงเธkhaowpun
 
พุทธวิธีในการสอน(ศึกษาวิจัยจากพระไตรปิฎก)
พุทธวิธีในการสอน(ศึกษาวิจัยจากพระไตรปิฎก)พุทธวิธีในการสอน(ศึกษาวิจัยจากพระไตรปิฎก)
พุทธวิธีในการสอน(ศึกษาวิจัยจากพระไตรปิฎก)niralai
 
บทที่ 3 หลักการอ่าน
บทที่ 3 หลักการอ่านบทที่ 3 หลักการอ่าน
บทที่ 3 หลักการอ่านAj.Mallika Phongphaew
 
เรื่องการเขียนจดหมาย
เรื่องการเขียนจดหมายเรื่องการเขียนจดหมาย
เรื่องการเขียนจดหมายjiratt
 
หลักสูตรแกนกลางภาษาไทย
หลักสูตรแกนกลางภาษาไทยหลักสูตรแกนกลางภาษาไทย
หลักสูตรแกนกลางภาษาไทยน้อง มัดไหม
 
กลยุทธ์การส่งเสริมการอ่านสำกรับวัยรุ่น
กลยุทธ์การส่งเสริมการอ่านสำกรับวัยรุ่นกลยุทธ์การส่งเสริมการอ่านสำกรับวัยรุ่น
กลยุทธ์การส่งเสริมการอ่านสำกรับวัยรุ่นSilpakorn University
 
บทที่ 2วิจัยการอ่าน
บทที่ 2วิจัยการอ่านบทที่ 2วิจัยการอ่าน
บทที่ 2วิจัยการอ่านKanjana Pothinam
 
สารพันเลือกสรรตีความ
สารพันเลือกสรรตีความสารพันเลือกสรรตีความ
สารพันเลือกสรรตีความพัน พัน
 
การวิเคราะห์ผู้เรียน เก๋
การวิเคราะห์ผู้เรียน เก๋การวิเคราะห์ผู้เรียน เก๋
การวิเคราะห์ผู้เรียน เก๋Kaekea Bio
 
ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับการเขียน 7.1
ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับการเขียน 7.1ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับการเขียน 7.1
ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับการเขียน 7.1Yota Bhikkhu
 
บทคัดย่อ. หนังสือสาระ
บทคัดย่อ. หนังสือสาระบทคัดย่อ. หนังสือสาระ
บทคัดย่อ. หนังสือสาระjintanasuti
 

Similaire à 4 การอ่านอย่างมีประสิทธิภาพ(108-147) (20)

บทที่ 2.ใหม่
บทที่ 2.ใหม่บทที่ 2.ใหม่
บทที่ 2.ใหม่
 
Unlicensed-นวัตกรรมช่วยสอน
 Unlicensed-นวัตกรรมช่วยสอน Unlicensed-นวัตกรรมช่วยสอน
Unlicensed-นวัตกรรมช่วยสอน
 
นวัฒกรรมช่วยสอน
นวัฒกรรมช่วยสอนนวัฒกรรมช่วยสอน
นวัฒกรรมช่วยสอน
 
นวัตกรรมช่วยสอน
นวัตกรรมช่วยสอนนวัตกรรมช่วยสอน
นวัตกรรมช่วยสอน
 
ใบความรู้เรื่องการอ่านจับใจความสำคัญ
ใบความรู้เรื่องการอ่านจับใจความสำคัญใบความรู้เรื่องการอ่านจับใจความสำคัญ
ใบความรู้เรื่องการอ่านจับใจความสำคัญ
 
เธšเธ—เธ„เธงเธ
เธšเธ—เธ„เธงเธเธšเธ—เธ„เธงเธ
เธšเธ—เธ„เธงเธ
 
พุทธวิธีในการสอน(ศึกษาวิจัยจากพระไตรปิฎก)
พุทธวิธีในการสอน(ศึกษาวิจัยจากพระไตรปิฎก)พุทธวิธีในการสอน(ศึกษาวิจัยจากพระไตรปิฎก)
พุทธวิธีในการสอน(ศึกษาวิจัยจากพระไตรปิฎก)
 
01 หน่วย 1
01 หน่วย 101 หน่วย 1
01 หน่วย 1
 
บทที่ 3 หลักการอ่าน
บทที่ 3 หลักการอ่านบทที่ 3 หลักการอ่าน
บทที่ 3 หลักการอ่าน
 
เรื่องการเขียนจดหมาย
เรื่องการเขียนจดหมายเรื่องการเขียนจดหมาย
เรื่องการเขียนจดหมาย
 
หลักสูตรแกนกลางภาษาไทย
หลักสูตรแกนกลางภาษาไทยหลักสูตรแกนกลางภาษาไทย
หลักสูตรแกนกลางภาษาไทย
 
กลยุทธ์การส่งเสริมการอ่านสำกรับวัยรุ่น
กลยุทธ์การส่งเสริมการอ่านสำกรับวัยรุ่นกลยุทธ์การส่งเสริมการอ่านสำกรับวัยรุ่น
กลยุทธ์การส่งเสริมการอ่านสำกรับวัยรุ่น
 
ภาษาไทย
ภาษาไทยภาษาไทย
ภาษาไทย
 
บทที่ 2วิจัยการอ่าน
บทที่ 2วิจัยการอ่านบทที่ 2วิจัยการอ่าน
บทที่ 2วิจัยการอ่าน
 
สารพันเลือกสรรตีความ
สารพันเลือกสรรตีความสารพันเลือกสรรตีความ
สารพันเลือกสรรตีความ
 
ภาษาไทย ต้น
ภาษาไทย ต้นภาษาไทย ต้น
ภาษาไทย ต้น
 
NT'55 Nationnal Test
NT'55 Nationnal TestNT'55 Nationnal Test
NT'55 Nationnal Test
 
การวิเคราะห์ผู้เรียน เก๋
การวิเคราะห์ผู้เรียน เก๋การวิเคราะห์ผู้เรียน เก๋
การวิเคราะห์ผู้เรียน เก๋
 
ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับการเขียน 7.1
ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับการเขียน 7.1ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับการเขียน 7.1
ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับการเขียน 7.1
 
บทคัดย่อ. หนังสือสาระ
บทคัดย่อ. หนังสือสาระบทคัดย่อ. หนังสือสาระ
บทคัดย่อ. หนังสือสาระ
 

Plus de อัมพร ศรีพิทักษ์

0 คำแนะนำการใช้เอกสารประกอบการเรียน
0 คำแนะนำการใช้เอกสารประกอบการเรียน0 คำแนะนำการใช้เอกสารประกอบการเรียน
0 คำแนะนำการใช้เอกสารประกอบการเรียนอัมพร ศรีพิทักษ์
 
7 การเขียนเรียงความและการเขียนย่อความ(209-237)
7 การเขียนเรียงความและการเขียนย่อความ(209-237)7 การเขียนเรียงความและการเขียนย่อความ(209-237)
7 การเขียนเรียงความและการเขียนย่อความ(209-237)อัมพร ศรีพิทักษ์
 
6 การพูดเพื่อติดต่อสื่อสารในชีวิตประจำวัน(188-208)
6 การพูดเพื่อติดต่อสื่อสารในชีวิตประจำวัน(188-208)6 การพูดเพื่อติดต่อสื่อสารในชีวิตประจำวัน(188-208)
6 การพูดเพื่อติดต่อสื่อสารในชีวิตประจำวัน(188-208)อัมพร ศรีพิทักษ์
 
3 การใช้ทักษะทางภาษาสื่อสารเพื่อพัฒนาตนเอง(74-103)
3 การใช้ทักษะทางภาษาสื่อสารเพื่อพัฒนาตนเอง(74-103)3 การใช้ทักษะทางภาษาสื่อสารเพื่อพัฒนาตนเอง(74-103)
3 การใช้ทักษะทางภาษาสื่อสารเพื่อพัฒนาตนเอง(74-103)อัมพร ศรีพิทักษ์
 
2 ภูมิปัญญาภาษาไทยในสำนวนโวหาร(40-68)
2 ภูมิปัญญาภาษาไทยในสำนวนโวหาร(40-68)2 ภูมิปัญญาภาษาไทยในสำนวนโวหาร(40-68)
2 ภูมิปัญญาภาษาไทยในสำนวนโวหาร(40-68)อัมพร ศรีพิทักษ์
 
2 ภูมิปัญญาภาษาไทยในสำนวนโวหาร(40-68)
2 ภูมิปัญญาภาษาไทยในสำนวนโวหาร(40-68)2 ภูมิปัญญาภาษาไทยในสำนวนโวหาร(40-68)
2 ภูมิปัญญาภาษาไทยในสำนวนโวหาร(40-68)อัมพร ศรีพิทักษ์
 

Plus de อัมพร ศรีพิทักษ์ (11)

0 คำแนะนำการใช้เอกสารประกอบการเรียน
0 คำแนะนำการใช้เอกสารประกอบการเรียน0 คำแนะนำการใช้เอกสารประกอบการเรียน
0 คำแนะนำการใช้เอกสารประกอบการเรียน
 
ก่อนเรียน
ก่อนเรียนก่อนเรียน
ก่อนเรียน
 
1 ก่อนเรียน(1-4)
1 ก่อนเรียน(1-4)1 ก่อนเรียน(1-4)
1 ก่อนเรียน(1-4)
 
8 การเขียนเชิงวิชาการ(238 262)
8 การเขียนเชิงวิชาการ(238 262)8 การเขียนเชิงวิชาการ(238 262)
8 การเขียนเชิงวิชาการ(238 262)
 
7 การเขียนเรียงความและการเขียนย่อความ(209-237)
7 การเขียนเรียงความและการเขียนย่อความ(209-237)7 การเขียนเรียงความและการเขียนย่อความ(209-237)
7 การเขียนเรียงความและการเขียนย่อความ(209-237)
 
6 การพูดเพื่อติดต่อสื่อสารในชีวิตประจำวัน(188-208)
6 การพูดเพื่อติดต่อสื่อสารในชีวิตประจำวัน(188-208)6 การพูดเพื่อติดต่อสื่อสารในชีวิตประจำวัน(188-208)
6 การพูดเพื่อติดต่อสื่อสารในชีวิตประจำวัน(188-208)
 
3 การใช้ทักษะทางภาษาสื่อสารเพื่อพัฒนาตนเอง(74-103)
3 การใช้ทักษะทางภาษาสื่อสารเพื่อพัฒนาตนเอง(74-103)3 การใช้ทักษะทางภาษาสื่อสารเพื่อพัฒนาตนเอง(74-103)
3 การใช้ทักษะทางภาษาสื่อสารเพื่อพัฒนาตนเอง(74-103)
 
2 ภูมิปัญญาภาษาไทยในสำนวนโวหาร(40-68)
2 ภูมิปัญญาภาษาไทยในสำนวนโวหาร(40-68)2 ภูมิปัญญาภาษาไทยในสำนวนโวหาร(40-68)
2 ภูมิปัญญาภาษาไทยในสำนวนโวหาร(40-68)
 
1 ธรรมชาติและพลังของภาษาไทย(5-34)
1 ธรรมชาติและพลังของภาษาไทย(5-34)1 ธรรมชาติและพลังของภาษาไทย(5-34)
1 ธรรมชาติและพลังของภาษาไทย(5-34)
 
9 การกรอกแบบฟอร์ม(263-287)
9 การกรอกแบบฟอร์ม(263-287)9 การกรอกแบบฟอร์ม(263-287)
9 การกรอกแบบฟอร์ม(263-287)
 
2 ภูมิปัญญาภาษาไทยในสำนวนโวหาร(40-68)
2 ภูมิปัญญาภาษาไทยในสำนวนโวหาร(40-68)2 ภูมิปัญญาภาษาไทยในสำนวนโวหาร(40-68)
2 ภูมิปัญญาภาษาไทยในสำนวนโวหาร(40-68)
 

4 การอ่านอย่างมีประสิทธิภาพ(108-147)

  • 1. บทที่ ๔ การอ่ านอย่ างมีประสิ ทธิภาพ สวัสดีค่ะเด็ก ๆ วันนี้ครู จะพาเด็ก ๆ ไปพบกับเรื่ องของการอ่านหนังสื อนะ ครับ สวัสดีครับคุณครู ๑. ความรู้เบืองต้นเกียวกับการอ่าน ้ ่ สวัสดีคะคุณครู การอ่านเป็ นสิ่ งจําเป็ นอย่างยิงในการเพิ่มพูนความรู ้และสติปัญญา การอ่านในใจเป็ นการ ่ อ่านเพื่อเก็บความรู ้ และอ่านเอาเรื่ อง ซึ่ งเป็ นพื้นฐานในการศึกษาความรู ้โดยทัวไป ส่ วนการอ่าน ่ ออกเสี ยงเป็ นการอ่านให้ผอื่นฟั ง ผูอ่านจะต้องเข้าใจหลักการและวิธีการอ่านออกเสี ยงให้ชดเจน ู้ ้ ั ถูกต้องเพื่อเร้าความสนใจชวนให้ติดตามตลอดเวลาของการอ่าน การอ่านแบ่งออกเป็ นสองชนิด อ่านในใจแล้วคิดกับออกเสี ยง ให้ชดถ้อยชัดคําถูกสําเนียง ั ย่อมแท้เที่ยงประโยชน์เลิศเกิดทันใด ด้วยการอ่านคือประตูสู่โลกกว้าง เป็ นหนทางเรี ยนรู ้อย่างยิงใหญ่ ่ ช่วยเสริ มสร้างโลกทัศน์ให้กว้างไกล ทันสมัยไม่ตกยุคทุกสถานการณ์ การอ่ า นเป็ นกระบวนการสํา คัญ ในการแสวงหาความรู ้ ข องมนุ ษ ย์ ปั จจุ บ ัน ความ เจริ ญก้าวหน้าในด้านการพิมพ์และเทคนิ คอื่น ๆ ทําให้วิทยาการต่าง ๆ เผยแพร่ ออกมาในรู ปของ สิ่ งพิมพ์จานวนมากการอ่านจึงเป็ นเครื่ องมือสําหรับใช้เพื่อการเรี ยนรู ้อย่างกว้างขวาง ํ
  • 2. เรื่ องการอ่าน ทุกคนคงอ่านหนังสื อกันมา มากมายแล้ว แต่การอ่านให้มีประสิ ทธิ ภาพ เราต้องมีหลักในการอ่านนะคะ ๑.๑ ความหมายของการอ่าน การอ่าน หมายถึง การรับสารด้วยการแปลความหมายของตัวอักษรออกมาเป็ นถ้อยคํา และความคิ ด แล้วนําความคิ ดนั้นไปใช้ให้เกิ ดประโยชน์ หัวใจของการอ่านจึ งอยู่ที่การเข้าใจ ความหมายของการอ่าน การอ่าน แบ่งออกเป็ น ๒ ลักษณะ มีอะไรบ้าง มีใครตอบได้บางคะ ้ ผมทราบครับ ๑) การอ่านออกเสี ยง คือ การเปล่งเสี ยงถ้อยคํา และเครื่ องหมายต่าง ๆ ที่เขียนไว้ออกมาให้ชดถ้อยชัดคํา ั ให้เป็ นที่เข้าใจแก่ผฟัง ู้ ๒) การอ่ านในใจ คือ การแปลความหมายของ ข้อความที่อ่านออกมาเป็ นความคิด เพื่อนําความคิดไปใช้ ให้เป็ นประโยชน์แก่ชีวตประจําวันในโอกาสต่าง ๆ ิ โดยครู อมพร ศรีพทกษ์ ั ิ ั หน้ า ๑๐๙
  • 3. ต่อไปเรามาดูจุดมุ่งหมายในการอ่านนะคะ เวลาที่เรา ต้องการรู ้อะไร... นันละคะคือจุดมุ่งหมายของเรา ่ ๑.๒ จุดมุ่งหมายในการอ่าน การอ่านอาจแบ่งจุดมุ่งหมายทัวไป ได้ดงนี้ ั ่ ๑) อ่ านเพือศึกษาหาความรู้ เป็ นการอ่านเพื่อให้ได้รับความรู ้ในเรื่ องทัวไป ความรู ้ ่ ่ ในสาขาใด สาขาหนึ่งโดยตรง หรื อเพื่อเพิ่มพูนความรู ้และประสบการณ์ในงานอาชี พ จึงควรอ่าน ่ จากหนังสื อ หลาย ๆ เล่ม ขณะที่อ่านต้องจับใจความให้ได้วา ใคร ทําอะไร ที่ไหน เมื่อใด อย่างไร และทําไม ได้แก่ การอ่านหนังสื อประเภทตํารา สารคดี วารสาร หนังสื อพิมพ์และข้อความต่าง ๆ เป็ นต้น ๒) อ่ านเพื่อเสริ มความคิด เป็ นการอ่านเพื่อสร้างเสริ มความคิดให้เจริ ญงอกงาม มี ทัศนคติที่กว้างไกล และอาจนํามาเป็ นแนวปฏิบติในการดําเนิ นชี วิตหรื อแก้ปัญหาต่าง ๆ ในชี วิต ั ได้ แนวความคิ ดทางปรั ช ญา วัฒ นธรรม จริ ย ธรรมและความคิ ดเห็ นทัวไป มัก แทรกอยู่ใ น ่ หนังสื อแทบทุกประเภท ผูอ่านจะต้องใช้วจารณญาณในการเลือกนําความคิดที่ได้อ่านมาใช้ให้เกิด ้ ิ ประโยชน์ ๓) อ่ า นเพื่ อ ความบั น เทิ ง เป็ นการอ่ า นเพื่ อ ความเพลิ ด เพลิ น เพื่ อ ผ่ อ นคลาย ความเครี ยดจากการทํางานในชีวตประจําวันเพื่อหาความสุ ขสนุกสนานให้แก่ชีวิต หรื ออ่านเพื่อฆ่า ิ เวลา เช่น การอ่านเรื่ องสั้น นวนิยาย บันเทิงคดี เรื่ องขําขัน บทร้อยกรอง ฯลฯ จุดประสงค์ในการอ่านทั้ง ๓ ประการดังกล่าว อาจรวมอยู่ในการอ่าน ครั้งเดียวกันก็ได้โดยไม่จาเป็ นต้องแยกจากกันอย่างชัดเจน ํ โดยครู อมพร ศรีพทกษ์ ั ิ ั หน้ า ๑๑๐
  • 4. ถ้าอย่างนั้น หนูจะอ่านมาก ๆ นะค่ะ หนูตองการเป็ นบัณฑิตคะ ้ ใช่คะเข้าใจถูกต้องแล้ว เพื่อน ๆ ตบมือให้คน เก่งด้วย แบบนี้ใช่จุดมุ่งหมายหรื อไม่คะครู ๑.๓ คุณค่าของการอ่าน การอ่านหนังสื อมีคุณค่าหลายประการ ดังนี้ ๑) คุ ณค่ าทางอารมณ์ หนัง สื อที่ ให้คุณค่า ทางอารมณ์ ได้แก่ วรรณคดี ที่ มี ความงามทั้งถ้อยคํา นํ้าเสี ยง ลี ลาในการประพันธ์ ตลอดจนความงามในเนื้ อหา หรื อ “รส วรรณคดี” นันเอง ่ ๒) คุ ณ ค่ า ทางสติ ปั ญ ญา หนัง สื อ ดี ย่อ มให้ คุ ณ ค่ า ทางสติ ปั ญ ญา อัน ได้แ ก่ ความรู้และความคิดเชิงสร้างสรรค์ ซึ่ งนอกจากความรู้ทางวิชาการแล้วยังรวมถึงความรู้ทาง การเมือง สังคม ภาษา และสิ่ งต่าง ๆ อันเป็ นประโยชน์แก่ผูอ่าน แม้จะหยิบหนังสื อมาอ่าน ้ เพียง ๒ – ๓ นาที ผูอ่านก็จะได้รับคุณค่าทางสติปัญญาไม่ดานใดก็ดานหนึ่ง ้ ้ ้ ๓) คุ ณ ค่ า ทางสั ง คม การอ่ า นเป็ นมรดกทางวัฒ นธรรมที่ สื บ ต่ อ กัน มาแต่ โบราณกาล หนังสื อและการอ่านเป็ นเครื่ องมือในการเผยแพร่ และพัฒนาสังคม หนังสื ออาจ ่ ทําให้การเมืองเปลี่ยนแปลงไปได้หากมีคนอ่านเป็ นจํานวนมาก จะเห็นได้วาในกลุ่มคนที่ไม่ มีภาษาเขี ยน ไม่มีหนังสื อ ไม่มีการอ่านวัฒนธรรมของสังคมนั้นมักล้าหลัง ปราศจากการ พัฒนา การอ่านจึงให้คุณค่าทางสังคมในทุกด้าน โดยครู อมพร ศรีพทกษ์ ั ิ ั หน้ า ๑๑๑
  • 5. ๒. หลักการพืนฐานและวิธีการในการอ่านหนังสือ ้ การอ่านหนังสื อ ต้องมีสิคะ ต้องมีหลักการด้วย หรื อครับคุณครู ๒.๑ หลักการพืนฐานในการอ่านหนังสื อ ้ หลักการพื้นฐานในการอ่านหนังสื อทัวไป มีแนวทางดังนี้ ่ ๑) กาหนดจุดมุ่งหมาย ผูอ่านควรกําหนดจุดมุ่งหมายให้แน่นอนว่าจะอ่าน เพื่ออะไร ้ จะได้ท ราบว่า ควรใช้ค วามพยายามหรื อ ความตั้ง ใจในการอ่ า นระดับ ไหน เช่ น ต้อ งการแค่ รู้ เรื่ องราว หรื อ ต้องการจับสาระสําคัญในเรื่ องให้ได้ หรื อถึงขั้นวิเคราะห์และวินิจสาร ฯลฯ ๒) สารวจแหล่ งที่ม า ผูอ่า นควรหาความรู ้ เกี่ ยวกับผูแต่ ง เวลาที่ แต่ ง เวลาที่ จดพิม พ์ ้ ้ ั จํานวนครั้งที่พิมพ์ สถาบันที่จดพิมพ์ ฯลฯ ข้อมูลเหล่านี้ นบเป็ นภูมิหลังที่จะช่วยเสริ มให้ผอ่านมี ั ั ู้ ความรู ้ ความเข้าใจในความเป็ นมาของหนังสื อเล่มนั้น ๆ มากขึ้น ่ ๓) พิจารณาส่ วนประกอบ ในการอ่านหนังสื อทุกประเภทไม่วาจะด้วยจุดมุ่งหมายใดก็ ตามผูอ่านควรจะรู ้ ว่าหนังสื อแต่ละเล่ มมี ส่วนประกอบ อย่างไร การพลิ กอ่านส่ วนประกอบของ ้ หนังสื ออย่างรวดเร็ ว เพื่อให้ทราบว่าหนังสื อ มีส่วนใดสําคัญเป็ นพิเศษ ส่ วนสําคัญ ได้แก่ คํานํา หรื อบทนํา สารบัญ บทสรุ ปท้ายเล่ม ดรรชนี ภาคผนวก อภิธานศัพท์ เป็ นต้น ๔) อ่านอย่างมีสมาธิ เมื่อเริ่ มต้นอ่านเนื้อหาของหนังสื อควรทําใจให้เป็ นสมาธิ แน่วแน่ ั อยู่กบ เรื่ องที่ อ่าน เพราะจะทําให้ความรู ้ สึกนึ กคิ ดของตนเองและของผูเ้ ขี ยนเข้าสู่ ส มองอย่างมี ระเบียบสามารถทําความเข้าใจและจดจําข้อความที่อ่านได้อย่างแม่นยํา ทําให้เป็ นคนมีจิตใจสงบ และมีความจําดีไปโดยอัตโนมัติ โดยครู อมพร ศรีพทกษ์ ั ิ ั หน้ า ๑๑๒
  • 6. ๕) ตั้งคาถามทบทวน ในขณะที่อ่านควรตั้งคําถามทบทวนสิ่ งที่ตนอ่านอยู่ทุกระยะ เช่ น ่ ใคร ทําอะไร ที่ไหน เมื่อไหร่ และทําไม แล้วพยายามให้คาตอบอยูในใจตลอดเวลาจะทําให้เรารู ้จก ํ ั อ่านอย่างมีจุดหมาย คือ อ่านเพื่อค้นหาคําตอบมิใช่อ่านอย่างเลื่อนลอยจับจุดไม่ได้ เด็ก ๆ ทากันได้ หรือเปล่า ครับ ถ้ าทาได้ เด็ก ๆ ก็จะเป็ น คนเก่งนะคะ ๒.๒ วิธีการอ่านหนังสือ วิธีการอ่านหนังสื ออาจแตกต่างออกไปตาม ความมุ่ ง หมายของผู ้อ่ า นเป็ นประการสํ า คัญ เช่ น ถ้า ผูอ่ า น ้ ต้องการอ่านเพื่อหาคําตอบอย่างใดอย่างหนึ่ ง ผูอ่านจําเป็ นต้อง ้ รู ้จกกลุ่มพวกหรื อลักษณะของหนังสื อนั้น ๆ เพื่อจะช่วยในการ ั หาคําตอบได้รวดเร็ ว ถ้าต้องการอ่านเพื่อการศึกษาก็ตองใช้วิธี ้ อ่านอีกแบบหนึ่ ง ถ้าต้องการอ่านเพื่อความเพลิ ดเพลิ น ผูอ่าน ้ ต้องพยายามสร้างอารมณ์ให้เคลิบเคลิ้มไปตามเนื้ อเรื่ อง อันเป็ น วิธีอ่านอีกแบบหนึ่ง การอ่านหนังสื อต้องมี วิธีการอ่านด้วยหรื อคะ ต้องมีสิคะ โดยครู อมพร ศรีพทกษ์ ั ิ ั ครับครู หน้ า ๑๑๓
  • 7. วิธีการอ่านให้ได้ตามความมุ่งหมาย แบ่งออกเป็ น ๔ แบบ ดังนี้ ๑) การอ่านอย่างละเอียด เป็ นการอ่านเพื่อการศึกษา ควรอ่านอย่างละเอียดพร้ อม กับใช้ความพินิจพิเคราะห์ พยายามทําความเข้าใจเรื่ องราวให้ได้ทุกบททุกตอน ไม่ควรอ่านข้าม เรื่ องถ้าเป็ นเรื่ องมีเนื้อหาติดต่อสื บเนื่ องกัน เพราะจะทําให้งุนงง ไม่รู้เรื่ อง จับต้นชนปลายไม่ติด หลังจากอ่านจบตอนแล้วควรหยุดพักใคร่ ครวญ ทบทวน ประมวลความคิดให้เป็ นลําดับ อันจะ เป็ นพื้นฐานไปสู่ ความรอบรู ้เชี่ยวชาญในเรื่ องนั้น ๆ วิธีน้ ีใช้สาหรับอ่านตําราวิชาการที่ตองศึกษา ํ ้ อย่างจริ งจัง ๒) การอ่านอย่างถี่ ถ้วน การอ่านแบบนี้ ใช้เมื่ ออ่านเรื่ องที่ ตองการทําความเข้าใจ ้ ต้องการให้รอบรู ้นอยกว่าแบบแรก เช่น อ่านเพื่อวิจารณ์ ติชม เพื่อเขียนคํานิ ยม จะต้องอ่านอย่าง ้ ระมัดระวังโดยอ่านให้ตลอด อย่างทิ้งข้ามอะไรไว้ โดยมิได้อ่านหรื อเห็ นว่าไม่ใช่เรื่ องสําคัญที่ อาจกลายเป็ นสําคัญอย่างยิ่ง การอ่านอย่างรอบคอบถี่ถวนทัวถึ งก็เพื่อสะดวกในการหาแง่คิด ติ ้ ่ ชม คัดค้าน หรื อสนับ สนุ นหนังสื อนั้น ๆ ต้องระมัดระวัง ตรวจพิจารณาข้อความในวงเล็ บ ข้อความในเครื่ องหมายคําพูด ตลอดจนข้อความตามคําบางคํา เช่น “แต่ ถ้า และ หรื อ” ถ้าอ่าน ข้าม ๆ ไปโดยไม่ระมัดระวังอาจเข้าใจความหมายคลาดเคลื่อนไปได้ ๓) การอ่านอย่างรวดเร็ ว ใช้สําหรับการอ่าน นวนิยาย หนังสื อพิมพ์ รายงาน หรื อ หนังสื ออื่น ๆ ที่ไม่ตองศึกษาให้ละเอียดลออ นอกจากนั้น ยังใช้อ่านเพื่อทบทวนความจํา อ่าน ้ เรื่ องที่เคยผ่านสายตามาแล้ว ตลอดจนอ่านเรื่ องที่ผอ่านมีความรู ้ มีประสบการณ์มาแล้วค่อนข้าง ู้ ดี เป็ นการอ่านเพื่อเพิมพูนความรู ้ความเข้าใจให้มากขึ้น บางทีเรี ยกว่า “อ่านตรวจความหรื ออ่าน ่ ตรวจเรื่ อง” ๔) การอ่ า นคร่ า ว ๆ ได้แ ก่ การอ่ า นเพื่ อจะค้นคว้า หาคํา ตอบเรื่ อ งหนึ่ ง เรื่ อ งใด โดยเฉพาะ เช่น ต้องการค้นชื่อ หาวันที่ สถานที่ หลักฐานอ้างอิง หรื อต้องการตรวจดูสารบัญ ่ เรื่ องว่ามีอะไรบ้างดูสานวนโวหาร ทํานองแต่ง เค้าโครงเรื่ อง เพื่อให้รู้วาหนังสื อนั้นสมควรอ่าน ํ หรื อไม่ เป็ นการตรวจแนวทางตามความประสงค์ของตน โดยไม่ตองการรายละเอียด ้ โดยครู อมพร ศรีพทกษ์ ั ิ ั หน้ า ๑๑๔
  • 8. ครู ขอสรุปนะคะ การอ่ า นแบบคร่ า ว ๆ ถ้า อ่ า นเป็ นหรื ออ่ า นอย่า งมี ห ลัก มี ส มาธิ จะได้ประโยชน์ ไม่นอย แต่จะเป็ นอันตรายมากสําหรับผูที่ไม่รู้จกวิธีการอ่านที่ถูกต้อง และนําวิธีน้ ี ไปใช้อย่าง ้ ้ ั ผิดความประสงค์หรื อจุดหมาย เช่น นําไปอ่านเพื่อการศึกษา อาจเสี ยเวลาเปล่า โดยไม่เข้าใจ อะไรขึ้นมา ดังนั้น เมื่ออ่าน คร่ าว ๆ จบลงครั้งหนึ่ งแล้ว ควรกลับมาเริ่ มต้นให้ละเอียดใหม่อีก ครั้งหนึ่งสําหรับหนังสื อที่ตองการศึกษาให้รู้เรื่ องราวโดยละเอียดไม่ควรอ่านทิ้งขว้าง หรื ออ่าน ้ แล้วทิ้งเลย ทิ้งไปเฉย ๆ อันเป็ นการเพาะนิ สัยสะเพร่ าจะอ่านอะไรก็อ่านแต่เพียงลวก ๆ ไม่ได้ เรื่ องได้ราวอะไร นับเป็ นการอ่านที่ สูญเปล่ าอย่างยิ่ง ในชี วิตมนุ ษย์ (จากหลัก การอ่า น ของ สมบัติ จําปาเงิน และสําเนียง มณี กาญจน์) แจ๋ วเข้าใจแล้วคะคุณครู โดยครู อมพร ศรีพทกษ์ ั ิ ั หน้ า ๑๑๕
  • 9. ๓. มารยาทในการอ่าน .. ไข่ น้ ุย วันนีเ้ รามาเรียนมารยาท ในการอ่ านกันนะ ..ครับคุณครู มารยาททัว ๆ ไปในการอ่าน มีดงนี้ ั ่ ๑) ไม่ควรอ่านเรื่ องที่เป็ นส่ วนตัวของบุคคลอื่น เช่น จดหมาย สมุดบันทึก ๒) ในขณะที่ มีผูอ่านหนังสื อ ไม่ควรชะโงกไปอ่านข้างหลังให้เป็ นที่รําคาญและไม่ ้ ควรแย่งหนังสื อมาอ่าน ๓) ไม่อ่านออกเสี ยงดัง ในขณะที่ผอื่นต้องการความสงบ ู้ ๔) ไม่แกล้งอ่านเพื่อล้อเลียนบุคคลอื่น ๕) ไม่ควรถือวิสาสะหยิบหนังสื อของบุคคลอื่นมาอ่านโดยไม่ได้รับอนุ ญาต ่ ๖) ไม่อ่านหนังสื อเมื่ออยูในวงสนทนาหรื อมีการประชุม ๗) เมื่ออ่านหนังสื อในห้องสมุดหรื อสถานที่ซ่ ึ งจัดไว้ให้อ่านหนังสื อโดยเฉพาะ ควร ปฏิบติตามระเบียบกฎเกณฑ์ของสถานที่เหล่านั้นอย่างเคร่ งครัด ั เรื่ องมารยาทในการอ่าน เข้าใจแล้วหรื อยัง.... เข้ าใจแล้วคะ โดยครู อมพร ศรีพทกษ์ ั ิ ั หน้ า ๑๑๖
  • 10. ๔. ลักษณะของผู้ที่อ่านเป็ น อ่านแบบไหนละครับ ถึงจะเรี ยกว่าอ่านเป็ น อ่านถูกวิธีมีมารยาทแล้วยังต้อง อ่านเป็ นด้วยนะคะ การอ่ า นหนัง สื อ ไม่ ว่า จะเป็ นการอ่ า นออกเสี ย งหรื อ อ่านในใจ ไม่ใช่ เพียงแต่อ่านหนังสื อออกเท่านั้นแต่ตองอ่านเป็ น ้ ด้วย จึงจะทําให้รับสารได้ตรงตามจุดมุ่งหมายของผูเ้ ขียนและเป็ น ผูมีประสิ ทธิ ภาพในการอ่าน ้ ลักษณะของผูที่อ่านเป็ นมีคุณสมบัติอะไรบ้างละครับ ้ ๑) อ่านแล้วรู ้เรื่ องราวได้ตลอด คือ อ่านจับใจความและเข้าใจความหมาย ในเนื้อหาของเรื่ องที่อ่านได้ถูกต้อง ๒) ได้รับรสชาติจากการอ่าน คื อ เมื่ ออ่านเรื่ องใดก็ตามย่อมเกิ ดความ ซาบซึ้ งตามเนื้ อหา สํานวนและวิธีการประพันธ์ น้ ัน ๆ มีอารมณ์ คล้อยตามและ เห็นภาพพจน์ตามคําบรรยาย ๓) วินิจฉัยคุณค่าของเรื่ องที่อ่านได้ว่ามีคุณค่าหรื อประโยชน์ในแง่ใด มี คุ ณ ค่ า ควรให้ ค วามสนใจมากน้อ ยเพี ย งใดและหนัง สื อ ใดเหมาะสมกับ บุ ค คล ประเภทใด เป็ นต้น ๔) รู ้ จ ัก นํา สิ่ ง ที่ เ ป็ นประโยชน์ จ ากเรื่ อ งที่ อ่ า นมาใช้ไ ด้เ หมาะสมกับ สถานการณ์ หนังสื อทุกเล่มย่อมมีคุณค่าและประโยชน์จากหนังสื อที่อ่านนําไปใช้ อย่างเหมาะสมเป็ นวิธีการหนึ่งของการอ่านที่มีปะสิ ทธิ ภาพ ๕) รู ้ จ ัก เลื อ กหนัง สื อ ที่ อ่ า นได้ต รงตามความมุ่ ง หมาย เหมาะสมกับ โอกาส คือ รู ้จกเลือกอ่านหนังสื อได้ตรงตามความต้องการนันเอง ั ่ โดยครู อมพร ศรีพทกษ์ ั ิ ั หน้ า ๑๑๗
  • 11. ๕. การอ่านในใจ การอ่านในใจ เป็ นการอ่าน เพือพัฒนาตนเอง ่ มีอะไรบ้ างหรือคะคุณครู ๑) การพัฒนาด้านความรู ้ คือ ได้ท้ งความรู ้รอบตัวและความรู ้ เฉพาะด้าน เช่ น การ ั อ่านหนังสื อพิมพ์ นิตยสาร เอกสาร สิ่ งพิมพ์ ฯลฯ ๒) การพัฒนาด้านอารมณ์ ช่ วยให้เกิ ดความเพลิ ดเพลิ นบันเทิงใจ คลายความขุ่นมัว ต่าง ๆ เช่นการอ่านนวนิยาย เรื่ องสั้น ๆ บทกวีต่าง ๆ ๓) การพัฒนาด้านคุณธรรม การมีคุณธรรมย่อมเกิดมาจากความจรรโลงใจ ซึ่ งได้จาก การอ่านหนังสื อประเภทธรรมะ ชีวประวัติ สารคดี ฯลฯ การอ่านในใจจึงเป็ นวิธีการศึกษา อย่างหนึ่ง เพื่อเรี ยนรู ้และเข้าใจประสบการณ์ ใหม่ ๆ ซึ่ งช่วยให้มนุษย์เกิดการปรับตัวเพื่อ การดํารงชี วตอย่างเป็ นสุ ข ิ โดยครู อมพร ศรีพทกษ์ ั ิ ั หน้ า ๑๑๘
  • 12. จุดมุ่งหมายของการอ่านในใจ ๑) เพื่อจับใจความได้ถูกต้องรวดเร็ ว ๒) เพื่ อให้เกิ ดความรู ้ ค วามเข้า ใจ และความคิ ดกว้า งขวาง ลึกซึ้ ง เป็ นการเสริ มสร้างประสบการณ์ชีวต ิ ๓) เพื่อให้เกิ ดความเพลิ ดเพลิ น และเป็ นการใช้เวลาว่างให้ เป็ นประโยชน์ ๔) เพื่ อ ให้ ส ามารถถ่ า ยทอดสิ่ ง ที่ อ่ า นให้ ผู ้อื่ น รั บ รู ้ โ ดยไม่ ผิดพลาด เช่ น อ่ านหนังสื อสอบ เป็ นจุดมุ่งหมาย ของ การอ่านในใจใช่ ไหมคะ เพราะจะจับใจความได้ ถูกต้ องแล้ วคะ โดยครู อมพร ศรีพทกษ์ ั ิ ั หน้ า ๑๑๙
  • 13. หลักการอ่านในใจ ต้ องทาอย่ างไรจึงจะอ่ านถูกวิธีคะ การฝึ กตนเองให้ เป็ นคนอ่ านเร็วต้ องมีหลักในการอ่ านอย่ างถูกวิธี ดังนี้ ๑) ตั้งสมาธิ ให้แน่วแน่สนใจและเอาใจจดจ่อกับสิ่ งที่อ่านไม่คิดเรื่ องอื่นจะทําให้จบ ั ใจความของเรื่ องที่อ่านไม่ได้ ๒) กะระยะช่วงสายตาในการอ่านแต่ละคราวให้กว้างที่สุด จะทําให้อ่านได้รวดเร็ ว ไม่ควรมองเป็ นคํา ๆ เพราะจะทําให้อ่านช้าและจับใจความไม่ได้ ๓) การเคลื่อนไหวสายตาจากจุดหนึ่ งไปอีกจุดหนึ่ งไม่ควรบ่อยครั้ง แต่ควรเป็ นไป อย่างมีจงหวะและแน่นอน ไม่ควรส่ ายตาไปตามเส้นบรรทัด ั ๔) ไม่ควรอ่านย้อนกลับไปเพื่อทบทวนใหม่บ่อย ๆ เพราะจะทําให้อ่านช้าลง ๕) การเปลี่ยนบรรทัดต้องให้แม่นยํา พยายามอย่ากลับไปอ่านซํ้าบรรทัดเดิมอีก ๖) ไม่ทาปากขมุบขมิบหรื อออกเสี ยงในเวลาอ่าน ํ ๗) ไม่ใช้นิ้ว ปากกา หรื อดินสอ ชี้ที่ตวหนังสื อทีละตัว ั ๘) จับใจความสําคัญ และใจความประกอบให้ได้ พิจารณาให้เข้าใจ ๙) บันทึกความรู ้ ความเข้าใจ และความคิดไว้เพื่อนําไปใช้ประโยชน์ต่อไป โดยครู อมพร ศรีพทกษ์ ั ิ ั หน้ า ๑๒๐
  • 14. ๖. การอ่านออกเสียง การอ่านออกเสี ยง หนูไม่ชอบการอ่านออกเสี ยงเวลาเพื่อนอ่าน เสี ยงดัง ๆ แข่งกันในห้อง ฟังไม่รู้เรื่ องเลยคะ เราต้องอ่านให้ถูกที่ถูกเวลาสิ คะ และอ่านให้ถูกต้อง ถูกความหมายด้วย เช่ นผูสื่อข่าว ถ้าไม่อ่านออก ้ เสี ยงเราก็ฟังไม่ได้จริ งไหมคะ การอ่ า นออกเสี ย ง เป็ นกระบวนการส่ ง สารที่ ผู ้อ่ า น จะต้องใช้กลวิธีในการอ่าน เพื่อให้ผฟังได้รับอรรถรสจากสารนั้น ู้ ตรงตามเจตนารมณ์ ของผูเ้ ขียนให้มากที่สุด ผูอ่านออกเสี ยงได้ดี ้ คือ ผูที่สามารถใช้เสี ยงได้อย่างมีประสิ ทธิ ภาพ อ่านชัดถ้อยชัดคํา ้ อย่างคล่ องแคล่ วถู กต้อง มี ความรู ้ ความเข้าใจในสารที่ อ่านเป็ น อย่างดี และแสดงกิริยาอาการได้สอดคล้องกับเรื่ องที่อ่าน โดยครู อมพร ศรีพทกษ์ ั ิ ั หน้ า ๑๒๑
  • 15. ๖.๑ ความหมายของการอ่านออกเสี ยง การอ่านออกเสี ยง หมายถึ ง การอ่านออกเสี ยงถ้อยคําหรื อเครื่ องหมายต่าง ๆ ที่เขียน ไว้ออกมาอย่างชัดถ้อยชัดคําให้ผฟังรับรู ้และเข้าใจ โดยใช้ศิลปะในการใช้เสี ยง สี หน้าและท่าทาง ู้ ประกอบเพื่อให้ผฟังเกิดความคิดหรื ออารมณ์ในลักษณะต่าง ๆ เช่น เกิ ดความพอใจหรื อไม่พอใจ ู้ เกิดความคิดคล้อยตาม หรื อเกิดความคิดในเชิงสร้างสรรค์เป็ นการอ่านเพื่อสร้างความรู้ ความเข้าใจ และอารมณ์แก่ผฟังในโอกาสต่าง ๆ ู้ ๑) การอ่ านออกเสี ยงเพื่อบุ คคลในครอบครั วผู้ที่ค้ ุนเคย เป็ นการอ่านที่ ไม่เป็ นทางการ เช่ น บุ ค คลในครอบครั วอ่ า นนิ ท าน หนัง สื อพิ มพ์ อ่ า นข่ า ว จดหมาย ใบปลิ ว คําโฆษณา ใบ ั ประกาศ หนังสื อวรรณคดี ต่าง ๆ เป็ นการอ่านสู่ กนฟั งหรื ออ่านให้เพื่อนฟั ง อ่านให้คนบางคนที่ อ่านหนังสื อไม่ออกหรื อมองไม่เห็น ๒) การอ่ านออกเสี ยงที่เป็ นทางการหรืออ่ านในเรื่องของหน้ าที่การงาน การอ่านอย่างเป็ น ทางการ เช่น การอ่านในห้องเรี ยน อ่านในที่ประชุ ม อ่านรายงาน อ่านในพิธีเปิ ดงาน อ่านคําปราศรัย การอ่านสารในโอกาสที่สาคัญต่าง ๆ การอ่านของสื่ อมวลชน ํ สรุ ปได้ ว่า การอ่ านออกเสี ยงให้ผูอื่นฟั ง จะต้องอ่ านให้ ้ ชัดเจนถูกต้อง ได้ขอความครบถ้วนสมบูรณ์ มีลีลาการ ้ อ่านที่น่าสนใจและน่าติดตามฟังจนจบ เก่งมาก สรุ ปได้ ถูกต้ องแล้ วคะ โดยครู อมพร ศรีพทกษ์ ั ิ ั หน้ า ๑๒๒
  • 16. ๖.๒ จุดมุ่งหมายของการอ่านออกเสี ยง ๑) เพื่อให้อ่านออกเสี ยงได้ถูกต้องตามอักขรวิธี ๒) เพื่อให้รู้จกใช้น้ าเสี ยงบอกอารมณ์และความรู ้สึกให้สอดคล้องกับเนื้อหา ั ํ เรื่ องที่อ่าน ๓) เพื่อให้เข้าใจเรื่ องที่อ่านได้ถูกต้อง ๔) เพื่อให้ผอ่านและผูฟังมีความรู ้ความเข้าใจในเนื้ อเรื่ องที่อ่านได้ชดเจน ู้ ้ ั ๕) เพื่อให้ผอ่านและผูฟังเกิดความเพลิดเพลิน ู้ ้ ๖) เพื่อเป็ นการรับสารและส่ งสารวิธีหนึ่ง นักเรี ยนที่น่ารักทุกคน ตั้งใจอ่านกันนะคะ ๖.๓ หลักการอ่านออกเสี ยง ๑) อ่านออกเสี ยงให้ถูกต้องและชัดเจน ๒) อ่านให้ดงพอที่ผฟังได้ยนทัวถึง ั ู้ ิ ่ ๓) อ่านให้เป็ นเสี ยงพูดโดยธรรมชาติ ๔) รู้จกทอดจังหวะ และหยุดหายใจเมื่อจบข้อความตอนหนึ่ง ๆ ั ๕) อ่านให้เข้าลักษณะของเนื้ อเรื่ อง เช่น บทสนทนา ต้องอ่านให้เหมือนการสนทนา กันอ่านคําบรรยาย พรรณนาความรู ้สึก หรื อ ปาฐกถาก็อ่านให้เข้ากับลักษณะของเรื่ องนั้น ๆ ๖) อ่านออกเสี ยงและจังหวะให้เป็ นไปตามเนื้ อเรื่ อง เช่ น ดุ หรื อโกรธ ก็ทาเสี ยงขุ่น ํ และเร็ วถ้าเป็ นเรื่ องเกี่ยวกับครํ่าครวญ อ้อนวอน ก็ทอดเสี ยงให้ชาลง เป็ นต้น ้ โดยครู อมพร ศรีพทกษ์ ั ิ ั หน้ า ๑๒๓
  • 17. ๖.๔ องค์ ประกอบของการอ่านออกเสี ยง ๑) ผู้ อ่ า น เป็ นผูที่ ท า หน้ า ที่ อ่ า นต้น ฉบับ หรื อ บทอ่ า น ผูอ่ า นที่ มี พ้ื น ฐานการศึ ก ษา ้ ํ ้ ประสบการณ์และการฝึ กฝนมาก ๆ จะสามารถอ่านได้อย่างมีประสิ ทธิ ภาพ ๒) ต้ นฉบับหรือบทอ่ าน หมายถึง ข้อเขียนซึ่ งผูอ่านจะอ่านแบบพูด เพื่อถ่ายทอดสาร ้ ไปยังผูฟัง ต้นฉบับที่ดีจะต้องมีความชัดเจน มีลกษณะสร้างสรรค์และเป็ นประโยชน์ต่อผูฟัง ้ ั ้ ๓) ผู้ ฟั ง คื อ ผู ้รั บ สารจากการฟั ง จนเกิ ด ความเข้า ใจ แล้ว มี ป ฏิ กิ ริ ยาตอบสนอง ั สอดคล้องกับเรื่ องที่ได้ฟัง ทั้งนี้ ข้ ึนอยู่กบประสิ ทธิ ภาพของการอ่านและคุ ณลักษณะพื้นฐานของ ผูฟัง ได้แก่ ความรอบรู ้ในเรื่ องที่ฟัง ความตั้งใจ ความสามารถในการฟัง เป็ นต้น ้ ๔) สื่ อที่ใช้ ในการอ่ าน หมายถึ ง สิ่ งที่ช่วยในการถ่ายทอดข้อความที่อ่าน จากผูอ่านไป ้ ยังผูฟังมี ๒ ประเภท คือ สื่ อภายนอก ได้แก่ โสตทัศนูปกรณ์ต่าง ๆ เช่น เครื่ องขยายเสี ยง และสื่ อ ้ ภายในจากตัวผูอ่านเอง เช่น นํ้าเสี ยง การแสดงสี หน้า แววตา อากัปกิริยา เป็ นต้น ้ ๕) สภาพแวดล้ อม หมายถึ ง บรรยากาศ สถานที่ เวลา ในขณะที่ อ่ า น ถ้ า สภาพแวดล้อมดีเอื้ออํานวยต่อการถ่ายทอดข้อความไปยังผูฟัง การสื่ อสารก็จะได้ผลดี เช่น ผูอ่าน ้ ้ อ่านออกเสี ยงได้อย่างชัดเจน มีประสิ ทธิ ภาพ โดยไม่มีเสี ยงอื่น ๆ รบกวน อากาศในห้องไม่หนาว หรื อร้อนจนเกินไป มีใครสงสั ยเรื่ององค์ ประกอบหรือเปล่าคะ เข้ าใจกันแล้ วคะ ขอบคุณนะคะ โดยครู อมพร ศรีพทกษ์ ั ิ ั หน้ า ๑๒๔
  • 18. ๖.๕ การเตรียมตัวเพือการอ่านออกเสี ยง ่ การอ่านออกเสี ยง เป็ นการอ่านจากต้นฉบับซึ่ งร่ างไว้แล้ว ่ ้ ไม่วาผูอ่านจะร่ างข้อความเองหรื อไม่ก็ตามและต้นฉบับจะเป็ นร้ อย แก้วหรื อร้ อยกรองก็ตาม ควรมีการเตรี ยมตัวก่อนอ่านและฝึ กซ้อม เพื่อให้สามารถเน้นเสี ยง เว้นจังหวะ ออกเสี ยงสู งตํ่าได้อย่างถูกต้อง และอ่านได้อย่างคล่องแคล่ว แล้ว เราจะเตรี ย มตัว เพื่ อ การอ่ า น ออกเสี ยงอย่างไรได้บางคะ ้ ขั้นตอนการอ่านออกเสี ยงเราต้องเตรี ยมตัว ก่อน มีดงนี้ นะคะ ั โดยครู อมพร ศรีพทกษ์ ั ิ ั หน้ า ๑๒๕
  • 19. ๑) ศึ ก ษาเนื้อ หาของบทอ่ า น ผูอ่า นต้องศึ ก ษาเนื้ อหาของบทอ่ า นตอนที่ จะอ่ า นอย่า ง ้ ละเอียดศึกษาความหมายของถ้อยคํา สํานวนและประโยค เพื่อทําความเข้าใจเรื่ องที่อ่านอย่างถ่อง แท้ ควรอ่านหลาย ๆ ครั้งเพื่อให้ชินกับสายตาและจับจุดมุ่งหมายของผูเ้ ขียน หาแนวคิดสําคัญของ ่ ่ เรื่ อง ความสัมพันธ์ของเรื่ องโดยรวม วิเคราะห์เหตุผลหรื ออารมณ์ที่แทรกอยูในเนื้ อหา ดูวาแต่ละ ย่อ หน้า หรื อ คํา ประพันธ์ แต่ ล ะบทมี ค วามคิ ด สํา คัญ อยู่ที่ ใ ด พิ จ ารณาว่า ควรจะแบ่ ง วรรคตอน อย่างไร ควรจะหยุดช่วงการหายใจตรงไหน แล้วทําเครื่ องหมายต่าง ๆ ในบทอ่าน เพื่อช่วยในการ ั อ่านออกสี ยงให้เหมาะสมหรื อสัมพันธ์กบเนื้อหาในขณะที่อ่าน ๒) เตรียมต้ นฉบับ ต้นฉบับที่จะนําไปอ่านนั้นควรเตรี ยมไว้ล่วงหน้า เขียนหรื อพิมพ์ให้ ชัดเจนเป็ นระเบียบ อ่านง่าย ถ้าเป็ นกระดาษอ่อน ควรผนึ กกับกระดาษแข็งหรื อแฟ้ มให้เรี ยบร้ อย ใช้กระดาษพื้นสี อ่อนหรื อสี เข้ม ไม่ใช่กระดาษลวดลายหรื อสี ฉูดฉาดแสบตา ๓) เตรียมอารัมภบทและบทสรุ ปทีเ่ หมาะสม ผูอ่านอาจเตรี ยมอารัมภบทและบทสรุ ปไว้ ้ เพื่อช่วยเสริ มการอ่านเพราะบางทีผฟังอาจต้องการรู ้รายละเอียดเพิ่มเติมในบางเรื่ อง เช่น เรื่ องราว ู้ เกี่ยวกับผูเ้ ขียนและเหตุผลในการเขียน เรื่ องย่อของเนื้อหา นิยามศัพท์ใหม่บางคํา เป็ นต้น ๔) ฝึ กซ้ อมการอ่ าน ผูอ่านควรฝึ กซ้อมอ่านให้เหมือนกับอยู่ในสถานการณ์ จริ ง เช่ น ้ อาจจะฝึ กซ้อมกับเพื่อนฝูง ฝึ กการใช้ท่าทางในการนังหรื อยืนอ่าน การถือเอกสารเตรี ยมพร้อมที่จะ ่ อ่านฝึ กกวาดสายตามองตัวอักษรสลับกับการเงยหน้าขึ้นสบตาผูฟังในขณะอ่าน การเปล่งเสี ยง เว้น ้ จังหวะ เน้นเสี ยงสู งตํ่า ตอนใดควรเน้นเสี ยงให้ดงเป็ นพิเศษ ตอนใดควรผ่อนให้เสี ยงเบาลง ตอน ั ใดควรอ่านให้เร็ วขึ้ นและตอนใดควรอ่านให้ช้าลง พยายามฝึ กซ้อมให้ออกเสี ยงได้อย่างราบรื่ น ต่อเนื่องกัน โดยครู อมพร ศรีพทกษ์ ั ิ ั หน้ า ๑๒๖
  • 20. ๖.๖ วิธีการอ่านออกเสี ยง ๑) ควบคุ ม สติใ ห้ ดี เมื่ อถึ งเวลาอ่า นจริ ง ผูอ่านที่ ขาดประสบการณ์ มกจะเกิ ดความ ้ ั ประหม่าจึงต้องควบคุ มสติให้มนคง สู ดลมหายใจเข้าลึ ก ๆ แล่วค่อย ๆ ผ่อนลมหายใจออกเพื่อ ั่ ลดความประหม่า มือไม้สั่น ไม่รีบร้อนลุกลี้ลุกลนขณะอ่าน ๒) อ่ านเสี ยงดังพอเหมาะกับสถานทีและจานวนผู้ฟัง อ่านเต็มเสี ยงให้ผฟังได้ยินอย่าง ่ ู้ สบาย ๆ ไม่อ่านเสี ยงเบาจนต้องเงี่ยหู ฟังหรื อเสี ยงดังจนเกินพอดี เพิ่มหรื อลดความดังของเสี ยง ั ให้สัมพันธ์กบเนื้อหาและอารมณ์ ๓) อ่านให้ คล่อง ผูอานที่ฝึกซ้อมมาแล้วจะอ่านได้อย่างคล่องแคล่ว รื่ นหู ไม่อ่านช้าหรื อ ้่ เร็ วจนเกิ นไป กวาดสายตาอ่านข้อความล่วงหน้าไปก่อนที่จะออกเสี ยง เพื่อให้การอ่านข้อความ ต่อเนื่ องไม่หยุดชะงัก สายตาต้องไวพอที่จะแยกคํา ออกเสี ยงไม่ผิด อ่านไม่ตก อ่านเกิน หรื ออ่าน ควบกลํ้า ๔) อ่ านให้ ชัดเจนถูกต้ องตามอักขรวิธีและความนิยม ผูอ่านต้องออกเสี ยงควบกลํ้า ร ล ้ ว อย่างชัดเจน อ่านคําสมาส คําสนธิ คําย่อต่าง ๆได้ถูกต้อง โดยศึกษาคําอ่านจากพจนานุ กรมการ อ่านร้อยแก้วบางคําควรออกเสี ยงให้คล้ายคลึงกับเสี ยงพูด มีตัวอย่างให้ บ้างไหมคะ โดยครู อมพร ศรีพทกษ์ ั ิ ั หน้ า ๑๒๗
  • 21. ตัวอย่าง เช่ น......... ฉัน อ่าน ชั้น ดิฉน ั เขา อ่าน เค้า ดิฉน ั อ่าน เดี๊ยน, ดัน, อะฮั้น ๊ อย่างนี้ อ่าน อ่าน ดิช้ น ั ยังงี้, อย่างเงี้ย, หยังเงี้ยะ ่ นํ้า อ่าน น้าม แต่อย่าอ่านออกเสี ยงพูดมากไปจนทําให้ขาดความน่าเลื่อมใส เช่น ่ การอ่านบทร้อยกรองที่แทรกอยูในข้อเขียนร้อยแก้วไม่ควรอ่านเป็ นทํานองเสนาะ ยกเว้น ในกรณี ยกตัวอย่างการอ่านทํานองเสนาะ การอ่านบทร้อยกรองควรใช้วิจารณญาณว่า ตอนใดควร จะอ่านตามอักขรวิธี ตอนใดควรจะอ่านให้เอื้อต่อสัมผัส เช่น ฝ่ ายนครกาญจน จัดขุนพลพวกด่าน ในที่น้ ีตองอ่านออกเสี ยงว่า กาน-จน เพื่อให้เสี ยงสัมผัสกับคําว่า ขุนพล ้ ๕) ระดับเสี ยง ใช้น้ าเสี ยงให้เป็ นธรรมชาติเหมื อนกับการพูด สําเนี ยงไม่เพี้ยนหรื อ ํ หลง เน้นเสี ยงหนักเบาในตอนที่เหมาะสม เพื่อช่วยให้ผฟังเกิดจินตนาการ อารมณ์หรื อความรู ้สึก ู้ ั ตามเนื้อเรื่ อง ควรมีการแปรเปลี่ยนระดับเสี ยงให้สัมพันธ์กบเนื้อหาและอารมณ์ของเรื่ อง ๖) กิริยาอาการ ผูอานต้องรับรู้อารมณ์ความรู้สึกที่ผเู้ ขียนสอดแทรกไว้ในสารได้และ ้่ ถ่ า ยทอดไปยัง ผูฟั ง โดยการใช้น้ ํา เสี ย ง สี หน้า แววตาและท่ า ทางให้ส อดคล้องกลมกลื นกับ ้ ความรู ้สึกและอารมณ์ในบทอ่าน ๗) การตีความ ผูอ่า นต้องมี ความเข้า ใจในสารที่ อ่านอย่างถ่ องแท้เสี ยก่ อน จึ งจะ ้ สามารถชักนําให้ผูรับฟั งรั บรู ้ สารสําคัญของบทอ่านและเห็ นคล้อยตามได้ ด้วยการใช้น้ าเสี ยง ้ ํ หนักเบา การหยุดเว้นระยะการแสดงออกทางสี หน้าและท่าทางให้สอดคล้อง โดยครู อมพร ศรีพทกษ์ ั ิ ั หน้ า ๑๒๘
  • 22. ๘) จังหวะในการอ่ าน แบ่งวรรคตอนถู กต้องเหมาะสมกับเนื้ อหา เช่ น เรื่ องเบา ๆ สนุ กสนานควรอ่านในจังหวะที่เร็ วกว่าเรื่ องที่หนักและยาก ถ้าเป็ นการอ่านบทร้อยกรองต้องอ่าน ่ ั ให้ถูกต้องตามท่วงทํานองและฉันทลักษณ์ของร้อยกรองแต่ละชนิ ด จังหวะในการอ่านยังขึ้นอยูกบ จํานวนผูฟังด้วยถ้าอ่านให้ผฟังกลุ่มใหญ่ฟัง ควรอ่านในจังหวะที่ชากว่าอ่านให้ผฟังกลุ่มเล็กฟัง ้ ู้ ้ ู้ ๙) ท่าทางในการอ่าน การทรงตัวที่ถูกวิธี คือ ลําตัวตั้งตรง ขณะยืนอ่านนํ้าหนักตัวตก ลงบนกลางเท้า ทั้ง ๒ ข้า งปลายเท้า ห่ า งกัน เล็ ก น้อ ย แขนและศอกไม่ อ อกห่ า งหรื อ ชิ ด ลํา ตัว จนเกินไป ขณะนังอ่านควรวางแขนไว้บนโต๊ะ ถ้าไม่มีโต๊ะควรปล่อยข้อศอกพอสบาย เงยหน้าขึ้น ่ สบตาผูฟั งเป็ นครั้ งคราวในลัก ษณะที่ เหมาะสมและเป็ นธรรมชาติ อ่ านต่ อเนื่ องกันไปโดยไม่ ้ หยุดชะงัก ๑o) ถือเอกสารที่อ่านให้ ได้ ระดับพอเหมาะ ไม่สูงหรื อใกล้ระดับสายตาจนชิ ดหน้า และไม่ ต่ า หรื อ ห่ า งจากระดับ สายตามากจนต้อ งก้ม ลงดู การจับ หนัง สื อ ที่ ถู ก สุ ข ลัก ษณะ คื อ ํ ระยะห่ างสายตาประมาณ ๑ ฟุต ถ้าจะพลิกอ่านหน้าต่อไปให้ใช้นิ้วสอดเตรี ยมพลิกล่วงหน้าก่อน อ่านหน้านั้น ๆ จบ ๑๑) ข้ อความที่ตัดตอนมาเพียงบางส่ วน ควรเกริ่ นนําสั้น ๆ ให้ผูฟังทราบก่อนเริ่ ม ้ อ่าน หรื อกล่าวหลังจากอ่านจบแล้ว เช่ น “ข้ อความที่จะนามาอ่ านให้ ฟังนี้ ตัดตอนมาจากเรื่ อง ............................. ผู้เขียนคือ..........................” พวกเราเข้าใจแล้วคะ เข้าใจแล้วไปเรี ยนเรื่ องต่อไปเลยนะคะ โดยครู อมพร ศรีพทกษ์ ั ิ ั หน้ า ๑๒๙
  • 23. ๖.๗ การแบ่ งวรรคตอนในการอ่ าน ร้ อยแก้ว การแบ่ ง วรรคตอนในการอ่ า นออกเสี ย งเป็ นเรื่ องสํา คัญมาก เพราะถ้า ผูอ่ า นหยุดเว้น ้ จังหวะผิดที่ทาให้ผฟังไม่เข้าใจสื่ อความหมายผิดพลาด หรื ออาจสื่ อความหมายไม่ได้ เช่น ํ ู้ แบบที่ ๑ ผมไม่ ร้ ู ว่าจะตอบ / แทนคุณได้ อย่ างไร แบบที่ ๒ ผมไม่ ร้ ู ว่าจะตอบแทน / คุณได้ อย่ างไร ่ จะเห็นได้วาการเว้นวรรคแบบที่ ๑ กับแบบที่ ๒ สื่ อความหมายแตกกันโดยสิ้ นเชิง ั นอกจากนั้น การเว้นวรรคตอนในข้อความที่ อ่าน ยังขึ้ นอยู่กบความหมายของสารที่ ผูอ่านต้องการสื่ อไปยังผูฟังเป็ นสําคัญ บางตอนอาจจะหยุดเว้นระยะเล็กน้อย บางตอนอาจจะ ้ ้ หยุด เว้นระยะให้น านขึ้ น ผูอ่ า นต้อ งศึ ก ษาทํา ความเข้า ใจบทอ่ า นและทดลองอ่ า นดู ก่ อ นจึ ง ้ สามารถสื่ อความหมายไปยังผูอ่านได้ถูกต้อง การเว้นวรรคตอนจะทําได้ดีเมื่อผูอ่านฝึ กอ่านอยู่ ้ ้ เสมอ ในระยะแรกอาจต้องทําเครื่ องหมายเว้นวรรคไว้เพื่อไม่ให้ผิดพลาด เมื่อมีทกษะมากขึ้นจึง ั ไม่ตองทําเครื่ องหมาย ้ ๖.๘ การอ่านสะกดคา การอ่ า นออกเสี ย งนั้น การสะกดคํา มี ค วามสํา คัญเป็ นอย่า งยิ่ง ผูอ่า นจํา เป็ นต้องอ่ า นให้ ้ ถูกต้องตามพจนานุกรมหรื อการอ่านชื่อเฉพาะ ในพจนานุกรมราชบัณฑิตยสถาน พ.ศ. ๒๕๔๒ ได้ กําหนดคําอ่านไว้โดยอาศัยการเทียบแนวภาษาเดิ มที่เป็ นคําบาลี สันสกฤต หรื อคําที่อ่านตามความ นิยมจนเป็ นที่ยอมรับทัวไปก็อนุโลมให้อ่านได้ป็นบางกรณี แต่มิใช่จะอ่านตามความสะดวกได้เสมอ ่ ไป หากคําใดไม่แน่ใจให้เปิ ดดูคาอ่านจากพจนานุกรม ํ โดยครู อมพร ศรีพทกษ์ ั ิ ั หน้ า ๑๓๐
  • 24. ยกตัวอย่าง คาอ่านให้ ผมฟังสั กนิดนะครับ ได้เลยคะ ตัวอย่าง คาอ่าน คา อ่านว่า คา อ่านว่า กรรมาธิการ กํา-มา-ทิ-กาน ประวัติการณ์ ประ-หวัด-ติ-กาน กลอุบาย กน-อุ-บาย ปราชัย ปะ – รา - ชัย กาลเวลา กาน – เว – ลา ปรัชญา ปรัด – ยา กาลสมัย กา – ละ – สะ –ไหม ปริ ญญา ปะ – ริ น – ยา เกียรติประวัติ เกียด – ติ - ประ – หวัด ผลิตภัณฑ์ ผะ – หลิด – ตะ –พัน คมนาคม คะ-มะ-นา-คม พลการ พะ-ละ-กาน คุณค่า คุน-ค่า พลความ พน-ละ-ความ คุณภาพ คุน-นะ-พาบ ภูมิประเทศ พู-มิ-ประ-เทด คุณวุฒิ คุน-นะ-วุด-ทิ ภูมิลาเนา ํ พูม-ลํา-เนา คุณสมบัติ คุน-นะ-สม-บัด ภูมิภาค พูม-มิ-พาก ฉัตรมงคล ฉัด-ตระ-มง-คน มรรยาท มัน-ยาด ดาษดื่น ดาด-ดื่น รสนิยม รด-นิ-ยม ทารุ ณกรรม ทา-รุ น-นะ-กํา สมรรถภาพ สะ-มัด-ถะ-พาบ ธนบัตร ทะ-นะ-บัด สัปดาห์ สับ-ดา นามธรรม นาม-มะ-ทํา อาสาฬหบูชา อา-สาน-หะ-บู-ชา โดยครู อมพร ศรีพทกษ์ ั ิ ั หน้ า ๑๓๑
  • 25. ๗. การอ่านทานองเสนาะ เราควรอ่านทานองเสนาะในใจ หรืออ่ านออกเสี ยงดีคะคุณครู การอ่านบทร้ อยกรองเป็ นทํานองเสนาะ เป็ นการอ่านออกสี ยงที่มี จังหวะทํานองและเสี ยงสู งตํ่าเพื่อให้เกิดความไพเราะ การอ่านทํานองเสนาะ นี้เป็ นมรดกทางวัฒนธรรมที่สืบทอดกันมาช้านาน ซึ่ งเป็ นสิ่ งที่คนไทยทุกคน ควรภาคภูมิใจและรักษาวัฒนธรรมนี้ไว้เพื่อถ่ายทอดสื บต่อกันไป ๗.๑ หลักการอ่านทานองเสนาะ ๑) ศึกษาลักษณะบังคับของคาประพันธ์ แต่ ละชนิด เช่ น จํานวนคํา สัมผัส เสี ยง วรรณยุกต์ เสี ยงหนักเบา การแบ่งวรรคตอน ฯลฯ ๒) อ่านเน้ นคาในตาแหน่ งสั มผัสภายนอก โดยการอ่านออกเสี ยงหนักขึ้นหรื อดังขึ้น หรื ออาจทอดเสี ยงให้ยาวออกไป คําประพันธ์น้ นจึงจะไพเราะ เช่น ั แล้วสอนว่าอย่าไว้ใจมนุษย์ มันแสนสุ ดลึกลํ้าเหลือกําหนด ถึงเถาวัลย์พนเกี่ยวที่เลี้ยวลด ั ก็ไม่คดเหมือนหนึ่งในนํ้าใจคน ที่มา : สุ นทรภู่ ๓) อ่านสั มผัสในเพือเพิมความไพเราะ เช่น ่ ่ เอารสไทนฤเบศ นเรศวรเสวยสวรรยา อ่านว่า นะ-เรด-สวน ข้อขอเคารพอภิวนท์ ั โดยครู อมพร ศรีพทกษ์ ั ิ ั อ่านว่า อบ-พิ-วัน หน้ า ๑๓๒
  • 26. ๔) อ่ านออกเสี ยงให้ ถูกต้ องชั ดเจน โดยเฉพาะคําครุ ลหุ ในคําฉันท์ต่าง ๆเช่น พวกราชมัลโดย พลโบยมิใช่เบา สุ ดหัตถแห่งเขา ขณะหวดสิ พึงกลัว ผูแต่ง : นายชิต บุรทัต ้ อ่านว่า พวก-ราด-ชะ-มัน-โดย พะ-ละ-โบย-มิ-ใช่-เบา สุ ด-หัด-ถะ-แห่ง-เขา ขะ-หนะ-หวด-สิ -พึง-กลัว ๕) อ่ านให้ ถูกต้ องตามทานองและจังหวะของคาประพันธ์ แต่ ละชนิด เช่น กลอนสุ ภ าพหรื อ กลอนแปด นิ ย มอ่ านเสี ยงสู ง ๒ วรรค และเสี ย งตํ่า ๒ วรรค จังหวะ ๓/ ๒/ ๓ ถ้ามีวรรคละ ๗ คํา มีจงหวะ ๒ / ๒/ ๓ ถ้ามี ๙ คํามีจงหวะ ๓/ ๓/ ๓ ั ั มีใครยกตัวอย่ าง กลอนสุ ภาพหรือ กลอนแปด ได้ บ้างคะ ยกมือขึน ้ ผมเองครับคุณครู ผมทําได้ เชิญน้องป๋ อเลยคะ ท่องกลอนแปดให้เพื่อน ๆ ฟัง คะ พวกเราอยากฟังจัง โดยครู อมพร ศรีพทกษ์ ั ิ ั หน้ า ๑๓๓
  • 27. มีสลึง /พึงบรรจบ / ให้ครบบาท อย่าให้ขาด / สิ่ งของ / ต้องประสงค์ มีนอย / ใช้นอย / ค่อยบรรจง ้ ้ อย่าจ่ายลง /ให้มาก / จะยากนาน ไม่ควรซื้ อ / ก็อย่าไป / พิไรซื้ อ ให้เป็ นมื้อ / เป็ นคราว / ทั้งคาวหวาน เมื่อพ่อแม่ / แก่เฒ่า / ชรากาล จงเลี้ยงท่าน / อย่าให้อด / ระทดใจ ผูแต่ง : สุ นทรภู่ ้ มีใครอธิบายเรื่องกาพย์ยานี ๑๑ ได้ บ้างครับ ยกมือขึน ้ กระผมจ้อยครับ..ผมจําได้ครับ กาพย์ยานี ๑๑ นิยมอ่านเสี ยงสู งกว่าปกติในบาทโทวรรคหน้า มีจงหวะ ๒ / ๓ วรรคหลังมีจงหวะ ๓ /๓ ดังนี้ ั ั พระเสด็จ / โดยแดนชล ทรงเรื อต้น / งามเฉิดฉาย กิ่งแก้ว / แพร้วพรรณราย นาวา / แน่นเป็ นขนัด เรื อริ้ ว / ทิวธงสลอน พายอ่อนหยับ / จับงามงอน ล้วนรู ปสัตว์ / แสนยากร สาครลัน / ครั่นครื้ นฟอง ่ ผูแต่ง : เจ้าฟ้ าธรรมธิเบศร์ ้ เก่งมากครับ เพือน ๆ ตบมือให้ จ้อยหน่ อยคะ ่ โดยครู อมพร ศรีพทกษ์ ั ิ ั หน้ า ๑๓๔
  • 28. แล้วมีใครจะเล่าเรื่องกาพย์ สุรางคนางค์ ๒๘ และ โคลงสี่ สุภาพ และ อินทรวิเชี ยรฉันท์ ไหมคะ เงียบ หมดเลย ครู จะอธิบายต่ อนะเด็ก ๆ กาพย์ สุรางคนางค์ ๒๘ จังหวะในการอ่าน ให้อ่านวรรคละ ๒ จังหวะ จังหวะละ ๒ พยางค์ ดังนี้ เมื่อคืน / ฉันฝัน ว่าเธอ / กับฉัน ชวนกัน / ขี่ควาย ควายมัน / ไล่ขวิด หวุดหวิด / เจียนตาย ฝันดี / หรื อร้าย ทํานาย / ให้ที ผูแต่ง : จิตติพร เกตุรักษ์ ้ โคลงสี่ สุ ภ าพ อ่ า นจัง หวะ ๒ /๓ / ๒ / (๒) ทอดเสี ย งเอื้ อ น ระหว่างวรรคหน้ากับวรรคหลังในบาทเดียวกัน และทอดเสี ยงระหว่าง คําสร้อยด้วย ดังนี้ เสี ยงลือ / เสี ยงเล่าอ้าง อันใด / พี่เอย เสี ยงย่อม / ยอยศใคร ทัวหล้า ่ สองเขือ / พี่หลับใหล ลืมตื่น / ฤาพี่ สองพี่ / คิดเองอ้า อย่าได้ / ถามเผือ ลิลิตพระลอ โดยครู อมพร ศรีพทกษ์ ั ิ ั หน้ า ๑๓๕
  • 29. อินทรวิเชียรฉันท์ วรรคหน้ามีจงหวะ ๒ /๓ วรรคหลังมีจงหวะ ๓ /๓ ดังนี้ ั ั ผ่องพักตร์ / ละไมพรรณ ผิวจันทร์ / ละลวยอวล อ่อนอิ่ม / ละมุนชวน อภิรมย์ / สวาทยา งามเนตร / ชําเลืองอาย ดุจทราย / ชําเลืองมา ใครพาน / เสน่ห์ตา กลต้อง / ธนูศิลป์ มัทนะพาธา ตามป๋ อมาเรี ยนต่อเรื่ อง ศิลปะ ในการใช้เสี ยงกันเลยครับ..... ๖) ศิลปะในการใช้ เสี ยง คือ ใช้น้ าเสี ยงที่เหมาะสมกับบทบาทและเนื้ อ ํ เรื่ องที่ อ่าน คํานึ งถึ งความไพเราะและท่วงทํานองของคําประพันธ์น้ ัน ๆ มีการ ทอดจังหวะ เน้นเสี ยง เอื้อนเสี ยงเพื่อให้เกิ ดความไพเราะ และใช้เสี ยงเพื่อแสดง ความรู ้ สึกให้เหมาะกับเนื้ อหา เพื่อเพิ่ม อรรถรสและรั กษาบรรยากาศของเรื่ อง ที่อ่าน เช่น เอออุเหม่นะมึงชิช่างกระไร ทุทาสสถุลฉะนี้ไฉน ก็มาเป็ น ศึกบถึงและมึงยังมิเห็น จะน้อยจะมากจะยากเย็น ประการใด อวดฉลาดและคาดแถลงเพราะใจ ขยาดขยั้นมิทนอะไร ั ก็หมิ่นกู ผูแต่ง : นายชิต บุรทัต ้ โดยครู อมพร ศรีพทกษ์ ั ิ ั หน้ า ๑๓๖
  • 30. ผูอ่านต้องกระแทกเสี ยงแสดงอารมณ์โกรธ เว้นวรรค ้ ตอนตามท่วงทํานองของอิทิสังฉันท์ดวยถ้าไปทําเสี ยงนุ่มนวล ้ ก็ย่อมจะทําให้หมดรสโดยสิ้ นเชิ ง ในทํานองเดี ยวกันถ้าบท ประพันธ์อื่นมีลีลาและใจความตรงกันข้าม ตามป๋ อมาเลยครับ....อ่านตามด้วยนะ เดี๋ยวป๋ อ ณัฐวุฒิ จัดให้เองครับครู วังเอ๋ ยวังเวง หง่างเหง่งยํ่าคํ่าระฆังขาน ฝูงวัวควายผ้ายลาทิวากาล ค่อยค่อยผ่านท้องทุ่งมุ่งถิ่นตน ชาวนาเหนื่อยอ่อนต่างจรกลับ ตะวันลับอับแสงทุกแห่งหน ทิ้งทุ่งให้มืดมัวทัวมณฑล ่ และทิ้งตนตูเปลี่ยวอยูเ่ ดียวเอย พระยาอุปกิตศิลปสาร พี่ป๋อ ของเรานี่ เก่งจังนะคะ ถูกต้ องแล้ วคะ อ่านเก่งมากคะ สรุ ป ผูอ่านต้องใช้เสี ยงนุ่ มนวล รําพึงรําพันตามลักษณะของคนที่เหนื่ อย ้ อ่อนและบรรยากาศใกล้ค่า กล่าวคือ อ่านแล้วให้ผฟังมองเห็นนาฏการณ์หรื อความ ํ ู้ เคลื่อนไหวแจ่มชัดในมโนภาพด้วย โดยครู อมพร ศรีพทกษ์ ั ิ ั หน้ า ๑๓๗
  • 31. ๘. ข้ อแตกต่ างระหว่างการอ่านในใจกับการออกเสียง การอ่านในใจกับการอ่านออกเสี ยงมีข้อแตกต่ างกัน ดังนี้ ๑) การอ่ านในใจ เป็ นการถ่ ายทอดตัวอักษรออกมาเป็ นความคิด ส่ วนการออกเสี ยง เป็ นการถ่ายทอดตัวอักษรออกมาเป็ นความคิด แล้วถ่ายทอดความคิดนั้นออกเป็ นเสี ยงอีกทีหนึ่ง ๒) การอ่ านในใจ เราต้องการทราบความหมายของข้อความเป็ นส่ วนรวม โดยจับ ใจความสําคัญของเนื้ อเรื่ อง ส่ วนใดที่เป็ นผลความอาจอ่านผ่านเร็ ว ๆ ได้ แต่ การอ่ านออกเสี ยง จะข้ามข้อความตอนใดไม่ได้เลย และจะเร่ งอ่านให้เร็ วก็ไม่ได้เพราะต้องคํานึงถึงผูฟังเป็ นสําคัญ ้ ๓) การอ่านในใจ เป็ นการอ่านเพื่อความเข้าใจของตนเอง ยิ่งเราเข้าใจได้เร็ วเท่าไหร่ ก็ ยิ่งอ่านได้เร็ วขึ้ นเพียงนั้น แต่ การอ่ านออกเสี ยงเป็ นการอ่านเพื่อให้ผูฟังเข้าใจ จึงต้องอ่านด้วย ้ จังหวะที่จะทําให้ผฟังจับใจความได้และคิดตามทัน ู้ ๔) การอ่ านในใจ ทําให้เข้าใจเนื้ อความได้เร็ วกว่าการอ่ านออกเสี ยง เมื่อเบื่อก็หยุดพัก ได้ หากไม่เข้าใจความหมายก็ยอนกลับไปอ่านอีกได้และอาจเลือกอ่านเฉพาะใจความสําคัญ ้ เป็ นยังไงกันบ้างเด็ก ๆ เหนื่อยกันรึ ยง… ั อย่าลืมทํากิจกรรม และแบบฝึ กหัดด้วยนะ ต้องทําให้เสร็ จก่อน อย่าเปิ ด ั เฉลยดูนะ เราต้องมีคุณธรรม ซื่ อสัตย์กบตัวเอง สัญญากับครู นะคะ โดยครู อมพร ศรีพทกษ์ ั ิ ั หน้ า ๑๓๘
  • 32. เรามาทากิจกรรมเสนอแนะ ท้ายบทที่ ๔ กันเลยนะคะ กิจกรรมเสนอแนะท้ ายบทที่ ๔ ให้ ฝึกอ่านเรื่อง การอ่านที่มประสิ ทธิภาพ ี จุดประสงค์ ๑) เพื่อฝึ กทักษะการอ่านออกเสี ยง ๒) เพื่อให้นกเรี ยนกล้าแสดงออกในทางสร้างสรรค์ ั คาสั่ ง ๑) นักเรี ยนอ่านออกเสี ยงเนื้ อหาในใบงานทั้ง ๒ เรื่ องให้ถูกต้อง ชัดเจนตามอักขรวิธีและ ประเภทของสาร ๒) ตัวแทนนักเรี ยนอ่านเนื้ อหาในใบงานหน้าชั้นเรี ยน เรื่องที่ ๑ วัฒนธรรม ในโลกนี้มีอะไรเป็ นไทยแท้ ของไทยแน่น้ นหรื อคือภาษา ั ซึ่ งผลิดอกออกผลแต่ตนมา ้ รวมเรี ยกว่าวรรณคดีไทย อนึ่งศิลป์ งามเด่นเป็ นของชาติ เช่นปราสาทปรางค์ทองอันผ่องใส อีกดนตรี รําร่ ายลวดลายไทย อวดโลกได้ไทยแท้อย่างแน่นอน และอย่าลืมจิตใจแบบไทยแท้ เชื่อพ่อแม่ฟังธรรมคําสั่งสอน กําเนิดธรรมจริ ยาเป็ นอาภรณ์ ประชากรโลกเห็นเราเป็ นไทย แล้วยังมีประเพณี มีระเบียบ ซึ่ งไม่มีที่เปรี ยบในชาติไหน เป็ นของร่ วมรวมไทยให้คงไทย นี่แหละประโยชน์ในประเพณี ได้รู้เช่นเห็นชัดสมบัติชาติ เหลือประหลาดล้วนเห็นเป็ นศักดิ์ศรี ล้วนไทยแท้ไทยแน่ไทยเรามี สิ่ งเหล่านี้คือวัฒนธรรม (วัฒนธรรม : หม่อมหลวงปิ่ น มาลากุล) โดยครู อมพร ศรีพทกษ์ ั ิ ั หน้ า ๑๓๙
  • 33. เรื่องที่ ๒ ความรักที่แท้จริ ง เมตตาเป็ นความรักที่ประกอบด้วยธรรมะ เป็ นความรักที่สมํ่าเสมอในสรรพสัตว์ท้ งหลาย ั บางทีเราอาจเคยสังเกตตัวเองว่า การที่เราจะเมตตาสงสารคนอื่นๆ ที่ประเทศอื่น หรื อคนที่เราไม่ ่ เคยได้พบเป็ นสิ่ งที่ง่าย แต่คนที่เราเมตตายากที่สุดคือคนที่อยูใกล้ชิด เพราะคนเหล่านี้ แหละที่ทาให้ ํ เราหนักใจ ที่มี การกระทําและการพูดที่ กระทบกระเทื อนเราบ่อยๆ ฉะนั้นการแผ่เมตตาของคน ่ ทัวไป มักจะเป็ นไปในทํานองที่วา “ขอให้สรรพสัตว์ท้ งหลายมีความสุ ข ความสุ ขเถิ ด เว้นแต่คน ั ่ นั้น” ต้องมีเว้นแต่ เว้นแต่คนที่หนาด้วยกิ เลส คนที่เราไม่ชอบ แต่นี่ไม่ใช่ เมตตา เมตตาที่ แท้จริ ง ย่อมไม่มีความเลือกที่รักมักที่ชง” ั “เรื่ องความรักนี้ เป็ นสิ่ งสําคัญในชี วิตของฆราวาสทุกคน บางคนถึงกับเอาเป็ นสรณะที่พ่ ึง ของชี วิต ซึ่ งมักจะทําให้ชีวิตประสบความทุกข์ระทมบ่อยๆ รักได้ไม่เป็ นไร ไม่ผิดศีล ไม่ผิดอะไร แต่พุทธศาสนาสอนว่าทุกสิ่ งทุกอย่างชี วิตต้องประกอบด้วยธรรมะ ต้องยอมรับความจริ ง เราต้อง พยายามพิจารณาทุกเช้าทุกเย็นว่า เราต้องมีความพลัดพรากจากคนที่เรารักทุกคนไม่วนใดวันหนึ่ ง ั เราไม่ตายจากเขา เขาก็ตองตายจากเรา อันนี้ ไม่ใช่เพื่อทําให้เรารู ้สึกกลุมใจหรื อเศร้าใจ แต่เป็ นการ ้ ้ เปิ ดจิตใจให้กว้างออกไปรับความจริ ง ซึ่งปกติเราชอบพยายามประคับประคองอารมณ์ที่สบายของ เราไว้ โดยการกลบเกลื่อนความจริ งบางแง่ บางมุม บางประการ คือสิ่ งที่จะลดรสชาติของอารมณ์ นั้น เพราะว่าธรรมชาติของคนเรานั้นชอบเพลิดเพลิ นในอารมณ์ เพลิดเพลิ นในความรักแต่ถาเรา ้ เพลิ ดเพลิ นในสิ่ งใดแล้วความเพลิ ดเพลิ นนั้นแหละเป็ นความยึดมันถื อมัน เกิ ดภพ เกิ ดชาติ เกิ ด ่ ่ ความไม่มนคง เกิดความหวันไหวเพราะว่าอารมณ์ท้ งหลายเป็ นของไม่เที่ยง เป็ นสิ่ งที่เกิดขึ้นตาม ั่ ั ่ ่ เหตุตามปั จจัย ผูยึดมันในอารมณ์ ยอมฝื นธรรมชาติไม่ให้เปลี่ยนแปลง แต่มนุ ษย์เราจะสู ้ธรรมชาติ ้ ่ ไม่ได้ มันเป็ นการฝื นที่ลมๆ แล้งๆ เป็ นการฝื นที่จะทําให้รู้สึกระทมขมขื่น รู ้สึกเซ็ง หมดหวัง สิ้ น หวัง นักปฏิ บติผูปรารภธรรมะจะคํานึ งถึ งความจริ งเกี่ ยวกับเรื่ องนี้ อยูเ่ สมอสํานึ กรู ้ ในโทษของ ั ้ การไม่ยอมรับความจริ งว่า สิ่ งทั้งหลายทั้งปวงไม่เที่ยง รู ้ว่ายึดมันในสิ่ งที่ไม่เที่ยงเมื่อไร ก็ตองเป็ น ้ ่ ่ ทุกข์ทนที คิดอย่างนี้ ได้ความรักมันไม่หายหรอก ความรักของเราไม่ใช่วามันจะจืดชื ดหมดรสชาติ ั แต่จะเป็ นความรั กที่ สุกงอม เป็ นความรั กของผูใหญ่ เป็ นความรั กที่ไม่มีโทษ” (ชยสาโรภิก ขุ, ้ ๒๕๔๘ : ๙๕-๙๗) โดยครู อมพร ศรีพทกษ์ ั ิ ั หน้ า ๑๔๐
  • 34. อย่าลืมทําแบบฝึ กหัดท้ายบท ด้วยนะคะ แบบฝึ กหัดท้ ายบทที่ ๔ ตอนที่ ๑ จงตอบคําถามต่อไปนี้ ๑. การอ่านหมายถึงอะไร ........................................................................................................................................................... ........................................................................................................................................................... ๒.. จุดมุ่งหมายของการอ่านมีอะไรบ้าง ........................................................................................................................................................... ........................................................................................................................................................... ๓. การอ่านออกเสี ยงกับการอ่านในใจแตกต่างกันอย่างไร ........................................................................................................................................................... ........................................................................................................................................................... ๔. การอ่านตําราเรี ยนเป็ นการอ่านเพื่อจุดมุ่งหมายใด ........................................................................................................................................................... ........................................................................................................................................................... ๕. การอ่านบทความจากหนังสื อพิมพ์เหมาะกับการอ่านแบบใดมากที่สุด ........................................................................................................................................................... ........................................................................................................................................................... โดยครู อมพร ศรีพทกษ์ ั ิ ั หน้ า ๑๔๑
  • 35. ตอนที่ ๒ ให้ผเู้ รี ยนใส่ เครื่ องหมาย / หน้าข้อที่อ่านถูก และเครื่ องหมาย x หน้าข้อที่อ่านผิด ...............๑. ปกติ อ่านว่า ปะ-กะ-ติ ...............๒. อุบติเหตุ อ่านว่า อุ-บัด-เหด ั ...............๓. โฆษณา อ่านว่า โฆ-ษะ-นา ...............๔. วิตถาร อ่านว่า วิด-ตะ-ถาน ...............๕. ทฤษฎี อ่านว่า ทฺ ริด-สะ-ดี ...............๖. บุณฑริ ก อ่านว่า บุน-ทะ-ริ ก ...............๗. บําราศ อ่านว่า บํา-ราด ...............๘. ปรักหักพัง อ่านว่า ปะ-หรัก-หัก-พัง ...............๙. สตรี อ่านว่า สัด-ตฺ รี ...............๑o. สัปดาห์ อ่านว่า สับ-ปะ-ดา โดยครู อมพร ศรีพทกษ์ ั ิ ั หน้ า ๑๔๒
  • 36. แบบทดสอบหลังเรียนบทที่ ๔ คาชี้แจง ๑. ข้อสอบชุดนี้มี จํานวน ๑๐ ข้อ ข้อละ ๑ คะแนน รวมเป็ น ๑๐ คะแนน ๒. ให้เลือกคําตอบที่ถูกที่สุดเพียงคําตอบเดียวแล้วเขียนเครื่ องหมาย × ลงในกระดาษคําตอบ ------------------------------------------------------------------------------------------------------------๑. ข้อใดให้ความหมายของการอ่านชัดเจนที่สุด ก. การทําความเข้าใจความหมายตามสารที่ได้รับ ข. การทําความเข้าใจความหมายตามภาพที่ได้เห็น ค. การทําความเข้าใจความหมายตามตัวหนังสื อ ง. การทําความเข้าใจความหมายตามสัญลักษณ์ ๒. “อันความกรุ ณาปรานี จะมีใครบังคับก็หาไม่ หลังมาเองเหมือนฝนอันชื่นใจ จากฟากฟ้ าสุ ราลัยสู่ แดนดิน” ่ คําประพันธ์ขางบนนี้ ช่วยพัฒนาในด้านใด ้ ก. ความคิด ข. คุณธรรม ค. สังคม ง. อารมณ์ ๓. ข้อใดเป็ นคุณสมบัติของนักอ่านที่ดี ก. มีความจําดี จําได้ทุกตัวอักษร ข. มีนิสัยชอบจดบันทึก จดรายละเอียดทุกอย่างที่อ่าน ค. มีเงินซื้ อหนังสื ออ่านได้ตลอด ง. มีความอดทนอ่านหนังสื อได้นาน ๔. ผูอ่านที่ดีควรเริ่ มต้นการอ่านอย่างไร ้ ก. ทําสมาธิ เพื่อให้จิตจดจ่อกับเรื่ องที่จะอ่าน ข. ทบทวนความรู ้เดิม เพื่อนํามาเชื่อมโยงกับเรื่ องที่จะอ่าน ค. กําหนดจุดประสงค์ ง. พิจารณาส่ วนประกอบของหนังสื อ โดยครู อมพร ศรีพทกษ์ ั ิ ั หน้ า ๑๔๓