SlideShare une entreprise Scribd logo
1  sur  60
Télécharger pour lire hors ligne
การศึกษารายกรณี ก
(Case Study)
การศึกษารายกรณี ข
(Case Study)
ความนา
ถ้าเข้าไปในห้องเรียนสักห้องเรียนหนึ่ง ท่านจะสังเกตพบว่านักเรียนแต่ละคนมีความแตกต่าง
กันในหลาย ๆ ด้าน ไม่ว่าจะเป็นทางด้านรูปร่าง หน้าตา บุคลิกภาพ อุปนิสัยใจคอ ความสามารถความ
สนใจ ทัศนคติ ประสบการณ์ ตลอดจนแผนการของชีวิต สิ่งเหล่านี้จะมีผลกระทบต่อพฤติกรรมที่เด็ก
แสดง ออกมาไม่ว่าจะเป็นทางบวกหรือทางลบ ดังนั้นเพื่อประโยชน์ทางด้านการเรียนการสอนและการ
พัฒนาของเด็กให้เจริญเติบโตไปสู่เป้าหมายอย่างมีคุณภาพนั้น ครูจะต้องให้ความส นใจนักเรียนแต่ละคน
อย่างใกล้ชิดพยายามค้นหาสาเหตุที่มาของพฤติกรรมนั้นๆ ว่ามีอะไรอยู่เบื้องหลัง อะไรเป็นสาเหตุทาให้
เขาแสดง พฤติกรรมเช่นนั้นออกมา จริงอยู่ถึงแม้นักเรียนแต่ละคนจะมีพฤติกรรมที่แตกต่างกัน แต่ทว่า
หากพฤติกรรมนั้นไม่มีผลกระทบต่อการเรียนการสอนและการพัฒนาของเด็กก็ไม่เป็นไร แต่หากครู
พบว่า พฤติกรรมนั้นเป็นปัญหาหรืออุปสรรคต่อการเรียนการสอน ความเจริญก้าวหน้าตลออดจนการ
พัฒนาของเด็กทางด้านใดด้านหนึ่งแล้ว ครูก็ควรจะหยิบยกขึ้นมาศึกษาหาสาเหตุของพฤติกรรมนั้น
เพื่อหาทางให้ความช่วยเหลือเป็นราย ๆ ไป ในการศึกษ าหารายละเอียดเกี่ยวกับสาเหตุที่มาแห่ง
พฤติกรรมนั้น ครูจาเป็นต้องรู้จักเด็กคนนั้นเป็นอย่างดี ดังนั้น การรวบรวมข้อมูลรายละเอียดเกี่ยวกับ
เด็กที่เราสนใจจะทาการศึกษาจึงถือเป็นกุญแจดอกสาคัญสาหรับการวินิจฉัยพฤติกรรมดังกล่าว เพื่อ
หาทางช่วยเหลือแก้ไขอย่างไร
ความหมายของการศึกษารายกรณี
นักจิตวิทยาแนะแนวหลาย ๆ ท่านได้ให้ความหมายของคาว่า การศึกษารายกรณี (case
study)ไว้หลายทัศนะ ซึ่งมีลักษณะคล้าย ๆ กันคือ เป็นกระบวนการของการศึกษารายละเอียดเกี่ยวกับ
บุคคลเป็นระยะเวลาติดต่อเนื่องกัน เป็นรายกรณีไป โดยมีวัตถุประสงค์ เพื่อหาทางช่วยเหลือให้บุคคล
นั้นได้รู้จักตัวเอง เข้าใจตนเอง และสามารถปรับปรุงตนเองได้ดีขึ้น ในทุก ๆ ด้าน ไม่ว่าจะเป็นด้านการ
เรียน อารมณ์ และสังคม เป็นต้น
ดังนั้นการศึกษารายกรณี จึงเป็นไปในรูปของการวิเคราะห์และตีความหมายข้อเท็จจริงต่าง ๆ
จากข้อมูลที่ได้รวบรวมมา และจากกลวิธีต่างๆ อย่างละเอียดรอบคอบจนเกิดเป็นความหมายอันชัดเจน
ที่สะท้อนให้เห็นถึงสภาพปัญหา พฤติกรรมและบุคลิกภาพทั้งหมดของบุคคลที่เราจะทาการศึกษาได้
โดยตลอด
การศึกษารายกรณี ค
(Case Study)
วัตถุประสงค์ของการศึกษารายกรณี
การศึกษารายกรณีมีวัตถุประสงค์ดังต่อไปนี้
1. เพื่อศึกษาให้รู้จักและเข้าใจเด็กแต่ละคน ที่มีพฤติกรรมแตกต่างไปจากกลุ่มโดยอาศัยข้อมูล
ที่หามาได้เกี่ยวกับตัวเขา
2. เพื่อนาความรู้ความเข้าใจ หรือข้อมูลที่หามาได้มาใช้เป็นพื้นฐานสาหรับการช่วยเหลือ
ส่งเสริมให้เขาได้ปรับตัว และพัฒนาตนเองไปสู่เป้าหมายที่สังคมต้องการตลอดจนเป็น
ประโยชน์ต่อการเรียนการสอน
3. เพื่อช่วยให้เด็กเข้าใจตนเอง อีกทั้งช่วยให้ผู้ปกครอง ครู เพื่อน หรือผู้ที่เกี่ยวข้องอื่น ๆ
สามารถเข้าใจได้ดียิ่งขึ้น เพื่อสัมพันธภาพอันดี เพื่อประโยชน์ของการอยู่ร่วมกันและการ
ทางานร่วมกัน ซึ่งในขณะเดียวกันก็จะเปิดโอกาสให้เขาได้ปรับตัวเปลี่ยนพฤติกรรม และ
ทัศนคติไปสู่ทิศทางที่ถูกที่ควร
การรวบรวมข้อมูล
ในการศึกษาเด็กเป็นรายกรณี การรวบรวมข้อมูลเกี่ยวกับตัวเด็กที่เราทาการศึกษารายกรณี มี
ดังนี้
1. การสัมภาษณ์ การซักถามจากเด็กโดยตรง หรือผู้ที่มีความสัมพันธ์เกี่ยวข้องกับเด็ก เช่น
บิดา มารดา ผู้ปกครอง ญาติพี่น้อง เพื่อนบ้านใกล้เคียง ครู ตลอดจนเพื่อน ๆ บุคคล
เหล่านี้สามารถให้รายละเอียดเกี่ยวกับตัวเด็กได้เป็นอย่างดี
2. การสังเกต การติดตามสังเกตพฤติกรรมเป็นระยะ ๆ ติดต่อเนื่องกัน จนเป็นที่ประจักษ์ว่า
พฤติกรรมที่แท้จริงและเชื่อถือได้ข้อมูลเหล่านี้จะเป็นประโยชน์อย่างยิ่งในการการนามา
ใช้แก้ปัญหาต่อไป
3. รวบรวมจากระเบียนสะสมต่าง ๆ ที่มีอยู่ในโรงเรียน เช่น ระเบียนสะสม ระเบียน
พฤติการณ์ ทะเบียนประวัติของนักเรียน เป็นต้น ระเบียนต่าง ๆ ทางโรงเรียนได้จัดทาไว้
แล้วช่วยให้เราสามารถทราบรายละเอียดเกี่ยวกับตัวเด็กได้มาก
4. รวบรวมข้อมูลโดยใช้แบบสอบถามประเภทต่าง ๆ เพื่อให้ได้ข้อมูลกว้างขวางมากขึ้น และ
เพื่อเป็นการตรวจสอบความถูกต้องตรงกับความเป็นจริง ได้ใช้แบบสอบถามประเภทต่าง ๆ
เช่นแบบสารวจตนเองเกี่ยวกับครอบครัว แบบสอบถามสาหรับผู้ปกครอง แบบสารวจข้อมูล
นักเรียน แบบประเมินพฤติกรรมเด็ก แบบประเมินความฉลาดทางอารมณ์
การศึกษารายกรณี ง
(Case Study)
5. การรวบรวมข้อมูลจากผลงานด้านต่าง ๆ ของเด็ก เช่น การให้เขียนเรียงความ
การให้ฝึกปฏิบัติ
6. รายงานการคัดกรองนักเรียน
7. การเยี่ยมบ้าน
แหล่งที่มาของข้อมูล
การค้นหาข้อมูลหรือรายละเอียดเกี่ยวกับตัวเด็กที่เราทาการศึกษาหาได้จากบุคคลหลายฝ่ายที่มี
ความสัมพันธ์เกี่ยวข้องกับเด็ก ซึ่งได้แก่บุคคลดังต่อไปนี้
1. ตัวเด็กโดยตรง
2. บิดา /มารดา/ปู่/ย่า/ตา/ยาย หรือญาติ ๆ
3. ครู
4. เพื่อน
5. เพื่อนบ้านใกล้เคียง
ขอบเขตของการศึกษารายกรณี
ขอบเขตของการศึกษารายกรณีประกอบด้วยรายละเอียดต่อไปนี้
1. ชื่อผู้ทาการศึกษาและเวลาที่ทาการศึกษา เวลาที่เริ่มทาการศึกษาจนกระทั่งสิ้นสุด
การศึกษา
2. ข้อมูลเกี่ยวกับตัวเด็กที่ต้องการศึกษา ได้แก่ ชื่อ วัน เดือน ปีเกิด ที่อยู่ เพศ อายุ
เชื้อชาติ ศาสนา ชื่อครูประจาชั้น รูปร่าง หน้าตา ลักษณะทั่ว ๆ ไปของเด็กท
ทาการศึกษา
3. ลักษณะของปัญหา เป็นข้อมูลหรือรายละเอียดพอสังเขปของปัญหา เช่นปัญหานั้น
เกิดขึ้นเมื่อใด มีความร้ายแรงเพียงใด เกิดขึ้นบ่อยแค่ไหน ได้รับการช่วยเหลือแนะนา
ให้มีการแก้ไขหรือรักษามาก่อนหน้านี้หรือไม่ เพียงใด ผลของการแก้ไขเป็นอย่างไร
4. ข้อมูลเกี่ยวกับครอบครัว เป็นข้อมูลเกี่ยวกับบิดามารดา และสมาชิกอื่น ๆ ในครอบครัว
อาชีพและฐานะทางเศรษฐกิจ สัมพันธภาพของเด็กกับสมาชิกคนอื่น ๆ ในครอบครัว
ตลอดจนข้อมูลอื่น ๆ ที่คิดว่ามีผลต่อความเป็นอยู่ของเด็ก
การศึกษารายกรณี จ
(Case Study)
5. ข้อมูลเกี่ยวกับสุขภาพอนามัย เช่น ความสูง น้าหนัก โรคประจาตัวและประวัติการรักษา
ความพิการหรือความผิดปกติของร่างกาย สุขนิสัยในการกินอยู่
6. ข้อมูลที่ได้เก็บรวบรวมได้จากแบบสอบถามประเภทต่าง ๆ
7. ข้อมูลทางการศึกษา เป็นข้อมูลเกี่ยวกับประวัติด้านการเรียนของเด็กตั้งแต่อดีต
จนกระทั่งปัจจุบัน ความสามารถพิเศษ ความสนใจ ความถนัด จุดเด่นจุดด้อย
ทางการเรียน ตลอดจนจุดมุ่งหมายในชีวิตทางการเรียน
8. การปรับตัวทางสังคม การปรับตัวให้เข้ากับผู้อื่น การทางาน การอยู่ร่วมกันกับเพื่อน
และผู้ใกล้ชิด มนุษย์สัมพันธ์กับบุคคลทั่วไป
9. การปรับตัวทางอารมณ์ สภาพจิตใจเป็นอย่างไร มีความร่าเริง อมทุกข์ มีความมั่นใจใน
ตนเองสูง มีความวิตกกังวล กลัว มีอารมณ์ฉุนเฉียว หรือรู้จักเก็บความรู้สึก
เป็นคนเก็บกด หรือก้าวร้าว เป็นต้น
10. ประสบการณ์การทางานและแผนการทางอาชีพ เด็กเคยทาอะไรมาก่อนบ้าง
มีความสนใจ ความถนัดงานประเภทใด มีแผนงานในอนาคตอย่างไร อยากทาอะไร
ตลอดจนทัศนคติของเด็กที่มีต่อการทางานนั้น ๆ
11. สรุปความคิดเห็น ข้อวิจารณ์ และข้อเสนอแนะหลังจากที่ได้ทาการศึกษาข้อมูลมาแล้ว ก็
นาข้อมูลที่หามาได้ทั้งหมดมาวิเคราะห์ สังเคราะห์ และกาหนดแนวทางในการแก้ไข
12. การติดตามผล เมื่อได้มีการให้ความช่วยเหลือ หรือเสนอแนะให้เด็กปรับตัวเองแล้ว
ติดตามผลเป็นระยะ ๆ เพื่อดูว่าที่คาดการณ์ไว้นั้นมีสัมฤทธิ์ผลเป็นอย่างไร หากมีอะไร
ที่ไม่เป็นไปตามแผนที่วางไว้ ก็คิดหาวิธีการหรือแนวทางในการแก้ไขใหม่ ซึ่งบางครั้ง
ก็อาจจาเป็นต้องหาข้อมูลมาเพิ่มเติม เพื่อให้การแก้ปัญหานั้นบรรลุผลต่อไป
การศึกษารายกรณี ฉ
(Case Study)
การเยี่ยมบ้านนักเรียน
การเยี่ยมบ้านนักเรียน
การเยี่ยมบ้านนักเรียน หมายถึง การที่ครูไปเยี่ยมพบปะกับผู้ปกครองและนักเรียนที่บ้านของ
เขา อันจะช่วยให้เกิดความสัมพันธ์ที่ดีระหว่างบ้านกับโรงเรียนและทาให้ครูได้รู้ได้เห็นข้อเท็จจริง
เกี่ยวกับสภาพแวดล้อมต่าง ๆ ทางบ้านของนักเรียน
1. จุดมุ่งหมายของการเยี่ยมบ้านนักเรียน
การเยี่ยมบ้านมีจุดมุ่งหมายดังต่อไปนี้
1.1 เพื่อให้ครูได้เห็นสภาพแท้จริงของสิ่งแวดล้อมและสภาพความเป็นอยู่
ทางครอบครัวของนักเรียน
1.2 เพื่อช่วยให้ครูได้รู้ถึงเจตคติของผู้ปกครองที่มีต่อครู โรงเรียน และนักเรียน
1.3 เพื่อสร้างความเข้าใจ และความสัมพันธ์อันดีระหว่างบ้านกับโรงเรียน
อันจะส่งผลให้เกิดความร่วมมือที่ดีในการช่วยแก้ปัญหาหรือพัฒนานักเรียน
1.4 เพื่อเพิ่มเติมข้อมูล ข้อเท็จจริง บางประการที่เกี่ยวกับเด็กนักเรียน
ที่ไม่อาจสามารถหาได้ด้วยวิธีการอื่น ๆ
2. หลักการเยี่ยมบ้านนักเรียน
เพื่อให้ผู้ปกครองและนักเรียนเกิดเจตคติที่ดีต่อครูและโรงเรียนอีกทั้งยินดีให้ข้อมูลครูที่ไปเยี่ยม
บ้าน
จึงควรยึดหลักการดังนี้
2.1 ก่อนไปเยี่ยมบ้านควรแจ้งให้นักเรียนทราบล่วงหน้าเพื่อไปบอกกล่าวผู้ปกครอง
ก่อนว่าครูจะเยี่ยมบ้านในวันใดเวลาใด
การศึกษารายกรณี ช
(Case Study)
2.2 ครูควรตั้งจุดมุ่งหมายของการไปเยี่ยมบ้านว่าต้องการทราบข้อเท็จจริงหรือ
ข้อมูล เรื่องใดบ้าง พร้อมทั้งเตรียมหัวข้อที่จะสัมภาษณ์หรือสนทนากับ
ผู้ปกครองของนักเรียน เพื่อให้ได้ข้อมูลตามจุดมุ่งหมายนั้น
2.3 ศึกษาข้อเท็จจริงเกี่ยวกับตัวนักเรียนเท่าที่มีอยู่ก่อนไปเยี่ยมบ้านเพื่อการปฏิบัติ
ตัวหรือถามคาถามที่เหมาะสมกับสภาพทางบ้านของนักเรียน
2.4 พยายามสร้างให้เกิดความคุ้นเคย ความอบอุ่นใจ ความมีมิตรภาพที่ดีต่อกัน
2.5 ควรสนับสนุนให้นักเรียนได้มีโอกาสร่วมวงสนทนาในระยะแรกที่ครูไปถึง
2.6 พยายามให้ผู้ปกครองได้มีโอกาสแสดงความคิดเห็นและความรู้สึกต่าง ๆ
ออกมาให้มากในเรื่องที่สนทนากัน
2.7 หลีกเลี่ยงการการตาหนิติเตียน การวิพากษ์วิจารณ์เกี่ยวกับตัวนักเรียน
ผู้ปกครอง ครูหรือโรงเรียน
2.8 การเยี่ยมบ้านควรคานึงถึงความเหมาะสมของเวลาที่ไปเยี่ยมและระยะเวลา
ที่เยี่ยมบ้านโดยไม่ควรใช้เวลาอย่างเร่งรีบ แต่ไม่ควรจะอยู่นานจนเกินไป
2.9 รีบจดบันทึกข้อมูลที่ได้ทันทีหลังจากกลับจากการเยี่ยมบ้าน
ซึ่งอาจใช้แบบรายงานการเยี่ยมบ้านตามลักษะแต่ละโรงเรียน
การศึกษารายกรณี ซ
(Case Study)
สารบัญ
เรื่อง หน้าที่
ความนา ก
คามหมายของการศึกษารายกรณี ก
วัตถุประสงค์ของการศึกษารายกรณี ก
การรวบรวมข้อมูล ข
แหล่งที่มาของข้อมูล ข
ขอบเขตของการศึกษารายกรณี ค
การเยี่ยมบ้านนักเรียน ง
จุดมุ่งหมายของการเยี่ยมบ้านนักเรียน ง
หลักการเยี่ยมบ้านนักเรียน ง
การศึกษารายกรณี นาย ศักรินทร์ ศรีขาว 1
ข้อมูลของผู้รับการศึกษารายกรณี 2
ประวัติครอบครัว 3
ประวัติด้านการศึกษา 4
เทคนิคและวิธีการใช้เครื่องมือ 5
สรุปเทคนิคและวิธีการที่ใช้เครื่องมือในการรวบรวม 6
ระเบียนสะสม 6
ข้อมูลส่วนตัว 7
แบบบันทึกการเยี่ยมบ้าน 7
แบบประเมินพฤติกรรมเด็ก (SDQ) 8
- ฉบับผู้ปกครองเป็นผู้ประเมินนักเรียน 8
- ฉบับครูเป็นผู้ประเมินนักเรียน 8
- ฉบับนักเรียนประเมินตนเอง 8
แบบประเมินความฉลาดทางอารมณ์ (EQ) 8
แบบคัดกรองนักเรียนรายบุคคล 9
แบบประเมินพหุปัญหา 9
การศึกษารายกรณี ฌ
(Case Study)
สารบัญ
เรื่อง หน้าที่
แบบวัดโรคซึมเศร้า 10
แบบสารวจการดารงชีวิต 10
ภาคผนวก 11
แฟ้มภาพการเยี่ยมบ้าน
แบบฟอร์มการศึกษาและเก็บข้อมูล
การศึกษารายกรณี 1
(Case Study)
การศึกษารายกรณี
(Case Study)
นาย ศักรินทร์ ศรีขาว ชื่อเล่น น้องเหมียว เกิดเมื่อวันที่ ๒ เดือนเมษายน พ.ศ.๒๕๔๓
อายุ๑๖ ปี กาลังศึกษาอยู่ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ ๔/๖ เลขที่ ๙ โรงเรียนเหนือคลองประชาบารุง
นาย ธัญญา ซื่อตรง อายุ๓๖ ปี นักศึกษา คณะครุศาสตร์ สาขา ประกาศนียบัตรวิชาชีพครู
มหาวิทยาลัยราชภัฏ นครศรีธรรมราช
นายศักรินทร์ ศรีขาว เป็นเด็กที่เวลาอยู่คนเดียว เป็นเด็กเหม่อลอย ไม่ค่อยพูด บางครั้งเงียบ
ขรึม แต่เวลาเข้ากลุ่มกับเพื่อนๆชอบหยอกล้อเพื่อน เพื่อดึงดูดความสนใจตัวเอง และชวนเพื่อนเล่นใน
ห้องเรียนไม่มีความกระตือรือร้นในการเรียน ไม่ชอบทากิจกรรมกลุ่มภายในห้องเรียน แต่มีนิสัยชอบ
เล่นกีฬาฟุตบอล ได้รับการคัดเลือกเป็นนักกีฬาฟุตบอลโรงเรียนในการเข้าร่วมแข่งขันกีฬาจังหวัด
แต่มีพฤติกรรมที่ควรได้รับการดูแลแก้ไข คือ เวลาครูสั่งงาน จะไม่ทางานส่งครูเกือบทุกวิชา ทาให้เกิด
เกิดการ ติด ร ๐ มส ในรายวิชานั้นๆ
ชื่อผู้รับการศึกษา
ชื่อผู้ทาการศึกษา
สาเหตุที่ศึกษา
การศึกษารายกรณี 2
(Case Study)
วันที่ ๑ กุมภาพันธ์ ๒๕๕๙ ถึง วันที่ ๓๑ มีนาคม ๒๕๕๙ รวมเวลา ๑ เดือน
ลักษณะทางกาย
นายศักรินทร์ ศรีขาว มีรูปร่างผอม ผิวดา สูงประมาณ ๑๖๕ เซนติเมตร น้าหนัก ๔๕
กิโลกรัม ใบหน้ากลมเรียว ผมสีดา กริยาท่าทางไม่คล่องแคล่ว สุขภาพแข็งแรง แต่งกายเรียบร้อย
สะอาดสะอ้าน
ลักษณะทางอารมณ์
เด็กเป็นคนอารมณ์ไม่ค่อยดี ไม่ค่อยยิ้มแย้มแจ่มใส ไม่กล้าแสดงออกในทางที่ถูกต้องพึงพอใจ
เมื่อได้รับการยอมรับเพื่อนๆ
ลักษณะทางสังคม
เนื่องจากเด็กชายศักรินทร์ ศรีขาว เป็นนักเรียนที่ครอบครัวมีปัญหา ตนเองจึงพยายามสร้าง
จุดเด่นให้ตนเอง ให้ครอบครัวและเพื่อนๆยอมรับในสิ่งที่ตนเองกระทา ไม่ว่ากระทาถูกหรือผิด แต่ก็
ยังมีจิตสาธรณะในการชอบช่วยเหลือผู้อื่นอยู่บ้างเป็นครั้งคราว สามารถเข้ากับเพื่อนรุ่นเดียวกันได้
อย่างดี มากกว่าเพื่อนรุ่นอื่น หลังเลิกเรียนเด็กจะต้องไปตัดหญ้าจ้างให้วัวชนทุกวัน หรือเสาร์อาทิตย์
เด็กจะไปตัดปามล์จ้าง จนไม่ได้ทาการบ้านหรืองานที่ครูสั่งให้เสร็จ
สรุปได้ว่า เด็กไม่ค่อยมีมนุษยสัมพันธ์กับเพื่อนๆต่างรุ่น ไม่ค่อยกล้าแสดงออกในทางที่ถูก
พยามยามสร้างจุดเด่นให้กับตัวเองให้เพื่อนๆยอมรับในสิ่งที่ตนเองเป็น
ข้อมูลของผู้รับการศึกษา
วันเริ่มต้นและระยะเวลาที่ศึกษา
ลักษณะทั่วไป
การศึกษารายกรณี 3
(Case Study)
ลักษณะทางสติปัญญา
ผลการประเมินการเรียนรู้ที่ผ่านมา นายศักรินทร์ ศรีขาว เป็นนักเรียนที่มีความสามารถปกติ
เหมือนกับเด็กทั่วๆไป แต่ยังขาดความรับผิดชอบต่อหน้าที่ของตนเอง เด็กจะชอบวิชาพลศึกษา
ศิลปศึกษา คอมพิวเตอร์ ดนตรี มากกว่าวิชาอื่นๆ
อยู่
ครอบครัวมีทั้งหมด ๑๐ คน คือ บิดาชื่อ นายนิรุติ ศรีขาว มารดาชื่อ นางอ้อมใจ กุลสวน
นายศักรินทร์ ศรีขาว มีพี่น้องร่วมมารดาเดียวกัน คือเด็กชายหมู ศรีขาว กาลังศึกษาอยู่ชั้น
ประถมศึกษาปีที่ ๔ มารดาและบิดาหย่าร้างกัน บ้านพักอาศัยเป็นบ้านส่วนตัว อาศัยอยู่กับมารดามี
อาชีพรับจ้างทั่วไป
เมื่อกลับบ้านเด็กจะไม่ได้ทาการบ้าน เพราะต้องออกไปตัดหญ้าจ้างให้วัวชนพอเสร็จก็ออกไปเล่น
กับเพื่อนๆบางครั้งมารดา ปู่ ย่า ก็จะใช้ช่วยงานเล็กๆน้อยๆ เช่น ไปซื้อของที่ร้านของชาใกล้บ้าน เมื่อ
เสร็จงาน นายศักรินทร์ ศีขาว ก็จะออกไปเล่นกีฬาฟุตบอล เล่นเกมคอมพิวเตอร์ ซ้อมดนตรี หรือ
ออกไปเที่ยวกับเพื่อนๆ จนไม่ได้ทาการบ้านที่ครูสั่ง แต่ส่วนใหญ่จะออกไปเที่ยวกับเพื่อนมากกว่า
กลับบ้านดึกดื่น
มารดาของนายศักรินทร์ ศรีขาว ประกอบอาชีพ รับจ้างทั่วไป รายได้ไม่แน่นอน ไม่ได้ทางานทุก
วัน รายได้ต่อเดือน ประมาณ ๕,๐๐๐ บาท รวมเป็นรายได้ของครอบครัวต่อเดือนประมาณ ๕,๐๐๐
บาท ซึ่งต้องใช้จ่ายในครอบครัว ศักริทร์จะได้เงินมาโรงเรียนวันละ ๓๐ บาท อาหารกลางวันซื้อจาก
ทางโรงเรียน
ปัจจุบันศักรินทร์ อาศัยอยู่กับมารดา ปู่ ย่า บ้านอยู่ห่างจากโรงเรียน ประมาณ ๕กิโลเมตร เป็น
บ้านปูนชั้นเดียว อาศัยอยู่กับครอบครัว ๑๐ คน ครอบครัวให้ความรักศักรินทร์ได้ไม่มากเพราะ
มารดาศักริทร์มีลูกต่างพ่อ อีก ๓ คน มารดาต้องทางาน ย่า กับปู่ที่คอยช่วยดูแลหลานๆกันเท่าที่ทาได้
ประวัติครอบครัว
ฐานะทางเศรษฐกิจ
ไม่ได้ษฐกิจ
สภาพครอบครัวในปัจจุบัน
การศึกษารายกรณี 4
(Case Study)
ศักรินทร์เข้าศึกษาชั้นประถมศึกษา ปีที่ ๑,๖ ที่โรงเรียนวัดธรรมมาวุธสรณาราม แล้วมาศึกษา
ต่อมัธยมศึกษาโรงเรียนเหนือคลองประชาบารุง อาเภอเหนือคลอง จังหวัดกระบี่ โรงเรียนห่างจาก
บ้านประมาณ ๕ กิโลเมตร เดินทางไปโรงเรียนด้วยจักรยาน โรงเรียนเหนือคลองประชาบารุงเป็น
โรงเรียนที่อยู่ใกล้บ้าน มีความสะดวกสบาย ในการไปรับไปส่งของผู้ปกครอง
สุขภาพร่างกายแข็งแรงดี ชอบเล่นกีฬาฟุตบอล
ศักรินทร์ มีความหวังไว้๒ อย่างคือ อยากเป็นนักฟุตบอลอาชีพ และนักดนตรี เพื่ออนาคตจะได้
ช่วยเหลือครอบครัว
เด็กรักบิดา และมีความใกล้ชิดกับบิดา เมื่อโตขึ้นบิดาต้องการให้เด็ก รับราชการตารวจ เวลาเด็ก
เลิกเรียนบางครั้งบิดาจะเป็นคนไปรับ เมื่อวันไหนที่บิดาอยู่บ้านเด็กจะไม่ออกไปไหนจะเล่นและอ่าน
การ์ตูนเรื่องโปรดให้พ่อฟังบ่อยๆ
เด็กรัก และมีความใกล้ชิดกับมารดา ส่วนมากมารดาจะเป็นผู้ไปรับ-ส่ง ไปโรงเรียน วันหยุดเด็กจะ
อยู่กับแม่เป็นส่วนใหญ่ แม่เป็นคนดูแลทุกอย่างทั้งเรื่องอาหารการกิน เวลาเลิกเรียนแม่จะเป็นคนสอน
ให้ทาการบ้าน วันไหนที่แม่ไม่ว่าพี่สาวจะเป็นคนสอนแทน
ประวัติด้านการศึกษา
ประวัติด้านสุขภาพ
ความใฝ่ ฝันในอนาคต
เจตคติที่มีต่อบิดา
เจตคติที่มีต่อมารดา
การศึกษารายกรณี 5
(Case Study)
เด็กรักและให้ความสาคัญกับคนในครอบครัว รักบิดามารดาและพี่สาว เมื่ออยู่บ้านเด็กจะมีความสุข
มากกว่าไปโรงเรียน เด็กบอกว่าชอบให้ถึงวันเสาร์-อาทิตย์เร็วๆๆเพราะจะได้ไปอยู่บ้าน เล่นกับเพื่อน
เด็กเป็นคนยิ้มแย้มแจ่มใส พูดเก่ง พูดจาผม-ครับ ซึ่งครูประจาชั้นและเพื่อนบ้านชื่นชมเป็นประจา
ที่เด็กพูดจาสุภาพ มีอัทยาศัยดี เข้ากับคนอื่นได้ง่าย เวลาว่างจะเล่นฟุตบอลกับเพื่อน
๑. ระเบียนสะสม
๒.ข้อมูลส่วนตัว
๓.แบบบันทึกเยี่ยมบ้านนักเรียน
๔.แบบประเมินพฤติกรรมเด็ก ( SDQ )
๕.แบบประเมินความฉลาดทางอารมณ์ (EQ)
๖.แบบคัดกรองนักเรียนเป็นรายบุคคล
๗.แบบประเมินพหุปัญหา
๘.แบบวัดโรคซึมเศร้า
๙.แบบสารวจทักษะการดารงชีวิต
เจตคติที่มีต่อครอบครัว
เจตคติที่มีต่อผู้อื่น
เทคนิคและวิธีการที่ใช้เครื่องมือในการรวบรวม
ข้อมูล
การศึกษารายกรณี 6
(Case Study)
ระเบียนสะสม
นายศักรินทร์ ศรีขาว ชื่อเล่น เหมียว เกิดเมื่อวันที่ ๒ เมษายน พ.ศ.๒๕๔๓ อายุ๑๖ ปี กาลัง
ศึกษาอยู่ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ ๔ โรงเรียนเหนือคลองประชาบารุง บิดาชื่อ นายนิรุติ ศรีขาว มารดาชื่อ
นางอ้อมใจ กุลสวน บิดาและมารดาเป็นคนอาเภอเหนือคลอง จังหวัดกระบี่
ด้านร่างกาย-ร่างกายแข็งแรง รูปร่างหน้าตาพอใช้ รูปร่างทรวดทรงค่อนข้างอ้วน ผิวกาย
ค่อนข้างดา ใบหน้าเกลี้ยง น้าหนัก ๔๕ กิโลกรัม ส่วนสูง ๑๖๕ เซนติเมตร
ด้านสุขภาพ-ไม่มีโรคประจาตัว ไม่เคยมีประวัติอุบัติเหตุ
ด้านเศรษฐกิจ – ค่อนข้างลาบาก ต้องทางานรับจ้างตัดปามล์ เฉลี่ยวันละ ๒๐๐ บาท ไม่ได้ตัด
ทุกวัน ตัดเฉพาะโรงเรียนปิด เสาร์-อาทิตย์ ได้เงินมาโรงเรียนวันละ ๓๐ บาท
ด้านเกี่ยวกับการเรียน – การเรียนเรียนไม่ค่อยเก่งแต่มีความสามารถทางด้านการกีฬา และด้าน
ดนตรี
ด้านเกี่ยวกับมนุษย์สัมพันธ์และบุคลิกภาพ– บางครั้งชอบทาตัวเป็นผู้นาในการรวมกลุ่มกับ
เพื่อนๆ เข้าสมาคมกับเพื่อนๆง่าย
ด้านเกี่ยวกับสุขภาพจิตและค่านิยม– มองโลกในแง่ดี แต่บางครั้งก็รู้สึกว่าตัวเองเหมือนอยู่ใน
โลกนี้เพียงลาพัง อยากให้สังคมน่าอยู่ พึ่งพาอาศัยกัน ช่วยเหลือ มีความสามัคคีกัน
ด้านเป้ าหมายของชีวิตในอนาคต-ควมฝันอยากเป็นนักฟุตบอล
ด้านปัญหาที่ข้าพเจ้ากาลังประสบอยู่ในขณะนี้-ส่วนมากมีปัญหาเกี่ยวกับเรื่องครอบครัว การเงิน
และการคบเพื่อน
สรุปเทคนิคและวิธีการที่ใช้เครื่องมือในการรวบรวม
ข้อมูล
การศึกษารายกรณี 7
(Case Study)
ข้อมูลส่วนตัว
นายศักรินทร์ ศรีขาว ชื่อเล่น เหมียว ชั้น ม. ๔/๖ เลขที่ ๙ เลขประจาตัวนักเรียน
๑๓๕๑๘ เลขบัตรประชาชน ๑๘๑๐๘๐๐๐๓๙๕๔๙ เกิดวันที่ ๒ เมษายน ๒๕๔๓ อายุ ๑๖ ปี
ศาสนา พุทธ หมู่เลือด โอ อาศัยอยู่ที่ ๙๙ หมู่ ๕ ตาบลปกาสัย อาเภอเหนือคลอง จังหวัดกระบี่
บิดาชื่อ นายนิรุติ ศรีขาว มารดาชื่อ นางอ้อมใจ กุลสวน สถานะหย่าร้างกัน บิดาทางานช่าง
ซ่อมรถจักยานต์ มารดามีอาชีพ รับจ้างทั่วไป มีรายได้ไม่แน่นอน ประมาณเฉลี่ยเดืนอละ ๕,๐๐๐
บาท นักเรียนอาศัยอยู่กับมารดา มีพี่น้องรวม ๕ คน นักเรียนได้เงินมาโรงเรียนวันละ ๓๐ บาท
สุขภาพดี นอนวันละ 8-10 ชั่วโมง/วัน ส่วนสูง ๑๖๕ เซนติเมตร น้าหนัก ๔๕ กิโลกรัม กีฬาที่
ชอบ คือ ฟุตบอล งานอดิเรกเล่นเกมดนตรี เกมส์ ดูโทรทัศน์
วิชาที่ชอบ ภาษาไทย พละศึกษา ดนตรี ไม่ชอบวิชา ภาษาอังกฤษ โตขึ้นอยากมีอาชีพเป็นนัก
ฟุตบอลและนักดนตรี เมื่ออยู่บ้านชอบเล่นสนุกกับเพื่อนในละแวกบ้าน ไม่สบายใจเรื่องแม่มารับกลับ
จากโรงเรียนช้าบ่อยครั้ง และอยากได้เครื่องเล่นเกมส์
แบบบันทึกการเยี่ยมบ้าน
1. ลักษณะภายนอกตัวบ้านปูนชั้นเดียวพื้นที่รอบบ้านไม่กว้างนัก
2. ภายในบ้าน- สะอาดเรียบร้อย สิ่งของภายในบ้านเป็นระเบียบ
3. นักเรียนอาศัยกับ ตา-ยาย มารดา ทวด มีสมาชิกทั้งหมดในบ้าน ๑๐ คน
4. ลักษณะของบิดามารดา-บิดารูปร่างผอมเล็ก มารดาค่อนข้างอ้วนสูง เป็นมิตร ยิ้มแย้ม
5. เจตคติผู้ปกครองที่มีต่อนักเรียน- รักและเอาใจใส่ ส่งเสริมด้านการเรียน
6. เจตคติของผู้ปกครองที่มีต่อโรงเรียน- มีความพร้อม ครูเป็นมิตร ดูแลนักเรียนดี
7. มารดา เป็นผู้สอนการบ้าน เด็กเอาใจใส่ ซักถามเมื่อไม่เข้าใจ
8. เด็กไม่คอยทาตามผู้ปกครองเพราะเข้าสู่วัยรุ่น
9. ควรควบคุมการเล่นเกมส์ของเด็กให้เหมาะสม เพราะอาจเกิดผลกระทบต่อการเรียน
10. เด็กช่วยไปซื้อของที่ร้านของชาใกล้บ้านบางครั้ง
11. ที่อยู่๙๙ หมู่ ๙ ตาบลปกาสัย อาเภอเหนือคลอง จังหวัดกระบี่ ๘๑๑๓๐
12. สิ่งที่เด็กชอบและสนใจ คือ เล่นฟุตบอล เล่นดนตรี เล่นเกมส์โทรศัพท์
การศึกษารายกรณี 8
(Case Study)
13. เด็กไม่ชอบนอนกลางวัน
แบบประเมินพฤติกรรมเด็ก (SDQ) ฉบับผู้ปกครองเป็นผู้ประเมินนักเรียน
ผลการสรุปการประเมิน นายศักรินทร์ ศรีขาว พฤติกรรมด้านอารมณ์ ,พฤติกรรมด้านเกเร
อยู่ในขั้นมีปัญหา พฤติกรรมด้านไม่อยู่นิ่ง อยู่ในขั้นเสี่ยง พฤติกรรมด้านสัมพันธ์กับเพื่อน อยู่ในขั้น
ปกติ สรุปจากการประเมินด้านที่ ๑-๔ นักเรียนอยู่ในกลุ่มที่มีปัญหา และเสี่ยง ส่วนพฤติกรรมด้าน
สัมพันธภาพทางสังคม มีจุดแข็ง
แบบประเมินพฤติกรรมเด็ก (SDQ) ฉบับครูเป็นผู้ประเมินนักเรียน
ผลการสรุปการประเมิน นายศักรินทร์ ศรีขาว พฤติกรรมด้านอารมณ์ ,พฤติกรรมด้านเกเร
อยู่ในขั้นมีปัญหา พฤติกรรมด้านไม่อยู่นิ่ง อยู่ในขั้นเสี่ยง พฤติกรรมด้านสัมพันธ์กับเพื่อน อยู่ในขั้น
เสี่ยง สรุปจากการประเมินด้านที่ ๑-๔ นักเรียนอยู่ในกลุ่มที่มีปัญหา และเสี่ยง ส่วนพฤติกรรมด้าน
สัมพันธภาพทางสังคม มีจุดแข็ง
แบบประเมินพฤติกรรมเด็ก (SDQ) ฉบับนักเรียนประเมินตนเอง
ผลการสรุปการประเมิน นายศักรินทร์ ศรีขาว พฤติกรรมด้านอารมณ์ อยู่ในขั้นปกติ
พฤติกรรมด้านเกเร อยู่ในขั้นเสี่ยง พฤติกรรมด้านไม่อยู่นิ่ง อยู่ในขั้นปกติ พฤติกรรมด้านสัมพันธ์
กับเพื่อน อยู่ในขั้น เสี่ยง สรุปจากการประเมินด้านที่ ๑-๔ นักเรียนอยู่ในกลุ่มที่มีปัญหา
ส่วนพฤติกรรมด้านสัมพันธภาพทางสังคม มีจุดแข็ง
แบบประเมินความฉลาดทางอารมณ์ (EQ)
ผลการสรุปการประเมิน นายศักรินทร์ ศรีขาว พฤติกรรมด้านดี อยู่ในขั้นต่ากว่าปกติ
พฤติกรรมด้านเก่ง อยู่ในขั้นปกติ พฤติกรรมด้านสุข อยู่ในขั้นปกติ สรุปโดยสามด้านนักเรียนอยู่ใน
ขั้นปกติ
การศึกษารายกรณี 9
(Case Study)
แบบคัดกรองนักเรียนรายบุคคล
ผลการสรุปการประเมิน นายศักรินทร์ ศรีขาว
๑. ความสามารถพิเศษ-นักเรียนชอบการวาดภาพ การเล่นดนตรี และวิชาพลศึกษา
๒.ด้านการเรียน- อยู่ในกลุ่มเสี่ยงและมีปัญหา
๓.ด้านสุขภาพ-อยู่ในขั้นปกติ
๔.ด้านเศรษฐกิจ-อยู่ในขั้นมีปัญหา
๕. ด้านสวัสดิภาพและความปลอดภัย-อยู่ในกลุ่มเสี่ยงและมีปัญหา
๖.ด้านพฤติกรรมการใช้สารเสพติด-อยู่ในกลุ่มเสี่ยง
๗.ด้านพฤติกรรมการใช้ความรุนแรง-อยู่ในกลุ่มเสี่ยง
๘.ด้านพฤติกรรมทางเพศ-อยู่ในกลุ่มเสี่ยง
๙.ด้านการติดเกมส์-อยู่ในกลุ่มเสี่ยงและมีปัญหา
๑๐ นักเรียนไม่มีความต้องการพิเศษ
๑๑.ด้านการใช้เครื่องมือสื่อสารอิเล็กทรอนิกส์-อยู่ในกลุ่มเสี่ยงและมีปัญหา
๑.ปัญหาด้านดนตรี- นักเรียนมีความสามารถในการเล่นดนตรี ชอบร้องเพลง ฟังเพลง
๒.ปัญหาด้านร่างกายและการเคลื่อนไหว-นักเรียนชอบแสดงออกในการเล่นกีฬา,ชอบเล่นเกมส์,
ดนตรี
๓.ปัญหาด้านตรรกะและคณิตศาสตร์-นักเรียนชอบเกี่ยวกับการคานวณ การคาดคะเน,การพิสูจน์ ,ทด
ลอง,หาเหตุผล
๔.ปัญหาด้านภาษา-นักเรียนสามารถเล่าเรื่องราวต่างๆในชีวิตประจาวันได้ดี
๕.ปัญหาด้านมิติสัมพันธ์-นักเรียนชอบวาดรูป,ดูหนังฟังเพลง,ชอบการออกแบบสร้างจินตนาการ
๖.ปัญหาด้านมนุษย์สัมพันธ์-นักเรียนชอบอยู่กับกลุ่มเพื่อนๆ กล้าแสดงออก,ชอบสังสรรค์,ชอบคบ
เพื่อเยอะ สามารถเป็นผู้นาเพื่อนๆได้
๗.ปัญหาด้านธรรมชาติแวดล้อม-นักเรียนชอบอยู่ตามสถานที่ที่เป็นธรรมชาติ ชอบทางานกลางแจ้ง ,
ชอบทาเลียนเสียงสัตว์ต่างๆได้เก่ง
แบบประเมินพหุปัญหา
การศึกษารายกรณี 10
(Case Study)
๘.ปัญหาด้านการเข้าใจตนเอง-นักเรียชอบความอิสระ ได้ทาอะไรด้วยตนเองจะมีความภาคภูมิใจใน
ตนเอง มีจุดเด่นเป็นของตนเอ
อาการพฤติกรรมความรู้สึก ผลการสรุปนักเรียนอยู่ในขั้นปกติ
๑. ทักษะการเรียนรู้-นักเรียนสารถค้นคว้าหาความรู้ได้ด้วยตนเองชอบหาประสบการณ์ใหม่ๆจาก
โรงเรียนและนอกโรงเรียน มีความคิดริเริ่มสร้างสรรค์ นาความรู้ที่ได้ไปใช้ประโยชน์ใน
ชีวิตประจาวันได้
๒.ทักษะการจัดการตนเอง-นักเรียนสามารถใช้เวลาว่างให้เกิดประโยชน์ ชอบดูแลร่างกายและสุขภาพ
ตนเองอยู่เสมอ มีความฉลาดในการบริโภคสินค้า และเครื่องใช้สอยในชีวิตประจาวัน
๓.ทักษะทางสังคม-นักเรียนสามารสื่อสาร สื่อความหมายได้ดี ทั้งการพูด การเขียน สารถตอบรับ
หรือปฏิเสธได้ มีจิตสาธารณะ
๔.ทักษะการจัดการและสร้างแรงอาชีพ- นักเรียนมีประสบการณ์ในการทางานและสามารถดารงเลี้ยง
ชีพตนเองได้ หาอาชีพในวันหยุดเรียนได้ เช่น เสาร์-อาทิตย์ หรือปิดเทอม
ลงชื่อ……………………………
(นาย ธัญญา ซื่อตรง )
ผู้ทาการศึกษา
แบบวัดโรคซึมเศร้า
แบบสารวจการดารงชีวิต
การศึกษารายกรณี 11
(Case Study)
.
ภาคผนวก
การศึกษารายกรณี 12
(Case Study)
แฟ้มภาพจากการเยี่ยมบ้าน
การศึกษารายกรณี 13
(Case Study)
ขณะเตรียมความพร้อมที่จะไปตัดหญ้าให้วัวชน ที่เขาชอบและรัก
บริเวณที่เลี้ยงวัวชนและคอกวัวชน
การศึกษารายกรณี 14
(Case Study)
บริเวณภายนอก - ภายในบ้านพักที่อยู่อาศัย
การศึกษารายกรณี 15
(Case Study)
ห้องนอน นาย ศักรินทร์ ศรีขาว
ห้องนอนต่างๆ ภายในบ้าน
การศึกษารายกรณี 16
(Case Study)
บริเวณภายนอก - ภายในบ้านพักที่อยู่อาศัย
ห้องครัว และ หน้าบ้าน
การศึกษารายกรณี 17
(Case Study)
ห้องนอนของทวด ที่พิการ( ตาบอด)
สมาชิกในครอบครัว
การศึกษารายกรณี 18
(Case Study)
แบบฟอร์มการศึกษาและเก็บข้อมูล
๑. ระเบียนสะสม
๒.ข้อมูลส่วนตัว
๓.แบบบันทึกเยี่ยมบ้านนักเรียน
๔.แบบประเมินพฤติกรรมเด็ก ( SDQ )
๕.แบบประเมินความฉลาดทางอารมณ์ (EQ)
๖.แบบคัดกรองนักเรียนเป็นรายบุคคล
๗.แบบประเมินพหุปัญหา
๘.แบบวัดโรคซึมเศร้า
๙.แบบสารวจทักษะการดารงชีวิต
การศึกษารายกรณี 19
(Case Study)
การศึกษารายกรณี 20
(Case Study)
การศึกษารายกรณี 21
(Case Study)
การศึกษารายกรณี 22
(Case Study)
การศึกษารายกรณี 23
(Case Study)
การศึกษารายกรณี 24
(Case Study)
การศึกษารายกรณี 25
(Case Study)
การศึกษารายกรณี 26
(Case Study)
การศึกษารายกรณี 27
(Case Study)
การศึกษารายกรณี 28
(Case Study)
การศึกษารายกรณี 29
(Case Study)
การศึกษารายกรณี 30
(Case Study)
การศึกษารายกรณี 31
(Case Study)
การศึกษารายกรณี 32
(Case Study)
การศึกษารายกรณี 33
(Case Study)
การศึกษารายกรณี 34
(Case Study)
การศึกษารายกรณี 35
(Case Study)
การศึกษารายกรณี 36
(Case Study)
การศึกษารายกรณี 37
(Case Study)
การศึกษารายกรณี 38
(Case Study)
การศึกษารายกรณี 39
(Case Study)
การศึกษารายกรณี 40
(Case Study)
การศึกษารายกรณี 41
(Case Study)
การศึกษารายกรณี 42
(Case Study)
การศึกษารายกรณี 43
(Case Study)
การศึกษารายกรณี 44
(Case Study)
การศึกษารายกรณี 45
(Case Study)
การศึกษารายกรณี 46
(Case Study)
การศึกษารายกรณี 47
(Case Study)
การศึกษารายกรณี 48
(Case Study)
การศึกษารายกรณี 49
(Case Study)
การศึกษารายกรณี 50
(Case Study)
การศึกษารายกรณี 51
(Case Study)

Contenu connexe

Tendances

Aแบบทดสอบวัดผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน เรื่อง การถ่ายโอนพลังงานความร้อน
Aแบบทดสอบวัดผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน เรื่อง การถ่ายโอนพลังงานความร้อนAแบบทดสอบวัดผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน เรื่อง การถ่ายโอนพลังงานความร้อน
Aแบบทดสอบวัดผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน เรื่อง การถ่ายโอนพลังงานความร้อน
krupornpana55
 
ตัวอย่างโครงการสอน
ตัวอย่างโครงการสอนตัวอย่างโครงการสอน
ตัวอย่างโครงการสอน
Krupol Phato
 
บทที่ 11 นวัตกรรมทางการศึกษาปฐมวัย 55
บทที่ 11 นวัตกรรมทางการศึกษาปฐมวัย 55บทที่ 11 นวัตกรรมทางการศึกษาปฐมวัย 55
บทที่ 11 นวัตกรรมทางการศึกษาปฐมวัย 55
Decode Ac
 
โครงสร้างหลักสูตรมัธยม
โครงสร้างหลักสูตรมัธยมโครงสร้างหลักสูตรมัธยม
โครงสร้างหลักสูตรมัธยม
wangasom
 
คำกล่าวต้อนรับคณะกรรมการประเมิน
คำกล่าวต้อนรับคณะกรรมการประเมินคำกล่าวต้อนรับคณะกรรมการประเมิน
คำกล่าวต้อนรับคณะกรรมการประเมิน
pupphawittayacom
 
รูปแบบวิจัย 5 บท
รูปแบบวิจัย 5 บทรูปแบบวิจัย 5 บท
รูปแบบวิจัย 5 บท
Kannika Kerdsiri
 
โครงงาน Is-กลุ่มสบู่-1-5
โครงงาน Is-กลุ่มสบู่-1-5โครงงาน Is-กลุ่มสบู่-1-5
โครงงาน Is-กลุ่มสบู่-1-5
Nontagan Lertkachensri
 
บทที่ 9 การศึกษารายกรณี 55
บทที่ 9 การศึกษารายกรณี  55บทที่ 9 การศึกษารายกรณี  55
บทที่ 9 การศึกษารายกรณี 55
Decode Ac
 
โครงสร้างหลักสูตรประถม
โครงสร้างหลักสูตรประถมโครงสร้างหลักสูตรประถม
โครงสร้างหลักสูตรประถม
wangasom
 
ตัวอย่างการเขียนโครงงาน 5 บท
ตัวอย่างการเขียนโครงงาน 5 บทตัวอย่างการเขียนโครงงาน 5 บท
ตัวอย่างการเขียนโครงงาน 5 บท
chaipalat
 
การเขียนข้อสอบวัดพฤติกรรมด้านพุทธิพิสัย
การเขียนข้อสอบวัดพฤติกรรมด้านพุทธิพิสัยการเขียนข้อสอบวัดพฤติกรรมด้านพุทธิพิสัย
การเขียนข้อสอบวัดพฤติกรรมด้านพุทธิพิสัย
Benjapron Seesukong
 
หน่วยที่ 3 เศรษฐกิจพอเพียงกับการพัฒนาเศรษฐกิจไทย
หน่วยที่ 3 เศรษฐกิจพอเพียงกับการพัฒนาเศรษฐกิจไทยหน่วยที่ 3 เศรษฐกิจพอเพียงกับการพัฒนาเศรษฐกิจไทย
หน่วยที่ 3 เศรษฐกิจพอเพียงกับการพัฒนาเศรษฐกิจไทย
Paew Tongpanya
 

Tendances (20)

Aแบบทดสอบวัดผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน เรื่อง การถ่ายโอนพลังงานความร้อน
Aแบบทดสอบวัดผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน เรื่อง การถ่ายโอนพลังงานความร้อนAแบบทดสอบวัดผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน เรื่อง การถ่ายโอนพลังงานความร้อน
Aแบบทดสอบวัดผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน เรื่อง การถ่ายโอนพลังงานความร้อน
 
เกณฑ์การประเมินรูบริคส์
เกณฑ์การประเมินรูบริคส์เกณฑ์การประเมินรูบริคส์
เกณฑ์การประเมินรูบริคส์
 
ตัวอย่างโครงการสอน
ตัวอย่างโครงการสอนตัวอย่างโครงการสอน
ตัวอย่างโครงการสอน
 
บทที่ 11 นวัตกรรมทางการศึกษาปฐมวัย 55
บทที่ 11 นวัตกรรมทางการศึกษาปฐมวัย 55บทที่ 11 นวัตกรรมทางการศึกษาปฐมวัย 55
บทที่ 11 นวัตกรรมทางการศึกษาปฐมวัย 55
 
โครงสร้างหลักสูตรมัธยม
โครงสร้างหลักสูตรมัธยมโครงสร้างหลักสูตรมัธยม
โครงสร้างหลักสูตรมัธยม
 
แผ่นพับโครงงานการงานอาชีพ 1
แผ่นพับโครงงานการงานอาชีพ 1แผ่นพับโครงงานการงานอาชีพ 1
แผ่นพับโครงงานการงานอาชีพ 1
 
คำกล่าวต้อนรับคณะกรรมการประเมิน
คำกล่าวต้อนรับคณะกรรมการประเมินคำกล่าวต้อนรับคณะกรรมการประเมิน
คำกล่าวต้อนรับคณะกรรมการประเมิน
 
รูปแบบวิจัย 5 บท
รูปแบบวิจัย 5 บทรูปแบบวิจัย 5 บท
รูปแบบวิจัย 5 บท
 
โครงงาน Is-กลุ่มสบู่-1-5
โครงงาน Is-กลุ่มสบู่-1-5โครงงาน Is-กลุ่มสบู่-1-5
โครงงาน Is-กลุ่มสบู่-1-5
 
ตัวอย่างแผนการสอนรวม7e
ตัวอย่างแผนการสอนรวม7eตัวอย่างแผนการสอนรวม7e
ตัวอย่างแผนการสอนรวม7e
 
บทที่ 9 การศึกษารายกรณี 55
บทที่ 9 การศึกษารายกรณี  55บทที่ 9 การศึกษารายกรณี  55
บทที่ 9 การศึกษารายกรณี 55
 
โครงสร้างหลักสูตรประถม
โครงสร้างหลักสูตรประถมโครงสร้างหลักสูตรประถม
โครงสร้างหลักสูตรประถม
 
แบบสอบถาม โครงการบันทึกรักการอ่าน2013
แบบสอบถาม โครงการบันทึกรักการอ่าน2013แบบสอบถาม โครงการบันทึกรักการอ่าน2013
แบบสอบถาม โครงการบันทึกรักการอ่าน2013
 
กำหนดการโครงการต่าง ๆ
กำหนดการโครงการต่าง ๆกำหนดการโครงการต่าง ๆ
กำหนดการโครงการต่าง ๆ
 
แบบทดสอบวัดผลสัมฤทธิ๋ทางการเรียน หน่วย งานและพลังงาน
แบบทดสอบวัดผลสัมฤทธิ๋ทางการเรียน    หน่วย งานและพลังงานแบบทดสอบวัดผลสัมฤทธิ๋ทางการเรียน    หน่วย งานและพลังงาน
แบบทดสอบวัดผลสัมฤทธิ๋ทางการเรียน หน่วย งานและพลังงาน
 
ตัวอย่างการเขียนโครงงาน 5 บท
ตัวอย่างการเขียนโครงงาน 5 บทตัวอย่างการเขียนโครงงาน 5 บท
ตัวอย่างการเขียนโครงงาน 5 บท
 
แรงเสียดทาน
แรงเสียดทานแรงเสียดทาน
แรงเสียดทาน
 
โครงงานวิชาไอเอส เรื่องความพึงพอใจในการใช้ห้องน้ำของนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีท...
โครงงานวิชาไอเอส เรื่องความพึงพอใจในการใช้ห้องน้ำของนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีท...โครงงานวิชาไอเอส เรื่องความพึงพอใจในการใช้ห้องน้ำของนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีท...
โครงงานวิชาไอเอส เรื่องความพึงพอใจในการใช้ห้องน้ำของนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีท...
 
การเขียนข้อสอบวัดพฤติกรรมด้านพุทธิพิสัย
การเขียนข้อสอบวัดพฤติกรรมด้านพุทธิพิสัยการเขียนข้อสอบวัดพฤติกรรมด้านพุทธิพิสัย
การเขียนข้อสอบวัดพฤติกรรมด้านพุทธิพิสัย
 
หน่วยที่ 3 เศรษฐกิจพอเพียงกับการพัฒนาเศรษฐกิจไทย
หน่วยที่ 3 เศรษฐกิจพอเพียงกับการพัฒนาเศรษฐกิจไทยหน่วยที่ 3 เศรษฐกิจพอเพียงกับการพัฒนาเศรษฐกิจไทย
หน่วยที่ 3 เศรษฐกิจพอเพียงกับการพัฒนาเศรษฐกิจไทย
 

Similaire à การศึกษารายกรณี ครูธัญญา ซื่อตรง

1281507500 sex 3
1281507500 sex 31281507500 sex 3
1281507500 sex 3
Nok Tiwung
 
สุขฯ ม.2 หน่วย 2
สุขฯ ม.2 หน่วย 2สุขฯ ม.2 หน่วย 2
สุขฯ ม.2 หน่วย 2
supap6259
 
เฟียเจท์ 1
เฟียเจท์ 1เฟียเจท์ 1
เฟียเจท์ 1
Sareenakache
 
เฟียเจท์ 1
เฟียเจท์ 1เฟียเจท์ 1
เฟียเจท์ 1
maina052
 
เฟียเจท์ 1
เฟียเจท์ 1เฟียเจท์ 1
เฟียเจท์ 1
sitipatimoh050
 
เฟียเจท์ 1
เฟียเจท์ 1เฟียเจท์ 1
เฟียเจท์ 1
azmah055
 
เฟียเจท์ 1
เฟียเจท์ 1เฟียเจท์ 1
เฟียเจท์ 1
ai-sohyanya
 
เฟียเจท์ 1
เฟียเจท์ 1เฟียเจท์ 1
เฟียเจท์ 1
oppalove
 
เฟียเจท์ 1
เฟียเจท์ 1เฟียเจท์ 1
เฟียเจท์ 1
Sareenakache
 
เฟียเจท์ 1
เฟียเจท์ 1เฟียเจท์ 1
เฟียเจท์ 1
Sareenakache
 
เฟียเจท์ 1
เฟียเจท์ 1เฟียเจท์ 1
เฟียเจท์ 1
Ameena021
 
เฟียเจท์ 1
เฟียเจท์ 1เฟียเจท์ 1
เฟียเจท์ 1
rorsed
 
เฟียเจท์ 1
เฟียเจท์ 1เฟียเจท์ 1
เฟียเจท์ 1
tina009
 
เฟียเจท์ 1
เฟียเจท์ 1เฟียเจท์ 1
เฟียเจท์ 1
yasaka.747
 
เฟียเจท์ 1
เฟียเจท์ 1เฟียเจท์ 1
เฟียเจท์ 1
mikinan
 
เฟียเจท์ 1
เฟียเจท์ 1เฟียเจท์ 1
เฟียเจท์ 1
Nadeeyah.Musor
 
เฟียเจท์ 1
เฟียเจท์ 1เฟียเจท์ 1
เฟียเจท์ 1
waenalai002
 
เฟียเจท์ 1
เฟียเจท์ 1เฟียเจท์ 1
เฟียเจท์ 1
suweeda
 
เฟียเจท์ 1
เฟียเจท์ 1เฟียเจท์ 1
เฟียเจท์ 1
rohanee
 

Similaire à การศึกษารายกรณี ครูธัญญา ซื่อตรง (20)

1281507500 sex 3
1281507500 sex 31281507500 sex 3
1281507500 sex 3
 
สุขฯ ม.2 หน่วย 2
สุขฯ ม.2 หน่วย 2สุขฯ ม.2 หน่วย 2
สุขฯ ม.2 หน่วย 2
 
เฟียเจท์ 1
เฟียเจท์ 1เฟียเจท์ 1
เฟียเจท์ 1
 
เฟียเจท์ 1
เฟียเจท์ 1เฟียเจท์ 1
เฟียเจท์ 1
 
เฟียเจท์ 1
เฟียเจท์ 1เฟียเจท์ 1
เฟียเจท์ 1
 
เฟียเจท์ 1
เฟียเจท์ 1เฟียเจท์ 1
เฟียเจท์ 1
 
เฟียเจท์ 1
เฟียเจท์ 1เฟียเจท์ 1
เฟียเจท์ 1
 
เฟียเจท์ 1
เฟียเจท์ 1เฟียเจท์ 1
เฟียเจท์ 1
 
เฟียเจท์ 1
เฟียเจท์ 1เฟียเจท์ 1
เฟียเจท์ 1
 
เฟียเจท์ 1
เฟียเจท์ 1เฟียเจท์ 1
เฟียเจท์ 1
 
เฟียเจท์ 1
เฟียเจท์ 1เฟียเจท์ 1
เฟียเจท์ 1
 
เฟียเจท์ 1
เฟียเจท์ 1เฟียเจท์ 1
เฟียเจท์ 1
 
เฟียเจท์ 1
เฟียเจท์ 1เฟียเจท์ 1
เฟียเจท์ 1
 
เฟียเจท์ 1
เฟียเจท์ 1เฟียเจท์ 1
เฟียเจท์ 1
 
เฟียเจท์ 1
เฟียเจท์ 1เฟียเจท์ 1
เฟียเจท์ 1
 
เฟียเจท์ 1
เฟียเจท์ 1เฟียเจท์ 1
เฟียเจท์ 1
 
เฟียเจท์ 1
เฟียเจท์ 1เฟียเจท์ 1
เฟียเจท์ 1
 
เฟียเจท์ 1
เฟียเจท์ 1เฟียเจท์ 1
เฟียเจท์ 1
 
เฟียเจท์ 1
เฟียเจท์ 1เฟียเจท์ 1
เฟียเจท์ 1
 
เฟียเจท์ 1
เฟียเจท์ 1เฟียเจท์ 1
เฟียเจท์ 1
 

การศึกษารายกรณี ครูธัญญา ซื่อตรง

  • 2. การศึกษารายกรณี ข (Case Study) ความนา ถ้าเข้าไปในห้องเรียนสักห้องเรียนหนึ่ง ท่านจะสังเกตพบว่านักเรียนแต่ละคนมีความแตกต่าง กันในหลาย ๆ ด้าน ไม่ว่าจะเป็นทางด้านรูปร่าง หน้าตา บุคลิกภาพ อุปนิสัยใจคอ ความสามารถความ สนใจ ทัศนคติ ประสบการณ์ ตลอดจนแผนการของชีวิต สิ่งเหล่านี้จะมีผลกระทบต่อพฤติกรรมที่เด็ก แสดง ออกมาไม่ว่าจะเป็นทางบวกหรือทางลบ ดังนั้นเพื่อประโยชน์ทางด้านการเรียนการสอนและการ พัฒนาของเด็กให้เจริญเติบโตไปสู่เป้าหมายอย่างมีคุณภาพนั้น ครูจะต้องให้ความส นใจนักเรียนแต่ละคน อย่างใกล้ชิดพยายามค้นหาสาเหตุที่มาของพฤติกรรมนั้นๆ ว่ามีอะไรอยู่เบื้องหลัง อะไรเป็นสาเหตุทาให้ เขาแสดง พฤติกรรมเช่นนั้นออกมา จริงอยู่ถึงแม้นักเรียนแต่ละคนจะมีพฤติกรรมที่แตกต่างกัน แต่ทว่า หากพฤติกรรมนั้นไม่มีผลกระทบต่อการเรียนการสอนและการพัฒนาของเด็กก็ไม่เป็นไร แต่หากครู พบว่า พฤติกรรมนั้นเป็นปัญหาหรืออุปสรรคต่อการเรียนการสอน ความเจริญก้าวหน้าตลออดจนการ พัฒนาของเด็กทางด้านใดด้านหนึ่งแล้ว ครูก็ควรจะหยิบยกขึ้นมาศึกษาหาสาเหตุของพฤติกรรมนั้น เพื่อหาทางให้ความช่วยเหลือเป็นราย ๆ ไป ในการศึกษ าหารายละเอียดเกี่ยวกับสาเหตุที่มาแห่ง พฤติกรรมนั้น ครูจาเป็นต้องรู้จักเด็กคนนั้นเป็นอย่างดี ดังนั้น การรวบรวมข้อมูลรายละเอียดเกี่ยวกับ เด็กที่เราสนใจจะทาการศึกษาจึงถือเป็นกุญแจดอกสาคัญสาหรับการวินิจฉัยพฤติกรรมดังกล่าว เพื่อ หาทางช่วยเหลือแก้ไขอย่างไร ความหมายของการศึกษารายกรณี นักจิตวิทยาแนะแนวหลาย ๆ ท่านได้ให้ความหมายของคาว่า การศึกษารายกรณี (case study)ไว้หลายทัศนะ ซึ่งมีลักษณะคล้าย ๆ กันคือ เป็นกระบวนการของการศึกษารายละเอียดเกี่ยวกับ บุคคลเป็นระยะเวลาติดต่อเนื่องกัน เป็นรายกรณีไป โดยมีวัตถุประสงค์ เพื่อหาทางช่วยเหลือให้บุคคล นั้นได้รู้จักตัวเอง เข้าใจตนเอง และสามารถปรับปรุงตนเองได้ดีขึ้น ในทุก ๆ ด้าน ไม่ว่าจะเป็นด้านการ เรียน อารมณ์ และสังคม เป็นต้น ดังนั้นการศึกษารายกรณี จึงเป็นไปในรูปของการวิเคราะห์และตีความหมายข้อเท็จจริงต่าง ๆ จากข้อมูลที่ได้รวบรวมมา และจากกลวิธีต่างๆ อย่างละเอียดรอบคอบจนเกิดเป็นความหมายอันชัดเจน ที่สะท้อนให้เห็นถึงสภาพปัญหา พฤติกรรมและบุคลิกภาพทั้งหมดของบุคคลที่เราจะทาการศึกษาได้ โดยตลอด
  • 3. การศึกษารายกรณี ค (Case Study) วัตถุประสงค์ของการศึกษารายกรณี การศึกษารายกรณีมีวัตถุประสงค์ดังต่อไปนี้ 1. เพื่อศึกษาให้รู้จักและเข้าใจเด็กแต่ละคน ที่มีพฤติกรรมแตกต่างไปจากกลุ่มโดยอาศัยข้อมูล ที่หามาได้เกี่ยวกับตัวเขา 2. เพื่อนาความรู้ความเข้าใจ หรือข้อมูลที่หามาได้มาใช้เป็นพื้นฐานสาหรับการช่วยเหลือ ส่งเสริมให้เขาได้ปรับตัว และพัฒนาตนเองไปสู่เป้าหมายที่สังคมต้องการตลอดจนเป็น ประโยชน์ต่อการเรียนการสอน 3. เพื่อช่วยให้เด็กเข้าใจตนเอง อีกทั้งช่วยให้ผู้ปกครอง ครู เพื่อน หรือผู้ที่เกี่ยวข้องอื่น ๆ สามารถเข้าใจได้ดียิ่งขึ้น เพื่อสัมพันธภาพอันดี เพื่อประโยชน์ของการอยู่ร่วมกันและการ ทางานร่วมกัน ซึ่งในขณะเดียวกันก็จะเปิดโอกาสให้เขาได้ปรับตัวเปลี่ยนพฤติกรรม และ ทัศนคติไปสู่ทิศทางที่ถูกที่ควร การรวบรวมข้อมูล ในการศึกษาเด็กเป็นรายกรณี การรวบรวมข้อมูลเกี่ยวกับตัวเด็กที่เราทาการศึกษารายกรณี มี ดังนี้ 1. การสัมภาษณ์ การซักถามจากเด็กโดยตรง หรือผู้ที่มีความสัมพันธ์เกี่ยวข้องกับเด็ก เช่น บิดา มารดา ผู้ปกครอง ญาติพี่น้อง เพื่อนบ้านใกล้เคียง ครู ตลอดจนเพื่อน ๆ บุคคล เหล่านี้สามารถให้รายละเอียดเกี่ยวกับตัวเด็กได้เป็นอย่างดี 2. การสังเกต การติดตามสังเกตพฤติกรรมเป็นระยะ ๆ ติดต่อเนื่องกัน จนเป็นที่ประจักษ์ว่า พฤติกรรมที่แท้จริงและเชื่อถือได้ข้อมูลเหล่านี้จะเป็นประโยชน์อย่างยิ่งในการการนามา ใช้แก้ปัญหาต่อไป 3. รวบรวมจากระเบียนสะสมต่าง ๆ ที่มีอยู่ในโรงเรียน เช่น ระเบียนสะสม ระเบียน พฤติการณ์ ทะเบียนประวัติของนักเรียน เป็นต้น ระเบียนต่าง ๆ ทางโรงเรียนได้จัดทาไว้ แล้วช่วยให้เราสามารถทราบรายละเอียดเกี่ยวกับตัวเด็กได้มาก 4. รวบรวมข้อมูลโดยใช้แบบสอบถามประเภทต่าง ๆ เพื่อให้ได้ข้อมูลกว้างขวางมากขึ้น และ เพื่อเป็นการตรวจสอบความถูกต้องตรงกับความเป็นจริง ได้ใช้แบบสอบถามประเภทต่าง ๆ เช่นแบบสารวจตนเองเกี่ยวกับครอบครัว แบบสอบถามสาหรับผู้ปกครอง แบบสารวจข้อมูล นักเรียน แบบประเมินพฤติกรรมเด็ก แบบประเมินความฉลาดทางอารมณ์
  • 4. การศึกษารายกรณี ง (Case Study) 5. การรวบรวมข้อมูลจากผลงานด้านต่าง ๆ ของเด็ก เช่น การให้เขียนเรียงความ การให้ฝึกปฏิบัติ 6. รายงานการคัดกรองนักเรียน 7. การเยี่ยมบ้าน แหล่งที่มาของข้อมูล การค้นหาข้อมูลหรือรายละเอียดเกี่ยวกับตัวเด็กที่เราทาการศึกษาหาได้จากบุคคลหลายฝ่ายที่มี ความสัมพันธ์เกี่ยวข้องกับเด็ก ซึ่งได้แก่บุคคลดังต่อไปนี้ 1. ตัวเด็กโดยตรง 2. บิดา /มารดา/ปู่/ย่า/ตา/ยาย หรือญาติ ๆ 3. ครู 4. เพื่อน 5. เพื่อนบ้านใกล้เคียง ขอบเขตของการศึกษารายกรณี ขอบเขตของการศึกษารายกรณีประกอบด้วยรายละเอียดต่อไปนี้ 1. ชื่อผู้ทาการศึกษาและเวลาที่ทาการศึกษา เวลาที่เริ่มทาการศึกษาจนกระทั่งสิ้นสุด การศึกษา 2. ข้อมูลเกี่ยวกับตัวเด็กที่ต้องการศึกษา ได้แก่ ชื่อ วัน เดือน ปีเกิด ที่อยู่ เพศ อายุ เชื้อชาติ ศาสนา ชื่อครูประจาชั้น รูปร่าง หน้าตา ลักษณะทั่ว ๆ ไปของเด็กท ทาการศึกษา 3. ลักษณะของปัญหา เป็นข้อมูลหรือรายละเอียดพอสังเขปของปัญหา เช่นปัญหานั้น เกิดขึ้นเมื่อใด มีความร้ายแรงเพียงใด เกิดขึ้นบ่อยแค่ไหน ได้รับการช่วยเหลือแนะนา ให้มีการแก้ไขหรือรักษามาก่อนหน้านี้หรือไม่ เพียงใด ผลของการแก้ไขเป็นอย่างไร 4. ข้อมูลเกี่ยวกับครอบครัว เป็นข้อมูลเกี่ยวกับบิดามารดา และสมาชิกอื่น ๆ ในครอบครัว อาชีพและฐานะทางเศรษฐกิจ สัมพันธภาพของเด็กกับสมาชิกคนอื่น ๆ ในครอบครัว ตลอดจนข้อมูลอื่น ๆ ที่คิดว่ามีผลต่อความเป็นอยู่ของเด็ก
  • 5. การศึกษารายกรณี จ (Case Study) 5. ข้อมูลเกี่ยวกับสุขภาพอนามัย เช่น ความสูง น้าหนัก โรคประจาตัวและประวัติการรักษา ความพิการหรือความผิดปกติของร่างกาย สุขนิสัยในการกินอยู่ 6. ข้อมูลที่ได้เก็บรวบรวมได้จากแบบสอบถามประเภทต่าง ๆ 7. ข้อมูลทางการศึกษา เป็นข้อมูลเกี่ยวกับประวัติด้านการเรียนของเด็กตั้งแต่อดีต จนกระทั่งปัจจุบัน ความสามารถพิเศษ ความสนใจ ความถนัด จุดเด่นจุดด้อย ทางการเรียน ตลอดจนจุดมุ่งหมายในชีวิตทางการเรียน 8. การปรับตัวทางสังคม การปรับตัวให้เข้ากับผู้อื่น การทางาน การอยู่ร่วมกันกับเพื่อน และผู้ใกล้ชิด มนุษย์สัมพันธ์กับบุคคลทั่วไป 9. การปรับตัวทางอารมณ์ สภาพจิตใจเป็นอย่างไร มีความร่าเริง อมทุกข์ มีความมั่นใจใน ตนเองสูง มีความวิตกกังวล กลัว มีอารมณ์ฉุนเฉียว หรือรู้จักเก็บความรู้สึก เป็นคนเก็บกด หรือก้าวร้าว เป็นต้น 10. ประสบการณ์การทางานและแผนการทางอาชีพ เด็กเคยทาอะไรมาก่อนบ้าง มีความสนใจ ความถนัดงานประเภทใด มีแผนงานในอนาคตอย่างไร อยากทาอะไร ตลอดจนทัศนคติของเด็กที่มีต่อการทางานนั้น ๆ 11. สรุปความคิดเห็น ข้อวิจารณ์ และข้อเสนอแนะหลังจากที่ได้ทาการศึกษาข้อมูลมาแล้ว ก็ นาข้อมูลที่หามาได้ทั้งหมดมาวิเคราะห์ สังเคราะห์ และกาหนดแนวทางในการแก้ไข 12. การติดตามผล เมื่อได้มีการให้ความช่วยเหลือ หรือเสนอแนะให้เด็กปรับตัวเองแล้ว ติดตามผลเป็นระยะ ๆ เพื่อดูว่าที่คาดการณ์ไว้นั้นมีสัมฤทธิ์ผลเป็นอย่างไร หากมีอะไร ที่ไม่เป็นไปตามแผนที่วางไว้ ก็คิดหาวิธีการหรือแนวทางในการแก้ไขใหม่ ซึ่งบางครั้ง ก็อาจจาเป็นต้องหาข้อมูลมาเพิ่มเติม เพื่อให้การแก้ปัญหานั้นบรรลุผลต่อไป
  • 6. การศึกษารายกรณี ฉ (Case Study) การเยี่ยมบ้านนักเรียน การเยี่ยมบ้านนักเรียน การเยี่ยมบ้านนักเรียน หมายถึง การที่ครูไปเยี่ยมพบปะกับผู้ปกครองและนักเรียนที่บ้านของ เขา อันจะช่วยให้เกิดความสัมพันธ์ที่ดีระหว่างบ้านกับโรงเรียนและทาให้ครูได้รู้ได้เห็นข้อเท็จจริง เกี่ยวกับสภาพแวดล้อมต่าง ๆ ทางบ้านของนักเรียน 1. จุดมุ่งหมายของการเยี่ยมบ้านนักเรียน การเยี่ยมบ้านมีจุดมุ่งหมายดังต่อไปนี้ 1.1 เพื่อให้ครูได้เห็นสภาพแท้จริงของสิ่งแวดล้อมและสภาพความเป็นอยู่ ทางครอบครัวของนักเรียน 1.2 เพื่อช่วยให้ครูได้รู้ถึงเจตคติของผู้ปกครองที่มีต่อครู โรงเรียน และนักเรียน 1.3 เพื่อสร้างความเข้าใจ และความสัมพันธ์อันดีระหว่างบ้านกับโรงเรียน อันจะส่งผลให้เกิดความร่วมมือที่ดีในการช่วยแก้ปัญหาหรือพัฒนานักเรียน 1.4 เพื่อเพิ่มเติมข้อมูล ข้อเท็จจริง บางประการที่เกี่ยวกับเด็กนักเรียน ที่ไม่อาจสามารถหาได้ด้วยวิธีการอื่น ๆ 2. หลักการเยี่ยมบ้านนักเรียน เพื่อให้ผู้ปกครองและนักเรียนเกิดเจตคติที่ดีต่อครูและโรงเรียนอีกทั้งยินดีให้ข้อมูลครูที่ไปเยี่ยม บ้าน จึงควรยึดหลักการดังนี้ 2.1 ก่อนไปเยี่ยมบ้านควรแจ้งให้นักเรียนทราบล่วงหน้าเพื่อไปบอกกล่าวผู้ปกครอง ก่อนว่าครูจะเยี่ยมบ้านในวันใดเวลาใด
  • 7. การศึกษารายกรณี ช (Case Study) 2.2 ครูควรตั้งจุดมุ่งหมายของการไปเยี่ยมบ้านว่าต้องการทราบข้อเท็จจริงหรือ ข้อมูล เรื่องใดบ้าง พร้อมทั้งเตรียมหัวข้อที่จะสัมภาษณ์หรือสนทนากับ ผู้ปกครองของนักเรียน เพื่อให้ได้ข้อมูลตามจุดมุ่งหมายนั้น 2.3 ศึกษาข้อเท็จจริงเกี่ยวกับตัวนักเรียนเท่าที่มีอยู่ก่อนไปเยี่ยมบ้านเพื่อการปฏิบัติ ตัวหรือถามคาถามที่เหมาะสมกับสภาพทางบ้านของนักเรียน 2.4 พยายามสร้างให้เกิดความคุ้นเคย ความอบอุ่นใจ ความมีมิตรภาพที่ดีต่อกัน 2.5 ควรสนับสนุนให้นักเรียนได้มีโอกาสร่วมวงสนทนาในระยะแรกที่ครูไปถึง 2.6 พยายามให้ผู้ปกครองได้มีโอกาสแสดงความคิดเห็นและความรู้สึกต่าง ๆ ออกมาให้มากในเรื่องที่สนทนากัน 2.7 หลีกเลี่ยงการการตาหนิติเตียน การวิพากษ์วิจารณ์เกี่ยวกับตัวนักเรียน ผู้ปกครอง ครูหรือโรงเรียน 2.8 การเยี่ยมบ้านควรคานึงถึงความเหมาะสมของเวลาที่ไปเยี่ยมและระยะเวลา ที่เยี่ยมบ้านโดยไม่ควรใช้เวลาอย่างเร่งรีบ แต่ไม่ควรจะอยู่นานจนเกินไป 2.9 รีบจดบันทึกข้อมูลที่ได้ทันทีหลังจากกลับจากการเยี่ยมบ้าน ซึ่งอาจใช้แบบรายงานการเยี่ยมบ้านตามลักษะแต่ละโรงเรียน
  • 8. การศึกษารายกรณี ซ (Case Study) สารบัญ เรื่อง หน้าที่ ความนา ก คามหมายของการศึกษารายกรณี ก วัตถุประสงค์ของการศึกษารายกรณี ก การรวบรวมข้อมูล ข แหล่งที่มาของข้อมูล ข ขอบเขตของการศึกษารายกรณี ค การเยี่ยมบ้านนักเรียน ง จุดมุ่งหมายของการเยี่ยมบ้านนักเรียน ง หลักการเยี่ยมบ้านนักเรียน ง การศึกษารายกรณี นาย ศักรินทร์ ศรีขาว 1 ข้อมูลของผู้รับการศึกษารายกรณี 2 ประวัติครอบครัว 3 ประวัติด้านการศึกษา 4 เทคนิคและวิธีการใช้เครื่องมือ 5 สรุปเทคนิคและวิธีการที่ใช้เครื่องมือในการรวบรวม 6 ระเบียนสะสม 6 ข้อมูลส่วนตัว 7 แบบบันทึกการเยี่ยมบ้าน 7 แบบประเมินพฤติกรรมเด็ก (SDQ) 8 - ฉบับผู้ปกครองเป็นผู้ประเมินนักเรียน 8 - ฉบับครูเป็นผู้ประเมินนักเรียน 8 - ฉบับนักเรียนประเมินตนเอง 8 แบบประเมินความฉลาดทางอารมณ์ (EQ) 8 แบบคัดกรองนักเรียนรายบุคคล 9 แบบประเมินพหุปัญหา 9
  • 9. การศึกษารายกรณี ฌ (Case Study) สารบัญ เรื่อง หน้าที่ แบบวัดโรคซึมเศร้า 10 แบบสารวจการดารงชีวิต 10 ภาคผนวก 11 แฟ้มภาพการเยี่ยมบ้าน แบบฟอร์มการศึกษาและเก็บข้อมูล
  • 10. การศึกษารายกรณี 1 (Case Study) การศึกษารายกรณี (Case Study) นาย ศักรินทร์ ศรีขาว ชื่อเล่น น้องเหมียว เกิดเมื่อวันที่ ๒ เดือนเมษายน พ.ศ.๒๕๔๓ อายุ๑๖ ปี กาลังศึกษาอยู่ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ ๔/๖ เลขที่ ๙ โรงเรียนเหนือคลองประชาบารุง นาย ธัญญา ซื่อตรง อายุ๓๖ ปี นักศึกษา คณะครุศาสตร์ สาขา ประกาศนียบัตรวิชาชีพครู มหาวิทยาลัยราชภัฏ นครศรีธรรมราช นายศักรินทร์ ศรีขาว เป็นเด็กที่เวลาอยู่คนเดียว เป็นเด็กเหม่อลอย ไม่ค่อยพูด บางครั้งเงียบ ขรึม แต่เวลาเข้ากลุ่มกับเพื่อนๆชอบหยอกล้อเพื่อน เพื่อดึงดูดความสนใจตัวเอง และชวนเพื่อนเล่นใน ห้องเรียนไม่มีความกระตือรือร้นในการเรียน ไม่ชอบทากิจกรรมกลุ่มภายในห้องเรียน แต่มีนิสัยชอบ เล่นกีฬาฟุตบอล ได้รับการคัดเลือกเป็นนักกีฬาฟุตบอลโรงเรียนในการเข้าร่วมแข่งขันกีฬาจังหวัด แต่มีพฤติกรรมที่ควรได้รับการดูแลแก้ไข คือ เวลาครูสั่งงาน จะไม่ทางานส่งครูเกือบทุกวิชา ทาให้เกิด เกิดการ ติด ร ๐ มส ในรายวิชานั้นๆ ชื่อผู้รับการศึกษา ชื่อผู้ทาการศึกษา สาเหตุที่ศึกษา
  • 11. การศึกษารายกรณี 2 (Case Study) วันที่ ๑ กุมภาพันธ์ ๒๕๕๙ ถึง วันที่ ๓๑ มีนาคม ๒๕๕๙ รวมเวลา ๑ เดือน ลักษณะทางกาย นายศักรินทร์ ศรีขาว มีรูปร่างผอม ผิวดา สูงประมาณ ๑๖๕ เซนติเมตร น้าหนัก ๔๕ กิโลกรัม ใบหน้ากลมเรียว ผมสีดา กริยาท่าทางไม่คล่องแคล่ว สุขภาพแข็งแรง แต่งกายเรียบร้อย สะอาดสะอ้าน ลักษณะทางอารมณ์ เด็กเป็นคนอารมณ์ไม่ค่อยดี ไม่ค่อยยิ้มแย้มแจ่มใส ไม่กล้าแสดงออกในทางที่ถูกต้องพึงพอใจ เมื่อได้รับการยอมรับเพื่อนๆ ลักษณะทางสังคม เนื่องจากเด็กชายศักรินทร์ ศรีขาว เป็นนักเรียนที่ครอบครัวมีปัญหา ตนเองจึงพยายามสร้าง จุดเด่นให้ตนเอง ให้ครอบครัวและเพื่อนๆยอมรับในสิ่งที่ตนเองกระทา ไม่ว่ากระทาถูกหรือผิด แต่ก็ ยังมีจิตสาธรณะในการชอบช่วยเหลือผู้อื่นอยู่บ้างเป็นครั้งคราว สามารถเข้ากับเพื่อนรุ่นเดียวกันได้ อย่างดี มากกว่าเพื่อนรุ่นอื่น หลังเลิกเรียนเด็กจะต้องไปตัดหญ้าจ้างให้วัวชนทุกวัน หรือเสาร์อาทิตย์ เด็กจะไปตัดปามล์จ้าง จนไม่ได้ทาการบ้านหรืองานที่ครูสั่งให้เสร็จ สรุปได้ว่า เด็กไม่ค่อยมีมนุษยสัมพันธ์กับเพื่อนๆต่างรุ่น ไม่ค่อยกล้าแสดงออกในทางที่ถูก พยามยามสร้างจุดเด่นให้กับตัวเองให้เพื่อนๆยอมรับในสิ่งที่ตนเองเป็น ข้อมูลของผู้รับการศึกษา วันเริ่มต้นและระยะเวลาที่ศึกษา ลักษณะทั่วไป
  • 12. การศึกษารายกรณี 3 (Case Study) ลักษณะทางสติปัญญา ผลการประเมินการเรียนรู้ที่ผ่านมา นายศักรินทร์ ศรีขาว เป็นนักเรียนที่มีความสามารถปกติ เหมือนกับเด็กทั่วๆไป แต่ยังขาดความรับผิดชอบต่อหน้าที่ของตนเอง เด็กจะชอบวิชาพลศึกษา ศิลปศึกษา คอมพิวเตอร์ ดนตรี มากกว่าวิชาอื่นๆ อยู่ ครอบครัวมีทั้งหมด ๑๐ คน คือ บิดาชื่อ นายนิรุติ ศรีขาว มารดาชื่อ นางอ้อมใจ กุลสวน นายศักรินทร์ ศรีขาว มีพี่น้องร่วมมารดาเดียวกัน คือเด็กชายหมู ศรีขาว กาลังศึกษาอยู่ชั้น ประถมศึกษาปีที่ ๔ มารดาและบิดาหย่าร้างกัน บ้านพักอาศัยเป็นบ้านส่วนตัว อาศัยอยู่กับมารดามี อาชีพรับจ้างทั่วไป เมื่อกลับบ้านเด็กจะไม่ได้ทาการบ้าน เพราะต้องออกไปตัดหญ้าจ้างให้วัวชนพอเสร็จก็ออกไปเล่น กับเพื่อนๆบางครั้งมารดา ปู่ ย่า ก็จะใช้ช่วยงานเล็กๆน้อยๆ เช่น ไปซื้อของที่ร้านของชาใกล้บ้าน เมื่อ เสร็จงาน นายศักรินทร์ ศีขาว ก็จะออกไปเล่นกีฬาฟุตบอล เล่นเกมคอมพิวเตอร์ ซ้อมดนตรี หรือ ออกไปเที่ยวกับเพื่อนๆ จนไม่ได้ทาการบ้านที่ครูสั่ง แต่ส่วนใหญ่จะออกไปเที่ยวกับเพื่อนมากกว่า กลับบ้านดึกดื่น มารดาของนายศักรินทร์ ศรีขาว ประกอบอาชีพ รับจ้างทั่วไป รายได้ไม่แน่นอน ไม่ได้ทางานทุก วัน รายได้ต่อเดือน ประมาณ ๕,๐๐๐ บาท รวมเป็นรายได้ของครอบครัวต่อเดือนประมาณ ๕,๐๐๐ บาท ซึ่งต้องใช้จ่ายในครอบครัว ศักริทร์จะได้เงินมาโรงเรียนวันละ ๓๐ บาท อาหารกลางวันซื้อจาก ทางโรงเรียน ปัจจุบันศักรินทร์ อาศัยอยู่กับมารดา ปู่ ย่า บ้านอยู่ห่างจากโรงเรียน ประมาณ ๕กิโลเมตร เป็น บ้านปูนชั้นเดียว อาศัยอยู่กับครอบครัว ๑๐ คน ครอบครัวให้ความรักศักรินทร์ได้ไม่มากเพราะ มารดาศักริทร์มีลูกต่างพ่อ อีก ๓ คน มารดาต้องทางาน ย่า กับปู่ที่คอยช่วยดูแลหลานๆกันเท่าที่ทาได้ ประวัติครอบครัว ฐานะทางเศรษฐกิจ ไม่ได้ษฐกิจ สภาพครอบครัวในปัจจุบัน
  • 13. การศึกษารายกรณี 4 (Case Study) ศักรินทร์เข้าศึกษาชั้นประถมศึกษา ปีที่ ๑,๖ ที่โรงเรียนวัดธรรมมาวุธสรณาราม แล้วมาศึกษา ต่อมัธยมศึกษาโรงเรียนเหนือคลองประชาบารุง อาเภอเหนือคลอง จังหวัดกระบี่ โรงเรียนห่างจาก บ้านประมาณ ๕ กิโลเมตร เดินทางไปโรงเรียนด้วยจักรยาน โรงเรียนเหนือคลองประชาบารุงเป็น โรงเรียนที่อยู่ใกล้บ้าน มีความสะดวกสบาย ในการไปรับไปส่งของผู้ปกครอง สุขภาพร่างกายแข็งแรงดี ชอบเล่นกีฬาฟุตบอล ศักรินทร์ มีความหวังไว้๒ อย่างคือ อยากเป็นนักฟุตบอลอาชีพ และนักดนตรี เพื่ออนาคตจะได้ ช่วยเหลือครอบครัว เด็กรักบิดา และมีความใกล้ชิดกับบิดา เมื่อโตขึ้นบิดาต้องการให้เด็ก รับราชการตารวจ เวลาเด็ก เลิกเรียนบางครั้งบิดาจะเป็นคนไปรับ เมื่อวันไหนที่บิดาอยู่บ้านเด็กจะไม่ออกไปไหนจะเล่นและอ่าน การ์ตูนเรื่องโปรดให้พ่อฟังบ่อยๆ เด็กรัก และมีความใกล้ชิดกับมารดา ส่วนมากมารดาจะเป็นผู้ไปรับ-ส่ง ไปโรงเรียน วันหยุดเด็กจะ อยู่กับแม่เป็นส่วนใหญ่ แม่เป็นคนดูแลทุกอย่างทั้งเรื่องอาหารการกิน เวลาเลิกเรียนแม่จะเป็นคนสอน ให้ทาการบ้าน วันไหนที่แม่ไม่ว่าพี่สาวจะเป็นคนสอนแทน ประวัติด้านการศึกษา ประวัติด้านสุขภาพ ความใฝ่ ฝันในอนาคต เจตคติที่มีต่อบิดา เจตคติที่มีต่อมารดา
  • 14. การศึกษารายกรณี 5 (Case Study) เด็กรักและให้ความสาคัญกับคนในครอบครัว รักบิดามารดาและพี่สาว เมื่ออยู่บ้านเด็กจะมีความสุข มากกว่าไปโรงเรียน เด็กบอกว่าชอบให้ถึงวันเสาร์-อาทิตย์เร็วๆๆเพราะจะได้ไปอยู่บ้าน เล่นกับเพื่อน เด็กเป็นคนยิ้มแย้มแจ่มใส พูดเก่ง พูดจาผม-ครับ ซึ่งครูประจาชั้นและเพื่อนบ้านชื่นชมเป็นประจา ที่เด็กพูดจาสุภาพ มีอัทยาศัยดี เข้ากับคนอื่นได้ง่าย เวลาว่างจะเล่นฟุตบอลกับเพื่อน ๑. ระเบียนสะสม ๒.ข้อมูลส่วนตัว ๓.แบบบันทึกเยี่ยมบ้านนักเรียน ๔.แบบประเมินพฤติกรรมเด็ก ( SDQ ) ๕.แบบประเมินความฉลาดทางอารมณ์ (EQ) ๖.แบบคัดกรองนักเรียนเป็นรายบุคคล ๗.แบบประเมินพหุปัญหา ๘.แบบวัดโรคซึมเศร้า ๙.แบบสารวจทักษะการดารงชีวิต เจตคติที่มีต่อครอบครัว เจตคติที่มีต่อผู้อื่น เทคนิคและวิธีการที่ใช้เครื่องมือในการรวบรวม ข้อมูล
  • 15. การศึกษารายกรณี 6 (Case Study) ระเบียนสะสม นายศักรินทร์ ศรีขาว ชื่อเล่น เหมียว เกิดเมื่อวันที่ ๒ เมษายน พ.ศ.๒๕๔๓ อายุ๑๖ ปี กาลัง ศึกษาอยู่ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ ๔ โรงเรียนเหนือคลองประชาบารุง บิดาชื่อ นายนิรุติ ศรีขาว มารดาชื่อ นางอ้อมใจ กุลสวน บิดาและมารดาเป็นคนอาเภอเหนือคลอง จังหวัดกระบี่ ด้านร่างกาย-ร่างกายแข็งแรง รูปร่างหน้าตาพอใช้ รูปร่างทรวดทรงค่อนข้างอ้วน ผิวกาย ค่อนข้างดา ใบหน้าเกลี้ยง น้าหนัก ๔๕ กิโลกรัม ส่วนสูง ๑๖๕ เซนติเมตร ด้านสุขภาพ-ไม่มีโรคประจาตัว ไม่เคยมีประวัติอุบัติเหตุ ด้านเศรษฐกิจ – ค่อนข้างลาบาก ต้องทางานรับจ้างตัดปามล์ เฉลี่ยวันละ ๒๐๐ บาท ไม่ได้ตัด ทุกวัน ตัดเฉพาะโรงเรียนปิด เสาร์-อาทิตย์ ได้เงินมาโรงเรียนวันละ ๓๐ บาท ด้านเกี่ยวกับการเรียน – การเรียนเรียนไม่ค่อยเก่งแต่มีความสามารถทางด้านการกีฬา และด้าน ดนตรี ด้านเกี่ยวกับมนุษย์สัมพันธ์และบุคลิกภาพ– บางครั้งชอบทาตัวเป็นผู้นาในการรวมกลุ่มกับ เพื่อนๆ เข้าสมาคมกับเพื่อนๆง่าย ด้านเกี่ยวกับสุขภาพจิตและค่านิยม– มองโลกในแง่ดี แต่บางครั้งก็รู้สึกว่าตัวเองเหมือนอยู่ใน โลกนี้เพียงลาพัง อยากให้สังคมน่าอยู่ พึ่งพาอาศัยกัน ช่วยเหลือ มีความสามัคคีกัน ด้านเป้ าหมายของชีวิตในอนาคต-ควมฝันอยากเป็นนักฟุตบอล ด้านปัญหาที่ข้าพเจ้ากาลังประสบอยู่ในขณะนี้-ส่วนมากมีปัญหาเกี่ยวกับเรื่องครอบครัว การเงิน และการคบเพื่อน สรุปเทคนิคและวิธีการที่ใช้เครื่องมือในการรวบรวม ข้อมูล
  • 16. การศึกษารายกรณี 7 (Case Study) ข้อมูลส่วนตัว นายศักรินทร์ ศรีขาว ชื่อเล่น เหมียว ชั้น ม. ๔/๖ เลขที่ ๙ เลขประจาตัวนักเรียน ๑๓๕๑๘ เลขบัตรประชาชน ๑๘๑๐๘๐๐๐๓๙๕๔๙ เกิดวันที่ ๒ เมษายน ๒๕๔๓ อายุ ๑๖ ปี ศาสนา พุทธ หมู่เลือด โอ อาศัยอยู่ที่ ๙๙ หมู่ ๕ ตาบลปกาสัย อาเภอเหนือคลอง จังหวัดกระบี่ บิดาชื่อ นายนิรุติ ศรีขาว มารดาชื่อ นางอ้อมใจ กุลสวน สถานะหย่าร้างกัน บิดาทางานช่าง ซ่อมรถจักยานต์ มารดามีอาชีพ รับจ้างทั่วไป มีรายได้ไม่แน่นอน ประมาณเฉลี่ยเดืนอละ ๕,๐๐๐ บาท นักเรียนอาศัยอยู่กับมารดา มีพี่น้องรวม ๕ คน นักเรียนได้เงินมาโรงเรียนวันละ ๓๐ บาท สุขภาพดี นอนวันละ 8-10 ชั่วโมง/วัน ส่วนสูง ๑๖๕ เซนติเมตร น้าหนัก ๔๕ กิโลกรัม กีฬาที่ ชอบ คือ ฟุตบอล งานอดิเรกเล่นเกมดนตรี เกมส์ ดูโทรทัศน์ วิชาที่ชอบ ภาษาไทย พละศึกษา ดนตรี ไม่ชอบวิชา ภาษาอังกฤษ โตขึ้นอยากมีอาชีพเป็นนัก ฟุตบอลและนักดนตรี เมื่ออยู่บ้านชอบเล่นสนุกกับเพื่อนในละแวกบ้าน ไม่สบายใจเรื่องแม่มารับกลับ จากโรงเรียนช้าบ่อยครั้ง และอยากได้เครื่องเล่นเกมส์ แบบบันทึกการเยี่ยมบ้าน 1. ลักษณะภายนอกตัวบ้านปูนชั้นเดียวพื้นที่รอบบ้านไม่กว้างนัก 2. ภายในบ้าน- สะอาดเรียบร้อย สิ่งของภายในบ้านเป็นระเบียบ 3. นักเรียนอาศัยกับ ตา-ยาย มารดา ทวด มีสมาชิกทั้งหมดในบ้าน ๑๐ คน 4. ลักษณะของบิดามารดา-บิดารูปร่างผอมเล็ก มารดาค่อนข้างอ้วนสูง เป็นมิตร ยิ้มแย้ม 5. เจตคติผู้ปกครองที่มีต่อนักเรียน- รักและเอาใจใส่ ส่งเสริมด้านการเรียน 6. เจตคติของผู้ปกครองที่มีต่อโรงเรียน- มีความพร้อม ครูเป็นมิตร ดูแลนักเรียนดี 7. มารดา เป็นผู้สอนการบ้าน เด็กเอาใจใส่ ซักถามเมื่อไม่เข้าใจ 8. เด็กไม่คอยทาตามผู้ปกครองเพราะเข้าสู่วัยรุ่น 9. ควรควบคุมการเล่นเกมส์ของเด็กให้เหมาะสม เพราะอาจเกิดผลกระทบต่อการเรียน 10. เด็กช่วยไปซื้อของที่ร้านของชาใกล้บ้านบางครั้ง 11. ที่อยู่๙๙ หมู่ ๙ ตาบลปกาสัย อาเภอเหนือคลอง จังหวัดกระบี่ ๘๑๑๓๐ 12. สิ่งที่เด็กชอบและสนใจ คือ เล่นฟุตบอล เล่นดนตรี เล่นเกมส์โทรศัพท์
  • 17. การศึกษารายกรณี 8 (Case Study) 13. เด็กไม่ชอบนอนกลางวัน แบบประเมินพฤติกรรมเด็ก (SDQ) ฉบับผู้ปกครองเป็นผู้ประเมินนักเรียน ผลการสรุปการประเมิน นายศักรินทร์ ศรีขาว พฤติกรรมด้านอารมณ์ ,พฤติกรรมด้านเกเร อยู่ในขั้นมีปัญหา พฤติกรรมด้านไม่อยู่นิ่ง อยู่ในขั้นเสี่ยง พฤติกรรมด้านสัมพันธ์กับเพื่อน อยู่ในขั้น ปกติ สรุปจากการประเมินด้านที่ ๑-๔ นักเรียนอยู่ในกลุ่มที่มีปัญหา และเสี่ยง ส่วนพฤติกรรมด้าน สัมพันธภาพทางสังคม มีจุดแข็ง แบบประเมินพฤติกรรมเด็ก (SDQ) ฉบับครูเป็นผู้ประเมินนักเรียน ผลการสรุปการประเมิน นายศักรินทร์ ศรีขาว พฤติกรรมด้านอารมณ์ ,พฤติกรรมด้านเกเร อยู่ในขั้นมีปัญหา พฤติกรรมด้านไม่อยู่นิ่ง อยู่ในขั้นเสี่ยง พฤติกรรมด้านสัมพันธ์กับเพื่อน อยู่ในขั้น เสี่ยง สรุปจากการประเมินด้านที่ ๑-๔ นักเรียนอยู่ในกลุ่มที่มีปัญหา และเสี่ยง ส่วนพฤติกรรมด้าน สัมพันธภาพทางสังคม มีจุดแข็ง แบบประเมินพฤติกรรมเด็ก (SDQ) ฉบับนักเรียนประเมินตนเอง ผลการสรุปการประเมิน นายศักรินทร์ ศรีขาว พฤติกรรมด้านอารมณ์ อยู่ในขั้นปกติ พฤติกรรมด้านเกเร อยู่ในขั้นเสี่ยง พฤติกรรมด้านไม่อยู่นิ่ง อยู่ในขั้นปกติ พฤติกรรมด้านสัมพันธ์ กับเพื่อน อยู่ในขั้น เสี่ยง สรุปจากการประเมินด้านที่ ๑-๔ นักเรียนอยู่ในกลุ่มที่มีปัญหา ส่วนพฤติกรรมด้านสัมพันธภาพทางสังคม มีจุดแข็ง แบบประเมินความฉลาดทางอารมณ์ (EQ) ผลการสรุปการประเมิน นายศักรินทร์ ศรีขาว พฤติกรรมด้านดี อยู่ในขั้นต่ากว่าปกติ พฤติกรรมด้านเก่ง อยู่ในขั้นปกติ พฤติกรรมด้านสุข อยู่ในขั้นปกติ สรุปโดยสามด้านนักเรียนอยู่ใน ขั้นปกติ
  • 18. การศึกษารายกรณี 9 (Case Study) แบบคัดกรองนักเรียนรายบุคคล ผลการสรุปการประเมิน นายศักรินทร์ ศรีขาว ๑. ความสามารถพิเศษ-นักเรียนชอบการวาดภาพ การเล่นดนตรี และวิชาพลศึกษา ๒.ด้านการเรียน- อยู่ในกลุ่มเสี่ยงและมีปัญหา ๓.ด้านสุขภาพ-อยู่ในขั้นปกติ ๔.ด้านเศรษฐกิจ-อยู่ในขั้นมีปัญหา ๕. ด้านสวัสดิภาพและความปลอดภัย-อยู่ในกลุ่มเสี่ยงและมีปัญหา ๖.ด้านพฤติกรรมการใช้สารเสพติด-อยู่ในกลุ่มเสี่ยง ๗.ด้านพฤติกรรมการใช้ความรุนแรง-อยู่ในกลุ่มเสี่ยง ๘.ด้านพฤติกรรมทางเพศ-อยู่ในกลุ่มเสี่ยง ๙.ด้านการติดเกมส์-อยู่ในกลุ่มเสี่ยงและมีปัญหา ๑๐ นักเรียนไม่มีความต้องการพิเศษ ๑๑.ด้านการใช้เครื่องมือสื่อสารอิเล็กทรอนิกส์-อยู่ในกลุ่มเสี่ยงและมีปัญหา ๑.ปัญหาด้านดนตรี- นักเรียนมีความสามารถในการเล่นดนตรี ชอบร้องเพลง ฟังเพลง ๒.ปัญหาด้านร่างกายและการเคลื่อนไหว-นักเรียนชอบแสดงออกในการเล่นกีฬา,ชอบเล่นเกมส์, ดนตรี ๓.ปัญหาด้านตรรกะและคณิตศาสตร์-นักเรียนชอบเกี่ยวกับการคานวณ การคาดคะเน,การพิสูจน์ ,ทด ลอง,หาเหตุผล ๔.ปัญหาด้านภาษา-นักเรียนสามารถเล่าเรื่องราวต่างๆในชีวิตประจาวันได้ดี ๕.ปัญหาด้านมิติสัมพันธ์-นักเรียนชอบวาดรูป,ดูหนังฟังเพลง,ชอบการออกแบบสร้างจินตนาการ ๖.ปัญหาด้านมนุษย์สัมพันธ์-นักเรียนชอบอยู่กับกลุ่มเพื่อนๆ กล้าแสดงออก,ชอบสังสรรค์,ชอบคบ เพื่อเยอะ สามารถเป็นผู้นาเพื่อนๆได้ ๗.ปัญหาด้านธรรมชาติแวดล้อม-นักเรียนชอบอยู่ตามสถานที่ที่เป็นธรรมชาติ ชอบทางานกลางแจ้ง , ชอบทาเลียนเสียงสัตว์ต่างๆได้เก่ง แบบประเมินพหุปัญหา
  • 19. การศึกษารายกรณี 10 (Case Study) ๘.ปัญหาด้านการเข้าใจตนเอง-นักเรียชอบความอิสระ ได้ทาอะไรด้วยตนเองจะมีความภาคภูมิใจใน ตนเอง มีจุดเด่นเป็นของตนเอ อาการพฤติกรรมความรู้สึก ผลการสรุปนักเรียนอยู่ในขั้นปกติ ๑. ทักษะการเรียนรู้-นักเรียนสารถค้นคว้าหาความรู้ได้ด้วยตนเองชอบหาประสบการณ์ใหม่ๆจาก โรงเรียนและนอกโรงเรียน มีความคิดริเริ่มสร้างสรรค์ นาความรู้ที่ได้ไปใช้ประโยชน์ใน ชีวิตประจาวันได้ ๒.ทักษะการจัดการตนเอง-นักเรียนสามารถใช้เวลาว่างให้เกิดประโยชน์ ชอบดูแลร่างกายและสุขภาพ ตนเองอยู่เสมอ มีความฉลาดในการบริโภคสินค้า และเครื่องใช้สอยในชีวิตประจาวัน ๓.ทักษะทางสังคม-นักเรียนสามารสื่อสาร สื่อความหมายได้ดี ทั้งการพูด การเขียน สารถตอบรับ หรือปฏิเสธได้ มีจิตสาธารณะ ๔.ทักษะการจัดการและสร้างแรงอาชีพ- นักเรียนมีประสบการณ์ในการทางานและสามารถดารงเลี้ยง ชีพตนเองได้ หาอาชีพในวันหยุดเรียนได้ เช่น เสาร์-อาทิตย์ หรือปิดเทอม ลงชื่อ…………………………… (นาย ธัญญา ซื่อตรง ) ผู้ทาการศึกษา แบบวัดโรคซึมเศร้า แบบสารวจการดารงชีวิต
  • 22. การศึกษารายกรณี 13 (Case Study) ขณะเตรียมความพร้อมที่จะไปตัดหญ้าให้วัวชน ที่เขาชอบและรัก บริเวณที่เลี้ยงวัวชนและคอกวัวชน
  • 23. การศึกษารายกรณี 14 (Case Study) บริเวณภายนอก - ภายในบ้านพักที่อยู่อาศัย
  • 24. การศึกษารายกรณี 15 (Case Study) ห้องนอน นาย ศักรินทร์ ศรีขาว ห้องนอนต่างๆ ภายในบ้าน
  • 25. การศึกษารายกรณี 16 (Case Study) บริเวณภายนอก - ภายในบ้านพักที่อยู่อาศัย ห้องครัว และ หน้าบ้าน
  • 26. การศึกษารายกรณี 17 (Case Study) ห้องนอนของทวด ที่พิการ( ตาบอด) สมาชิกในครอบครัว
  • 27. การศึกษารายกรณี 18 (Case Study) แบบฟอร์มการศึกษาและเก็บข้อมูล ๑. ระเบียนสะสม ๒.ข้อมูลส่วนตัว ๓.แบบบันทึกเยี่ยมบ้านนักเรียน ๔.แบบประเมินพฤติกรรมเด็ก ( SDQ ) ๕.แบบประเมินความฉลาดทางอารมณ์ (EQ) ๖.แบบคัดกรองนักเรียนเป็นรายบุคคล ๗.แบบประเมินพหุปัญหา ๘.แบบวัดโรคซึมเศร้า ๙.แบบสารวจทักษะการดารงชีวิต