SlideShare une entreprise Scribd logo
1  sur  52
Télécharger pour lire hors ligne
ปีที่ 34 ฉบับที่ 1 มกราคม-มีนาคม 2556   ฉบับอิเล็กทรอนิกส์ 12
ปีที่ 34 ฉบับที่ 1 มกราคม-มีนาคม 2556    ฉบับอิเล็กทรอนิกส์ 12




                      สารบัญ
บทความ

 2    แนวโน้มสถานการณ์ราคายาง ปี 2556

 7    อนาคตยางพารากับประชาคมเศรษฐกิจอาเซียน


17    วิถีตลาดยางปี 2555

26    ตลาดกลางยางพาราไทย ก้าวไกลสู่ตลาดโลก

33    สรุปสถานการณ์ราคายางพาราในไตรมาสที่ 4 ของปี
      พ.ศ. 2555 และแนวโน้มในไตรมาสที่ 1 ของปี พ.ศ. 2556


ประจำฉบับ
เตือนภัยสวนยาง
38    พืชผลิตยางธรรมชาติรายใหม่ : วายยูเล่

ข่าวสถาบันวิจัยยาง
47    บรรจุแต่งตั้งผู้สอบแข่งขันได้...



ภาพปก (บนสุ ด ) : โมเดลอาคารสำนั ก งานตลาดข้ อ ตกลงส่ ง มอบจริ ง
ประเทศไทย ตั้งอยู่ที่สำนักงานตลาดกลางยางพารานครศรีธรรมราช ต.จันดี
อ.ฉวาง จ.นครศรีธรรมราช กำหนดเปิดทำการเดือนพฤษภาคม พ.ศ.2556
บทบรรณาธิการ
การเพิ่มมูลค่าทางเศรษฐกิจยางต้องเน้นการตลาด
	          การผลิตยางธรรมชาติของไทยปี 2555 มีปริมาณทั้งสิ้น                     เป็นสิ่งจำเป็นต่อการวางแผนพัฒนายางพาราทั้งระบบ เพื่อสร้าง
3,776,957 ตัน เพิ่มขึ้นจากปี 2554 จำนวน 207,924 ตัน หรือ                        ความพร้ อ มภาคธุ ร กิ จ การตลาดและเศรษฐกิ จ ซึ่ ง ขณะนี้ ไ ด้ เ ริ่ ม
ร้อยละ 8.73 ในจำนวนนี้ส่งออกยางมาตรฐาน 2,556,103 ตัน                            เผยแพร่ แ ล้ ว ทางสื่ อ อี เ ลคโทรนิ ค www.rubberthai.com เพื่ อ
ลดลงจากปี 2554 จำนวน 56,336 ตั น หรื อ ร้ อ ยละ 2.16                            ร่ ว มบริ ห ารความเสี่ ย งของภาคเกษตรกรและเพื่ อ สร้ า งความ
ส่วนยางผสมสารเคมี 565,218 ตัน เพิ่มขึ้นจากปี 2554 จำนวน                         เข้มแข็งภาคการตลาดของประเทศไทยในระดับสากล
225,276 ตั น หรื อ ร้ อ ยละ 66.27 จากอุ ป ทานเพิ่ ม มากขึ้ น และ                	           นอกจากนี้ สถาบั น วิ จั ย ยางยั ง ตั้ ง หวั ง จะให้ ป ระเทศไทย
ความต้ อ งการใช้ ย างของประเทศผู้ ใ ช้ ร ายใหญ่ เ พิ่ ม ขึ้ น เล็ ก น้ อ ย      เป็นฐานของตลาดยางพาราของประชาคมเศรษฐกิจอาเชี่ยนใน
เป็นปัจจัยที่สำคัญที่ทำให้ราคายางของไทยปรับตัวสูงขึ้นในช่วง                     อนาคต สถาบั น วิ จั ย ยางจึ ง วางแผนผลั ก ดั น ตลาด ข้ อ ตกลงส่ ง
ต้ น ปี (เดื อ นมกราคมจนถึ ง กลางเดื อ นกุ ม ภาพั น ธ์ ) ส่ ว นการใช้           มอบจริงของสำนักงานตลาดกลางยางพารานครศรีธรรมราช ให้
ยางในประเทศมี จ ำนวนประมาณ 504,000 ตั น เพิ่ ม ขึ้ น จากปี                      มี ก ารซื้ อ ขายในระดั บ ต่ า งประเทศ ซึ่ ง เป็ น ตลาดที่ เ ปิ ด โอกาสให้
2554 จำนวน 17,255 ตัน หรือร้อยละ 3.54 สัดส่วนการใช้ยาง                          เกษตรกรและผู้ประกอบการภายในประเทศทำข้อตกลงกับผู้ซื้อที่
ในประเทศคิดเป็นร้อยละ 13.34 ของปริมาณยางทั้งหมดที่ผลิต                          เป็นสมาชิกทั้งในและต่างประเทศได้โดยตรง และส่งมอบสินค้า
ได้หรือร้อยละ 12.17 ของบัญชีสมดุลยางพาราของไทย                                  ทั้งหมดตามข้อตกลงภายใน 10 วันทำการหลังทำสัญญาผ่านระบบ
	          ในปี 2555 มู ล ค่ า ส่ ง ออกทั้ ง หมดของยางพารา ได้ แ ก่             “ตลาดข้อตกลงส่งมอบจริงของประเทศไทย” การผลักดันตลาด
วัตถุดิบพร้อมทำผลิตภัณฑ์ยาง มูลค่าส่งออกผลิตภัณฑ์ยาง ไม้ยาง                     กลางยางพารานครศรีธรรมราช ให้มีกิจกรรมการซื้อการขายให้
พาราและผลิตภัณฑ์จากไม้ยางพาราด้วยแล้ว อุตสาหกรรมยางทั้ง                         เป็ น ที่ ย อมรั บ ในระดั บ สากล โดยผู้ ผ ลิ ต ผู้ ข ายและผู้ ซื้ อ ทั้ ง ใน
ระบบมีมูลค่าการส่งออกรวมกัน 647,906 ล้านบาท ลดลงจากปี                           และต่างประเทศเป็นผู้ผลิตและใช้ยางจริง นับเป็นก้าวใหม่ของ
2554 จำนวน 39,367 ล้านบาท หรือลดลงร้อยละ 5.73 อย่างไร                           ตลาดกลางยางพาราไทย ซึ่ ง ปั จ จุ บั น สถาบั น วิ จั ย ยางมี ต ลาด
ก็ตาม ก็ยังสูงกว่าปี 2553 จำนวน 157,777 ล้านบาท หรือร้อยละ                      กลางยางพาราเพื่ อ การวิ จั ย อยู่ จ ำนวน 6 ตลาด กระจายอยู่ ใ น
24.35 จะเห็นว่า มูลค่ายางแปรรูปมาตรฐานในปี 2555 มีมูลค่า                        6 จั ง หวั ด กล่ า วคื อ ตลาดกลางยางพาราหาดใหญ่ ( สงขลา)
ลดลงจากปี 2554 ถึง 113,614 ล้านบาท หรือร้อยละ 16.53 แต่                         นครศรีธรรมราช สุราษฏร์ธานี บุรีรัมย์ หนองคาย และยะลา นับว่า
ก็ได้รับการชดเชยรายได้ที่เพิ่มขึ้นจากภาคยางผสมสารเคมีและ                        เป็นการพัฒนา ทั้งระบบตลาดกลางของประเทศไทยให้เข้มแข็ง
ภาคผลิ ต ภั ณ ฑ์ ย างที่ มี มู ล ค่ า เพิ่ ม ขึ้ น ถึ ง 10,453 และ 64,140       สู่ระดับสากล โดยเป้าหมายว่า ในปี 2558 ซึ่งประเทศไทยจะเข้าสู่
ล้ า นบาท หรื อ ร้ อ ยละ 1.52 และ 8.37 ตามลำดั บ แต่ จ ากค่ า                   ประชาคมเศรษฐกิ จ อาเชี่ ย น (AEC) ภาคยางพาราซึ่ ง เป็ น พื ช
พยากรณ์ราคายางในปี พ.ศ. 2556 คาดว่า ราคายางแผ่นดิบตลาด                          เศรษฐกิ จ หลั ก ของหลายประเทศในกลุ่ ม ประชาคมเศรษฐกิ จ
กลางยางพาราเฉลี่ยเคลื่อนไหวอยู่ระหว่างกิโลกรัมละ 72.80 –                        อาเชี่ ย นก็ จ ะมี บ ทบาทร่ ว มเช่ น เดี ย วกั บ พื ช อื่ น และเป็ น พื ช
97.43 บาท โดยมีราคาเฉลี่ยกิโลกรัมละ 86.41 บาท ราคาปรับ                          เศรษฐกิ จ หลั ก ที่ ไ ด้ รั บ ความร่ ว มมื อ เป็ น หนึ่ ง เดี ย วในภู มิ ภ าค
ตัวลดลงจากราคาเฉลี่ยปี 2555 (เฉลี่ย 93.91 บาท/กก.) ร้อยละ                       โดยเฉพาะภาคการตลาด
7.87 ดั ง นั้ น เมื่ อ เปรี ย บเที ย บกั บ ราคาพื้ น ฐานที่ ค วรได้ เฉลี่ ย     	           สุดท้าย การจัดตั้ง “ตลาดข้อตกลงส่งมอบจริงของประเทศ
กิโลกรัมละ 101.90 บาท คิดเป็นมูลค่าทางเศรษฐกิจที่ควรได้ของ                      ไทย” สถาบั น วิ จั ย ยางยั ง หวั ง ว่ า จะเป็ น “การพั ฒ นาศั ก ยภาพ
ประเทศสูญเสียไปจำนวน 54,740 ล้านบาท ด้วยความสำคัญนี้                            เกษตรไทยให้ ส ามารถทำการผลิ ต และนำผลผลิ ต สู่ ต ลาดโลก
สถาบั น วิ จั ย ยางจึ ง ได้ จั ด ตั้ ง “ศู น ย์ วิ เ คราะห์ เ ศรษฐกิ จ และ      ด้วยตนเอง อันเป็นการเพิ่มรายได้ เพิ่มอำนาจการต่อรอง ส่งผลให้
สถานการณ์ยางพารา” เพื่อวิเคราะห์สถานการณ์การผลิตและการ                          ราคายางของประเทศมีเสถียรภาพ และสร้างมูลค่าเพิ่มจากการเพิ่ม
ใช้ยางธรรมชาติ โดยการวิจัยและพัฒนาแบบจำลองอุปทานยาง                             กระบวนการค้าภาคเกษตรกรไม่น้อยกว่า 3 พันล้านบาทต่อปี”
ธรรมชาติของไทย และศึกษากลไกในการวิเคราะห์สถานการณ์
ยางพาราและช่องทางในการเผยแพร่ข้อมูลเร่งด่วน บริการข้อมูล                                                                     นายสุจินต์ แม้นเหมือน
ให้แก่หน่วยงานภาครัฐ ภาคเอกชน และเกษตรกรชาวสวนยาง                                                                                       บรรณาธิการ
ที่ มี ค วามสนใจได้ ร่ ว มกั น ใช้ ป ระโยชน์ อ ย่ า งมี ป ระสิ ท ธิ ภ าพ อั น

   เจ้าของ สถาบันวิจัยยาง กรมวิชาการเกษตร บรรณาธิการบริหาร สุจินต์ แม้นเหมือน ผู้อำนวยการสถาบันวิจัยยาง
   บรรณาธิการ นายสุจินต์ แม้นเหมือน ผู้ช่วยบรรณาธิการ พิเชฏฐ์ พร้อมมูล กองบรรณาธิการ เอนก กุณาละสิริ,
   พรรษา อดุลยธรรม, ดร.นภาวรรณ เลขะวิพัฒณ์, ดร.พเยาว์ ร่มรื่นสุขารมย์, ดร.กฤษดา สังข์สิงห์ ผู้จัดการสื่อสิ่งพิมพ์
   ไพรั ต น์ ทรงพานิ ช ผู้ จั ด การสื่ อ อิ เ ล็ ก ทรอนิ ก ส์ สมจิ ต ต์ ศิ ข ริ น มาศ ผู้ ช่ ว ยผู้ จั ด การสื่ อ อิ เ ล็ ก ทรอนิ ก ส์ จั ก รพงศ์
   อมรทรัพย์ ผู้จัดการระบบฐานข้อมูล พิเชฏฐ์ พร้อมมูล ผู้จัดการสนทนาภาษายาง วราวุธ ชูธรรมธัช
2                     ฉบับอิเล็กทรอนิกส์ 12 มกราคม-มีนาคม 2556




แนวโน้มสถานการณ์ราคายาง ปี 25561
สถาบันวิจัยยาง กรมวิชาการเกษตร


	      ราคายางแผ่นดิบในปี 2555 เฉลี่ย 93.91 บาท/                                สถานการณ์ราคายางแผ่นดิบ
ก.ก. สืบเนื่องจากความผันผวนภาวะเศรษฐกิจโลก เช่น                                      ปี 2537 – 2555
กรณีวิกฤตสินเชื่อด้อยคุณภาพของสหรัฐอเมริกา วิกฤติ                    	       สถานการณ์ราคายางแผ่นดิบ (USS: Unsmoked
หนี้สาธารณะของสหภาพยุโรป รวมทั้งการที่เศรษฐกิจ                       Sheet Rubber) เฉลี่ย 3 แห่ง ณ ตลาดกลางยางพารา
ของจี น เริ่ ม ชะลอตั ว ลงจากที่ เ คยอยู่ ใ นระดั บ ตั ว เลข         ของประเทศไทย ได้แก่ สำนักงานตลาดกลางยางพารา
2 หลักมาโดยตลอด เหลือร้อยละ 9.1 ในปี พ.ศ. 2554                       สงขลา สำนั ก งานตลาดกลางยางพาราสุ ร าษฎร์ ธ านี
และคาดว่าจะอยู่ที่ร้อยละ 7.9 ในปีพ.ศ. 2555 ทั้งนี้                   และสำนั ก งานตลาดกลางยางพารานครศรี ธ รรมราช
จากสาเหตุดังกล่าว ส่งผลให้ความต้องการใช้ยางลดลง                      ระหว่างปี พ.ศ. 2537 – 2555 ซึ่งเป็นตัวแทนราคายาง
	      อย่ า งไรก็ ต าม แม้ ว่ า ในระยะยาวราคายาง                    ธรรมชาติ ใ นประเทศมี พื้ น ฐานความเคลื่ อ นไหวของ
ธรรมชาติจะมีแนวโน้มเพิ่มขึ้น แต่ในระยะสั้นราคายาง                    ราคายางที่ ผ่ า นมามี ทิ ศ ทางเพิ่ ม ขึ้ น เป็ น เส้ น ตรง (y =
อาจมีความผันผวนหรือปรับตัวลดลงตามภาวะเศรษฐกิจ                        0.4141x+4.9834 ; ภาพที่ 1) ตามการเคลื่อนไหวของ
โดยในทางเศรษฐศาสตร์ ร าคายางจะเคลื่ อ นไหวตาม                        ราคายางในอดีต ซึ่งถือเป็นเส้นราคาพื้นฐานที่ควรได้
วัฏจักรเศรษฐกิจซึ่งมีอยู่ 4 ระยะ ได้แก่ ระยะรุ่งเรือง                (basic remunerative price line) และเป็นการสะท้อน
ถดถอย ตกต่ ำ และฟื้ น ตั ว โดยเฉพาะหากเกิ ด วิ ก ฤติ                 มูลค่าเพิ่มของปัจจัยทางเศรษฐกิจของประเทศและของ
เศรษฐกิ จ ครั้ ง ใหญ่ ที่ มี ผ ลกระทบในวงกว้ า ง จะส่ ง ผล           โลกจากภาคการผลิตยางธรรมชาติ เมื่อพิจารณาเส้น
ให้การขยายตัวทางเศรษฐกิจของโลกลดลงอย่างมาก                           ราคาพื้นฐานที่ควรได้ดังกล่าว พบว่า ราคายางแผ่นดิบ
เช่น กรณีวิกฤติแฮมเบอร์เกอร์ของสหรัฐอเมริกา ในปี                     ของตลาดกลางยางพาราในประเทศไทยมี แ นวโน้ ม ที่
พ.ศ. 2551 หรือวิกฤติหนี้สาธารณะของสหภาพยุโรป                         เพิ่มขึ้นตามสมการเส้นราคาพื้นฐานที่ควรได้ แต่ จ าก
ในปี พ.ศ. 2555 ซึ่ ง จะเป็ น แรงผลั ก ดั น ราคายางให้                การเคลื่อนไหวของราคายางของประเทศไทยเบี่ยงเบน
ลดลงด้วย นอกจากนี้ ราคายางยังอาจได้รับผลกระทบ                        ไปจากราคาพื้นฐานที่ควรได้ (remunerative price)
จากนโยบายของแต่ ล ะประเทศ โดยเฉพาะประเทศ                             ที่ระดับกิโลกรัมละ 96.94 บาท ในปี พ.ศ. 2555 ขณะ
ผู้ผลิตหรือผู้ใช้ยางรายใหญ่ เช่น ประเทศจีน ได้ควบคุม                 ที่ ร าคายางที่ ซื้ อ ขายจริ ง เฉลี่ ย อยู่ ที่ กิ โ ลกรั ม ละ 93.80
การเจริญเติบโตทางเศรษฐกิจ โดยปรับลดการขยายตัว                        บาท ซึ่งต่ำกว่าราคาพื้นฐานที่ควรได้ กิโลกรัมละ 3.14
ทางเศรษฐกิจตามแผนพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมแห่ง                           บาท คิดเป็นมูลค่าทางเศรษฐกิจที่ควรได้ของประเทศ
ชาติ ฉบับที่ 12 (ปี พ.ศ. 2554 - 2558) เหลือเพียงร้อยละ               สูญเสียไปจำนวน 28,111 ล้านบาท (ภาพที่ 2)
7.0


	 รายงานของคณะทำงานวิเคราะห์สถานการณ์ยาง สถาบันวิจัยยาง กรมวิชาการเกษตร, ธันวาคม 2555
1
3                                      ฉบับอิเล็กทรอนิกส์ 12 มกราคม-มีนาคม 2556
                1                                                   3                                       2537     2555

                (                   )
       200                  1                                        3                                2537         2555
       180
       160                  (               )
       140 200
       120 180
       100 160                                      y = 0.4141x+4.9834
        80 140
        60 120
        40 100                                        y = 0.4141x+4.9834
                    80
        20
                    60                                                                                                          . .
            -
                    40
                    20
                        -                                                                                                 . .
                2
ภาพที่ 1 กราฟแสดงราคายางแผ่นดิบเฉลี่ย 3 ตลาด และเส้นราคาพื้นฐานที่ควรได้ ตั้งแต่ปี 2537 ถึง 2555

                            2
                    (                   )
      200

      180                       (               )
                200
      160
                180
      140
                160
      120
                140
      100
                120
        80 100

        60 80

        40 60                                                                                         28,111
                                                                                                   28,111
        20 40
          - 20                                                                                                                  . .
                        -                                                                                                 . .

                                                             Forecast USS          USS 3 CRM
                                                               Forecast USS        USS 3 CRM


ภาพที่ 2 กราฟแสดงราคายางแผ่นดิบของไทย แนวโน้มราคายางแผ่นดิบไทย มูลค่าที่สูญเสีย และค่าการพยากรณ์ราคายางแผ่นดิบ
4                        ฉบับอิเล็กทรอนิกส์ 12 มกราคม-มีนาคม 2556

         แนวโน้มราคายางปี พ.ศ. 2556                                         ตารางที่ 1 แสดงการพยากรณ์ราคายาง
	         สถาบั น วิ จั ย ยาง ได้ พ ยากรณ์ ร าคายางแผ่ น ดิ บ                แผ่นดิบตลาดกลางยางพาราปี 2556
ตลาดกลางยางพาราเฉลี่ยปี 2556 โดยเปรียบเทียบการ                                   โดยวิธี Hybrid forecasting
พยากรณ์ 3 วิธี ได้แก่ วิธี ARIMA (Autoregressive
Integrated Moving Average Model) วิ ธี Hybrid
                                                                                                       หน่วย : บาท/กิโลกรัม
Forecasting ซึ่ ง เป็ น การพยากรณ์ ด้ ว ยวิ ธี ARIMA
ร่วมกับวิธีโครงข่ายประสาทเทียม (Neuron Network)                             ปี 2556                            ราคาเฉลี่ย
และวิ ธี Exponential Smoothing ผลการพยากรณ์                               มกราคม		                                 93.47
พบว่ า วิ ธี Hybrid Forecasting เป็ น วิ ธี ที่ มี ค วาม                  กุมภาพันธ์		                             89.51
น่ า เชื่ อ ถื อ มากที่ สุ ด เพราะมี ค่ า ความคลาดเคลื่ อ น               มีนาคม		                                 76.46
น้อยที่สุด โดยมีค่าความคลาดเคลื่อนเฉลี่ยกำลังสอง                          เมษายน		                                 84.26
(Root Mean Square Error : RMSE) เท่ า กั บ                                พฤษภาคม		                                84.06
1.512 จึ ง นำมาใช้ ใ นการพยากรณ์ ร าคายางปรากฏ                            มิถุนายน		                               72.80
ผลตามตารางที่ 1 และภาพที่ 3 ภายใต้ เ งื่ อ นไขของ                         กรกฎาคม		                                90.30
สถานการณ์ ท างเศรษฐกิ จ และสั ง คมโลกไม่ เ ปลี่ ย น                       สิงหาคม		                                80.10
แปลงมากนั ก จากภาวะปั จ จุ บั น ซึ่ ง จากภาพที่ 3                         กันยายน		                                94.76
คาดการณ์ ว่ า ราคายางแผ่ น ดิ บ ตลาดกลางยาง                               ตุลาคม		                                 92.65
พาราในปี พ.ศ. 2556 เคลื่อนไหวอยู่ระหว่างกิโลกรัม                          พฤศจิกายน		                              81.15
ละ 72.80 – 97.43 บาท โดยมีราคาเฉลี่ยกิโลกรัมละ                            ธันวาคม		                                97.43
86.41 บาท ราคาปรับตัวลดลงจากราคาเฉลี่ยปี 2555                             เฉลี่ย			                                86.41
(เฉลี่ย 93.91 บาท/กก) ร้อยละ 7.87 ดังนั้น เมื่อเปรียบ                     สูงสุด			                                97.43
เทียบกับราคาพื้นฐานที่ควรได้ เฉลี่ยกิโลกรัมละ 101.90                      ต่ำสุด			                                72.80
บาท คิดเป็นมูลค่าทางเศรษฐกิจที่ควรได้ของประเทศ
                                                                          ที่มา : 	เอกสารต้นฉบับ, สถาบันวิจัยยาง
สูญเสียไปจำนวน 54,740 ล้านบาท (ภาพที่ 4)                                  	        กรมวิชาการเกษตร, 2556.
	         จากค่าพยากรณ์ราคายางในปีพ.ศ. 2556 ต่ำกว่า
ระดับราคาพื้นฐานที่ควรได้ เนื่องจากคาดการณ์ว่า จะมี
อุ ป ทานส่ ว นเกิ น ของยางธรรมชาติ ทั้ ง โลกจำนวน                    ทั้งภูมิภาค (โค่นปลูกแทน ชะลอการกรีด ประชาสัมพันธ์
ประมาณ 496,000 ตัน และปัญหาหน้าผาทางการคลัง                          ให้ผลิตจำนวนที่พอเพียง) เพิ่มการใช้ยางธรรมชาติใน
ของสหรัฐ วิกฤติเศรษฐกิจของยุโรป ภาวะอุปทานยาง                        ภาครั ฐ ของประเทศ (ถนน ฝาย หมอนรองรางรถไฟ
ในประเทศผู้ผลิตยางธรรมชาติ การปรับลดการขยาย                          ส่งเสริมการใช้ยางรองตีนตะขาบรถแทรคเตอร์ทางการ
ตัวทางเศรษฐกิจของผู้ใช้ยางรายใหญ่ ได้แก่ จีน สหรัฐ                   เกษตร การใช้ถุงมือยางทางการแพทย์ ส่งเสริมการใช้
ญี่ ปุ่ น รวมทั้ ง ผลการดำเนิ น การตามมาตรการรั ก ษา                 ยางผลิ ต ลู่ วิ่ ง และออกกำลั ง กายในสถานศึ ก ษา และ
เสถี ย รภาพราคายางของไทยและ สภาความร่ ว มมื อ                        อื่นๆ) ประชาสัมพันธ์และขยายผลการใช้ยางพารา โดย
ด้านยางระหว่างประเทศ (ITRC)                                          มุ่ ง เป้ า หมายไปยั ง ประเทศที่ มี สั ด ส่ ว นการใช้ ย าง
	         ดังนั้น ในปี 2556 รัฐต้องเร่งผลักนโยบายหรือ                สั ง เคราะห์ ล ดลง รวมทั้ ง การผลั ก ดั น ตลาดกลางยาง
มาตรการอย่างจริงจังให้มากขึ้นเพื่อยกระดับราคายาง                     พาราให้ มี ต ลาดข้ อ ตกลงส่ ง มอบจริ ง ในระดั บ สากล
ให้สูงขึ้น โดยการแสวงหาความร่วมมือลดผลผลิตยาง                        เป็นต้น ทั้งนี้ เพื่อผลักดันเส้นราคายางจริงให้ใกล้เคียง
5                              ฉบับอิเล็กทรอนิกส์ 12 มกราคม-มีนาคม 2556
                  3                                                                             . . 2556


                  3(                 )
                                                                                                . . 2556
           190
           180
           170 (                     )
           160
           190
           150
           180
           140
           170
           130
           160
           120
           150
           110
           140
           100
           130
            90
           120
            80
           110
            70
           100
            60
            90
            80
            70
            60
                                         Trend USS Prices                  Actual USS                     Predict USS 56



               4                         Trend USS Prices                  Actual USS                     Predict USS 56
ภาพที่ 3 กราฟแสดงแนวโน้ม และการพยากรณ์ราคายางแผ่นดิบในปี พ.ศ. 2556
              . . 2556                                 /

           200
               4(                            )
           180
              . . 2556                                 /
           160         (                     )
           200
           140                                                                                                        195,012
                                                                                      27,989
           180                                                                              3,379                       15,191
           120
                                                                                                32,349
           160
           100                                                          500
           140                                                    705                                                 195,012
            80                                                                        27,989
                                                                                            3,379            2,088      15,191
           120
            60             102 227           1,917
                                                                                                32,349
           100                                                          500                                 86,092
            40
                                                                  705                1,140        5,125              28,111
            80
            20
                           102,227 ล้านบาท 1,917
                            102 227                                            479           14,609          2,088     54,740
            60-                                364                   242,330
                                                                                                            86,092
                                                                                                                                 . .
            40
                                                                                     1,140        5,125              28,111
            20
                                                                               479           14,609
              -                                  364        USS 3 CRM
                                                                242,330                             USS 3 CRM54,740
                                                                                                                                 . .
                                                                ปี พ.ศ.
                                                            USS 3 CRM                               USS 3 CRM


ภาพที่ 4 กราฟแสดงราคายางแผ่นดิบของไทย แนวโน้มราคายางแผ่นดิบไทย การพยากรณ์ราคายางแผ่นดิบในปี พ.ศ. 2556 และมูลค่าการสูญเสีย/
ผลได้ส่วนต่าง
6                    ฉบับอิเล็กทรอนิกส์ 12 มกราคม-มีนาคม 2556

เส้นราคาพื้นฐานที่ควรได้ เฉลี่ยกิโลกรัมละ 101.90 บาท             ล้านบาท โดยจำแนกเป็นมูลค่าทางตัวเงินที่ควรได้ในปี
เพื่อลดการเสียโอกาสทางเศรษฐกิจที่คาดว่า มูลค่าทาง                2555 และ 2556 จำนวน 28,111 ล้ า นบาท และ
เศรษฐกิจที่ควรได้ของประเทศจะสูญเสียไปรวม 82,851                  54,740 ล้านบาท ตามลำดับ
7                        ฉบับอิเล็กทรอนิกส์ 12 มกราคม-มีนาคม 2556




อนาคตยางพารากับประชาคมเศรษฐกิจอาเชี่ยน
สุจินต์ แม้นเหมือน1
สถาบันวิจัยยาง กรมวิชาการเกษตร


	          ยางพารา (Hevea brasiliensis Muell.) เป็นพืช                  สถาบั น วิ จั ย ยาง จึ ง ได้ วิ เ คราะห์ บ ทบาท สถานการณ์
อุ ต สาหกรรมที่ ส ำคั ญ ของประเทศไทยและภู มิ ภ าค                       และผลกระทบ เพื่อการเตรียมการดังนี้
อาเซียน ประเทศไทยมีพื้นที่ปลูกยาง 18.76 ล้านไร่ เป็น
ผู้ผลิตและส่งออกยางมากที่สุดของโลก มีปริมาณการ                            นโยบาย ยุทธศาสตร์ และการดำเนินการ
ผลิ ต 3.57 ล้ า นตั น คิ ด เป็ น สั ด ส่ ว นร้ อ ยละ 33 ของ               ของสถาบันวิจัยยางในการเข้าสู่ประชาคม
ปริ ม าณการผลิ ต ยางธรรมชาติ ข องโลก ส่ ง ออก 2.95                                 เศรษฐกิจอาเชี่ยน
ล้ า นตั น คิ ด เป็ น สั ด ส่ ว นร้ อ ยละ 36 ของปริ ม าณการ             	        ปัจจุบันสถาบันวิจัยยางได้ดำเนินการตามกรอบ
ส่งออกยางธรรมชาติของโลก ในปี 2554 ประเทศไทย                             ยุทธศาสตร์ยางพารา พัฒนายางพารา พ.ศ. 2552-2556
เป็นผู้ใช้ยางอันดับ 5 ของโลก ด้วยปริมาณ 486,745 ตัน                     ซึ่งการนี้ได้มีการผลักดันความร่วมมือระหว่างประเทศ
หรือร้อยละ 13.6 ของปริมาณการผลิตยางในประเทศ                             ซึ่งเป็นกลยุทธ์ที่ 5 ในยุทธศาสตร์พัฒนายางพารา พ.ศ.
การส่ ง ออกยางธรรมชาติ ข องไทย ส่ ง ออกในรู ป ของ                       2552 – 2556 กรมวิ ช าการเกษตร จะผลั ก ดั น การ
วั ต ถุ ดิ บ ผลิ ต ภั ณ ฑ์ ย าง ไม้ ย างพาราแปรรู ป และผลิต             ทำงานร่ ว มระหว่ า งสภายางระหว่ า งสามประเทศ
ภัณฑ์ไม้ ทำรายได้ให้แก่ประเทศ คิดเป็นมูลค่า 678,942                     (International Tripartite Rubber Council – ITRC)
ล้านบาท ผลผลิตเฉลี่ย 276 กิโลกรัมต่อไร่ต่อปี                            ซึ่งเป็นความร่วมมือไตรภาคียางพารา 3 ประเทศ (ไทย
	          ในปี 2558 ซึ่ ง ประเทศไทยจะเข้ า สู่ ป ระชาคม                มาเลเซี ย อิ น โดนี เ ซี ย ) รวมทั้ ง การผลั ก ดั น เพื่ อ จั ด ตั้ ง
เศรษฐกิ จ อาเชี่ ย น (AEC) ภาคยางพาราซึ่ ง เป็ น พื ช                   กองทุนรักษาเสถียรภาพและพยุงราคาในช่วงราคายาง
เศรษฐกิ จ หลั ก ของหลายประเทศในกลุ่ ม ประชาคม                           ตกต่ำให้มีความคล่องตัวและมีประสิทธิภาพ โดยการ
เศรษฐกิจอาเชี่ยนก็จะมีบทบาทร่วมเช่นเดียวกับพืชอื่น                      ประสานงานการรักษาเสถียรภาพราคายางร่วมกับบริษัท
แต่ ย างพาราเป็ น พื ช ที่ ดู แ ลต่ า งกระทรวงกั น ในแต่ ล ะ            ร่วมทุนยางระหว่างประเทศ (International Rubber
ประเทศ ทำให้การหารือภาคยางทั้งระบบไม่ได้นำมา                            Consortium Limited- IRCo ) ให้ขยายกรอบความ
ถกกันอย่างจริงจังระหว่างประเทศผู้ผลิตยางธรรมชาติ                        ร่วมมือเป็นระดับอาเชี่ยนกับ เวียดนาม ลาว กัมพูชา
ของอาเชี่ยน จำเป็นที่รัฐบาลจะต้องเร่งดำเนินการยก                        และเมี ย นม่ า เพื่ อ จั ด ตั้ ง สภายางอาเชี่ ย น (Asian
ประเด็ น ยางพาราให้ มี ก ารหารื อ เป็ น กลุ่ ม เฉพาะนอก                 Rubber Council – ARC) ในระยะต่อไป เพื่อประสาน
เหนือการหารือในกลุ่มกระทรวงของประเทศสมาชิกใน                            และสร้างความเข้มแข็งของกลุ่มประเทศผู้ผลิตยางใน
โอกาสต่อไป เพื่อให้สินค้ายางพาราเป็นพืชเศรษฐกิจ                         ภูมิ ภาค ถ้ าการนี้ บ รรลุ ผ ล กลุ่ ม สภายางอาเชี่ ยนก็ จ ะ
หลั ก ที่ ไ ด้ รั บ ความร่ ว มมื อ เป็ น หนึ่ ง เดี ย วในภู มิ ภ าค     มี ก ำลั ง การผลิ ต มากกว่ า ร้ อ ยละ 85 ของผลผลิ ต ยาง

1
 	 ผู้อำนวยการสถาบันวิจัยยาง: สถาบันวิจัยยาง กรมวิชาการเกษตร เขตจตุจักร กรุงเทพ 11000 โทร 02-579-3667 ต่อ 604
	 E-mail : maenmeun@yahoo.com
8                           ฉบับอิเล็กทรอนิกส์ 12 มกราคม-มีนาคม 2556

ธรรมชาติในโลก และประเทศจีนก็เป็นผู้บริโภครายใหญ่                           เหมาะสมต่อการปลูกยางพาราจำนวนมาก มีเทคโนโลยี
ของโลก (รายละเอี ย ดปรากฏในตารางที่ 1 และ 2)                               การผลิตยางพาราที่ก้าวหน้า สามารถเพิ่มผลผลิตได้ทั้ง
นอกจากนี้ ยังสามารถขยายความร่วมมือในการสร้าง                               โดยเพิ่มพื้นที่ปลูกและเพิ่มผลผลิตต่อหน่วยพื้นที่
ความเข้ ม แข็ ง ในการกำหนดมาตรฐานผลิ ต ภั ณฑ์ยาง                           	       (5) เกษตรกรชาวสวนยางส่วนใหญ่ในภาคใต้และ
ธรรมชาติ ร่ ว มกั น ซึ่ ง ในขณะนี้ ไ ด้ ด ำเนิ น การร่ ว มกั บ             ภาคตะวันออกมีภูมิปัญญาและประสบการณ์ในการทำ
มาเลเชียและอินโดนีเซียอยู่แล้ว                                             สวนยางมายาวนาน
                                                                           	       (6) มีความหลากหลายของการแปรรูปยางดิบที่ใช้
 แนวโน้ม จุดแข็ง จุดอ่อน และความเสี่ยง                                     เป็นวัตถุดิบในการผลิตผลิตภัณฑ์ยาง
รวมถึงปัญหาและอุปสรรคของอุตสาหกรรม                                         	       (7) มีกฎหมายและหน่วยงานที่รับผิดชอบในการ
 ยางพารา ในการเข้าสู่ประชาคมเศรษฐกิจ                                       ส่ ง เสริ ม การปลู ก การวิ จั ย และพั ฒ นายางโดยเฉพาะ
                อาเชี่ยน                                                   และมี เ งิ น ทุ น สนั บ สนุ น ในการปลู ก และการวิ จั ย ยาง
จุดแข็ง                                                                    อย่างต่อเนื่อง
	      (1) ยางพาราเป็นพืชที่มีศักยภาพ มีโอกาสในการ
พั ฒ นาและสร้ า งมู ล ค่ า เพิ่ ม ให้ เ ป็ น ผลิ ต ภั ณ ฑ์ ย างได้         จุดอ่อน
หลากหลาย                                                                   	      (1) ยางพาราเป็นวัตถุดิบในการอุตสาหกรรม มี
	      (2) เป็นพืชที่ช่วยลดภาวะโลกร้อน โดยช่วยดูดซับ                       ความต้ อ งการใช้ ย างพาราเป็ น ความต้ อ งการต่ อ เนื่ อ ง
ก๊าซคาร์บอนไดออกไซด์ในอากาศ เป็นพืชที่มีศักยภาพ                            ต้องพึ่งพาตลาดต่างประเทศและเศรษฐกิจโลก
นำไปจั ด ทำเป็ น โครงการ Clean Development                                 	      (2) เกษตรกรส่ ว นใหญ่ เ ป็ น เกษตรกรรายย่ อ ย
Mechanism (CDM) หรือสามารถขายคาร์บอนเครดิต                                 การผลิตจึงเป็นการผลิตแบบครอบครัว ใช้ระบบกรีดถี่
ภายใต้ตลาดแบบสมัครใจ (Voluntary market)                                    มีจำนวนวันกรีดมาก ทำให้ผลผลิตต่อครั้งกรีดน้อยกว่า
	      (3) การปลูกสร้างสวนยางได้ผลผลิตไม้ยางพารา                           ระบบกรีดห่างของสวนยางขนาดใหญ่ ส่งผลให้ต้นทุนต่อ
สามารถใช้ทดแทนไม้จากป่าธรรมชาติ เสริมสร้างความ                             กิโลกรัมจะสูงขึ้น กำไรที่เกษตรกรควรจะได้รับจากผล
มั่นคงให้กับอุตสาหกรรมไม้แปรรูปและเฟอร์นิเจอร์ไม้                          ผลิตจึงลดลงด้วย
	      (4) ประเทศไทยมี ส ภาพพื้ น ที่ แ ละภู มิ อ ากาศที่                  	      (3) ผู้ ป ระกอบการอุ ต สาหกรรมผลิ ต ภั ณ ฑ์ ย าง


                            ตารางที่ 1 ปริมาณการผลิต การใช้ยางของโลก ปี 2552-2554
                                                                                                                 หน่วย : ล้านตัน

                                        2552                                      2553                           2554
          รายการ
                          ยางธรรมชาติ ยางสังเคราะห์              ยางธรรมชาติ ยางสังเคราะห์          ยางธรรมชาติ ยางสังเคราะห์

      	     ผลิต	              9.690	          12.415	                  10.410	          14.207	       10.695	       14.622
      	      ใช้	              9.329	          12.162	                  10.788	          14.067	       10.858	       14.504
      	    สมดุล	              0.361	           0.253	                  -0.377	           0.140	        0.087	        0.118
      	    สต็อก	              1.880	           3.309	                   1.503	           3.449	        1.395	           na
      ที่มา : รายงานประจำปี 2554 สถาบันวิจัยยาง กรมวิชาการเกษตร (กุมภาพันธ์, 2555)
9                          ฉบับอิเล็กทรอนิกส์ 12 มกราคม-มีนาคม 2556



              ตารางที่ 2 อุปสงค์และอุปทานยางพาราของประเทศกลุ่มประชาคมอาเชี่ยนสำคัญ
                                      บางประเทศและจีน ปี 2554
                                                                                                                หน่วย : ล้านตัน

                                                                        ปริมาณ ในปี พ.ศ. 2554
          รายการ
                                        ไทย          อินโดนีเซีย        มาเลเซีย1     เวียดนาม        กัมพูชา           จีน2

      อุปทาน – SUPPLY (S)						
      	 สต็อกต้นปี	       0.227	 0.081	 0.142	 0.067	 0.001	                                                          0.144
      	 ผลผลิตในปี	       3.569	 3.029	 0.996	 0.812	 0.051	                                                          0.727
      	 นำเข้า	           0.004	 0.016	 0.667	 0.155	 0.000	                                                          2.848
      	 รวม	              3.800	 3.126	 1.805	 1.034	 0.052	                                                          3.719
      อุปสงค์ - DEMAND (D)						
      	 ส่งออก	           2.952	  2.571	  1.257	 0.731	 0.045	                                                        0.009
      	 ใช้ภายใน 	        0.488	  0.471	  0.419	 0.120	 0.000	                                                        3.602
      	 สต็อกปลายปี	      0.361	  0.143	  0.143	 0.122	 0.007	                                                        0.095
      	 รวม	              3.800	  3.185	  1.819	 0.974	 0.052	                                                        3.706
      รวมสมดุล (S-D)	         0	 -0.059	 -0.014	 0.006	     0	                                                        0.013

      1
         อุปสงค์ของมาเลเซียรวมส่วนที่แปรรูปเป็นยางผสม 0.311 ล้านตัน ในปีเดียวกัน
      2
         อุปทานของจีนรวมส่วนที่นำเข้ายางผสมอีก 0.854 ล้านตันในปีเดียวกัน
      ที่มา : ANRPC, Natural Rubber Trends & Statistics. Vol 4, No 12 , December 2012.



ของไทยเป็นกิจการขนาดกลางและขนาดเล็ก ยังมีข้อ                             โอกาส
จำกัดด้านเงินทุนและเทคโนโลยีการผลิต                                      	     (1) การขยายตัวของประชากรโลกเพิ่มขึ้นทำให้
	          (4) การพั ฒ นายางพาราทั้ ง ระบบยั ง มี อุ ป สรรค              ความต้องการใช้ยางธรรมชาติเพิ่มขึ้นด้วย และความ
เนื่องจากยางพารามีผู้ที่เกี่ยวข้องหลายภาคส่วน ทั้งภาค                    ต้องการใช้ยางธรรมชาติของโลกยังคงมีอยู่อย่างต่อเนื่อง
เกษตรกรรม ภาคอุตสาหกรรม และภาคแรงงาน ทำให้                               ในระยะยาว แม้ว่าในช่วงที่เกิดวิกฤติเศรษฐกิจ ความ
การเชื่อมโยงการพัฒนาทั้งระบบไม่คล่องตัว                                  ต้องการใช้ยางก็ยังมีอยู่
	          (5) ยางธรรมชาติ ที่ ส่ ง ออกเป็ น ยางที่ อ ยู่ ใ นรู ป        	     (2) ยางธรรมชาติ มี ส มบั ติ ที่ ย างสั ง เคราะห์ ไ ม่
วั ต ถุ ดิ บ หรื อ ยางแปรรู ป เป็ น ส่ ว นใหญ่ จึ ง ต้ อ งพึ่ ง พา       สามารถทดแทนได้ จำเป็นจะต้องใช้ยางธรรมชาติใน
ตลาดต่างประเทศเป็นหลัก ทำให้มีความเสี่ยงในด้าน                           การผลิตล้อยานพาหนะ ซึ่งเป็นอุตสาหกรรมสำคัญที่ใช้
ราคาและเสียโอกาสในการสร้างมูลค่าเพิ่ม                                    ยางสูงกว่าผลิตภัณฑ์ยางอื่น ๆ
	          (6) บุคลากรที่ปฏิบัติงานเกี่ยวกับยางพารายังมี                 	     (3) การรวมตัวของประเทศผู้ผลิตยางธรรมชาติ
ไม่เพียงพอ โดยเฉพาะนักวิจัยด้านอุตสาหกรรมยาง                             รายใหญ่ของโลก สร้างอำนาจต่อรอง และความเป็น
10                         ฉบับอิเล็กทรอนิกส์ 12 มกราคม-มีนาคม 2556

ธรรมในด้านเสถียรภาพราคายาง ทำให้เกษตรกรมีความ                           ผลกระทบต่อโครงสร้างของอุตสาหกรรม
มั่นคงทางด้านรายได้                                                            ยางพาราในประเทศ
	     (4) นอกจากยางพาราจะนำไปผลิตเป็นยางล้อ                           ผลกระทบต่อการผลิตของเกษตรกร
เป็นหลักแล้ว แต่ยางพารายังมีโอกาสสร้างอุปสงค์ได้                      	      ผลผลิ ต ที่ ไ ด้ จ ากการกรี ด ต้ น ยางพารา ได้ แ ก่
อีกหลากหลายสาขา ทั้งการใช้งานในกิจกรรมการขนส่ง                        น้ำยางสด (Field Latex) และเศษยางหรือยางก้นถ้วย
สุขอนามัย การบริการสาธารณะ และการใช้งานเฉพาะ                          (Cup Lump) เกษตรกรจะนำผลผลิ ต น้ ำ ยางสดที่ ไ ด้
ส่วนบุคคล                                                             ส่วนใหญ่มาทำเป็นยางแผ่นดิบเพื่อจำหน่ายต่อให้กับ
                                                                      โรงงาน สินค้าวัตถุดิบที่เกษตรกรจำหน่ายให้กับโรงงาน
ข้อจำกัด                                                              จึงมี 3 ประเภท คือ ยางแผ่นดิบ น้ำยางสด รวมทั้งยาง
	        (1) ความผันผวนของราคายางธรรมชาติในตลาด                       ก้อนและเศษยาง โดยมีสัดส่วนของปริมาณผลิตเท่ากับ
โลกมี ผ ลกระทบอุ ต สาหกรรมยางทั้ ง ระบบ หากยาง                        80% 15% และ 5% ตามลำดับ กรณีที่กลุ่มเกษตรกร
ธรรมชาติ มี ร าคาสู ง มาก ประเทศอุ ต สาหกรรมต่ า งๆ                   หรื อ สหกรณ์ ช าวสวนยางรวมตั ว กั น ดี ก็ จ ะผลิ ต ยาง
จะเพิ่มความพยายามในการพัฒนาวัตถุดิบอื่นเพื่อใช้                       แผ่นรมควันไม่อัดเบล และยางแผ่นผึ่งแห้ง จำหน่ายใน
ทดแทนยางธรรมชาติ ในขณะเดี ย วกั น เมื่ อ ราคายาง                      ตลาดกลางหรื อ โครงการรั ก ษาเสถี ย รภาพราคายาง
ธรรมชาติสูงมากนั้น เป็นสิ่งจูงใจให้เกษตรกรในประเทศ                    ด้ ว ย แต่ ป ริ ม าณผลิ ต จากการรวมกลุ่ ม ดั ง กล่ า วยั ง มี
ต่ า งๆ ขยายพื้ น ที่ ป ลู ก ยางมากขึ้ น จนอาจส่ ง ผลให้              จำนวนไม่มากนัก สถาบันวิจัยยางเห็นว่าการผลิตของ
ปริมาณเกินความต้องการเมื่อพื้นที่ปลูกให้ผลผลิต เกิด                   ภาคเกษตรกร ซึ่งเป็นอุตสาหกรรมต้นน้ำของภาคยาง
ปัญหายางล้นตลาดและราคาตกต่ำ มีรายได้น้อยกว่า                          จะไม่มีผลกระทบ
ค่าใช้จ่ายที่จำเป็น ทำให้รัฐบาลต้องช่วยเหลือด้านรายได้
เป็ น วงจรที่ ท้ า ทายให้ รั ฐ บาลของประเทศผู้ ป ลู ก ยางที่          การแปรรูปและการผลิตยางดิบ
พยายามทำให้เกิดเสถียรภาพทั้งด้านราคาและปริมาณ                         	       ภาคอุ ต สาหกรรมซึ่ ง หมายถึ ง การแปรรู ป และ
	        (2) การขยายพื้นที่ปลูกยางของประเทศต่างๆ ที่                  การผลิ ต ยางดิ บ ของผู้ ป ระกอบการต่ อ เนื่ อ งจากภาค
เพิ่มขึ้น จะทำให้ผลผลิตล้นตลาด ราคายางตกต่ำ มีผล                      การผลิ ต ของเกษตรกร ดั ง นั้ น สิ น ค้ า ยางสำเร็ จ ของ
กระทบต่อเกษตรกรชาวสวนยางและเศรษฐกิจโดยรวม                             เกษตรกรจึงเป็นวัตถุดิบตั้งต้น (Raw materials) ของ
ของไทย                                                                โรงงานอุ ต สาหกรรมแปรรู ป ยางตามมาตรฐานสากล
	        (3) ต้นทุนการผลิตยางแปรรูปของไทยสูงกว่าเมื่อ                 ที่ ย อมรั บ เป็ น มาตรฐานกั น ทั่ ว โลก รอยต่ อ ระหว่ า ง
เทียบกับประเทศผู้ผลิตยางอื่น เนื่องจากค่าแรงงานและ                    ภาคการผลิ ต และภาคอุ ต สาหกรรมจึ ง เป็ น รอยต่ อ ที่
ต้ น ทุ น พลั ง งานของไทยสู ง กว่ า ประเทศอื่ น ในภู มิ ภ าค          สำคัญยิ่งของคุณภาพและต้นทุน ซึ่งส่งผลต่อการตลาด
ยกเว้นมาเลเซียซึ่งมีค่าแรงสูงกว่าไทยแต่ต้นทุนพลังงาน                  และเศรษฐกิ จ มหภาคของประเทศโดยภาพรวม ผล
ถูกกว่า                                                               ผลิตยางแผ่นรมควันของไทยยังคงสูงรองจากยางแท่ง
	        (4) การขยายการผลิตยางล้อในประเทศเป็นไปได้                    อื่ น เนื่ อ งจากเกษตรกรชาวสวนยางนิ ย มแปรรู ป
ในปริมาณที่น้อยมาก เนื่องจากเมื่อผลิตเป็นยางล้อแล้ว                   น้ำยางสดเป็นยางแผ่นดิบ เนื่องจากยางแผ่นเก็บรักษา
จะมีปริมาตรใหญ่ขึ้นมาก ทำให้เสียค่าขนส่งไปยังตลาด                     ได้ น านกว่ า น้ ำ ยางสด ผลผลิ ต ยางแท่ ง ประเทศไทย
ปลายทางสู ง ผู้ ผ ลิ ต จึ ง มั ก มี แ ละขยายฐานการผลิ ต               ผลิตร้อยละ 41.17 ของยางแปรรูปมาตรฐานสากลที่
ยางล้อที่ในประเทศผู้ใช้ยางล้อเป็นหลัก หรือเป็นประเทศ                  ส่ ง ออกทั้ ง หมด รองลงมา คื อ ยางแผ่ น รมควั น และ
ที่มีค่าแรงงานและการสนับสนุนภาคอุตสาหกรรมสูงกว่า                      น้ ำ ยางข้ น ซึ่ ง ในปี 2554 มี สั ด ส่ ว นการผลิ ต ร้ อ ยละ
ไทย ในขณะที่ ปั จ จั ย ข้ อ ได้ เ ปรี ย บการอยู่ ใ กล้ แ หล่ ง        30.08 และ 25.08 ตามลำดับ ซึ่งเป็นสัดส่วนที่สูงขึ้น
วัตถุดิบคือยางดิบนั้นเป็นประเด็นรอง                                   จากปี 2537 มาพอสมควร เนื่องจากในช่วง ปี 2537 –
11                       ฉบับอิเล็กทรอนิกส์ 12 มกราคม-มีนาคม 2556

2543 ไทยได้เพิ่มการผลิตยางแท่งและน้ำยางข้นอย่าง                     ปี 2554
รวดเร็ ว เพื่ อ สนองตอบความต้ อ งการในต่ า งประเทศ                  	        ดังนั้น แม้ประเทศไทยจะเข้าร่วมการเป็นสมาชิก
โดยมีอัตราเติบโตเฉลี่ยร้อยละ 16 และ 10 ต่อปี ใช้เวลา                เศรษฐกิ จ อาเชี่ ย นซึ่ ง มี ป ระเทศผู้ ผ ลิ ต ยางพาราที่ เ ป็ น
ถึง 10 ปีในการพัฒนา จึงล้ำหน้ายางแผ่นรมควันใน                       คู่แข่งอยู่ถึงสามประเทศ (อินโดนีเชีย มาเลเซีย และ
ปี 2547                                                             เวี ย ดนาม) ก็ ไ ม่ น่ า จะกระทบต่ อ อุ ต สาหกรรมภาคนี้
	         ผลกระทบภาคเศรษฐกิ จ มหภาคของประเทศ                        เนื่ อ งจากประเทศไทยก็ มี จุ ด เด่ น ทั้ ง ในเรื่ อ งชนิ ด ยาง
เกิ ด จากมู ล ค่ า ที่ ไ ด้ จ ากยางแปรรู ป มาตรฐานเป็ น ราย         ดิบมาตรฐานส่งออกที่เป็นที่ยอมรับกว้างขวางในตลาด
ใหญ่ ซึ่งมีมูลค่าถึงร้อยละ 56.46 ของรายได้ทั้งหมด                   โลก ทั้งในเรื่องคุณภาพและปริมาณการผลิต เช่น ยาง
และมูลค่าส่วนนี้ก็ขึ้นกับราคายางในตลาดโลกเป็นหลัก                   แท่งมาตรฐานประเทศไทย (Standard Thai Rubber:
ราคาเฉลี่ยในตลาดโลกปี 2554 สูงกว่าปี 2553 เฉลี่ย                    STR) ยางแผ่นรมควัน (Rib Smoked Sheet : RSS)
ราคายางแผ่นรมควันราคา 148.27 บาท และ 115.54                         ยางผสมสารเคมี (Compound Rubber) และน้ำยางข้น
บาทตามลำดั บ หรื อ เพิ่ ม ร้ อ ยละ 28.33 ในยางแผ่ น                 (Concentrate Latex)
รมควัน ร้อยละ 29.21 ในยางแท่ง STR 5L ร้อยละ
29.71 21 ในยางแท่ง STR 20 และร้อยละ 25.11 ใน                        การแปรรูปและการผลิตภาคผลิตภัณฑ์ยาง
น้ำยางข้น เป็นต้น                                                   	          ยางธรรมชาติเมื่อนำมาแปรรูปเป็นผลิตภัณฑ์ยาง
	         ในภาพรวมเกษตรกรแปรรู ป ผลผลิ ต ในสวน                      แล้ว สามารถจำหน่ายได้ราคาสูง สร้างมู ลค่าเพิ่ ม ได้
ตนเองเบื้องต้น แล้วส่งจำหน่ายให้กับโรงงานเพื่อแปรรูป                มาก ดังนั้น หากสามารถพัฒนาอุตสาหกรรมผลิตภัณฑ์
เป็นยางมาตรฐานสากล จึงมี 3 ประเภท คือ ยางแผ่นดิบ                    ยางของไทยให้มีประสิทธิภาพ สามารถผลิตผลิตภัณฑ์
น้ำยางสด และเศษยาง ผลผลิตยางขั้นต้นหรือยางดิบ                       ที่มีคุณภาพและมาตรฐานสูงกว่าที่เป็นอยู่ปัจจุบันก็จะ
ได้จากการนำวัตถุดิบจากเกษตรกรไปผ่านการแปรรูป                        สามารถเพิ่มตลาดผลิตภัณฑ์ยางทั้งที่ใช้เองในประเทศ
ให้ อ ยู่ ใ นลั ก ษณะตรงกั บ ความต้ อ งการของผู้ ซื้ อ มี           และขยายตลาดส่งออกต่างประเทศได้ อีกทั้งเป็นการ
คุณภาพดีและสะดวกต่อการนำไปใช้ของผู้ประกอบการ                        ลดการส่งออกวัตถุดิบ (ยางดิบ) อีกด้วย
ผลิตภัณฑ์ยางชนิดต่างๆ ปัจจุบันมีการแปรรูปน้ำยาง                     	          ผลิ ต ภั ณ ฑ์ ย างที่ ผ ลิ ต และสร้ า งมู ล ค่ า เพิ่ ม ใน
สด เศษยาง และยางแผ่นดิบ เป็นผลิตภัณฑ์ยางขั้นต้น                     ประเทศปี 2554 ใช้ ย างในประเทศจำนวน 486,745
2 ประเภทใหญ่ ๆ คือ ยางแห้ง (Dried Rubber) ได้แก่                    ตัน หรือร้อยละ 12.81 ของอุปสงค์ยางพาราทั้งระบบ
ยางแผ่นรมควัน ยางแท่ง ยางเครพ ยางแผ่นอบแห้ง                         (ซึ่งรวมสต็อกปลายปี 361,557 ตัน อยู่ด้วย) หรือร้อยละ
ยางสกิ ม และยางชนิ ด พิ เ ศษต่ า งๆ เป็ น ต้ น และอี ก              13.64 ของผลผลิ ต ในปี (ผลผลิ ต ในปี 2554 จำนวน
ประเภท คือ น้ำยางซึ่งรวมถึง น้ำยางข้น (Concentrate                  3,569,003 ตัน) เพิ่มขึ้นจากปี 2553 ซึ่งใช้ยางในประเทศ
latex)และน้ ำ ยางสด เมื่ อ โรงงานแปรรู ป ได้ วั ต ถุ ดิ บ           458,637 ตัน หรือเพิ่มขึ้น 23,522 ตัน หรือร้อยละ 5.13
แล้วก็จะผลิตสินค้ายางพาราแปรรูปมาตรฐานส่งออก                        	          การเข้ า ร่ ว มการเป็ น สมาชิ ก เศรษฐกิ จ อาเชี่ ย น
จำหน่ายต่างประเทศ และใช้ในโรงงานผลิตผลิตภัณฑ์                       ซึ่ ง มี ป ระเทศแปรรู ป ผลิ ต ภั ณ ฑ์ ย างที่ เ ป็ น คู่ แ ข่ ง อยู่ ถึ ง
ยางในประเทศ จะเห็ น ว่ า เมื่ อ ประเทศไทยเข้ า ร่ ว มใน             สามประเทศ (อิ น โดนี เ ชี ย มาเลเซี ย และเวี ย ดนาม)
ประชาคมเศรษฐกิ จ อาเชี่ ย น โครงสร้ า งการผลิ ต และ                 แต่ ป ระเทศไทยก็ มี จุ ด เด่ น ทั้ ง ในเรื่ อ งชนิ ด ยางดิ บ
แปรรู ป ยางดิ บ ยั ง ไม่ เ ปลี่ ย นแปลง ไทยยั ง คงรั ก ษา           มาตรฐานที่ประเทศไทยผลิตที่เป็นที่ยอมรับกว้างขวาง
ความเป็นหนึ่งในการผลิตยางแผ่นรมควันออกสู่ตลาด                       ในตลาดโลกรวมทั้ ง ผู้ ใ ช้ ย างในประเทศ ทั้ ง ในเรื่ อ ง
โลก ยั ง คงส่ ง น้ ำ ยางข้ น ให้ ป ระเทศผู้ บ ริ โ ภค เช่ น         คุณภาพและปริมาณการผลิต และอุตสาหกรรมยางใน
มาเลเชี ย อยู่ เ ช่ น เดิ ม ส่ ว นการแปรรู ป และส่ ง ออกยาง         ประเทศ อาจจะมีปัญหาในเรื่องราคาโดยผลผลิตจาก
ผสมสารเคมีซึ่งเป็นยางกึ่งสำเร็จรูปมีแนวโน้มมากขึ้น                  ประเทศเวียดนามอาจจะแข่งขันกับยางในประเทศได้
12                           ฉบับอิเล็กทรอนิกส์ 12 มกราคม-มีนาคม 2556

เนื่องจากมีการขนส่งทางบกได้ง่ายและใช้เวลาสั้นกว่า                        4 ล้ า นลู ก บาศก์ เ มตร ซึ่ ง ใกล้ เ คี ย งกั บ ความต้ อ งการ
ในการบริโภคเพื่อการผลิตผลิตภัณฑ์ยางขนาดเล็กและ                           ใช้ ไ ม้ ย างพาราในปั จ จุ บั น ส่ ว นมู ล ค่ า การส่ ง ออก
ขนาดกลาง แต่ ป ระเทศไทยก็ มี ก ฏหมายและระบบ                              เฟอร์ นิ เ จอร์ ไ ม้ ข ยายตั ว เพิ่ ม ขึ้ น โดยในปี 2554 การ
เงิ น Cess ที่ ส ามารถบริ ห ารจั ด การให้ ผู้ บ ริ โ ภคใน                ส่งออกเฟอร์นิเจอร์ไม้เพิ่มขึ้นร้อยละ 72.61 เทียบกับ
ประเทศใช้ ย างพาราในประเทศในราคาต่ ำ กว่ า ตลาด                          ปี 2553 มู ล ค่ า การส่ ง ออกไม้ แ ละผลิ ต ภั ณ ฑ์ ไ ม้ เ พิ่ ม
โลกและคู่ แ ข่ ง จากต่ า งประเทศได้ โดยการบริ ห าร                       ขึ้ น ร้ อ ยละ 35.56 ชะลอตั ว เล็ ก น้ อ ย ส่ ว นในปี 2555
จั ด การระบบตลาดข้ อ ตกลงส่ ง มอบจริ ง ประเทศไทย                         ช่ ว ง 2 เดื อ นแรก มู ล ค่ า การส่ ง ออกเฟอร์ นิ เ จอร์ ไ ม้
ให้ มี ป ระสิ ท ธิ ภ าพ เนื่ อ งจากการใช้ ย างในประเทศไม่                ขยายตัวเพิ่มขึ้นร้อยละ 141.53 จากช่วงเดียวกันของปี
ต้องจ่ายเงิน Cess จากการจัดหาวัตถุดิบคุณภาพจาก                           2554 และการขยายตัวของมูลค่าไม้แปรรูปส่งออกเพิ่ม
ตลาดในประเทศ (จ่ายต่อเมื่อส่งออกยางธรรมชาติออก                           ขึ้นร้อยละ 61.4 จากปีก่อน
นอกประเทศเท่านั้น) ดังนั้น ผลกระทบเรื่องนี้คงไม่มาก                      	          ปั ญ หาการส่ ง ออกไม้ ย างพาราส่ ว นใหญ่ เ ป็ น
นั ก แต่ ต้ อ งอาศั ย นโยบายภาครั ฐ สนั บ สนุ น ในโอกาส                  ปัญหาจากการกีดกันทางการค้า โดยอาศัยปัจจัยทาง
ต่อไป                                                                    การอนุรักษ์สิ่งแวดล้อมและป่าไม้ของประเทศในกลุ่ม
                                                                         ยุโรปและอเมริกา ดังนั้น การรวมตัวเป็นกลุ่มประชาคม
การผลิตและแปรรูปไม้ยางพารา                                               เศรษฐกิ จ อาเชี่ ย นจะเป็ น แนวทางหนึ่ ง ในการร่ ว มกั น
	          ในปั จ จุ บั น ผู้ เ กี่ ย วข้ อ งกั บ อุ ต สาหกรรมไม้ ย าง   ต่อรองกับกลุ่มประเทศที่มีมาตรการกีดกันทางการค้า
เริ่มจากเกษตรกรที่โค่นยาง เพื่อขอทุนปลูกแทน การ                          ในอนาคต
โค่ น ไม้ ย างในสวน การเลื่ อ ยไม้ ย างจากสวนเป็ น ไม้
ท่ อ น การขนส่ ง การชั ก ลากไม้ จ ากสวน ในปี 2550                                         มาตรการทางการค้า
จำนวนโรงงานแปรรูป 521 โรงงานผลิตไม้แปรรูปได้                             มาตรการทางการค้ า ที่ ไ ม่ ใ ช่ ภ าษี (Non – Tariff
3.07 ล้ า นลู ก บาศก์ เ มตร ในอุ ต สาหกรรมขั้ น กลาง                     Barriers : NTB) ในการส่งออกสินค้ายางพาราไปยัง
เริ่ ม จากการใช้ ไ ม้ ย างพาราท่ อ น (ไม้ บ้ อ ง) มาแปรรู ป              ประเทศสมาชิกสมาคมเศรษฐกิจอาเชี่ยน
เป็ น ไม้ แ ผ่ น นำไม้ ข นาดเล็ ก ปี ก ไม้ ขี้ เ ลื่ อ ยให้ เ ป็ น       	       ประเทศไทยเป็ น ฐานการผลิ ต และคุ ณ ภาพยาง
ไม้แผ่นปาร์ติเกิล และไม้อัดความหนาแน่นปานกลาง                            พาราเป็นที่เชื่อถือในระดับสากล จึงยังไม่พบมาตรการ
มีจำนวนโรงอบไม้ 300 โรง และอุตสาหกรรมขั้นปลาย                            ที่กีดกันผลผลิตจากประเทศไทยโดยตรงในการส่งออก
คื อ กลุ่ ม เฟอร์ นิ เ จอร์ แ ละชิ้ น ส่ ว น ที่ ใ ช้ ไ ม้ ย างจาก       สินค้ายางพาราไปยังประเทศสมาชิกสมาคมเศรษฐกิจ
อุ ต สาหกรรมขั้ น กลาง นำไม้ ย างพาราแปรรู ป มาทำ                        อาเชี่ยน
เครื่องเรือน ของเด็กเล่น พื้นไม้ปาร์เก้ ไม้พาเลท และทำ
เป็นชิ้นส่วนเฟอร์นิเจอร์อื่นๆ รวมทั้งหมด 2,458 โรงงาน                    มาตรการทางการค้ า ที่ ไ ม่ ใ ช่ ภ าษี (Non – Tariff
ลั ก ษณะของโรงงานบางส่ ว นเป็ น การรวมกลุ่ ม แบบ                         Barriers : NTB) เพื่อควบคุมการนำเข้าสินค้ายาง
คลัสเตอร์ๆ ละ 10-20 โรงงาน สภาพการผลิตไม้ยาง                             พารามาจากประเทศสมาชิ ก สมาคมเศรษฐกิ จ
แปรรู ป ของโรงงานของไทยในช่ ว งที่ ผ่ า นมาไม่ เ ต็ ม                    อาเชี่ยน
ศักยภาพ การผลิตไม้ยางพาราแปรรูปโดยเฉพาะกลุ่ม                             	      ประเทศไทยมี ก ฎหมายเพื่ อ การนี้ อ ยู่ แ ล้ ว คื อ
ที่ อ ยู่ น อกคลั ส เตอร์ หยุ ด ดำเนิ น การเนื่ อ งจากขาด                พระราชบั ญ ญั ติ ค วบคุ ม ยาง พ.ศ. 2542 นอกจากนี้
วัตถุดิบ ไม้ยางแพงขึ้น ในปี 2554 ความต้องการไม้ยาง                       พระราชบั ญ ญั ติ กั ก พื ช พ.ศ. 2535 ก็ ยั ง เอื้ อ ต่ อ การ
ของโรงงานแปรรูปไม้ยางพาราและอบแห้งของโรงงาน                              ควบคุมกำกับการนำเข้ายางพาราที่ไม่มีมาตรฐาน เช่น
ใช้ ไ ม้ ย างสู ง กว่ า ปริ ม าณไม้ ที่ ผ ลิ ต ได้ 1.27 ล้ า น           ยางก้ อ น เศษยาง และยางไม่ มี ม าตรฐานที่ อ าจเป็ น
ลูกบาศก์เมตร การโค่นยาง 5 แสนไร่ จะได้ไม้แปรรูป                          แหล่ ง หรื อ พาหะนำโรคและแมลงเข้ า สู่ ป ระเทศใน
วารสารยางพาราฉบับที่ 1-2556  ปีที่ 34
วารสารยางพาราฉบับที่ 1-2556  ปีที่ 34
วารสารยางพาราฉบับที่ 1-2556  ปีที่ 34
วารสารยางพาราฉบับที่ 1-2556  ปีที่ 34
วารสารยางพาราฉบับที่ 1-2556  ปีที่ 34
วารสารยางพาราฉบับที่ 1-2556  ปีที่ 34
วารสารยางพาราฉบับที่ 1-2556  ปีที่ 34
วารสารยางพาราฉบับที่ 1-2556  ปีที่ 34
วารสารยางพาราฉบับที่ 1-2556  ปีที่ 34
วารสารยางพาราฉบับที่ 1-2556  ปีที่ 34
วารสารยางพาราฉบับที่ 1-2556  ปีที่ 34
วารสารยางพาราฉบับที่ 1-2556  ปีที่ 34
วารสารยางพาราฉบับที่ 1-2556  ปีที่ 34
วารสารยางพาราฉบับที่ 1-2556  ปีที่ 34
วารสารยางพาราฉบับที่ 1-2556  ปีที่ 34
วารสารยางพาราฉบับที่ 1-2556  ปีที่ 34
วารสารยางพาราฉบับที่ 1-2556  ปีที่ 34
วารสารยางพาราฉบับที่ 1-2556  ปีที่ 34
วารสารยางพาราฉบับที่ 1-2556  ปีที่ 34
วารสารยางพาราฉบับที่ 1-2556  ปีที่ 34
วารสารยางพาราฉบับที่ 1-2556  ปีที่ 34
วารสารยางพาราฉบับที่ 1-2556  ปีที่ 34
วารสารยางพาราฉบับที่ 1-2556  ปีที่ 34
วารสารยางพาราฉบับที่ 1-2556  ปีที่ 34
วารสารยางพาราฉบับที่ 1-2556  ปีที่ 34
วารสารยางพาราฉบับที่ 1-2556  ปีที่ 34
วารสารยางพาราฉบับที่ 1-2556  ปีที่ 34
วารสารยางพาราฉบับที่ 1-2556  ปีที่ 34
วารสารยางพาราฉบับที่ 1-2556  ปีที่ 34
วารสารยางพาราฉบับที่ 1-2556  ปีที่ 34
วารสารยางพาราฉบับที่ 1-2556  ปีที่ 34
วารสารยางพาราฉบับที่ 1-2556  ปีที่ 34
วารสารยางพาราฉบับที่ 1-2556  ปีที่ 34
วารสารยางพาราฉบับที่ 1-2556  ปีที่ 34
วารสารยางพาราฉบับที่ 1-2556  ปีที่ 34
วารสารยางพาราฉบับที่ 1-2556  ปีที่ 34
วารสารยางพาราฉบับที่ 1-2556  ปีที่ 34
วารสารยางพาราฉบับที่ 1-2556  ปีที่ 34

Contenu connexe

En vedette (7)

วารสารยางพารา ฉบับที่ 3 ปีที่ 35
วารสารยางพารา ฉบับที่ 3 ปีที่ 35วารสารยางพารา ฉบับที่ 3 ปีที่ 35
วารสารยางพารา ฉบับที่ 3 ปีที่ 35
 
สถานการณ์ภาคเกษตรการปรับตัวของเกษตรกร 2
สถานการณ์ภาคเกษตรการปรับตัวของเกษตรกร 2สถานการณ์ภาคเกษตรการปรับตัวของเกษตรกร 2
สถานการณ์ภาคเกษตรการปรับตัวของเกษตรกร 2
 
ลต ประจำปีงบ 57
ลต ประจำปีงบ 57ลต ประจำปีงบ 57
ลต ประจำปีงบ 57
 
Ep school calendar 2013 14 se 2 thai
Ep school calendar 2013 14 se 2 thaiEp school calendar 2013 14 se 2 thai
Ep school calendar 2013 14 se 2 thai
 
Project Present
Project PresentProject Present
Project Present
 
Sexmag
SexmagSexmag
Sexmag
 
แนวข้อสอบเตรียมสอบท้องถิ่นและส่วนราชการต่างๆ
แนวข้อสอบเตรียมสอบท้องถิ่นและส่วนราชการต่างๆแนวข้อสอบเตรียมสอบท้องถิ่นและส่วนราชการต่างๆ
แนวข้อสอบเตรียมสอบท้องถิ่นและส่วนราชการต่างๆ
 

Similaire à วารสารยางพาราฉบับที่ 1-2556 ปีที่ 34

การนำเสนอข้อมูล
การนำเสนอข้อมูลการนำเสนอข้อมูล
การนำเสนอข้อมูลpumyam
 
โครงการ 2 ล้านๆ กับ อนาคตประเทศไทย
โครงการ 2 ล้านๆ กับ อนาคตประเทศไทยโครงการ 2 ล้านๆ กับ อนาคตประเทศไทย
โครงการ 2 ล้านๆ กับ อนาคตประเทศไทยRHB Banking Group
 
PPT.สุพรรณบุรี-28กพ.66.pdf
PPT.สุพรรณบุรี-28กพ.66.pdfPPT.สุพรรณบุรี-28กพ.66.pdf
PPT.สุพรรณบุรี-28กพ.66.pdfAeKraikunasai1
 
FURD Cities Monitor ฉบับที่ 15
FURD Cities Monitor ฉบับที่ 15FURD Cities Monitor ฉบับที่ 15
FURD Cities Monitor ฉบับที่ 15FURD_RSU
 
2013 03-14 ซัพพลายเชนและโลจิสติกส์ ปี 2013 อนาคตประเทศไทย v1
2013 03-14 ซัพพลายเชนและโลจิสติกส์ ปี 2013 อนาคตประเทศไทย v12013 03-14 ซัพพลายเชนและโลจิสติกส์ ปี 2013 อนาคตประเทศไทย v1
2013 03-14 ซัพพลายเชนและโลจิสติกส์ ปี 2013 อนาคตประเทศไทย v1Nopporn Thepsithar
 
Plan dev12 2
Plan  dev12 2Plan  dev12 2
Plan dev12 2Nus Venus
 
Macro Economics c7 การค้าและการเงินระหว่างประเทศ
Macro Economics c7 การค้าและการเงินระหว่างประเทศMacro Economics c7 การค้าและการเงินระหว่างประเทศ
Macro Economics c7 การค้าและการเงินระหว่างประเทศOrnkapat Bualom
 

Similaire à วารสารยางพาราฉบับที่ 1-2556 ปีที่ 34 (9)

การนำเสนอข้อมูล
การนำเสนอข้อมูลการนำเสนอข้อมูล
การนำเสนอข้อมูล
 
โครงการ 2 ล้านๆ กับ อนาคตประเทศไทย
โครงการ 2 ล้านๆ กับ อนาคตประเทศไทยโครงการ 2 ล้านๆ กับ อนาคตประเทศไทย
โครงการ 2 ล้านๆ กับ อนาคตประเทศไทย
 
PPT.สุพรรณบุรี-28กพ.66.pdf
PPT.สุพรรณบุรี-28กพ.66.pdfPPT.สุพรรณบุรี-28กพ.66.pdf
PPT.สุพรรณบุรี-28กพ.66.pdf
 
FURD Cities Monitor ฉบับที่ 15
FURD Cities Monitor ฉบับที่ 15FURD Cities Monitor ฉบับที่ 15
FURD Cities Monitor ฉบับที่ 15
 
2013 03-14 ซัพพลายเชนและโลจิสติกส์ ปี 2013 อนาคตประเทศไทย v1
2013 03-14 ซัพพลายเชนและโลจิสติกส์ ปี 2013 อนาคตประเทศไทย v12013 03-14 ซัพพลายเชนและโลจิสติกส์ ปี 2013 อนาคตประเทศไทย v1
2013 03-14 ซัพพลายเชนและโลจิสติกส์ ปี 2013 อนาคตประเทศไทย v1
 
Plan dev12 2
Plan  dev12 2Plan  dev12 2
Plan dev12 2
 
Macro Economics c7 การค้าและการเงินระหว่างประเทศ
Macro Economics c7 การค้าและการเงินระหว่างประเทศMacro Economics c7 การค้าและการเงินระหว่างประเทศ
Macro Economics c7 การค้าและการเงินระหว่างประเทศ
 
ใบงาน
ใบงานใบงาน
ใบงาน
 
Is2
Is2Is2
Is2
 

Plus de สุพัชชา อักษรพันธ์

วารสารวิจัยและส่งเสริมวิชาการเกษตร มหาวิทยาลัยแม่โจ้
วารสารวิจัยและส่งเสริมวิชาการเกษตร มหาวิทยาลัยแม่โจ้วารสารวิจัยและส่งเสริมวิชาการเกษตร มหาวิทยาลัยแม่โจ้
วารสารวิจัยและส่งเสริมวิชาการเกษตร มหาวิทยาลัยแม่โจ้สุพัชชา อักษรพันธ์
 
แม่โจ้ศูนย์กลางความรู้ทางการเกษตรของชุมชน
แม่โจ้ศูนย์กลางความรู้ทางการเกษตรของชุมชนแม่โจ้ศูนย์กลางความรู้ทางการเกษตรของชุมชน
แม่โจ้ศูนย์กลางความรู้ทางการเกษตรของชุมชนสุพัชชา อักษรพันธ์
 
แม่โจ้ 80 ปี แมลงศัตรูที่ต้องระวังช่วงลำไยออกดอก
แม่โจ้ 80 ปี แมลงศัตรูที่ต้องระวังช่วงลำไยออกดอกแม่โจ้ 80 ปี แมลงศัตรูที่ต้องระวังช่วงลำไยออกดอก
แม่โจ้ 80 ปี แมลงศัตรูที่ต้องระวังช่วงลำไยออกดอกสุพัชชา อักษรพันธ์
 
1 ตค 56 เทคโนโลยีชาวบ้าน ข้าวขาวดอกมะลิ105
1 ตค 56 เทคโนโลยีชาวบ้าน ข้าวขาวดอกมะลิ1051 ตค 56 เทคโนโลยีชาวบ้าน ข้าวขาวดอกมะลิ105
1 ตค 56 เทคโนโลยีชาวบ้าน ข้าวขาวดอกมะลิ105สุพัชชา อักษรพันธ์
 

Plus de สุพัชชา อักษรพันธ์ (11)

วารสารวิจัยและส่งเสริมวิชาการเกษตร มหาวิทยาลัยแม่โจ้
วารสารวิจัยและส่งเสริมวิชาการเกษตร มหาวิทยาลัยแม่โจ้วารสารวิจัยและส่งเสริมวิชาการเกษตร มหาวิทยาลัยแม่โจ้
วารสารวิจัยและส่งเสริมวิชาการเกษตร มหาวิทยาลัยแม่โจ้
 
MBA WALAILAK RALLY OPEN 2014
MBA WALAILAK RALLY OPEN 2014MBA WALAILAK RALLY OPEN 2014
MBA WALAILAK RALLY OPEN 2014
 
Nissan juke e brochure
Nissan juke e brochureNissan juke e brochure
Nissan juke e brochure
 
Munzzz magazine
Munzzz magazineMunzzz magazine
Munzzz magazine
 
แม่โจ้ศูนย์กลางความรู้ทางการเกษตรของชุมชน
แม่โจ้ศูนย์กลางความรู้ทางการเกษตรของชุมชนแม่โจ้ศูนย์กลางความรู้ทางการเกษตรของชุมชน
แม่โจ้ศูนย์กลางความรู้ทางการเกษตรของชุมชน
 
แม่โจ้ 80 ปี แมลงศัตรูที่ต้องระวังช่วงลำไยออกดอก
แม่โจ้ 80 ปี แมลงศัตรูที่ต้องระวังช่วงลำไยออกดอกแม่โจ้ 80 ปี แมลงศัตรูที่ต้องระวังช่วงลำไยออกดอก
แม่โจ้ 80 ปี แมลงศัตรูที่ต้องระวังช่วงลำไยออกดอก
 
1 ตค 56 เทคโนโลยีชาวบ้าน ข้าวขาวดอกมะลิ105
1 ตค 56 เทคโนโลยีชาวบ้าน ข้าวขาวดอกมะลิ1051 ตค 56 เทคโนโลยีชาวบ้าน ข้าวขาวดอกมะลิ105
1 ตค 56 เทคโนโลยีชาวบ้าน ข้าวขาวดอกมะลิ105
 
รายงานการประชุมวันยางพาราอาเซียน
รายงานการประชุมวันยางพาราอาเซียนรายงานการประชุมวันยางพาราอาเซียน
รายงานการประชุมวันยางพาราอาเซียน
 
วารสารยางพารา ฉ 33 ปี 55
วารสารยางพารา ฉ 33 ปี 55วารสารยางพารา ฉ 33 ปี 55
วารสารยางพารา ฉ 33 ปี 55
 
รถคันแรก
รถคันแรกรถคันแรก
รถคันแรก
 
อ่านก่อนซื้อรถใหม่
อ่านก่อนซื้อรถใหม่อ่านก่อนซื้อรถใหม่
อ่านก่อนซื้อรถใหม่
 

วารสารยางพาราฉบับที่ 1-2556 ปีที่ 34

  • 1. ปีที่ 34 ฉบับที่ 1 มกราคม-มีนาคม 2556 ฉบับอิเล็กทรอนิกส์ 12
  • 2. ปีที่ 34 ฉบับที่ 1 มกราคม-มีนาคม 2556 ฉบับอิเล็กทรอนิกส์ 12 สารบัญ บทความ 2 แนวโน้มสถานการณ์ราคายาง ปี 2556 7 อนาคตยางพารากับประชาคมเศรษฐกิจอาเซียน 17 วิถีตลาดยางปี 2555 26 ตลาดกลางยางพาราไทย ก้าวไกลสู่ตลาดโลก 33 สรุปสถานการณ์ราคายางพาราในไตรมาสที่ 4 ของปี พ.ศ. 2555 และแนวโน้มในไตรมาสที่ 1 ของปี พ.ศ. 2556 ประจำฉบับ เตือนภัยสวนยาง 38 พืชผลิตยางธรรมชาติรายใหม่ : วายยูเล่ ข่าวสถาบันวิจัยยาง 47 บรรจุแต่งตั้งผู้สอบแข่งขันได้... ภาพปก (บนสุ ด ) : โมเดลอาคารสำนั ก งานตลาดข้ อ ตกลงส่ ง มอบจริ ง ประเทศไทย ตั้งอยู่ที่สำนักงานตลาดกลางยางพารานครศรีธรรมราช ต.จันดี อ.ฉวาง จ.นครศรีธรรมราช กำหนดเปิดทำการเดือนพฤษภาคม พ.ศ.2556
  • 3. บทบรรณาธิการ การเพิ่มมูลค่าทางเศรษฐกิจยางต้องเน้นการตลาด การผลิตยางธรรมชาติของไทยปี 2555 มีปริมาณทั้งสิ้น เป็นสิ่งจำเป็นต่อการวางแผนพัฒนายางพาราทั้งระบบ เพื่อสร้าง 3,776,957 ตัน เพิ่มขึ้นจากปี 2554 จำนวน 207,924 ตัน หรือ ความพร้ อ มภาคธุ ร กิ จ การตลาดและเศรษฐกิ จ ซึ่ ง ขณะนี้ ไ ด้ เ ริ่ ม ร้อยละ 8.73 ในจำนวนนี้ส่งออกยางมาตรฐาน 2,556,103 ตัน เผยแพร่ แ ล้ ว ทางสื่ อ อี เ ลคโทรนิ ค www.rubberthai.com เพื่ อ ลดลงจากปี 2554 จำนวน 56,336 ตั น หรื อ ร้ อ ยละ 2.16 ร่ ว มบริ ห ารความเสี่ ย งของภาคเกษตรกรและเพื่ อ สร้ า งความ ส่วนยางผสมสารเคมี 565,218 ตัน เพิ่มขึ้นจากปี 2554 จำนวน เข้มแข็งภาคการตลาดของประเทศไทยในระดับสากล 225,276 ตั น หรื อ ร้ อ ยละ 66.27 จากอุ ป ทานเพิ่ ม มากขึ้ น และ นอกจากนี้ สถาบั น วิ จั ย ยางยั ง ตั้ ง หวั ง จะให้ ป ระเทศไทย ความต้ อ งการใช้ ย างของประเทศผู้ ใ ช้ ร ายใหญ่ เ พิ่ ม ขึ้ น เล็ ก น้ อ ย เป็นฐานของตลาดยางพาราของประชาคมเศรษฐกิจอาเชี่ยนใน เป็นปัจจัยที่สำคัญที่ทำให้ราคายางของไทยปรับตัวสูงขึ้นในช่วง อนาคต สถาบั น วิ จั ย ยางจึ ง วางแผนผลั ก ดั น ตลาด ข้ อ ตกลงส่ ง ต้ น ปี (เดื อ นมกราคมจนถึ ง กลางเดื อ นกุ ม ภาพั น ธ์ ) ส่ ว นการใช้ มอบจริงของสำนักงานตลาดกลางยางพารานครศรีธรรมราช ให้ ยางในประเทศมี จ ำนวนประมาณ 504,000 ตั น เพิ่ ม ขึ้ น จากปี มี ก ารซื้ อ ขายในระดั บ ต่ า งประเทศ ซึ่ ง เป็ น ตลาดที่ เ ปิ ด โอกาสให้ 2554 จำนวน 17,255 ตัน หรือร้อยละ 3.54 สัดส่วนการใช้ยาง เกษตรกรและผู้ประกอบการภายในประเทศทำข้อตกลงกับผู้ซื้อที่ ในประเทศคิดเป็นร้อยละ 13.34 ของปริมาณยางทั้งหมดที่ผลิต เป็นสมาชิกทั้งในและต่างประเทศได้โดยตรง และส่งมอบสินค้า ได้หรือร้อยละ 12.17 ของบัญชีสมดุลยางพาราของไทย ทั้งหมดตามข้อตกลงภายใน 10 วันทำการหลังทำสัญญาผ่านระบบ ในปี 2555 มู ล ค่ า ส่ ง ออกทั้ ง หมดของยางพารา ได้ แ ก่ “ตลาดข้อตกลงส่งมอบจริงของประเทศไทย” การผลักดันตลาด วัตถุดิบพร้อมทำผลิตภัณฑ์ยาง มูลค่าส่งออกผลิตภัณฑ์ยาง ไม้ยาง กลางยางพารานครศรีธรรมราช ให้มีกิจกรรมการซื้อการขายให้ พาราและผลิตภัณฑ์จากไม้ยางพาราด้วยแล้ว อุตสาหกรรมยางทั้ง เป็ น ที่ ย อมรั บ ในระดั บ สากล โดยผู้ ผ ลิ ต ผู้ ข ายและผู้ ซื้ อ ทั้ ง ใน ระบบมีมูลค่าการส่งออกรวมกัน 647,906 ล้านบาท ลดลงจากปี และต่างประเทศเป็นผู้ผลิตและใช้ยางจริง นับเป็นก้าวใหม่ของ 2554 จำนวน 39,367 ล้านบาท หรือลดลงร้อยละ 5.73 อย่างไร ตลาดกลางยางพาราไทย ซึ่ ง ปั จ จุ บั น สถาบั น วิ จั ย ยางมี ต ลาด ก็ตาม ก็ยังสูงกว่าปี 2553 จำนวน 157,777 ล้านบาท หรือร้อยละ กลางยางพาราเพื่ อ การวิ จั ย อยู่ จ ำนวน 6 ตลาด กระจายอยู่ ใ น 24.35 จะเห็นว่า มูลค่ายางแปรรูปมาตรฐานในปี 2555 มีมูลค่า 6 จั ง หวั ด กล่ า วคื อ ตลาดกลางยางพาราหาดใหญ่ ( สงขลา) ลดลงจากปี 2554 ถึง 113,614 ล้านบาท หรือร้อยละ 16.53 แต่ นครศรีธรรมราช สุราษฏร์ธานี บุรีรัมย์ หนองคาย และยะลา นับว่า ก็ได้รับการชดเชยรายได้ที่เพิ่มขึ้นจากภาคยางผสมสารเคมีและ เป็นการพัฒนา ทั้งระบบตลาดกลางของประเทศไทยให้เข้มแข็ง ภาคผลิ ต ภั ณ ฑ์ ย างที่ มี มู ล ค่ า เพิ่ ม ขึ้ น ถึ ง 10,453 และ 64,140 สู่ระดับสากล โดยเป้าหมายว่า ในปี 2558 ซึ่งประเทศไทยจะเข้าสู่ ล้ า นบาท หรื อ ร้ อ ยละ 1.52 และ 8.37 ตามลำดั บ แต่ จ ากค่ า ประชาคมเศรษฐกิ จ อาเชี่ ย น (AEC) ภาคยางพาราซึ่ ง เป็ น พื ช พยากรณ์ราคายางในปี พ.ศ. 2556 คาดว่า ราคายางแผ่นดิบตลาด เศรษฐกิ จ หลั ก ของหลายประเทศในกลุ่ ม ประชาคมเศรษฐกิ จ กลางยางพาราเฉลี่ยเคลื่อนไหวอยู่ระหว่างกิโลกรัมละ 72.80 – อาเชี่ ย นก็ จ ะมี บ ทบาทร่ ว มเช่ น เดี ย วกั บ พื ช อื่ น และเป็ น พื ช 97.43 บาท โดยมีราคาเฉลี่ยกิโลกรัมละ 86.41 บาท ราคาปรับ เศรษฐกิ จ หลั ก ที่ ไ ด้ รั บ ความร่ ว มมื อ เป็ น หนึ่ ง เดี ย วในภู มิ ภ าค ตัวลดลงจากราคาเฉลี่ยปี 2555 (เฉลี่ย 93.91 บาท/กก.) ร้อยละ โดยเฉพาะภาคการตลาด 7.87 ดั ง นั้ น เมื่ อ เปรี ย บเที ย บกั บ ราคาพื้ น ฐานที่ ค วรได้ เฉลี่ ย สุดท้าย การจัดตั้ง “ตลาดข้อตกลงส่งมอบจริงของประเทศ กิโลกรัมละ 101.90 บาท คิดเป็นมูลค่าทางเศรษฐกิจที่ควรได้ของ ไทย” สถาบั น วิ จั ย ยางยั ง หวั ง ว่ า จะเป็ น “การพั ฒ นาศั ก ยภาพ ประเทศสูญเสียไปจำนวน 54,740 ล้านบาท ด้วยความสำคัญนี้ เกษตรไทยให้ ส ามารถทำการผลิ ต และนำผลผลิ ต สู่ ต ลาดโลก สถาบั น วิ จั ย ยางจึ ง ได้ จั ด ตั้ ง “ศู น ย์ วิ เ คราะห์ เ ศรษฐกิ จ และ ด้วยตนเอง อันเป็นการเพิ่มรายได้ เพิ่มอำนาจการต่อรอง ส่งผลให้ สถานการณ์ยางพารา” เพื่อวิเคราะห์สถานการณ์การผลิตและการ ราคายางของประเทศมีเสถียรภาพ และสร้างมูลค่าเพิ่มจากการเพิ่ม ใช้ยางธรรมชาติ โดยการวิจัยและพัฒนาแบบจำลองอุปทานยาง กระบวนการค้าภาคเกษตรกรไม่น้อยกว่า 3 พันล้านบาทต่อปี” ธรรมชาติของไทย และศึกษากลไกในการวิเคราะห์สถานการณ์ ยางพาราและช่องทางในการเผยแพร่ข้อมูลเร่งด่วน บริการข้อมูล นายสุจินต์ แม้นเหมือน ให้แก่หน่วยงานภาครัฐ ภาคเอกชน และเกษตรกรชาวสวนยาง บรรณาธิการ ที่ มี ค วามสนใจได้ ร่ ว มกั น ใช้ ป ระโยชน์ อ ย่ า งมี ป ระสิ ท ธิ ภ าพ อั น เจ้าของ สถาบันวิจัยยาง กรมวิชาการเกษตร บรรณาธิการบริหาร สุจินต์ แม้นเหมือน ผู้อำนวยการสถาบันวิจัยยาง บรรณาธิการ นายสุจินต์ แม้นเหมือน ผู้ช่วยบรรณาธิการ พิเชฏฐ์ พร้อมมูล กองบรรณาธิการ เอนก กุณาละสิริ, พรรษา อดุลยธรรม, ดร.นภาวรรณ เลขะวิพัฒณ์, ดร.พเยาว์ ร่มรื่นสุขารมย์, ดร.กฤษดา สังข์สิงห์ ผู้จัดการสื่อสิ่งพิมพ์ ไพรั ต น์ ทรงพานิ ช ผู้ จั ด การสื่ อ อิ เ ล็ ก ทรอนิ ก ส์ สมจิ ต ต์ ศิ ข ริ น มาศ ผู้ ช่ ว ยผู้ จั ด การสื่ อ อิ เ ล็ ก ทรอนิ ก ส์ จั ก รพงศ์ อมรทรัพย์ ผู้จัดการระบบฐานข้อมูล พิเชฏฐ์ พร้อมมูล ผู้จัดการสนทนาภาษายาง วราวุธ ชูธรรมธัช
  • 4. 2 ฉบับอิเล็กทรอนิกส์ 12 มกราคม-มีนาคม 2556 แนวโน้มสถานการณ์ราคายาง ปี 25561 สถาบันวิจัยยาง กรมวิชาการเกษตร ราคายางแผ่นดิบในปี 2555 เฉลี่ย 93.91 บาท/ สถานการณ์ราคายางแผ่นดิบ ก.ก. สืบเนื่องจากความผันผวนภาวะเศรษฐกิจโลก เช่น ปี 2537 – 2555 กรณีวิกฤตสินเชื่อด้อยคุณภาพของสหรัฐอเมริกา วิกฤติ สถานการณ์ราคายางแผ่นดิบ (USS: Unsmoked หนี้สาธารณะของสหภาพยุโรป รวมทั้งการที่เศรษฐกิจ Sheet Rubber) เฉลี่ย 3 แห่ง ณ ตลาดกลางยางพารา ของจี น เริ่ ม ชะลอตั ว ลงจากที่ เ คยอยู่ ใ นระดั บ ตั ว เลข ของประเทศไทย ได้แก่ สำนักงานตลาดกลางยางพารา 2 หลักมาโดยตลอด เหลือร้อยละ 9.1 ในปี พ.ศ. 2554 สงขลา สำนั ก งานตลาดกลางยางพาราสุ ร าษฎร์ ธ านี และคาดว่าจะอยู่ที่ร้อยละ 7.9 ในปีพ.ศ. 2555 ทั้งนี้ และสำนั ก งานตลาดกลางยางพารานครศรี ธ รรมราช จากสาเหตุดังกล่าว ส่งผลให้ความต้องการใช้ยางลดลง ระหว่างปี พ.ศ. 2537 – 2555 ซึ่งเป็นตัวแทนราคายาง อย่ า งไรก็ ต าม แม้ ว่ า ในระยะยาวราคายาง ธรรมชาติ ใ นประเทศมี พื้ น ฐานความเคลื่ อ นไหวของ ธรรมชาติจะมีแนวโน้มเพิ่มขึ้น แต่ในระยะสั้นราคายาง ราคายางที่ ผ่ า นมามี ทิ ศ ทางเพิ่ ม ขึ้ น เป็ น เส้ น ตรง (y = อาจมีความผันผวนหรือปรับตัวลดลงตามภาวะเศรษฐกิจ 0.4141x+4.9834 ; ภาพที่ 1) ตามการเคลื่อนไหวของ โดยในทางเศรษฐศาสตร์ ร าคายางจะเคลื่ อ นไหวตาม ราคายางในอดีต ซึ่งถือเป็นเส้นราคาพื้นฐานที่ควรได้ วัฏจักรเศรษฐกิจซึ่งมีอยู่ 4 ระยะ ได้แก่ ระยะรุ่งเรือง (basic remunerative price line) และเป็นการสะท้อน ถดถอย ตกต่ ำ และฟื้ น ตั ว โดยเฉพาะหากเกิ ด วิ ก ฤติ มูลค่าเพิ่มของปัจจัยทางเศรษฐกิจของประเทศและของ เศรษฐกิ จ ครั้ ง ใหญ่ ที่ มี ผ ลกระทบในวงกว้ า ง จะส่ ง ผล โลกจากภาคการผลิตยางธรรมชาติ เมื่อพิจารณาเส้น ให้การขยายตัวทางเศรษฐกิจของโลกลดลงอย่างมาก ราคาพื้นฐานที่ควรได้ดังกล่าว พบว่า ราคายางแผ่นดิบ เช่น กรณีวิกฤติแฮมเบอร์เกอร์ของสหรัฐอเมริกา ในปี ของตลาดกลางยางพาราในประเทศไทยมี แ นวโน้ ม ที่ พ.ศ. 2551 หรือวิกฤติหนี้สาธารณะของสหภาพยุโรป เพิ่มขึ้นตามสมการเส้นราคาพื้นฐานที่ควรได้ แต่ จ าก ในปี พ.ศ. 2555 ซึ่ ง จะเป็ น แรงผลั ก ดั น ราคายางให้ การเคลื่อนไหวของราคายางของประเทศไทยเบี่ยงเบน ลดลงด้วย นอกจากนี้ ราคายางยังอาจได้รับผลกระทบ ไปจากราคาพื้นฐานที่ควรได้ (remunerative price) จากนโยบายของแต่ ล ะประเทศ โดยเฉพาะประเทศ ที่ระดับกิโลกรัมละ 96.94 บาท ในปี พ.ศ. 2555 ขณะ ผู้ผลิตหรือผู้ใช้ยางรายใหญ่ เช่น ประเทศจีน ได้ควบคุม ที่ ร าคายางที่ ซื้ อ ขายจริ ง เฉลี่ ย อยู่ ที่ กิ โ ลกรั ม ละ 93.80 การเจริญเติบโตทางเศรษฐกิจ โดยปรับลดการขยายตัว บาท ซึ่งต่ำกว่าราคาพื้นฐานที่ควรได้ กิโลกรัมละ 3.14 ทางเศรษฐกิจตามแผนพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมแห่ง บาท คิดเป็นมูลค่าทางเศรษฐกิจที่ควรได้ของประเทศ ชาติ ฉบับที่ 12 (ปี พ.ศ. 2554 - 2558) เหลือเพียงร้อยละ สูญเสียไปจำนวน 28,111 ล้านบาท (ภาพที่ 2) 7.0 รายงานของคณะทำงานวิเคราะห์สถานการณ์ยาง สถาบันวิจัยยาง กรมวิชาการเกษตร, ธันวาคม 2555 1
  • 5. 3 ฉบับอิเล็กทรอนิกส์ 12 มกราคม-มีนาคม 2556 1 3 2537 2555 ( ) 200 1 3 2537 2555 180 160 ( ) 140 200 120 180 100 160 y = 0.4141x+4.9834 80 140 60 120 40 100 y = 0.4141x+4.9834 80 20 60 . . - 40 20 - . . 2 ภาพที่ 1 กราฟแสดงราคายางแผ่นดิบเฉลี่ย 3 ตลาด และเส้นราคาพื้นฐานที่ควรได้ ตั้งแต่ปี 2537 ถึง 2555 2 ( ) 200 180 ( ) 200 160 180 140 160 120 140 100 120 80 100 60 80 40 60 28,111 28,111 20 40 - 20 . . - . . Forecast USS USS 3 CRM Forecast USS USS 3 CRM ภาพที่ 2 กราฟแสดงราคายางแผ่นดิบของไทย แนวโน้มราคายางแผ่นดิบไทย มูลค่าที่สูญเสีย และค่าการพยากรณ์ราคายางแผ่นดิบ
  • 6. 4 ฉบับอิเล็กทรอนิกส์ 12 มกราคม-มีนาคม 2556 แนวโน้มราคายางปี พ.ศ. 2556 ตารางที่ 1 แสดงการพยากรณ์ราคายาง สถาบั น วิ จั ย ยาง ได้ พ ยากรณ์ ร าคายางแผ่ น ดิ บ แผ่นดิบตลาดกลางยางพาราปี 2556 ตลาดกลางยางพาราเฉลี่ยปี 2556 โดยเปรียบเทียบการ โดยวิธี Hybrid forecasting พยากรณ์ 3 วิธี ได้แก่ วิธี ARIMA (Autoregressive Integrated Moving Average Model) วิ ธี Hybrid หน่วย : บาท/กิโลกรัม Forecasting ซึ่ ง เป็ น การพยากรณ์ ด้ ว ยวิ ธี ARIMA ร่วมกับวิธีโครงข่ายประสาทเทียม (Neuron Network) ปี 2556 ราคาเฉลี่ย และวิ ธี Exponential Smoothing ผลการพยากรณ์ มกราคม 93.47 พบว่ า วิ ธี Hybrid Forecasting เป็ น วิ ธี ที่ มี ค วาม กุมภาพันธ์ 89.51 น่ า เชื่ อ ถื อ มากที่ สุ ด เพราะมี ค่ า ความคลาดเคลื่ อ น มีนาคม 76.46 น้อยที่สุด โดยมีค่าความคลาดเคลื่อนเฉลี่ยกำลังสอง เมษายน 84.26 (Root Mean Square Error : RMSE) เท่ า กั บ พฤษภาคม 84.06 1.512 จึ ง นำมาใช้ ใ นการพยากรณ์ ร าคายางปรากฏ มิถุนายน 72.80 ผลตามตารางที่ 1 และภาพที่ 3 ภายใต้ เ งื่ อ นไขของ กรกฎาคม 90.30 สถานการณ์ ท างเศรษฐกิ จ และสั ง คมโลกไม่ เ ปลี่ ย น สิงหาคม 80.10 แปลงมากนั ก จากภาวะปั จ จุ บั น ซึ่ ง จากภาพที่ 3 กันยายน 94.76 คาดการณ์ ว่ า ราคายางแผ่ น ดิ บ ตลาดกลางยาง ตุลาคม 92.65 พาราในปี พ.ศ. 2556 เคลื่อนไหวอยู่ระหว่างกิโลกรัม พฤศจิกายน 81.15 ละ 72.80 – 97.43 บาท โดยมีราคาเฉลี่ยกิโลกรัมละ ธันวาคม 97.43 86.41 บาท ราคาปรับตัวลดลงจากราคาเฉลี่ยปี 2555 เฉลี่ย 86.41 (เฉลี่ย 93.91 บาท/กก) ร้อยละ 7.87 ดังนั้น เมื่อเปรียบ สูงสุด 97.43 เทียบกับราคาพื้นฐานที่ควรได้ เฉลี่ยกิโลกรัมละ 101.90 ต่ำสุด 72.80 บาท คิดเป็นมูลค่าทางเศรษฐกิจที่ควรได้ของประเทศ ที่มา : เอกสารต้นฉบับ, สถาบันวิจัยยาง สูญเสียไปจำนวน 54,740 ล้านบาท (ภาพที่ 4) กรมวิชาการเกษตร, 2556. จากค่าพยากรณ์ราคายางในปีพ.ศ. 2556 ต่ำกว่า ระดับราคาพื้นฐานที่ควรได้ เนื่องจากคาดการณ์ว่า จะมี อุ ป ทานส่ ว นเกิ น ของยางธรรมชาติ ทั้ ง โลกจำนวน ทั้งภูมิภาค (โค่นปลูกแทน ชะลอการกรีด ประชาสัมพันธ์ ประมาณ 496,000 ตัน และปัญหาหน้าผาทางการคลัง ให้ผลิตจำนวนที่พอเพียง) เพิ่มการใช้ยางธรรมชาติใน ของสหรัฐ วิกฤติเศรษฐกิจของยุโรป ภาวะอุปทานยาง ภาครั ฐ ของประเทศ (ถนน ฝาย หมอนรองรางรถไฟ ในประเทศผู้ผลิตยางธรรมชาติ การปรับลดการขยาย ส่งเสริมการใช้ยางรองตีนตะขาบรถแทรคเตอร์ทางการ ตัวทางเศรษฐกิจของผู้ใช้ยางรายใหญ่ ได้แก่ จีน สหรัฐ เกษตร การใช้ถุงมือยางทางการแพทย์ ส่งเสริมการใช้ ญี่ ปุ่ น รวมทั้ ง ผลการดำเนิ น การตามมาตรการรั ก ษา ยางผลิ ต ลู่ วิ่ ง และออกกำลั ง กายในสถานศึ ก ษา และ เสถี ย รภาพราคายางของไทยและ สภาความร่ ว มมื อ อื่นๆ) ประชาสัมพันธ์และขยายผลการใช้ยางพารา โดย ด้านยางระหว่างประเทศ (ITRC) มุ่ ง เป้ า หมายไปยั ง ประเทศที่ มี สั ด ส่ ว นการใช้ ย าง ดังนั้น ในปี 2556 รัฐต้องเร่งผลักนโยบายหรือ สั ง เคราะห์ ล ดลง รวมทั้ ง การผลั ก ดั น ตลาดกลางยาง มาตรการอย่างจริงจังให้มากขึ้นเพื่อยกระดับราคายาง พาราให้ มี ต ลาดข้ อ ตกลงส่ ง มอบจริ ง ในระดั บ สากล ให้สูงขึ้น โดยการแสวงหาความร่วมมือลดผลผลิตยาง เป็นต้น ทั้งนี้ เพื่อผลักดันเส้นราคายางจริงให้ใกล้เคียง
  • 7. 5 ฉบับอิเล็กทรอนิกส์ 12 มกราคม-มีนาคม 2556 3 . . 2556 3( ) . . 2556 190 180 170 ( ) 160 190 150 180 140 170 130 160 120 150 110 140 100 130 90 120 80 110 70 100 60 90 80 70 60 Trend USS Prices Actual USS Predict USS 56 4 Trend USS Prices Actual USS Predict USS 56 ภาพที่ 3 กราฟแสดงแนวโน้ม และการพยากรณ์ราคายางแผ่นดิบในปี พ.ศ. 2556 . . 2556 / 200 4( ) 180 . . 2556 / 160 ( ) 200 140 195,012 27,989 180 3,379 15,191 120 32,349 160 100 500 140 705 195,012 80 27,989 3,379 2,088 15,191 120 60 102 227 1,917 32,349 100 500 86,092 40 705 1,140 5,125 28,111 80 20 102,227 ล้านบาท 1,917 102 227 479 14,609 2,088 54,740 60- 364 242,330 86,092 . . 40 1,140 5,125 28,111 20 479 14,609 - 364 USS 3 CRM 242,330 USS 3 CRM54,740 . . ปี พ.ศ. USS 3 CRM USS 3 CRM ภาพที่ 4 กราฟแสดงราคายางแผ่นดิบของไทย แนวโน้มราคายางแผ่นดิบไทย การพยากรณ์ราคายางแผ่นดิบในปี พ.ศ. 2556 และมูลค่าการสูญเสีย/ ผลได้ส่วนต่าง
  • 8. 6 ฉบับอิเล็กทรอนิกส์ 12 มกราคม-มีนาคม 2556 เส้นราคาพื้นฐานที่ควรได้ เฉลี่ยกิโลกรัมละ 101.90 บาท ล้านบาท โดยจำแนกเป็นมูลค่าทางตัวเงินที่ควรได้ในปี เพื่อลดการเสียโอกาสทางเศรษฐกิจที่คาดว่า มูลค่าทาง 2555 และ 2556 จำนวน 28,111 ล้ า นบาท และ เศรษฐกิจที่ควรได้ของประเทศจะสูญเสียไปรวม 82,851 54,740 ล้านบาท ตามลำดับ
  • 9. 7 ฉบับอิเล็กทรอนิกส์ 12 มกราคม-มีนาคม 2556 อนาคตยางพารากับประชาคมเศรษฐกิจอาเชี่ยน สุจินต์ แม้นเหมือน1 สถาบันวิจัยยาง กรมวิชาการเกษตร ยางพารา (Hevea brasiliensis Muell.) เป็นพืช สถาบั น วิ จั ย ยาง จึ ง ได้ วิ เ คราะห์ บ ทบาท สถานการณ์ อุ ต สาหกรรมที่ ส ำคั ญ ของประเทศไทยและภู มิ ภ าค และผลกระทบ เพื่อการเตรียมการดังนี้ อาเซียน ประเทศไทยมีพื้นที่ปลูกยาง 18.76 ล้านไร่ เป็น ผู้ผลิตและส่งออกยางมากที่สุดของโลก มีปริมาณการ นโยบาย ยุทธศาสตร์ และการดำเนินการ ผลิ ต 3.57 ล้ า นตั น คิ ด เป็ น สั ด ส่ ว นร้ อ ยละ 33 ของ ของสถาบันวิจัยยางในการเข้าสู่ประชาคม ปริ ม าณการผลิ ต ยางธรรมชาติ ข องโลก ส่ ง ออก 2.95 เศรษฐกิจอาเชี่ยน ล้ า นตั น คิ ด เป็ น สั ด ส่ ว นร้ อ ยละ 36 ของปริ ม าณการ ปัจจุบันสถาบันวิจัยยางได้ดำเนินการตามกรอบ ส่งออกยางธรรมชาติของโลก ในปี 2554 ประเทศไทย ยุทธศาสตร์ยางพารา พัฒนายางพารา พ.ศ. 2552-2556 เป็นผู้ใช้ยางอันดับ 5 ของโลก ด้วยปริมาณ 486,745 ตัน ซึ่งการนี้ได้มีการผลักดันความร่วมมือระหว่างประเทศ หรือร้อยละ 13.6 ของปริมาณการผลิตยางในประเทศ ซึ่งเป็นกลยุทธ์ที่ 5 ในยุทธศาสตร์พัฒนายางพารา พ.ศ. การส่ ง ออกยางธรรมชาติ ข องไทย ส่ ง ออกในรู ป ของ 2552 – 2556 กรมวิ ช าการเกษตร จะผลั ก ดั น การ วั ต ถุ ดิ บ ผลิ ต ภั ณ ฑ์ ย าง ไม้ ย างพาราแปรรู ป และผลิต ทำงานร่ ว มระหว่ า งสภายางระหว่ า งสามประเทศ ภัณฑ์ไม้ ทำรายได้ให้แก่ประเทศ คิดเป็นมูลค่า 678,942 (International Tripartite Rubber Council – ITRC) ล้านบาท ผลผลิตเฉลี่ย 276 กิโลกรัมต่อไร่ต่อปี ซึ่งเป็นความร่วมมือไตรภาคียางพารา 3 ประเทศ (ไทย ในปี 2558 ซึ่ ง ประเทศไทยจะเข้ า สู่ ป ระชาคม มาเลเซี ย อิ น โดนี เ ซี ย ) รวมทั้ ง การผลั ก ดั น เพื่ อ จั ด ตั้ ง เศรษฐกิ จ อาเชี่ ย น (AEC) ภาคยางพาราซึ่ ง เป็ น พื ช กองทุนรักษาเสถียรภาพและพยุงราคาในช่วงราคายาง เศรษฐกิ จ หลั ก ของหลายประเทศในกลุ่ ม ประชาคม ตกต่ำให้มีความคล่องตัวและมีประสิทธิภาพ โดยการ เศรษฐกิจอาเชี่ยนก็จะมีบทบาทร่วมเช่นเดียวกับพืชอื่น ประสานงานการรักษาเสถียรภาพราคายางร่วมกับบริษัท แต่ ย างพาราเป็ น พื ช ที่ ดู แ ลต่ า งกระทรวงกั น ในแต่ ล ะ ร่วมทุนยางระหว่างประเทศ (International Rubber ประเทศ ทำให้การหารือภาคยางทั้งระบบไม่ได้นำมา Consortium Limited- IRCo ) ให้ขยายกรอบความ ถกกันอย่างจริงจังระหว่างประเทศผู้ผลิตยางธรรมชาติ ร่วมมือเป็นระดับอาเชี่ยนกับ เวียดนาม ลาว กัมพูชา ของอาเชี่ยน จำเป็นที่รัฐบาลจะต้องเร่งดำเนินการยก และเมี ย นม่ า เพื่ อ จั ด ตั้ ง สภายางอาเชี่ ย น (Asian ประเด็ น ยางพาราให้ มี ก ารหารื อ เป็ น กลุ่ ม เฉพาะนอก Rubber Council – ARC) ในระยะต่อไป เพื่อประสาน เหนือการหารือในกลุ่มกระทรวงของประเทศสมาชิกใน และสร้างความเข้มแข็งของกลุ่มประเทศผู้ผลิตยางใน โอกาสต่อไป เพื่อให้สินค้ายางพาราเป็นพืชเศรษฐกิจ ภูมิ ภาค ถ้ าการนี้ บ รรลุ ผ ล กลุ่ ม สภายางอาเชี่ ยนก็ จ ะ หลั ก ที่ ไ ด้ รั บ ความร่ ว มมื อ เป็ น หนึ่ ง เดี ย วในภู มิ ภ าค มี ก ำลั ง การผลิ ต มากกว่ า ร้ อ ยละ 85 ของผลผลิ ต ยาง 1 ผู้อำนวยการสถาบันวิจัยยาง: สถาบันวิจัยยาง กรมวิชาการเกษตร เขตจตุจักร กรุงเทพ 11000 โทร 02-579-3667 ต่อ 604 E-mail : maenmeun@yahoo.com
  • 10. 8 ฉบับอิเล็กทรอนิกส์ 12 มกราคม-มีนาคม 2556 ธรรมชาติในโลก และประเทศจีนก็เป็นผู้บริโภครายใหญ่ เหมาะสมต่อการปลูกยางพาราจำนวนมาก มีเทคโนโลยี ของโลก (รายละเอี ย ดปรากฏในตารางที่ 1 และ 2) การผลิตยางพาราที่ก้าวหน้า สามารถเพิ่มผลผลิตได้ทั้ง นอกจากนี้ ยังสามารถขยายความร่วมมือในการสร้าง โดยเพิ่มพื้นที่ปลูกและเพิ่มผลผลิตต่อหน่วยพื้นที่ ความเข้ ม แข็ ง ในการกำหนดมาตรฐานผลิ ต ภั ณฑ์ยาง (5) เกษตรกรชาวสวนยางส่วนใหญ่ในภาคใต้และ ธรรมชาติ ร่ ว มกั น ซึ่ ง ในขณะนี้ ไ ด้ ด ำเนิ น การร่ ว มกั บ ภาคตะวันออกมีภูมิปัญญาและประสบการณ์ในการทำ มาเลเชียและอินโดนีเซียอยู่แล้ว สวนยางมายาวนาน (6) มีความหลากหลายของการแปรรูปยางดิบที่ใช้ แนวโน้ม จุดแข็ง จุดอ่อน และความเสี่ยง เป็นวัตถุดิบในการผลิตผลิตภัณฑ์ยาง รวมถึงปัญหาและอุปสรรคของอุตสาหกรรม (7) มีกฎหมายและหน่วยงานที่รับผิดชอบในการ ยางพารา ในการเข้าสู่ประชาคมเศรษฐกิจ ส่ ง เสริ ม การปลู ก การวิ จั ย และพั ฒ นายางโดยเฉพาะ อาเชี่ยน และมี เ งิ น ทุ น สนั บ สนุ น ในการปลู ก และการวิ จั ย ยาง จุดแข็ง อย่างต่อเนื่อง (1) ยางพาราเป็นพืชที่มีศักยภาพ มีโอกาสในการ พั ฒ นาและสร้ า งมู ล ค่ า เพิ่ ม ให้ เ ป็ น ผลิ ต ภั ณ ฑ์ ย างได้ จุดอ่อน หลากหลาย (1) ยางพาราเป็นวัตถุดิบในการอุตสาหกรรม มี (2) เป็นพืชที่ช่วยลดภาวะโลกร้อน โดยช่วยดูดซับ ความต้ อ งการใช้ ย างพาราเป็ น ความต้ อ งการต่ อ เนื่ อ ง ก๊าซคาร์บอนไดออกไซด์ในอากาศ เป็นพืชที่มีศักยภาพ ต้องพึ่งพาตลาดต่างประเทศและเศรษฐกิจโลก นำไปจั ด ทำเป็ น โครงการ Clean Development (2) เกษตรกรส่ ว นใหญ่ เ ป็ น เกษตรกรรายย่ อ ย Mechanism (CDM) หรือสามารถขายคาร์บอนเครดิต การผลิตจึงเป็นการผลิตแบบครอบครัว ใช้ระบบกรีดถี่ ภายใต้ตลาดแบบสมัครใจ (Voluntary market) มีจำนวนวันกรีดมาก ทำให้ผลผลิตต่อครั้งกรีดน้อยกว่า (3) การปลูกสร้างสวนยางได้ผลผลิตไม้ยางพารา ระบบกรีดห่างของสวนยางขนาดใหญ่ ส่งผลให้ต้นทุนต่อ สามารถใช้ทดแทนไม้จากป่าธรรมชาติ เสริมสร้างความ กิโลกรัมจะสูงขึ้น กำไรที่เกษตรกรควรจะได้รับจากผล มั่นคงให้กับอุตสาหกรรมไม้แปรรูปและเฟอร์นิเจอร์ไม้ ผลิตจึงลดลงด้วย (4) ประเทศไทยมี ส ภาพพื้ น ที่ แ ละภู มิ อ ากาศที่ (3) ผู้ ป ระกอบการอุ ต สาหกรรมผลิ ต ภั ณ ฑ์ ย าง ตารางที่ 1 ปริมาณการผลิต การใช้ยางของโลก ปี 2552-2554 หน่วย : ล้านตัน 2552 2553 2554 รายการ ยางธรรมชาติ ยางสังเคราะห์ ยางธรรมชาติ ยางสังเคราะห์ ยางธรรมชาติ ยางสังเคราะห์ ผลิต 9.690 12.415 10.410 14.207 10.695 14.622 ใช้ 9.329 12.162 10.788 14.067 10.858 14.504 สมดุล 0.361 0.253 -0.377 0.140 0.087 0.118 สต็อก 1.880 3.309 1.503 3.449 1.395 na ที่มา : รายงานประจำปี 2554 สถาบันวิจัยยาง กรมวิชาการเกษตร (กุมภาพันธ์, 2555)
  • 11. 9 ฉบับอิเล็กทรอนิกส์ 12 มกราคม-มีนาคม 2556 ตารางที่ 2 อุปสงค์และอุปทานยางพาราของประเทศกลุ่มประชาคมอาเชี่ยนสำคัญ บางประเทศและจีน ปี 2554 หน่วย : ล้านตัน ปริมาณ ในปี พ.ศ. 2554 รายการ ไทย อินโดนีเซีย มาเลเซีย1 เวียดนาม กัมพูชา จีน2 อุปทาน – SUPPLY (S) สต็อกต้นปี 0.227 0.081 0.142 0.067 0.001 0.144 ผลผลิตในปี 3.569 3.029 0.996 0.812 0.051 0.727 นำเข้า 0.004 0.016 0.667 0.155 0.000 2.848 รวม 3.800 3.126 1.805 1.034 0.052 3.719 อุปสงค์ - DEMAND (D) ส่งออก 2.952 2.571 1.257 0.731 0.045 0.009 ใช้ภายใน 0.488 0.471 0.419 0.120 0.000 3.602 สต็อกปลายปี 0.361 0.143 0.143 0.122 0.007 0.095 รวม 3.800 3.185 1.819 0.974 0.052 3.706 รวมสมดุล (S-D) 0 -0.059 -0.014 0.006 0 0.013 1 อุปสงค์ของมาเลเซียรวมส่วนที่แปรรูปเป็นยางผสม 0.311 ล้านตัน ในปีเดียวกัน 2 อุปทานของจีนรวมส่วนที่นำเข้ายางผสมอีก 0.854 ล้านตันในปีเดียวกัน ที่มา : ANRPC, Natural Rubber Trends & Statistics. Vol 4, No 12 , December 2012. ของไทยเป็นกิจการขนาดกลางและขนาดเล็ก ยังมีข้อ โอกาส จำกัดด้านเงินทุนและเทคโนโลยีการผลิต (1) การขยายตัวของประชากรโลกเพิ่มขึ้นทำให้ (4) การพั ฒ นายางพาราทั้ ง ระบบยั ง มี อุ ป สรรค ความต้องการใช้ยางธรรมชาติเพิ่มขึ้นด้วย และความ เนื่องจากยางพารามีผู้ที่เกี่ยวข้องหลายภาคส่วน ทั้งภาค ต้องการใช้ยางธรรมชาติของโลกยังคงมีอยู่อย่างต่อเนื่อง เกษตรกรรม ภาคอุตสาหกรรม และภาคแรงงาน ทำให้ ในระยะยาว แม้ว่าในช่วงที่เกิดวิกฤติเศรษฐกิจ ความ การเชื่อมโยงการพัฒนาทั้งระบบไม่คล่องตัว ต้องการใช้ยางก็ยังมีอยู่ (5) ยางธรรมชาติ ที่ ส่ ง ออกเป็ น ยางที่ อ ยู่ ใ นรู ป (2) ยางธรรมชาติ มี ส มบั ติ ที่ ย างสั ง เคราะห์ ไ ม่ วั ต ถุ ดิ บ หรื อ ยางแปรรู ป เป็ น ส่ ว นใหญ่ จึ ง ต้ อ งพึ่ ง พา สามารถทดแทนได้ จำเป็นจะต้องใช้ยางธรรมชาติใน ตลาดต่างประเทศเป็นหลัก ทำให้มีความเสี่ยงในด้าน การผลิตล้อยานพาหนะ ซึ่งเป็นอุตสาหกรรมสำคัญที่ใช้ ราคาและเสียโอกาสในการสร้างมูลค่าเพิ่ม ยางสูงกว่าผลิตภัณฑ์ยางอื่น ๆ (6) บุคลากรที่ปฏิบัติงานเกี่ยวกับยางพารายังมี (3) การรวมตัวของประเทศผู้ผลิตยางธรรมชาติ ไม่เพียงพอ โดยเฉพาะนักวิจัยด้านอุตสาหกรรมยาง รายใหญ่ของโลก สร้างอำนาจต่อรอง และความเป็น
  • 12. 10 ฉบับอิเล็กทรอนิกส์ 12 มกราคม-มีนาคม 2556 ธรรมในด้านเสถียรภาพราคายาง ทำให้เกษตรกรมีความ ผลกระทบต่อโครงสร้างของอุตสาหกรรม มั่นคงทางด้านรายได้ ยางพาราในประเทศ (4) นอกจากยางพาราจะนำไปผลิตเป็นยางล้อ ผลกระทบต่อการผลิตของเกษตรกร เป็นหลักแล้ว แต่ยางพารายังมีโอกาสสร้างอุปสงค์ได้ ผลผลิ ต ที่ ไ ด้ จ ากการกรี ด ต้ น ยางพารา ได้ แ ก่ อีกหลากหลายสาขา ทั้งการใช้งานในกิจกรรมการขนส่ง น้ำยางสด (Field Latex) และเศษยางหรือยางก้นถ้วย สุขอนามัย การบริการสาธารณะ และการใช้งานเฉพาะ (Cup Lump) เกษตรกรจะนำผลผลิ ต น้ ำ ยางสดที่ ไ ด้ ส่วนบุคคล ส่วนใหญ่มาทำเป็นยางแผ่นดิบเพื่อจำหน่ายต่อให้กับ โรงงาน สินค้าวัตถุดิบที่เกษตรกรจำหน่ายให้กับโรงงาน ข้อจำกัด จึงมี 3 ประเภท คือ ยางแผ่นดิบ น้ำยางสด รวมทั้งยาง (1) ความผันผวนของราคายางธรรมชาติในตลาด ก้อนและเศษยาง โดยมีสัดส่วนของปริมาณผลิตเท่ากับ โลกมี ผ ลกระทบอุ ต สาหกรรมยางทั้ ง ระบบ หากยาง 80% 15% และ 5% ตามลำดับ กรณีที่กลุ่มเกษตรกร ธรรมชาติ มี ร าคาสู ง มาก ประเทศอุ ต สาหกรรมต่ า งๆ หรื อ สหกรณ์ ช าวสวนยางรวมตั ว กั น ดี ก็ จ ะผลิ ต ยาง จะเพิ่มความพยายามในการพัฒนาวัตถุดิบอื่นเพื่อใช้ แผ่นรมควันไม่อัดเบล และยางแผ่นผึ่งแห้ง จำหน่ายใน ทดแทนยางธรรมชาติ ในขณะเดี ย วกั น เมื่ อ ราคายาง ตลาดกลางหรื อ โครงการรั ก ษาเสถี ย รภาพราคายาง ธรรมชาติสูงมากนั้น เป็นสิ่งจูงใจให้เกษตรกรในประเทศ ด้ ว ย แต่ ป ริ ม าณผลิ ต จากการรวมกลุ่ ม ดั ง กล่ า วยั ง มี ต่ า งๆ ขยายพื้ น ที่ ป ลู ก ยางมากขึ้ น จนอาจส่ ง ผลให้ จำนวนไม่มากนัก สถาบันวิจัยยางเห็นว่าการผลิตของ ปริมาณเกินความต้องการเมื่อพื้นที่ปลูกให้ผลผลิต เกิด ภาคเกษตรกร ซึ่งเป็นอุตสาหกรรมต้นน้ำของภาคยาง ปัญหายางล้นตลาดและราคาตกต่ำ มีรายได้น้อยกว่า จะไม่มีผลกระทบ ค่าใช้จ่ายที่จำเป็น ทำให้รัฐบาลต้องช่วยเหลือด้านรายได้ เป็ น วงจรที่ ท้ า ทายให้ รั ฐ บาลของประเทศผู้ ป ลู ก ยางที่ การแปรรูปและการผลิตยางดิบ พยายามทำให้เกิดเสถียรภาพทั้งด้านราคาและปริมาณ ภาคอุ ต สาหกรรมซึ่ ง หมายถึ ง การแปรรู ป และ (2) การขยายพื้นที่ปลูกยางของประเทศต่างๆ ที่ การผลิ ต ยางดิ บ ของผู้ ป ระกอบการต่ อ เนื่ อ งจากภาค เพิ่มขึ้น จะทำให้ผลผลิตล้นตลาด ราคายางตกต่ำ มีผล การผลิ ต ของเกษตรกร ดั ง นั้ น สิ น ค้ า ยางสำเร็ จ ของ กระทบต่อเกษตรกรชาวสวนยางและเศรษฐกิจโดยรวม เกษตรกรจึงเป็นวัตถุดิบตั้งต้น (Raw materials) ของ ของไทย โรงงานอุ ต สาหกรรมแปรรู ป ยางตามมาตรฐานสากล (3) ต้นทุนการผลิตยางแปรรูปของไทยสูงกว่าเมื่อ ที่ ย อมรั บ เป็ น มาตรฐานกั น ทั่ ว โลก รอยต่ อ ระหว่ า ง เทียบกับประเทศผู้ผลิตยางอื่น เนื่องจากค่าแรงงานและ ภาคการผลิ ต และภาคอุ ต สาหกรรมจึ ง เป็ น รอยต่ อ ที่ ต้ น ทุ น พลั ง งานของไทยสู ง กว่ า ประเทศอื่ น ในภู มิ ภ าค สำคัญยิ่งของคุณภาพและต้นทุน ซึ่งส่งผลต่อการตลาด ยกเว้นมาเลเซียซึ่งมีค่าแรงสูงกว่าไทยแต่ต้นทุนพลังงาน และเศรษฐกิ จ มหภาคของประเทศโดยภาพรวม ผล ถูกกว่า ผลิตยางแผ่นรมควันของไทยยังคงสูงรองจากยางแท่ง (4) การขยายการผลิตยางล้อในประเทศเป็นไปได้ อื่ น เนื่ อ งจากเกษตรกรชาวสวนยางนิ ย มแปรรู ป ในปริมาณที่น้อยมาก เนื่องจากเมื่อผลิตเป็นยางล้อแล้ว น้ำยางสดเป็นยางแผ่นดิบ เนื่องจากยางแผ่นเก็บรักษา จะมีปริมาตรใหญ่ขึ้นมาก ทำให้เสียค่าขนส่งไปยังตลาด ได้ น านกว่ า น้ ำ ยางสด ผลผลิ ต ยางแท่ ง ประเทศไทย ปลายทางสู ง ผู้ ผ ลิ ต จึ ง มั ก มี แ ละขยายฐานการผลิ ต ผลิตร้อยละ 41.17 ของยางแปรรูปมาตรฐานสากลที่ ยางล้อที่ในประเทศผู้ใช้ยางล้อเป็นหลัก หรือเป็นประเทศ ส่ ง ออกทั้ ง หมด รองลงมา คื อ ยางแผ่ น รมควั น และ ที่มีค่าแรงงานและการสนับสนุนภาคอุตสาหกรรมสูงกว่า น้ ำ ยางข้ น ซึ่ ง ในปี 2554 มี สั ด ส่ ว นการผลิ ต ร้ อ ยละ ไทย ในขณะที่ ปั จ จั ย ข้ อ ได้ เ ปรี ย บการอยู่ ใ กล้ แ หล่ ง 30.08 และ 25.08 ตามลำดับ ซึ่งเป็นสัดส่วนที่สูงขึ้น วัตถุดิบคือยางดิบนั้นเป็นประเด็นรอง จากปี 2537 มาพอสมควร เนื่องจากในช่วง ปี 2537 –
  • 13. 11 ฉบับอิเล็กทรอนิกส์ 12 มกราคม-มีนาคม 2556 2543 ไทยได้เพิ่มการผลิตยางแท่งและน้ำยางข้นอย่าง ปี 2554 รวดเร็ ว เพื่ อ สนองตอบความต้ อ งการในต่ า งประเทศ ดังนั้น แม้ประเทศไทยจะเข้าร่วมการเป็นสมาชิก โดยมีอัตราเติบโตเฉลี่ยร้อยละ 16 และ 10 ต่อปี ใช้เวลา เศรษฐกิ จ อาเชี่ ย นซึ่ ง มี ป ระเทศผู้ ผ ลิ ต ยางพาราที่ เ ป็ น ถึง 10 ปีในการพัฒนา จึงล้ำหน้ายางแผ่นรมควันใน คู่แข่งอยู่ถึงสามประเทศ (อินโดนีเชีย มาเลเซีย และ ปี 2547 เวี ย ดนาม) ก็ ไ ม่ น่ า จะกระทบต่ อ อุ ต สาหกรรมภาคนี้ ผลกระทบภาคเศรษฐกิ จ มหภาคของประเทศ เนื่ อ งจากประเทศไทยก็ มี จุ ด เด่ น ทั้ ง ในเรื่ อ งชนิ ด ยาง เกิ ด จากมู ล ค่ า ที่ ไ ด้ จ ากยางแปรรู ป มาตรฐานเป็ น ราย ดิบมาตรฐานส่งออกที่เป็นที่ยอมรับกว้างขวางในตลาด ใหญ่ ซึ่งมีมูลค่าถึงร้อยละ 56.46 ของรายได้ทั้งหมด โลก ทั้งในเรื่องคุณภาพและปริมาณการผลิต เช่น ยาง และมูลค่าส่วนนี้ก็ขึ้นกับราคายางในตลาดโลกเป็นหลัก แท่งมาตรฐานประเทศไทย (Standard Thai Rubber: ราคาเฉลี่ยในตลาดโลกปี 2554 สูงกว่าปี 2553 เฉลี่ย STR) ยางแผ่นรมควัน (Rib Smoked Sheet : RSS) ราคายางแผ่นรมควันราคา 148.27 บาท และ 115.54 ยางผสมสารเคมี (Compound Rubber) และน้ำยางข้น บาทตามลำดั บ หรื อ เพิ่ ม ร้ อ ยละ 28.33 ในยางแผ่ น (Concentrate Latex) รมควัน ร้อยละ 29.21 ในยางแท่ง STR 5L ร้อยละ 29.71 21 ในยางแท่ง STR 20 และร้อยละ 25.11 ใน การแปรรูปและการผลิตภาคผลิตภัณฑ์ยาง น้ำยางข้น เป็นต้น ยางธรรมชาติเมื่อนำมาแปรรูปเป็นผลิตภัณฑ์ยาง ในภาพรวมเกษตรกรแปรรู ป ผลผลิ ต ในสวน แล้ว สามารถจำหน่ายได้ราคาสูง สร้างมู ลค่าเพิ่ ม ได้ ตนเองเบื้องต้น แล้วส่งจำหน่ายให้กับโรงงานเพื่อแปรรูป มาก ดังนั้น หากสามารถพัฒนาอุตสาหกรรมผลิตภัณฑ์ เป็นยางมาตรฐานสากล จึงมี 3 ประเภท คือ ยางแผ่นดิบ ยางของไทยให้มีประสิทธิภาพ สามารถผลิตผลิตภัณฑ์ น้ำยางสด และเศษยาง ผลผลิตยางขั้นต้นหรือยางดิบ ที่มีคุณภาพและมาตรฐานสูงกว่าที่เป็นอยู่ปัจจุบันก็จะ ได้จากการนำวัตถุดิบจากเกษตรกรไปผ่านการแปรรูป สามารถเพิ่มตลาดผลิตภัณฑ์ยางทั้งที่ใช้เองในประเทศ ให้ อ ยู่ ใ นลั ก ษณะตรงกั บ ความต้ อ งการของผู้ ซื้ อ มี และขยายตลาดส่งออกต่างประเทศได้ อีกทั้งเป็นการ คุณภาพดีและสะดวกต่อการนำไปใช้ของผู้ประกอบการ ลดการส่งออกวัตถุดิบ (ยางดิบ) อีกด้วย ผลิตภัณฑ์ยางชนิดต่างๆ ปัจจุบันมีการแปรรูปน้ำยาง ผลิ ต ภั ณ ฑ์ ย างที่ ผ ลิ ต และสร้ า งมู ล ค่ า เพิ่ ม ใน สด เศษยาง และยางแผ่นดิบ เป็นผลิตภัณฑ์ยางขั้นต้น ประเทศปี 2554 ใช้ ย างในประเทศจำนวน 486,745 2 ประเภทใหญ่ ๆ คือ ยางแห้ง (Dried Rubber) ได้แก่ ตัน หรือร้อยละ 12.81 ของอุปสงค์ยางพาราทั้งระบบ ยางแผ่นรมควัน ยางแท่ง ยางเครพ ยางแผ่นอบแห้ง (ซึ่งรวมสต็อกปลายปี 361,557 ตัน อยู่ด้วย) หรือร้อยละ ยางสกิ ม และยางชนิ ด พิ เ ศษต่ า งๆ เป็ น ต้ น และอี ก 13.64 ของผลผลิ ต ในปี (ผลผลิ ต ในปี 2554 จำนวน ประเภท คือ น้ำยางซึ่งรวมถึง น้ำยางข้น (Concentrate 3,569,003 ตัน) เพิ่มขึ้นจากปี 2553 ซึ่งใช้ยางในประเทศ latex)และน้ ำ ยางสด เมื่ อ โรงงานแปรรู ป ได้ วั ต ถุ ดิ บ 458,637 ตัน หรือเพิ่มขึ้น 23,522 ตัน หรือร้อยละ 5.13 แล้วก็จะผลิตสินค้ายางพาราแปรรูปมาตรฐานส่งออก การเข้ า ร่ ว มการเป็ น สมาชิ ก เศรษฐกิ จ อาเชี่ ย น จำหน่ายต่างประเทศ และใช้ในโรงงานผลิตผลิตภัณฑ์ ซึ่ ง มี ป ระเทศแปรรู ป ผลิ ต ภั ณ ฑ์ ย างที่ เ ป็ น คู่ แ ข่ ง อยู่ ถึ ง ยางในประเทศ จะเห็ น ว่ า เมื่ อ ประเทศไทยเข้ า ร่ ว มใน สามประเทศ (อิ น โดนี เ ชี ย มาเลเซี ย และเวี ย ดนาม) ประชาคมเศรษฐกิ จ อาเชี่ ย น โครงสร้ า งการผลิ ต และ แต่ ป ระเทศไทยก็ มี จุ ด เด่ น ทั้ ง ในเรื่ อ งชนิ ด ยางดิ บ แปรรู ป ยางดิ บ ยั ง ไม่ เ ปลี่ ย นแปลง ไทยยั ง คงรั ก ษา มาตรฐานที่ประเทศไทยผลิตที่เป็นที่ยอมรับกว้างขวาง ความเป็นหนึ่งในการผลิตยางแผ่นรมควันออกสู่ตลาด ในตลาดโลกรวมทั้ ง ผู้ ใ ช้ ย างในประเทศ ทั้ ง ในเรื่ อ ง โลก ยั ง คงส่ ง น้ ำ ยางข้ น ให้ ป ระเทศผู้ บ ริ โ ภค เช่ น คุณภาพและปริมาณการผลิต และอุตสาหกรรมยางใน มาเลเชี ย อยู่ เ ช่ น เดิ ม ส่ ว นการแปรรู ป และส่ ง ออกยาง ประเทศ อาจจะมีปัญหาในเรื่องราคาโดยผลผลิตจาก ผสมสารเคมีซึ่งเป็นยางกึ่งสำเร็จรูปมีแนวโน้มมากขึ้น ประเทศเวียดนามอาจจะแข่งขันกับยางในประเทศได้
  • 14. 12 ฉบับอิเล็กทรอนิกส์ 12 มกราคม-มีนาคม 2556 เนื่องจากมีการขนส่งทางบกได้ง่ายและใช้เวลาสั้นกว่า 4 ล้ า นลู ก บาศก์ เ มตร ซึ่ ง ใกล้ เ คี ย งกั บ ความต้ อ งการ ในการบริโภคเพื่อการผลิตผลิตภัณฑ์ยางขนาดเล็กและ ใช้ ไ ม้ ย างพาราในปั จ จุ บั น ส่ ว นมู ล ค่ า การส่ ง ออก ขนาดกลาง แต่ ป ระเทศไทยก็ มี ก ฏหมายและระบบ เฟอร์ นิ เ จอร์ ไ ม้ ข ยายตั ว เพิ่ ม ขึ้ น โดยในปี 2554 การ เงิ น Cess ที่ ส ามารถบริ ห ารจั ด การให้ ผู้ บ ริ โ ภคใน ส่งออกเฟอร์นิเจอร์ไม้เพิ่มขึ้นร้อยละ 72.61 เทียบกับ ประเทศใช้ ย างพาราในประเทศในราคาต่ ำ กว่ า ตลาด ปี 2553 มู ล ค่ า การส่ ง ออกไม้ แ ละผลิ ต ภั ณ ฑ์ ไ ม้ เ พิ่ ม โลกและคู่ แ ข่ ง จากต่ า งประเทศได้ โดยการบริ ห าร ขึ้ น ร้ อ ยละ 35.56 ชะลอตั ว เล็ ก น้ อ ย ส่ ว นในปี 2555 จั ด การระบบตลาดข้ อ ตกลงส่ ง มอบจริ ง ประเทศไทย ช่ ว ง 2 เดื อ นแรก มู ล ค่ า การส่ ง ออกเฟอร์ นิ เ จอร์ ไ ม้ ให้ มี ป ระสิ ท ธิ ภ าพ เนื่ อ งจากการใช้ ย างในประเทศไม่ ขยายตัวเพิ่มขึ้นร้อยละ 141.53 จากช่วงเดียวกันของปี ต้องจ่ายเงิน Cess จากการจัดหาวัตถุดิบคุณภาพจาก 2554 และการขยายตัวของมูลค่าไม้แปรรูปส่งออกเพิ่ม ตลาดในประเทศ (จ่ายต่อเมื่อส่งออกยางธรรมชาติออก ขึ้นร้อยละ 61.4 จากปีก่อน นอกประเทศเท่านั้น) ดังนั้น ผลกระทบเรื่องนี้คงไม่มาก ปั ญ หาการส่ ง ออกไม้ ย างพาราส่ ว นใหญ่ เ ป็ น นั ก แต่ ต้ อ งอาศั ย นโยบายภาครั ฐ สนั บ สนุ น ในโอกาส ปัญหาจากการกีดกันทางการค้า โดยอาศัยปัจจัยทาง ต่อไป การอนุรักษ์สิ่งแวดล้อมและป่าไม้ของประเทศในกลุ่ม ยุโรปและอเมริกา ดังนั้น การรวมตัวเป็นกลุ่มประชาคม การผลิตและแปรรูปไม้ยางพารา เศรษฐกิ จ อาเชี่ ย นจะเป็ น แนวทางหนึ่ ง ในการร่ ว มกั น ในปั จ จุ บั น ผู้ เ กี่ ย วข้ อ งกั บ อุ ต สาหกรรมไม้ ย าง ต่อรองกับกลุ่มประเทศที่มีมาตรการกีดกันทางการค้า เริ่มจากเกษตรกรที่โค่นยาง เพื่อขอทุนปลูกแทน การ ในอนาคต โค่ น ไม้ ย างในสวน การเลื่ อ ยไม้ ย างจากสวนเป็ น ไม้ ท่ อ น การขนส่ ง การชั ก ลากไม้ จ ากสวน ในปี 2550 มาตรการทางการค้า จำนวนโรงงานแปรรูป 521 โรงงานผลิตไม้แปรรูปได้ มาตรการทางการค้ า ที่ ไ ม่ ใ ช่ ภ าษี (Non – Tariff 3.07 ล้ า นลู ก บาศก์ เ มตร ในอุ ต สาหกรรมขั้ น กลาง Barriers : NTB) ในการส่งออกสินค้ายางพาราไปยัง เริ่ ม จากการใช้ ไ ม้ ย างพาราท่ อ น (ไม้ บ้ อ ง) มาแปรรู ป ประเทศสมาชิกสมาคมเศรษฐกิจอาเชี่ยน เป็ น ไม้ แ ผ่ น นำไม้ ข นาดเล็ ก ปี ก ไม้ ขี้ เ ลื่ อ ยให้ เ ป็ น ประเทศไทยเป็ น ฐานการผลิ ต และคุ ณ ภาพยาง ไม้แผ่นปาร์ติเกิล และไม้อัดความหนาแน่นปานกลาง พาราเป็นที่เชื่อถือในระดับสากล จึงยังไม่พบมาตรการ มีจำนวนโรงอบไม้ 300 โรง และอุตสาหกรรมขั้นปลาย ที่กีดกันผลผลิตจากประเทศไทยโดยตรงในการส่งออก คื อ กลุ่ ม เฟอร์ นิ เ จอร์ แ ละชิ้ น ส่ ว น ที่ ใ ช้ ไ ม้ ย างจาก สินค้ายางพาราไปยังประเทศสมาชิกสมาคมเศรษฐกิจ อุ ต สาหกรรมขั้ น กลาง นำไม้ ย างพาราแปรรู ป มาทำ อาเชี่ยน เครื่องเรือน ของเด็กเล่น พื้นไม้ปาร์เก้ ไม้พาเลท และทำ เป็นชิ้นส่วนเฟอร์นิเจอร์อื่นๆ รวมทั้งหมด 2,458 โรงงาน มาตรการทางการค้ า ที่ ไ ม่ ใ ช่ ภ าษี (Non – Tariff ลั ก ษณะของโรงงานบางส่ ว นเป็ น การรวมกลุ่ ม แบบ Barriers : NTB) เพื่อควบคุมการนำเข้าสินค้ายาง คลัสเตอร์ๆ ละ 10-20 โรงงาน สภาพการผลิตไม้ยาง พารามาจากประเทศสมาชิ ก สมาคมเศรษฐกิ จ แปรรู ป ของโรงงานของไทยในช่ ว งที่ ผ่ า นมาไม่ เ ต็ ม อาเชี่ยน ศักยภาพ การผลิตไม้ยางพาราแปรรูปโดยเฉพาะกลุ่ม ประเทศไทยมี ก ฎหมายเพื่ อ การนี้ อ ยู่ แ ล้ ว คื อ ที่ อ ยู่ น อกคลั ส เตอร์ หยุ ด ดำเนิ น การเนื่ อ งจากขาด พระราชบั ญ ญั ติ ค วบคุ ม ยาง พ.ศ. 2542 นอกจากนี้ วัตถุดิบ ไม้ยางแพงขึ้น ในปี 2554 ความต้องการไม้ยาง พระราชบั ญ ญั ติ กั ก พื ช พ.ศ. 2535 ก็ ยั ง เอื้ อ ต่ อ การ ของโรงงานแปรรูปไม้ยางพาราและอบแห้งของโรงงาน ควบคุมกำกับการนำเข้ายางพาราที่ไม่มีมาตรฐาน เช่น ใช้ ไ ม้ ย างสู ง กว่ า ปริ ม าณไม้ ที่ ผ ลิ ต ได้ 1.27 ล้ า น ยางก้ อ น เศษยาง และยางไม่ มี ม าตรฐานที่ อ าจเป็ น ลูกบาศก์เมตร การโค่นยาง 5 แสนไร่ จะได้ไม้แปรรูป แหล่ ง หรื อ พาหะนำโรคและแมลงเข้ า สู่ ป ระเทศใน