SlideShare une entreprise Scribd logo
1  sur  58
Télécharger pour lire hors ligne
รายงานเรื่อง ทรง(ผมของ)นักเรียน
เสนอ
คุณครู วนัชนันท์ เอกทนากุล
กลุ่มสาระการเรียนรู้ภาษาไทย
โดย
นาย ดรัณภพ ศรีสมบัติ
ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 5 ห้อง 7
ภาคเรียนที่ 1 ปีการศึกษา 2562
โรงเรียนเทพศิรินทร์
ก
คำนำ
รายงานเล่มนี้จัดทาขึ้นเพื่อเป็นส่วนหนึ่งของวิชา การสื่อสารและการนาเสนอ
(I32201) ชั้นมัธยมศึกษาปี่ที่ 5 เพื่อให้ได้ศึกษาหาความรู้ในเรื่อง ทรงผมของนักเรียน และได้ศึกษา
อย่างเข้าใจ เพื่อเป็นประโยชน์ต่อการเรียน
ผู้จัดทาหวังว่า รายงานเล่มนี้จะเป็นประโยชน์กับผู้อ่าน นักเรียน นักศึกษา หรือ
ผู้ปกครอง ผู้สนใจประวัติศาสตร์ ผู้สนใจการเมือง ที่กาลังค้นหาข้อมูลเรื่องนี้อยู่ หากมีข้อแนะนาหรือ
ผิดพลาดประการใด ผู้จัดทาขอน้อมรับไว้และขออภัยมา ณ ที่นี้ด้วย
นายดรัณภพ ศรีสมบัติ
ผู้จัดทา
ข
กิตติกรรมประกำศ
การทารายงานเล่มนี้ สามารถสาเร็จลุล่วงผ่านไปได้ด้วยดีด้วยความกรุณาของ คุณ
ครูวนัชนันท์ เอกทนากุล ครูที่ปรึกษาประจารายวิชาการสื่อสารและการนาเสนอ 1 ที่คอยให้
คาปรึกษา คาแนะนา ความคิดเห็นเสนอแนะ ตลอดจนการแก้ไขข้อผิดพลาด และข้อบกพร่องต่างๆ
มาโดยตลอดจนทาให้รายงานฉบับนี้สาเร็จลุล่วงไปด้วยดี ผู้จัดทาขอขอบพระคุณเป็นอย่าสูง
นาย ดรัณภพ ศรีสมบัติ
ผู้จัดทา
ค
สำรบัญ
เรื่อง หน้า
คานา ก
กิตติกรรมประกาศ ข
สารบัญ ค
บทที่ 1 บทนา 1
1.1 ที่มาและความสาคัญ 1
1.2 วัตถุประสงค์ 2
1.3 ขอบเขตการของศึกษา 2
1.4 ประโยชน์ที่คาดว่าจะได้รับ 2
บทที่ 2 เอกสาร แนวคิด และหลักการที่เกี่ยวข้อง 3
2.1 เกรียนไทยมาจากไหน? และทาไมทรงผมถึงกลายเป็นเครื่องแบบ? 3
2.2 ประวัติทรงผมของคนไทย 5
2.3 การเมืองเรื่องทรงผม 6
2.4 “ยุวกษัตริย์” รัชกาลที่ 5 แรกเสด็จประพาสต่างประเทศครั้งแรก 10
2.5 พระราชบัญญัติเครื่องแบบนักเรียน พ.ศ. 2482 12
2.6 ประกาศของคณะปฏิวัติ ฉบับที่ 132 13
2.7 กฎกระทรวงศึกษาธิการ ฉบับที่ 1/2515 16
2.8 กฎกระทรวงศึกษาธิการ ฉบับที่ 2/2518 18
2.9 พระราชบัญญัติเครื่องแบบนักเรียน พ.ศ. 2551 19
2.10 ปฏิญญาสากลว่าด้วยสิทธิมนุษยชนแห่งสหประชาชาติ 21
2.11 ‘อานาจนิยม’ และความรุนแรงในการศึกษาไทย 27
2.12 ทัศนะ ผอ.ปรเมษฐ์ ที่มีต่อ ผมทรงนักเรียน สาหรับเด็กเทพฯ 28
2.13 การลงโทษนักเรียนนักศึกษา ตามกฎหมาย 29
2.14 หนังสือเวียน เรื่องซ้อมความเข้าใจเกี่ยวกับทรงผมของนักเรียน 31
2.15 ระเบียบโรงเรียนเทพศิรินทร์ ว่าด้วยเครื่องแบบนักเรียน พ.ศ. 2562 33
2.16 เกณฑ์การตัดคะแนนพฤติกรรมนักเรียนโรงเรียนเทพศิรินทร์ 33
2.17 การจัดระเบียบ “ทรงนักเรียน” ที่เพิ่งสร้าง สาระในกฎหมายเผด็จการ 34
ง
เรื่อง หน้า
บทที่ 2 เอกสาร แนวคิด และหลักการที่เกี่ยวข้อง (ต่อ) 3
2.18 ลักษณะอุปนิสัยประจาชาติ 39
2.19 ทาไมเด็กอยุธยาทาผมทรงนั้นกัน 40
บทที่ 3 วิธีดาเนินงาน 42
บทที่ 4 ผลการศึกษา 43
4.1 สมัยอยุธยา 43
4.2 สมัยรัตนโกสินทร์ สมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว 43
4.3 สมัยรัตนโกสินทร์ จอมพล แปลก พิบูลย์สงคราม 44
4.4 สมัยรัตนโกสินทร์ จอมพล สฤษดิ์ ธนรัชน์ 45
4.5 สมัยรัตนโกสินทร์ จอมพล ถนอม กิตติขจร 46
4.6 สมัยรัตนโกสินทร์ ศาสตราจารย์ สัญญา ธรรมศักดิ์ 47
4.7 สมัยรัตนโกสินทร์ ธานินทร์ กรัยวิเชียร์ 47
4.8 สมัยรัตนโกสินทร์ ทักษิณ ชินวัตร 48
4.9 สมัยรัตนโกสินทร์ ยิ่งลักษณ์ ชินวัตร 48
บทที่ 5 สรุปผลการศึกษา และข้อเสนอแนะ 49
5.1 สรุปผลการศึกษา 49
5.2 ข้อเสนอแนะ 50
บรรณานุกรม 51
1
บทที่ 1
บทนำ
1.1 ที่มำและควำมสำคัญ
ในปัจจุบันนี้ ไม่ว่าจะเป็นนักเรียนไทยในช่วงชั้นใดๆ โรงเรียนก็จะมีกฎสถานศึกษา
มาควบคุมความประพฤติของนักเรียน ในโรงเรียน หรือแม้กระทั่งวัยทางานเองก็จะมีกฎของท่างานที่
ชัดเจน และมารยาททางสังคมที่จะต้องปฏิบัติให้ถูกต้องตามค่านิยม วัฒนธรรม ประเพณีของไทยและ
สากลซึ่งหนึ่งในหมวดหนึ่งของกฎสถานศึกษา ว่าด้วยเรื่องของระเบียบเครื่องแต่งกาย รวมไปถึงทรง
ผมที่ถูกควบคุมไว้ให้นักเรียนในแต่ละเพศสภาพเหมือนกันเช่น นักเรียนชายให้ไว้รองทรงสูง ความยาว
ผมด้านบนไม่ยาวเกิน 7 เซนติเมตร ในกรณืของโรงเรียนหลายโรงเรียนที่ยังยึดในคติเดิมก็จะให้
นักเรียนชายตัดผมเป็นทรงนักเรียน หรือรู้จักกันในชื่อ ทรงเกรียน
ทรงนักเรียน ในแต่ละศถานที่ก็มีเกณฑ์ไม่เหมือนกันเช่น โรงเรียนรักษาดินแดน เคย
มีเกณฑ์ให้ไว้ยาวได้ไม่เกิน 3 ซม. โรงเรียนเทพศิรินทร์ ให้นักเรียนชั้นมัธยมศึกษาตอนต้นไว้ยาวได้ไม่
เกิน 4 ซม. แม้แต่ทรงนักเรียนเองก็มีหลายเกณฑ์ จึงทาให้เกิดความเหลื่อมล้า จากเรื่องเล็กๆ ไปสู่
โครงสร้างที่ใหญ่ขึ้นได้
ในการพิจารณาเลือกโรงเรียน ปัจจัยหนึ่งที่นักเรียนต้องดูเลยก็คือ โรงเรียนมี
ระเบียบให้ไว้ผมยาวได้แค่ไหน เพราะเด็กบางคนให้ความสาคัญกับบุคลิกภาพภายนอก ว่าดูดีแล้ว
หรือไม่ ซึ่งถ้าเด็กไม่ชอบแล้วต้องอดทนอยู่ไปนานๆ อาจส่งผลต่อสุขภาพจิตของตัวเด็ก จะทาให้ส่งผล
ต่อเรื่องต่างๆ เป็นความไม่มั่นใจ ไม่กล้าแสดงออก ซึ่งอาจจะไปปิดกั้นความคิดสร้างสรรค์ของเด็ก ก็
เป็นไปได้ โรงเรียนเอกชนที่อนุญาตไว้ผมได้ยาว เด็กก็จะมีโอกาสชื่นชอบมากกว่า โรงเรียนรัฐบาลที่ให้
นักเรียนไว้ผมสั้น เด็กที่ไม่มีโอกาสในการเลือก เพราะฐานะของที่บ้านก็จะต้องอยู่ไปจนกว่าจะจบ
การศึกษา เป็นต้น และทาให้เกิดความเหลื่อมล้าระหว่างเด็กนักเรียนโรงเรียนรัฐ กับเอกชน
โดยในปัจจุบันนี้ ทางกระทรวงศึกษาธิการ ก็ให้อานาจทางโรงเรียนในสังกัด เป็นผู้
เลือกการไว้ทรงผมของนักเรียนโรงเรียนของตนเองได้แล้ว แต่ถึงอย่างนั้นหลายๆ โรงเรียนก็ยังไม่มอบ
โอกาสนั้นให้เด็กด้วยเช่นกัน และมีผู้พยายามรณรงค์ให้เกิดเสรีทรงผมนักเรียนไทยมาโดยตลอด
จากความสาคัญของทรงผมนักเรียนไทย ผู้จัดทาจึงสนใจเรื่องทรงผมนักเรียนไทย
มาวิเคราะห์ สังเคราะห์ในประเด็นข้อสงสัยต่างๆ ของผู้จัดทา
2
1.2 วัตถุประสงค์
เพื่อศึกษาเกี่ยวกับทรงผมของนักเรียนในด้านประวัติศาสตร์และการเมือง
1.3 ขอบเขตของกำรศึกษำ
การศึกษาข้อมูลเกี่ยวกับทรงผมของนักเรียน จะศึกษาเฉพาะทรงผมนักเรียนของ
เพศชาย ในประเทศไทยเป็นหลัก
1.4 ประโยชน์ที่คำดว่ำจะได้รับ
ผลการศึกษานี้สามารถเป็นแนวทางให้ผู้ที่สนใจศึกษา ในเรื่องของประวัติศาสตร์
การเมืองการปกครอง นาไปศึกษาต่อยอดได้
3
บทที่ 2
เอกสำร แนวคิด และหลักกำรที่เกี่ยวข้อง
2.1 เกรียนไทยมำจำกไหน? และทำไมทรงผมถึงกลำยเป็นเครื่องแบบ?
ไม่ว่าคุณครูของน้องๆ จะให้เหตุผลยอดนิยมอย่างการไว้ผมยาวจะทาให้เจ้าเส้นผม
ตัวดีมาแย่งสารอาหารของสมองไป (ทั้งๆ ที่ในทางวิทยาศาสตร์ เส้นผม คือเซลล์ที่ตายไปแล้ว และ
อะไรที่ตายไปแล้วก็คงไม่ลุกขึ้นมาแย่งอาหารจากใครไปได้แน่ๆ) หรือว่าเหตุผลสุดคลาสสิก อย่างการ
เป็นกุศโลบายให้นักเรียนมีสมาธิที่แน่วแน่ ไม่ต้องคอยมาห่วงสวย ห่วงหล่อ (แต่ถ้าโกนหัว โดยไม่ได้
บวช ก็จะตกเป็นจาเลยในข้อหาประชดประชันคุณครูฝ่ายปกครองอยู่ดี แล้วตกลงจะเอายังไงแน่
ตอบ!) อย่าเพิ่งรีบเชื่อ แล้วรีบกลับสติก่อนเลยนะครับ เพราะว่าตามหลักฐานทางประวัติศาสตร์แล้ว
มันไม่ใช่อย่างนั้นเลยสักนิด
ข้อคิดเห็นที่น่าฟังมากกว่า มาจากปากคาของนักประวัติศาสตร์ระดับไอคอนของ
ประเทศอย่าง ศาสตราจารย์ ดร. นิธิ เอียวศรีวงศ์ ซึ่งเคยเขียนถึงทรงผมนักเรียนแบบไท้ไทย อยู่อย่าง
น้อย 2 ครั้ง 2 ครา ในช่วงตลอดระยะเวลาสิบปีที่ผ่านมานี้
หนแรก อ. นิธิ เขียนลงในหนังสือพิมพ์มติชนรายวัน ฉบับประจาวันที่ 2
พฤศจิกายน พ.ศ. 2550 โดยมีเนื้อความสรุปง่ายๆ ได้ใจความว่า การไถผมจนเกรียนเป็นลานบินอย่าง
นี้ เริ่มเกิดขึ้นในยุคที่จอมพล ป. พิบูลสงคราม ดารงตาแหน่งนายกรัฐมนตรีของประเทศไทยเราอยู่
นี่เอง
และก็เป็นเพราะคาสั่งของจอมพลท่านนี้แหละ ที่ทาให้ทรงผมของเด็กนักเรียนไทย
‘เกรียน’ ไกลไปทั่วโลกมาจนกระทั่งทุกวันนี้ โดย อ.นิธิ ได้บอกกับเราว่า จอมพล ป. ท่านไปลอกแบบ
ทรงผมมาจากทหารญี่ปุ่น ที่ยกพลขึ้นบกผ่านทางเข้ามาในไทยในช่วงสงครามโลกครั้งที่ 2
แต่ที่ต้องเลียนแบบทรงผมทหารญี่ปุ่นนี่มันก็มีเหตุอยู่นะครับ ไม่ใช่ว่าชอบก็เลยนึก
จะเลียนแบบมันขึ้นมาเฉยๆ แต่เป็นเพราะว่าช่วงนั้นน้อง ‘เหา’ เค้ากาลังระบาดอยู่ต่างหาก
ผมก็ไม่รู้เหมือนกันว่า อ. นิธิ ไปได้ข้อมูลมาจากไหน แต่ก็มีเรื่องเล่าว่าเหาระบาดอยู่
มาก ในช่วงสงครามโลกครั้งที่ 2 ตามค่ายกักกันต่างๆ ในยุโรป (แน่นอนว่าเป็นเพราะการจัดการทาง
สุขอนามัยที่ไม่ดีนัก) หากเหาจะมาระบาดในค่ายกักกันนักโทษที่ทหารญี่ปุ่นนามา ก่อนจะระบาดไปสู่
ชุมชนบ้านใกล้เคียงก็ไม่น่าจะแปลกอะไรเท่าไหร่
4
และในสมัยจอมพล ป. ดารงตาแหน่งนายกรัฐมนตรีสมัยแรก (ซึ่งคาบเกี่ยวกันกับ
ช่วงสงครามโลกครั้งที่ 2 นี่แหละ) ก็ได้มีพระราชบัญญัติเครื่องแบบนักเรียน พ.ศ. 2482 ออกมา
เนื้อหาภายใน พ.ร.บ. ฉบับนี้เน้นหนักในเรื่อง ‘เสื้อผ้า’ แถมยังไม่ค่อยพูดถึงเรื่องของ ‘หน้าผม’ สัก
เท่าไหร่
แต่ก็นั่นแหละครับ เครื่องแบบต่างๆ ในประเทศแห่งนี้ มักไม่หมายถึงสิ่งที่บังคับให้
ใครสวมใส่เข้าไปเท่านั้น แต่ยังมักจะหมายถึงการจับเอาร่างกายของเรา ไม่ว่าจะเป็นทรงหรือสีของเส้น
ผม เล็บมือ หรือหนังหน้า เข้าไปเป็นส่วนหนึ่งของเครื่องแบบอยู่ด้วยเสมอ ไม่อย่างนั้นคงไม่มีถ้อย
ความประเภท การให้เกียรติเครื่องแบบให้เราได้ยินกันบ่อยๆ หรอก
พ.ร.บ. ฉบับเดียวกันนี้ยังเป็นกฎหมายฉบับแรกที่กาหนดรูปแบบชุดนักเรียนไทย ให้
มีหน้าตาเป็นอย่างปัจจุบันนี้ แต่นั่นไม่ได้หมายความว่า ก่อนหน้านั้นประเทศไทย ที่ยังใช้ชื่อเดิมว่า
สยามอยู่นั้นจะไม่มีเครื่องแบบนักเรียนมาก่อน เพราะอย่างน้อยในสมัยรัชกาลที่ 5 ก็มีหลักฐานการใส่
เครื่องแบบนักเรียนด้วยเสื้อราชปะแตน (ชุดไทย ที่ลอกแบบฝรั่ง แถมยังถือกาเนิดขึ้นที่อินเดีย) กับ
กางเกงไทย และมีหมวกฟางพันผ้าสีประจาโรงเรียนเป็นเครื่องประดับชิคๆ คูลๆ อีกด้วย
เพิ่งจะเป็น พ.ร.บ. ฉบับปี 2482 นี่เองที่ไปเอาเครื่องแบบทหารญี่ปุ่น (พร้อมๆ กับ
ผมทรงลานบิน อย่างที่ อ. นิธิ ว่าไว้) มาเป็นเครื่องแบบนักเรียนไทย
อีกหนหนึ่งที่ อ. นิธิ เขียนถึงทรงผมนักเรียน ตีพิมพ์อยู่ในนิตยสารมติชนสุดสัปดาห์
ฉบับประจาวันที่ 18-24 มกราคม พ.ศ. 2556 ซึ่งก็ยังยืนยันว่า ทรงผมเกรียนเกิดขึ้นสมัยจอมพล ป.
อยู่เหมือนเดิม แต่คราวนี้อาจารย์ไม่ได้อ้างถึงเรื่องเหา
สิ่งที่ อ. นิธิ เน้นย้ามากในบทความชิ้นหลังนี้สรุปง่ายๆ ว่า ผมทรงลานบินคือการ
กล่อมเกลาเด็กให้มีจิตใจแบบทหาร ดังนั้น วินัยจากการแต่งตัวจึงตามมาอีกหลายอย่าง ไม่ว่าจะเป็น
สีของกางเกง, ความยาวของขอบกางเกง, ถุงเท้า, รองเท้า, เข็มขัด, หัวเข็มขัด ฯลฯ
และก็ไม่ต้องสงสัยเลยนะครับว่า ทรงผมสั้นเสมอติ่งของนักเรียนหญิงก็ถือกาเนิดขึ้น
จากวินัยแบบทหารเช่นเดียวกัน
อาเข้าจริงแล้ว นอกเหนือจากเราจะไม่มีหลักฐานเป็นลายลักษณ์อักษร ถึงระเบียบ
ในการตัดผมเกรียนแล้ว เรายังมีภาพถ่ายเก่าๆ ของนักเรียนไทย อย่างรูปของ ม.ล. ปิ่น มาลากุล
ขณะที่เป็นนักเรียนโรงเรียนสวนกุหลาบวิทยาลัย แต่ไม่ได้ตัดผมเกรียนอีกด้วย (แน่นอนว่า ยังต้องมี
ภาพของนักเรียนคนอื่นๆ อีกเช่นกันที่ผมไม่ได้เอ่ยถึง เพราะไม่เคยเห็น หรือเห็นแล้วแต่จาไม่ได้)
เป็นได้ว่า ยังไม่มีระเบียบที่ชัดเจนถึงการตัดผมสั้นเกรียน แต่เป็นไปในทางจารีตปฏิบัติ
5
ลายลักษณ์อักษรฉบับแรกที่พูดถึงการตัดผมสั้นเกรียนของนักเรียนไทยเป็นผลมา
จาก ประกาศของคณะปฏิวัติฉบับที่ 132 เมื่อปี พ.ศ. 2515 ที่จอมพลถนอม กิตติขจร ทารัฐประหาร
ตนเอง ที่มีข้อความว่า
“นักเรียนและนักศึกษาควรจะได้รับการอบรมใกล้ชิดจากบิดามารดา ผู้ปกครองและครูอาจารย์ เพื่อ
เป็นบุตรที่ดีของบิดามารดา เป็นศิษย์ที่ดีของครู อยู่ในโอวาทคาสั่งสอนรวมทั้งอยู่ในระเบียบประเพณี
และกฎหมายของบ้านเมือง เป็นการสมควรที่จะส่งเสริมและคุ้มครองความประพฤติ การแต่งกาย
และจรรยามารยาทให้รัดกุมยิ่งขึ้น”
จากประกาศฉบับนี้แหละครับที่ทาให้เกิด กฎกระทรวงฉบับที่ 1 ในปี พ.ศ. เดียวกัน
ที่ลงรายละเอียดไปว่า นักเรียนจะต้องตัดผมข้างเกรียน และมีผมข้างหน้าและกลางศีรษะยาวได้ 5
เซนติเมตร
ผมเกรียนๆ ของนักเรียนไทย นอกเหนือจากจะตัดเพื่อหนีเหา และได้แบบอย่างมา
จากทหารญี่ปุ่นแล้ว จึงยังเป็นสัญลักษณ์ของความเชื่อฟัง และไม่แข็งขืนต่ออานาจ โดยเฉพาะอานาจ
ของเผด็จการที่ตกค้างมาถึงปัจจุบัน
2.2 ประวัติทรงผมของคนไทย
คนไทยเรานั้นได้มีการไว้ทรงผมแบ่งออกเป็น 3 สมัย คือ 1. สมัยสุโขทัย
2. สมัยกรุงศรีอยุธยา 3. สมัยกรุงรัตนโกสินทร์
2.2.1 สมัยกรุงสุโขทัย
ทั้งผู้ชายและผู้หญิงไว้ผมคล้ายคลึงกันมาก คือไว้ผมเกล้ามวยรวบม้วนไว้ตอนกลาง
ศีรษะ พอจะสมมุติได้ว่า เพราะบ้านเมืองสมัยนั้นมีแต่ความร่มเย็นเป็นสุข ปกครองกันแบบ
พ่อปกครองลูก ดังคาศิลาจารึกของพ่อขุนรามคาแหง ได้ทรงจารึกไว้ว่า “ในน้ามีปลา
ในนามีข้าว ใครจักรักใคร่ค้าข้าวค้า ใครจักรักใคร่ค้าม้าค้า ฯลฯ” เหล่านี้ เป็นต้น
2.2.2 สมัยกรุงศรีอยุธยำ
การไว้ผมสมัยนี้มีการไว้ผมไปอีกแบบหนึ่ง ซึ่งเป็นสมัยของสมเด็จพระรามาธิบดีที่ 1
พระเจ้าอู่ทอง และในสมัยนี้คนไทยได้แยกกันเป็นพวกเป็นเหล่า ในประวัติศาสตร์กล่าวว่าคนไทยต้อง
รบราฆ่าฟันกัน ทาศึกสงครามตลอด ต้องรบกับประเทศเพื่อนบ้านใกล้เคียงกัน เช่น ญวน ลาว เขมร
พม่า เป็นต้น ดังนั้นพระเจ้าอู่ทองจึงมีพระราชประสงค์ที่จะรวบรวมคนไทยให้เป็นปึกแผ่นมั่นคง
6
จึงได้รวบนวมชายฉกรรจ์ไว้พอสมควรแล้ว พร้อมที่จะออกรบ จึงมีพระราชดาริว่าควรไว้ผมสั้น
เหมือนกันหมด คือ มีลักษณะโกนรอบศีรษะเหมือนกะลาครอบ มีผมอยู่ตรงกลางศีรษะ หวีแสกกลาง
ตอนแรกผมทรงนี้ยังไม่มีชื่อเรียก ต่อมาจึงได้เรียกชื่อว่าทรง “มหาดไทย” ตามชื่อของกระทรวง การ
ไว้ผมสั้นดังกล่าว จึงทาให้ผู้ชายสมัยนั้นต้องทางานหนักในการสร้างบ้านเมือง และเป็นการทหาร อีก
ทั้งยังต้องออกทัพ
2.2.3 สมัยกรุงรัตนโกสินทร์
เป็นสมัยแผ่นดินของสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว (รัชกาลที่ 5) ซึ่งเป็นพระเจ้า
แผ่นดินพระองค์แรกที่ได้มีการริเริ่มเปลี่ยนทรงผมจากทรงมหาดไทย มาเป็นทรงผมสมัยใหม่ คือ
เมื่อครั้งสมเด็จพระพาลประเทศสิงคโปร์ ขณะนั้นพระองค์ทรงมีพระชนม์มายุเพียง 16 พระชันษา
ในครั้งนั้นได้มีข้าราชบริพารติดตามเสด็จไปประมาณ 40 กว่าคน พอไปถึงประเทศสิงคโปร์ทุกคนขึ้น
จากเรือ พอพวกฝรั่งเห็นเข้าก็พากันหัวเราะ ถามว่าเป็นชนเผ่าไหน
เมื่อพระองค์ได้เสด็จกลับจากต่างประเทศ พระองค์ได้นาเอาแบบอย่างต่าง ๆ
มาดัดแปลงพัฒนาบ้านเมืองและทรงกล่าวกับข้าราชการชั้นผู้ใหญ่บางคนว่า การไว้ผมสั้นนั้นควรที่จะ
เลิกเสียเพราะการไว้ผมทรงมหาดไทยนั้นทาให้พวกฝรั่งดูหมิ่นคนไทยว่าเป็นคนป่าเถื่อน จึงเห็นควรให้
เลิกประเพณีการไว้ผมสั้นแบบมหาดไทยเสีย และให้เปลี่ยนมาไว้แบบเดียวกับพวกฝรั่ง และการไว้ผม
ตามแบบฝรั่งนั้นก็มิได้กาหนดกฎหมายตรากาหนดไว้แต่อย่างใด
เพียงแต่พระองค์เองไม่ทรงพระเกศาแบบมหาดไทย และได้ทรงมีพระราชานุญาตให้
ข้าราชการที่เข้าเฝ้า เปลี่ยนมาไว้ผมตามใจชอบซึ่งในปัจจุบันนี้ทรงผมที่ได้ตัดกันโดยทั่วไปตามฝรั่งใน
สมัยนั้นเรียกว่า รองทรงอังกฤษชั้นเดียว และรองทรงอังกฤษสองชั้น ตราบเท่าทุกวันนี้ คือ รองทรงสูง-
รองทรงต่านั่นเอง
2.3 กำรเมืองเรื่องทรงผม
ครั้งนี้ไม่ใช่ครั้งแรกที่มีการถกเถียงกันเกี่ยวกับทรงผมของนักเรียน ผมสงสัยว่าเมื่อ
จอมพล ป.พิบูลสงคราม สั่งให้นักเรียนชายตัดผมทรงลานบินครั้งแรก ตามอย่างนักเรียนญี่ปุ่นสมัย
สงคราม ก็คงมีการถกเถียงกันแล้ว แต่ไม่ดังเพราะบรรยากาศทางการเมืองระหว่างนั้น ไม่มีใครกล้าส่ง
เสียงดังๆ
7
ทรงลานบินคือการกล่อมเกลาเด็กให้มีจิตใจแบบทหาร ฉะนั้น จึงตามมาด้วยวินัย
การแต่งกายอีกหลายอย่าง เช่น สีของกางเกง, ความยาวของขอบกางเกง, ถุงเท้า, รองเท้า, เข็มขัด,
ฯลฯ เป็น "เครื่องแบบ" ครบบริบูรณ์อย่างที่เรารู้จัก และนี่คือกองกาลังยุวชนของชาติไงครับ ช่วยเสริม
ให้การศึกษาของเราแข็งแกร่งขึ้นด้วยการเชื่อฟังครูหรือผู้บังคับบัญชาอย่างมืดบอดสืบมา
จิตใจแบบทหารสอดคล้องกับเผด็จการทหารที่ดารงอยู่อย่างสืบเนื่องในประเทศไทย
นับตั้งแต่ พ.ศ.2490 จนถึงอย่างน้อยก็ 14 ตุลาคม 2516 การเรียกร้องของนักเรียนในแนวทางเสรี
นิยมหลัง 14 ตุลาคม ทาให้กระทรวงศึกษาออกระเบียบ 2518 ผ่อนปรนทรงผมนักเรียนทั้งหญิงและ
ชายลงไปเป็นอันมาก เช่น ผู้ชายจะไว้ผมรองทรงก็ได้ ผู้หญิงไว้ผมยาวเกินต้นคอก็ได้ แต่ต้องรวบผม
เป็นต้น แต่น่าประหลาดที่โรงเรียนส่วนใหญ่ยังบังคับให้นักเรียนไว้ผมตามระเบียบเดิมต่อไป ครูและ
ผู้บริหารคงรู้ว่าเสรีนิยมที่ทรงผมอาจซึมลงไปถึงหัวสมองของเด็ก และทาให้การศึกษาแบบเผด็จการที่
ดาเนินมานานแล้ว ดาเนินต่อไปไม่ได้
ด้วยเหตุใดก็ไม่ทราบ ที่นักเรียนเคลื่อนไหวกันเรื่องทรงผมอีกครั้งในตอนนี้ รัฐมนตรี
ศึกษาจึงอ้างระเบียบปี 2518 ขึ้นมาใหม่ เพื่อไม่ต้องตัดสินใจทาอะไรที่อาจก่อให้เกิดการกระเพื่อมทาง
การเมือง ไม่ว่าจากนักเรียนหรือจากครู
ผมคิดว่าสิ่งที่น่าสนใจในการเคลื่อนไหวเรื่องทรงผมและเครื่องแบบในครั้งนี้ก็คือ เรา
ไม่สามารถทาความเข้าใจเรื่องนี้ได้จาก อุดมการณ์เสรีนิยม VS อุดมการณ์ทหาร ได้อีกแล้ว เพราะ
กระแสสังคมนิยมในช่วงนี้ไม่ได้ปะทุขึ้นแรงกว่าที่ผ่านมา
ผมคิดว่าการทาความเข้าใจกับการยอมรับและการปฏิเสธทรงผม-เครื่องแบบ
นักเรียน ทั้งในครั้งนี้และครั้งอื่นๆ ที่ผ่านมา อาจทาได้ดีกว่าหากมองจากแง่ของ "การเมืองเรื่อง
อัตลักษณ์" (Politics of Identity) เพราะนอกจากเราอาจเข้าใจการยอมรับหรือปฏิเสธแล้ว ยังอาจทา
ให้มองเห็นความเปลี่ยนแปลงทางสังคมในประเทศไทยด้วย ในสังคมการเมืองทุกประเภทในโลกนี้
อัตลักษณ์คือเครื่องมือสาคัญในการต่อรองอานาจ เพราะฉันหรือเรา มีผลประโยชน์, วิถีชีวิต, ความ
ใฝ่ฝัน, โลกทรรศน์, ฯลฯ แตกต่างจากคนอื่น จึงจาเป็นต้องจัดการทางสังคมที่เอื้อต่อฉันหรือเราด้วย
ใครที่ไม่สร้างลักษณะเฉพาะของฉันหรือเรา คือคนที่ไม่มีอัตลักษณ์ และผลประโยชน์, วิถีชีวิต, ความ
ใฝ่ฝัน, โลกทรรศน์, ฯลฯ ของเขาจึงถูกคนอื่นมองข้าม และด้วยเหตุดังนั้น เราจึงอาจมองความสัมพันธ์
เชิงอานาจ ไม่ว่าระหว่างหมู่ชนในสังคม หรือระหว่างปัจเจกบุคคลตั้งแต่สองคนขึ้นไปว่า คือการเมือง
เรื่องอัตลักษณ์
8
เมื่อตอนที่ จอมพล ป. บังคับให้นักเรียนตัดผมทรงลานบินตามอย่างญี่ปุ่น สืบมา
จนถึง 14 ตุลาคม นักเรียนและผู้ปกครองทั่วไปก็ยอมรับโดยดี เหตุผลก็เพราะมันสอดคล้องกับการ
สร้างอัตลักษณ์ใหม่ของกลุ่มคนที่เรียกว่า "นักเรียน" (และครอบครัวของเขาโดยนัยยะ)
"นักเรียน" นั้นแทบไม่เคยเป็นอัตลักษณ์ของคนกลุ่มใด และเราจะเห็นความไม่มีอัต
ลักษณ์ร่วมของนักเรียนได้ดีจากเครื่องแบบ
เมื่อก่อนสงคราม เฉพาะโรงเรียนหลวงในกรุงเทพฯ เช่น เทพศิรินทร์, สวนกุหลาบ,
วชิราวุธ, เท่านั้นที่มีเครื่องแบบนักเรียน ซ้าเป็นเครื่องแบบที่โรงเรียนกาหนดขึ้นเอง ที่น่าสนใจคือ
เครื่องแบบเหล่านั้นคือการจาลองเครื่องแต่งกายของผู้ดีใหม่ ซึ่งสัมพันธ์เชื่อมโยงกับราชการของรัฐ
นั่นคือนุ่งผ้านุ่ง (ตามสีที่โรงเรียนกาหนด) สวนเสื้อราชปะแตน และสวมหมวกกะโล่ตามสีที่โรงเรียน
กาหนดเช่นกัน นักเรียนเหล่านี้คือคุณหลวงน้อย ทั้งในสายตาของผู้พบเห็นและในสานึกของตัว
นักเรียนเอง "นักเรียน" ไม่ใช่อัตลักษณ์อีกอันหนึ่งในสังคม
เพราะนักเรียน ในโรงเรียนที่เรียกว่า "ประชาบาล" ทั่วประเทศ (ซึ่งก็ยังมีไม่มากนัก)
หาได้มีเครื่องแบบแต่อย่างใดไม่ แต่งตัวไปเรียนหนังสือเหมือนหรือเกือบเหมือนกับตอนที่อยู่บ้าน ไม่มี
ข้อกาหนดตายตัวว่าต้องแต่งอย่างไรหรือไว้ผมทรงอะไร
คณะราษฎรทาให้การศึกษาที่เป็นทางการขยายตัวขึ้นอย่างมากในเมืองไทย (แต่ครู
ประวัติศาสตร์กลับไปยกให้ ร.6) เพราะเป็นรัฐบาลแรกที่ดึงงบประมาณมาสร้างโรงเรียนอย่าง
แพร่หลาย เพื่อให้ชนทุกชั้นสามารถเข้าถึงการศึกษาได้ทั่วถึง แทนที่จะสนับสนุนการศึกษาด้วยลมปาก
อย่างที่ผ่านมา มีคนกลุ่มใหม่ที่ไม่ใช่ลูกคุณหลวงกลายเป็น "นักเรียน" มากขึ้น
แต่ดูเหมือนกระทรวงก็ยังไม่ได้กาหนดเครื่องแบบตายตัว หรือถึงกาหนดก็คงไม่
เคร่งครัดนัก เพราะผมจาได้ว่าเมื่อแรกเรียนหนังสือยังไม่มีเครื่องแบบ และนักเรียนโรงเรียน
ประชาบาลที่อยู่ใกล้ๆ ก็ยังไม่ได้สวมเครื่องแบบต่อมาอีกนาน
ผมลานบินตามคาสั่ง จอมพล ป. ซึ่งเกิดขึ้นในช่วงที่กาลังจะมีเครื่องแบบนักเรียน
แห่งชาตินี่แหละ คือการสร้างอัตลักษณ์ให้แก่ "นักเรียน" อันเป็นคนกลุ่มใหม่ ซึ่งถูกสอนโดยการศึกษา
ให้เห็นความบกพร่องของอัตลักษณ์เดิมของครอบครัวตนเอง ดังนั้น จึงตอบสนองต่อความต้องการ
ของพวกเขาพอดี
เครื่องแบบและทรงผมคือการเปลี่ยนอัตลักษณ์ตัวเอง จาก "ลูกชาวบ้าน" ให้
กลายเป็น "นักเรียน" แม้เป็นภาระทางเศรษฐกิจของครอบครัว แต่อัตลักษณ์ใหม่ก็ช่วยเพิ่มอานาจ
ต่อรองทางวัฒนธรรมขึ้นมา แทนอัตลักษณ์เดิมที่แทบไม่เหลือศักดิ์ศรีไว้ต่อรองกับใครได้เลย
9
เครื่องแบบและทรงผมเปลี่ยน "ไอ้ตี๋" ให้กลายเป็น "นักเรียน" เปลี่ยนลูกคนจนให้กลายเป็น "นักเรียน"
และในสมัยหลังเปลี่ยนลูกชาวเขาให้กลายเป็น "นักเรียน" เช่นกัน ซ้าเป็นนักเรียน "แห่งชาติ" ด้วย
เพราะการศึกษาไทยถูกกากับโดยชาติ ฉะนั้น "นักเรียน" คือคนที่มีบทบาทอย่างใดอย่างหนึ่งในชาติ
ทั้งปัจจุบันและอนาคต พูดอีกอย่างหนึ่งคือผูกพันลูกเจ๊ก, ลูกชาวเขา, ลูกขอทาน กับชาติ เป็นอัต
ลักษณ์ที่มีคุณค่าในตัวมันเองอย่างที่ไม่มีใครปฏิเสธ กลายเป็นอานาจต่อรองทางวัฒนธรรมอย่างหนึ่ง
ผมคิดว่าไม่ต่างจากที่ชาวนาต้องเสียแรงงานไปกับการเกณฑ์ทหาร ในแง่หนึ่งก็
เสียดายแรงงาน แต่ในอีกด้านหนึ่งก็รู้สึกภาคภูมิใจที่ได้เห็นลูกชายในเครื่องแบบทหาร เพราะเขา
กลายเป็นส่วนหนึ่งของชาติไปแล้ว จากอัตลักษณ์เดิมที่ไม่มีใครมองเห็นและยอมรับ มาเป็น "รั้วของ
ชาติ" ที่ได้รับการตอกย้าในความสาคัญตลอดมา
เครื่องแบบและทรงผมนักเรียนจึงดารงอยู่สืบมา 40 ปี (เกินหนึ่งชั่วอายุคน) โดยไม่มี
กระแสคัดค้านต่อต้านมากนัก
แต่ใน 40 ปีนี้ อัตลักษณ์ใหม่ไม่ได้สร้างความเสมอภาคขึ้นในคนกลุ่มใหม่ที่เรียกว่า
นักเรียน ความไม่เท่าเทียมอันเป็นเอกลักษณ์ไทยยังดารงอยู่ได้ภายใต้ อัตลักษณ์ใหม่นี้ เพราะแต่ละ
โรงเรียนสามารถกาหนด อัตลักษณ์เฉพาะของตนขึ้นได้ นับตั้งแต่สีของกางเกงและโบว์ ไปจนถึงชื่อย่อ
และเข็มกลัดโรงเรียนบนอกเสื้อ มีความแตกต่างที่พอจะเห็นได้ไม่ยากระหว่างนักเรียนโรงเรียนวัดลิง
ค่างบ่างชะนีกับโรงเรียนสวนกุหลาบ หรือราชวินิต อัตลักษณ์ใหม่ของนักเรียนจึงไม่ใช่ อัตลักษณ์ของ
การปฏิวัติ เป็นแต่เพียงการดูดกลืนคนกลุ่มใหม่เข้ามามีที่ยืนในชาติ แต่ยืนที่บันไดของตนเอง ไม่ใช่รื้อ
ทาลายบันไดลงทั้งหมด และด้วยเหตุดังนั้น พลังต่อรองของ อัตลักษณ์ใหม่จึงค่อยๆ ลดน้อยถอยลง
ไปเรื่อยๆ การต่อรองในสังคมสมัยใหม่เน้น อัตลักษณ์ของปัจเจกมากขึ้น สะท้อนให้เห็นในการแต่ง
กายของผู้คนที่แสดง "ตัวตน" ของตนเองมากกว่าของกลุ่ม ผมอาจไม่มีเสื้อยืดเวอร์ซาเช่สวมเหมือน
คุณ แต่ผมเป็นแฟนตัวจริงของนักร้องชื่อดัง ขนาดมีลายเซ็นของเขาประทับอยู่บนอก
เสื้อของผมด้วย ผมอาจจะจน แต่ผมไว้ผมทรงหนามซึ่งแสดงความเป็นแนวหน้าของกระแส อัตลักษณ์
ของปัจเจกก้าวข้ามความไม่เสมอภาคไปได้ง่ายกว่า และเร็วกว่า อัตลักษณ์ของกลุ่ม
ผมคิดว่านี่คือกระแสใหญ่ที่ทาให้เกิดการเคลื่อนไหวในเรื่องเครื่องแบบและทรงผม
นักเรียนในช่วงนี้ น่าสังเกตด้วยนะครับว่า การเคลื่อนไหวครั้งนี้ไม่ได้เรียกร้องให้เลิกเครื่องแบบ-ทรง
ผมนักเรียนลงทั้งหมด อย่างที่เคยเคลื่อนไหวหลัง 14 ตุลาคม แต่ให้เปิดเสรีมากขึ้นกับทรงผม (อาจ
รวมถึงการแต่งกายส่วนอื่นด้วย) นั่นก็คือ ในอัตลักษณ์ของ "นักเรียน" ยังต้องมี อัตลักษณ์ของ
นักเรียนที่เป็นปัจเจกแต่ละคนด้วย อัตลักษณ์ของกลุ่มไม่ช่วยเพิ่มอานาจต่อรองทางวัฒนธรรมกับ
10
คนอื่น ซึ่งล้วนสร้าง อัตลักษณ์เฉพาะตัวขึ้นทั่วไป ผมเป็นนักเรียนแน่ ไม่ต้องการปฏิเสธ แต่จะให้ผม
เชยจากหัวจรดเท้าได้อย่างไร
แต่ยังมีอีกด้านหนึ่งที่ผมเห็นว่าน่าสนใจมาก เพียงแต่ข้อมูลที่ผมมีอยู่ค่อนข้างหยาบ
มากเท่านั้นเพราะเอามาจากรายการทีวีของ คุณสรยุทธ สุทัศนจินดา คนทาสื่อซึ่งแค่เห็นหน้าแกทาง
ทีวีก็ทาให้ตาร้อนผ่าวไปด้วยความริษยาเสียแล้ว
เช้าวันหนึ่ง คุณสรยุทธไปเชิญนักเรียนมากลุ่มหนึ่ง ให้มาเถียงกันทางทีวีว่า ควรให้ใช้
ระเบียบการแต่งกายของกระทรวงศึกษาฯ ซึ่งออกเมื่อปี 2518 หรือไม่ และแค่ไหน ผมพบด้วยความ
ประหลาดใจว่า นักเรียนชายเห็นด้วยกับการปล่อยให้นักเรียนไว้ผมอย่างไรก็ได้ตามใจนั้นถูกต้องแล้ว
ส่วนนักเรียนหญิงไม่เห็นด้วยเลย ทั้งนี้ แบ่งออกเป็นระหว่างชาย-หญิงอย่างสมบูรณ์ คือไม่มีนักเรียน
ชายอยู่ฝ่ายหญิง และไม่มีนักเรียนหญิงอยู่ฝ่ายชายเลย
ด้วยข้อมูลเพียงเท่านี้ ผมถามตัวเองว่า ทาไมผู้หญิงในวัฒนธรรมไทยจึงอยาก "อยู่ใน
ร่องในรอย" มากกว่าผู้ชาย ผมคิดว่าคาตอบนั้นค่อนข้างชัด การไม่อยู่ในร่องในรอยทาให้ผู้หญิงถูก
ลงโทษมาก ในขณะที่ผู้ชายได้รับอนุญาตให้ออกจากร่องจากรอยมากกว่ากันมาก ที่รู้กันดีก็เช่น
พฤติกรรมทางเพศ ผู้หญิงจะถูกประณามอย่างมากหากมีเพศสัมพันธ์นอกสถาบันการสมรส ในขณะที่
ผู้ชายได้รับการให้อภัย เพราะถือเป็นเรื่องปรกติตามธรรมชาติ และคงยกตัวอย่างอื่นๆ ได้อีกมาก
และด้วยเหตุดังนั้น ผู้หญิงจึงรู้สึกปลอดภัยมากกว่า หากจะออกนอกร่องนอกรอย
เมื่อทากันเป็นกลุ่ม และในความเป็นจริงนักเรียนผู้หญิงก็ดัดแปลงเครื่องแบบ-ทรงผมให้แสดง
อัตลักษณ์ส่วนตัวไปมากแล้ว ไม่ต่างจากนักเรียนชาย แต่ไม่ได้ทาคนเดียว หากทาร่วมกับเพื่อน
นักเรียนหญิงทั่วไป จะให้มาออกจากร่องจากรอยทางทีวีคนเดียว คงไม่ปลอดภัยแก่เธอ
2.4 “ยุวกษัตริย์” รัชกำลที่ 5 แรกเสด็จประพำสต่ำงประเทศครั้งแรก
การเสด็จประพาสต่างประเทศครั้งแรก ของพระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้า
เจ้าอยู่หัว รัชกาลที่ 5 เกิดขึ้นในวันที่ 9 มี.ค. พ.ศ.2413 ถึงวันที่ 15 เม.ย. พ.ศ.2413 โดยเสด็จทางเรือ
พระที่นั่ง “พิทธยัมรณยุทธ”
และประเทศที่เสด็จฯเยือน หาใช่ยุโรปตามความเข้าใจของคนไทยอีกหลายคนไม่ แต่
เป็นเพื่อนบ้านอย่าง สิงคโปร์ บาตาเวีย หรือปัจจุบันคือกรุงจาการ์ตา และสมารัง เมืองหลวงและเมือง
ท่าที่สาคัญตั้งอยู่ทางด้านเหนือเกาะชวากลาง นั่นเอง
11
ทั้งนี้ หากศึกษาประวัติศาสตร์จะพบว่า ในช่วงที่ พระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้า ฯ
เสวยราชสมบัติ ขณะดารงพระอิสริยยศเป็น กรมขุนพินิจประชานาถ ขณะพระชนมายุได้ 15 พรรษา
แต่เนื่องจากพระองค์ยังไม่ทรงบรรลุนิติภาวะ อานาจเบ็ดเสร็จในการบริหารราชการ
แผ่นดินขณะนั้นอยู่กับเจ้าพระยาศรีสุริยวงศ์ และกลุ่มขุนนางตระกูลบุนนาค
แต่ในช่วงเวลานั้นเอง บ้านเมืองยังมีภัยคุกคามจากการล่าอาณานิคมของชาติ
ตะวันตก ที่ทวีความรุนแรงมากยิ่งขึ้น พระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้า ฯ ใช้เวลาที่ยังไม่ทรงมีพระ
ราชอานาจเด็ดขาดนี้ ในการทรงเตรียมพระองค์ อย่างเปี่ยมไปด้วยสายพระเนตรยาวไกล และพระ
ปรีชาสามารถ
โดยทรงตระหนักถึงปัญหาภัยคุกคามจากลัทธิล่าอาณานิคมของตะวันตกและได้ทรง
เตรียมการอย่างเป็นขั้นตอน ซึ่งทรงยึดแนวทางสืบเนื่องจากสมเด็จพระราชบิดา นั่นคือ ทรงปรับปรุง
ขนบธรรมเนียมประเพณี ยกระดับมาตรฐานความเป็นอยู่ของชาวสยาม มิให้ต่างชาติมาดูหมิ่น
ดูแคลน
และหลังการเสด็จครั้งนี้ บ้านเมืองเรามีการเปลี่ยนแปลงที่สาคัญ เช่น โปรดฯ ให้
ยกเลิกการไว้ผมทรงมหาดไทย หลังจากนั้นปี 2415 ยังทรงปรับปรุงการทหารครั้งใหญ่, โปรดให้ใช้เสื้อ
ราชปะแตน, โปรดให้สร้างโรงเรียนหลวงสอนภาษาอังกฤษแห่งแรกขึ้นในพระบรมหาราชวัง
12
2.5 พระรำชบัญญัติเครื่องแบบนักเรียน พ.ศ. 2482
ในพระปรมาภิไธยสมเด็จพระเจ้าอยู่หัวอานันทมหิดล
คณะผู้สาเร็จราชการแทนพระองค์
(ตามประกาศประธานสภาผู้แทนราษฎร ลงวันที่ 4 สิงหาคม พุทธศักราช 2480)
อาทิตย์ทิพอาภา และ พลเอก เจ้าพระยาพิชเยนทรโยธิน
ตราไว้ ณ วันที่ 8 กรกฎาคม พุทธศักราช 2482
เป็นปีที่ 6 ในรัชกาลปัจจุบัน
โดยที่สภาผู้แทนราษฎรลงมติว่าสมควรตรากฎหมายว่าด้วยเครื่องแบบนักเรียนขึ้นไว้
จึงมีพระบรมราชโองการให้ตราพระราชบัญญัติขึ้นไว้โดยคาแนะนาและยินยอมของสภา
ผู้แทนราษฎร ดังต่อไปนี้
มาตรา 1 พระราชบัญญัตินี้ให้เรียกว่า "พระราชบัญญัติเครื่องแบบนักเรียน พุทธศักราช 2482"
มาตรา 2 ให้ใช้พระราชบัญญัตินี้ตั้งแต่วันประกาศในราชกิจจานุเบกษาเป็นต้นไป
มาตรา 3 ในพระราชบัญญัตินี้
"เครื่องแบบนักเรียน" หมายความถึงเครื่องแบบทั้งหลายที่กาหนดให้นักเรียนจากโรงเรียน
รัฐบาลในความควบคุมของกระทรวงธรรมการ โรงเรียนประชาบาล โรงเรียนเทศบาล และโรงเรียน
ราษฎร์ แต่ง
มาตรา 4 เครื่องแบบนักเรียนจะเป็นอย่างใด จะให้แต่งเมื่อไรและโดยเงื่อนไขอย่างใดนั้น ให้
เป็นไปตามระเบียบที่กระทรวงธรรมการกาหนดไว้
มาตรา 5 ผู้ใดไม่มีสิทธิแต่งเครื่องแบบนักเรียนโดยชอบด้วยกฎหมายบังอาจแต่งเครื่องแบบ
หรือแต่งเลียน
เครื่องแบบดังกล่าวแล้วนั้นก็ดี หรือจัดหรืออุดหนุนให้ผู้ใดกระทาการดังกล่าวแล้วนั้นก็ดี ถ้าการ
กระทาที่ว่ามานี้ให้ปรากฏแก่คนทั้งหลายโดยประสงค์จะให้เขาเชื่อถือ หรือเข้าใจว่าผู้แต่งเป็นนักเรียน
ผู้นั้นมีความผิด ต้องระวางโทษปรับไม่เกินสองร้อยบาท
13
มาตรา 6 ให้รัฐมนตรีว่าการกระทรวงธรรมการมีหน้าที่รักษาการให้เป็นไปตาม
พระราชบัญญัตินี้ และให้มีอานาจออกระเบียบเพื่อปฏิบัติการให้เป็นไปตามพระราชบัญญัตินี้
ระเบียบนั้น เมื่อได้ประกาศในราชกิจจานุเบกษาแล้วให้ใช้บังคับได้
ผู้รับสนองพระบรมราชโองการ
พิบูลสงคราม (นายกรัฐมนตรี)
2.6 ประกำศของคณะปฏิวัติ ฉบับที่ 132
โดยที่คณะปฏิวัติพิจารณาเห็นว่า นักเรียนและนักศึกษาเป็นเยาวชนที่กาลังสร้างสม
คุณสมบัติทั้งในด้านความรู้ ความคิดและคุณธรรม พร้อมที่จะรับมรดกตกทอดจากผู้ใหญ่เป็นพลเมือง
ดี มีประโยชน์แก่ประเทศชาติในอนาคต นักเรียนและนักศึกษาควรได้รับการดูแลใกล้ชิดจากบิดา
มารดา ผู้ปกครอง และครูอาจารย์ เพื่อเป็นบุตรที่ดีของบิดามารดา เป็นศิษย์ที่ดีของครู อยู่ในโอวาท
คาสั่งสอน รวมทั้งอยู่ในระเบียบประเพณีและกฎหมายของบ้านเมือง เป็นการควรส่งเสริมและ
คุ้มครองความประพฤติการแต่งกาย และจรรยามารยาทให้รัดกุมยิ่งขึ้น เพื่อให้เหมาะสมกับ
สถานการณ์ปัจจุบัน หัวหน้าคณะปฏิวัติ จึงมีคาสั่งต่อไปนี้
ข้อ 1 ให้ยกเลิกพระราชบัญญัติควบคุมเด็กและนักเรียน พุธศักราช 2481 และบรรดาบทกฎหมาย
กฎ และข้อบังคับอื่น ๆ ที่มีกาหนดไว้แล้วในประกาศของคณะปฏิวัติฉบับนี้ หรือซึ่งขัดหรือแย้งกับ
ประกาศของคณะปฏิวัติฉบับนี้ และให้ใช้ประกาศของคณะปฏิวัติฉบับนี้แทน
ข้อ 2 ในประกาศของคณะปฏิวัติฉบับนี้
"นักเรียน" หมายความว่า บุคคลซึ่งกาลังรับการศึกษาระดับประถมศึกษาหรือมัธยมศึกษา
สายสามัญ และสายอาชีพ อยู่ในโรงเรียนของรัฐบาล โรงเรียนเทศบาล โรงเรียนประชาบาล หรือ
โรงเรียนราษฎร์
"นักศึกษา" หมายความว่า บุคคลซึ่งกาลังรับการศึกษาระดับที่สูงกว่าระดับมัธยมศึกษา อยู่ใน
สถานศึกษาสังกัดกระทรวงศึกษาธิการ ซึ่งมิได้ตั้งขึ้นโดยมีกฎหมายเฉพาะของสถานศึกษานั้น
"ผู้ปกครอง" หมายความว่า บุคคลซึ่งรับนักเรียนหรือนักศึกษาไว้ในความปกครองหรือ
อุปการะเลี้ยงดู หรือบุคคลที่นักเรียนหรือนักศึกษานั้นอาศัยอยู่
14
"สารวัตรนักเรียนนักศึกษา" หมายความว่า ผู้ซึ่งได้รับแต่งตั้งให้ปฏิบัติการตามประกาศของ
คณะปฏิวัติฉบับนี้
"แต่งกาย" หมายความรวมถึงการแต่งผมหรือส่วนอื่นของร่างกายด้วย
"รัฐมนตรี" หมายความว่า รัฐมนตรีผู้รักษาการตามประกาศของปฏิวัติฉบับนี้
ข้อ 3 ให้รัฐมนตรีหรือผู้ที่รัฐมนตรีมอบหมาย มีอานาจแต่งตั้งสารวัตรนักเรียนและนักศึกษาเพื่อ
ปฏิบัติการตามประกาศของคณะปฏิวัติฉบับนี้ และให้ถือว่าเป็นเจ้าพนักงานตามประมวลกฎหมาย
อาญา การปฏิบัติการของสารวัตรนักเรียนและนักศึกษา ให้เป็นไปตามระเบียบที่รัฐมนตรีกาหนด
ข้อ 4 นักเรียนและนักศึกษาต้องประพฤติตนอยู่ในระเบียบวินัยของโรงเรียนหรือสถานศึกษาที่ตน
สังกัดอยู่ และต้องแต่งกายหรือแต่งเครื่องแบบตามระเบียบข้อบังคับของโรงเรียน และสถานศึกษา
หรือตามกฎกาหนด นักเรียนนักศึกษาต้องไม่แต่งกายหรือประพฤติตนไม่สมควรแก่วัย หรือไม่
เหมาะสมแก่สภาพของนักเรียนนักศึกษา ทั้งนี้ ตามกาหนดในกฎกระทรวง
ข้อ 5 นักเรียนหรือนักศึกษาผู้ใดแต่งกายหรือประพฤติตนฝ่าฝืนข้อ 4 ให้เจ้าหน้าที่ตารวจหรือ
สารวัตรนักเรียนและนักศึกษามีอานาจปฏิบัติการตามระเบียบที่รัฐมนตรีกาหนด และมีอานาจไปมอบ
แก่ครูใหญ่ อาจารย์ใหญ่ ผู้อานวยการหรือหัวหน้าของโรงเรียนหรือสถานศึกษาของนักเรียนหรือ
นักศึกษานั้น เพื่อดาเนินการสอบสวนและอบรมสั่งสอนหรือลงโทษตามระเบียบหรือข้อบังคับ ในกรณี
ที่ไม่สามารถนาตัวไปมอบได้ จะแจ้งด้วยวาจาหรือเป็นหนังสือก็ได้ เมื่อได้รับการอบรมสั่งสอนหรือ
ลงโทษนักเรียนหรือนักศึกษาแล้ว ให้โรงเรียนหรือสถานศึกษาแจ้งให้บิดามารดาหรือผู้ปกครองว่า
กล่าวตักเตือนอีกชั้นหนึ่ง
การลงโทษนักเรียนหรือนักศึกษา ให้รัฐมนตรีมีอานาจออกระเบียบหรือข้อบังคับเพื่อให้
โรงเรียนหรือสถานศึกษาปฏิบัติตามสมควร เพื่อว่ากล่าวสั่งสอน
ข้อ 6 นักเรียนหรือนักศึกษาผู้ใดฝ่าฝืนข้อ 4 เป็นครั้งที่สอง ให้โรงเรียนหรือสถานศึกษาสั่งลงโทษ
ตามระเบียบหรือข้อบังคับ และแจ้งให้บิดามารดาหรือผู้ปกครองมาให้สัญญาว่าจะอบรมสั่งสอนและ
ควบคุมนักเรียนหรือนักศึกษานั้นมิให้ฝ่าฝืนเช่นนั้นอีก
ข้อ 7 ถ้าบิดามารดาหรือผู้ปกครองไม่มา หรือไม่ให้สัญญาว่าจะอบรมสั่งสอนและควบคุมนักเรียน
หรือนักศึกษาตามข้อ 6 หรือนักศึกษาผู้ใดฝ่าฝืนข้อ 4 เป็นครั้งที่สาม ให้โรงเรียนหรือสถานศึกษาส่งตัว
นักเรียนหรือนักศึกษาพร้อมทั้งรายงานลงโทษที่แล้วมาไปยังตารวจในท้องที่ที่โรงเรียนหรือ
สถานศึกษานั้นตั้งอยู่ และให้ข้าราชการตารวจซึ่งมียศตั้งแต่ร้อยตารวจตรีขึ้นไป มีอานาจออก
15
หมายเรียกบิดามารดาหรือผู้ปกครองมาว่ากล่าวตักเตือนหรือเรียกประกันทัณฑ์บนว่าจะปกครองดูแล
มิให้นักเรียนนักศึกษาฝ่าฝืนเช่นนั้นอีก โดยอาจกาหนดระยะเวลาไม่เกินหนึ่งปี หากผิดทัณฑ์บนให้
ปรับได้ไม่เกินห้าร้อยบาท
ข้อ 8 นักเรียนหรือนักศึกษาผู้ใดฝ่าฝืนข้อ 4 เป็นครั้งที่สี่ ให้เรียนหรือสถานศีกษาส่งตัวไปยัง
คณะกรรมการควบคุมความประพฤตินักเรียนและนักศึกษา ซึ่งรัฐมนตรีแต่งตั้งเพื่อพิจารณาส่งตัวไป
ยังโรงเรียนหรือสถานศึกษาที่จัดตั้งขึ้นโดยเฉพาะเพื่ออบรมศึกษาหรือในกรณีที่นักเรียนนักศึกษานั้นมี
อายุไม่ครบสิบแปดปีบริบูรณ์ คณะกรรมการควบคุมความประพฤตินักเรียนและนักศึกษาจะส่งตัวไป
ยังสถานแรกรับเด็ก เพื่อให้การสงเคราะห์หรือคุ้มครองสวัสดิภาพที่เหมาะสมตามกฎหมายว่าด้วยการ
คุ้มครองสวัสดิภาพและการสงเคราะห์เด็กต่อไปก็ได้
ข้อ 9 ถ้าการฝ่าฝืนข้อ 4 เกิดขึ้นในบริเวณโรงเรียนหรือสถานศึกษาซึ่งนักเรียนหรือนักศึกษานั้น
ศึกษาอยู่ ให้ครูใหญ่ อาจารย์ ผู้อานวยการ หรือหัวหน้าของโรงเรียนหรือสถานศึกษาดาเนินการตาม
ข้อ 5 ข้อ 6 ข้อ 7 หรือข้อ 8 ตามลาดับ แล้วแต่กรณี
ข้อ 10 บิดามารดาหรือผู้ปกครองไม่ยอมรับทัณฑ์บนตามข้อ 7 มีความผิดต้องโทษปรับไม่เกินหนึ่ง
พันบาท
ข้อ 11 ให้รัฐมนตรีว่าการกระทรวงศึกษาธิการรักษาการตามประกาศของคณะปฏิวัติฉบับนี้และให้มี
อานาจออกกฎกระทรวงและระเบียบเพื่อปฏิบัติการตามประกาศคณะปฏิวัติฉบับนี้ กฎกระทรวงนั้น
เมื่อได้ประกาศในราชกิจจานุเบกษาแล้ว ให้ใช้บังคับได้
ข้อ 12 ประกาศของคณะปฏิวัติฉบับนี้ ให้ใช้บังคับตั้งแต่วันถัดจากวันประกาศในราชกิจจานุเบกษา
เป็นต้นไป
ประกาศ ณ วันที่ 22 เมษายน พุทธศักราช 2515
(ลงชื่อ) จอมพลถนอม กิตติขจร
หัวหน้าคณะปฏิวัติ
16
2.7 กฎกระทรวงศึกษำธิกำร ฉบับที่ 1/2515
ออกตามความในประกาศของคณะปฏิวัติ ฉบับที่ 132
ลงวันที่ 22 เมษายน พ.ศ. 2515
อาศัยอานาจตามความในข้อ 3 และข้อ 11 แห่งประกาศของคณะปฏิวัติ ฉบับที่ 132 ลงวันที่ 22
เมษายน พ.ศ. 2515 รัฐมนตรีว่าการกระทรวงศึกษาธิการออกกฎกระทรวงไว้ดังต่อไปนี้
ข้อ 1 การแต่งกาย และความประพฤติดังต่อไปนี้ถือว่าไม่เหมาะสมแก่สภาพของนักเรียนตาม ความใน
ข้อ 4 แห่งประกาศของคณะปฏิบัติ ฉบับที่ 132
(1) นักเรียนชายไว้ผมยาว โดยไว้ผมข้างหน้าและกลางศีรษะยาวเกิน 5 เซนติเมตร และ ชาย
ผมรอบศีรษะไม่ตัดเกรียนชิดผิวหนัง หรือไว้หนวดหรือเครา
นักเรียนหญิงตัดผมหรือไว้ผมยาวเลยต้นคอ หากโรงเรียนหรือสถานศึกษาใดอนุญาต ให้ไว้ยาวเกินกว่า
นั้นก็ให้รวบให้เรียบร้อย
นักเรียนใช้เครื่องสาอาง หรือสิ่งปลอมเพื่อการเสริมสวย
(2) เที่ยวเร่ร่อนอยู่ในที่สาธารณะสถาน หรือทาลายสมบัติของโรงเรียนหรือสถานศึกษา หรือ
สาธารณสมบัติ
(3) แสดงกิริยา วาจา หรือกระทาอย่างหนึ่งอย่างใดที่ไม่สุภาพ
(4) มั่วสุมและก่อความเดือดร้อนราคาญอย่างหนึ่งอย่างใด
(5) เล่นการพนันซึ่งต้องห้ามตามกฎหมายการพนัน
(6) เที่ยวเตร่เวลากลางคืนระหว่าง 22.00 นาฬิกา ถึง 04.00 นาฬิกา ของวันรุ่งขึ้น เว้นไว้แต่
ไปกับบิดามารดาหรือผู้ปกครอง หรือได้รับอนุญาตจากโรงเรียนหรือสถานศึกษา
(7) สูบบุหรี่ สูบกัญชา หรือเสพสุรา ยาเสพติด หรือของมึนเมาอย่างอื่น
(8) เข้าไปในสถานบริการตามกฎหมายว่าด้วยสถานบริการหรือสถานอื่นใดซึ่งมีลักษณะ
คล้ายคลึงกัน โรงรับจานา หรือสถานการณ์พนันในระหว่างเวลาที่มีการเล่นการพนัน เว้นแต่จะเป็นผู้
อาศัยอยู่หรือเยี่ยมญาติสถานที่นั้น
17
(9) เข้าไปในงานหรืองานร่วมสังสรรค์ และงานนั้นมีการเต้นราหรือการแสดงซึ่งไม่สมควร แก่
สภาพของนักเรียน เว้นแต่ไปกับบิดามารดาหรือผู้ปกครอง หรืองานนั้นบิดามารดาผู้ปกครอง หรือ
สถานศึกษาของนักเรียนคนหนึ่งคนใดเป็นผู้จัด
(10) เข้าไปในสถานค้าประเวณี เว้นแต่จะเป็นผู้อาศัยอยู่ในที่นั้นหรือเข้าไปเยี่ยมญาติ ซึ่ง
อาศัยอยู่ในสถานที่นั้น
(11) คบค้าสมาคมกับหญิงที่ประพฤติตนเพื่อการค้าประเวณีเว้นแต่จะเป็นญาติใกล้ชิดกับหญิงนั้น
(12) ประพฤติตนในทานองชู้สาว
(13) มีวัตถุระเบิดก็ดี หรือมีอาวุธติดตัวหรือซ่อนเร้นไว้เพื่อใช้ในการประทุษร้ายก็ดี
(14) หลบหนีโรงเรียน
ข้อ 2 การแต่งกายและความประพฤติดังต่อไปนี้ถือว่าไม่เหมาะสมแก่สภาพของนักศึกษาตาม ความใน
ข้อ 4 แห่งประกาศของคณะปฏิวัติ ฉบับที่ 132
(1) นักศึกษาชายตัดผมหรือไว้ผมยาวจนด้านข้างและด้านหลังยาวเลยตีนผมหรือไว้หนวดไว้เครา
นักศึกษาหญิงนุ่งประโปรงสั้นจนชายกระโปรงสูงกว่ากึ่งกลางสะบ้าหัวเขาเกิน 5 เซนติเมตร ขอบ
กระโปรงต่ากว่าระดับสะดือ คาดเข็มขัดหลวมต่ากว่าระดับขอบกระโปรงหรือแต่งกายไม่เหมาะสมกับ
สภาพกุลสตรีไทย
นักศึกษาใช้เครื่องสาอาง หรือสิ่งปลอมเพื่อการเสริมสวย
(2) สูบกัญชาหรือเสพสุรา ยาเสพติด หรือของมึนเมาอย่างอื่น
(3) กระทาการอันเป็นปฏิปักษ์ต่ออานาจบริหารของโรงเรียนหรือสถานศึกษาหรือบังคับขู่
เข็ญ ยุยงส่งเสริมหรือสนับสนุนให้นักเรียนหรือนักศึกษากระทาการเช่นว่านั้น และ
(4) ความประพฤติตามข้อ 1 (2) (3) (4) (5)(8) (10) (11) (12) (13)
ให้ไว้ ณ วันที่ 28 มิถุนายน พ.ศ. 2515
นายบุญถิ่น อัตถากร
ปลัดกระทรวงศึกษาธิการ
ผู้ใช้อานาจของรัฐมนตรีว่าการกระทรวงศึกษาธิการ
18
2.8 กฎกระทรวงศึกษำธิกำร ฉบับที่ 2/2518
ออกตามความในประกาศของคณะปฏิวัติ ฉบับที่ ๑๓๒
ลงวันที่ ๒๒ เมษายน พ.ศ. ๒๕๑๕
อาศัยอานาจตามความข้อที่ ๔ และข้อที่ ๑๑ แห่งประกาศของคณะปฏิวัติ ฉบับที่ ๑๓๒ ลงวันที่ ๒๒
เมษายน พ.ศ. ๒๕๑๕ รัฐมนตรีว่าการกระทรวงศึกษาธิการออกกฎกระทรวงศึกษาธิการออก
กฎกระทรวงไว้ดังต่อไปนี้
ให้ยกเลิกความในข้อ (๑) ของข้อ ๑ แห่งกฎกระทรวง ฉบับที่ ๑ (พ.ศ. ๒๕๑๕) ออกตาม
ความในประกาศของคณะปฏิวัติ ฉบับที่ ๑๓๒ ลงวันที่ ๒๒ เมษายน พ.ศ. ๒๕๑๕ และให้ใช้ความ
ต่อไปนี้แทน
“ (1) นักเรียนชายดัดผมหรือไว้ผมยาวจนด้านข้างและด้านหลังยาวเลยตีนผมหรือไว้หนวด
เครา
นักเรียนหญิงดัดผมหรอืไว้ผมยาวเลยต้นคอ หากโรงเรียนหรือสถานศึกษาใดอนุญาต
ให้ไว้ยาวเกินกว่านั้นก็ให้รวบให้เรียบร้อย
นักเรียนใช้เครื่องสาอางหรือสิ่งปลอมแปลงเพื่อการเสริมสวย"
ให้ไว้ ณ วันที่ ๖ มกราคม พ.ศ. ๒๕๑๘
เกรียง กีรติกร
รัฐมนตรีว่าการกระทรวงศึกษาธิการ
หมำยเหตุ เหตุผลในการประกาศใช้กฎกระทรวงฉบับนี้คือ เนื่องจากสมัยนิยมเปลี่ยนไป
สมควรผ่อนผันให้นักเรียนชายไว้ผมที่เหมาะสมกับวัยและสภาพของนักเรียนตาม
สมัยนิยมได้บ้าง จึงจาเป็นต้องออกกฎกระทรวงนี้
19
2.9 พระรำชบัญญัติเครื่องแบบนักเรียน พ.ศ. 2551
ภูมิพลอดุลยเดช ป.ร.
ให้ไว้ ณ วันที่ 31 มกราคม พ.ศ. 2551
เป็นปีที่ 63 ในรัชกาลปัจจุบัน
พระบาทสมเด็จพระปรมินทรมหาภูมิพลอดุลยเดช มีพระบรมราชโองการโปรดเกล้าฯ ให้
ประกาศว่า โดยที่เป็นการสมควรปรับปรุงกฎหมายว่าด้วยเครื่องแบบนักเรียน
พระราชบัญญัตินี้มีบทบัญญัติบางประการเกี่ยวกับการจากัดสิทธิและเสรีภาพของบุคคล ซึ่ง
มาตรา 29 ประกอบกับมาตรา 32 ของรัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย บัญญัติให้กระทาได้โดย
อาศัยอานาจตามบทบัญญัติแห่งกฎหมาย จึงทรงพระกรุณาโปรดเกล้าฯ ให้ตราพระราชบัญญัติขึ้นไว้
โดยคาแนะนาและยินยอมของสภานิติบัญญัติแห่งชาติ ดังต่อไปนี้
มำตรำ 1 พระราชบัญญัตินี้ เรียกว่า “พระราชบัญญัติเครื่องแบบนักเรียน พ.ศ. 2551”
มำตรำ 2 พระราชบัญญัตินี้ ให้ใช้บังคับตั้งแต่วันถัดจากวันประกาศในราชกิจจานุเบกษาเป็นต้นไป[1]
มำตรำ 3 ให้ยกเลิกพระราชบัญญัติเครื่องแบบนักเรียน พุทธศักราช 2482
มำตรำ 4 ในพระราชบัญญัตินี้
“นักเรียน” หมายความว่า ผู้ซึ่งศึกษาในสถานศึกษาขั้นพื้นฐาน และผู้ซึ่งศึกษาใน
ระดับอุดมศึกษาต่ากว่าปริญญาตามกฎหมายว่าด้วยการศึกษาแห่งชาติ
“สถานศึกษา” หมายความว่า สถานศึกษาตามกฎหมายว่าด้วยการศึกษาแห่งชาติ แต่ไม่
รวมถึงสถานศึกษาในระดับอุดมศึกษาระดับปริญญา
“เครื่องแบบนักเรียน” หมายความว่า เครื่องแต่งกาย สิ่งประกอบเครื่องแต่งกาย และ
เครื่องหมายต่าง ๆ ที่กาหนดให้นักเรียนแต่งตามพระราชบัญญัตินี้
มำตรำ 5 ให้นักเรียนแต่งเครื่องแบบนักเรียน
ลักษณะของเครื่องแบบนักเรียน วิธีการแต่ง เงื่อนไขในการแต่ง และการยกเว้นไม่ต้องแต่ง
เครื่องแบบนักเรียน ให้เป็นไปตามระเบียบที่กระทรวงศึกษาธิการกาหนด
นักเรียนผู้ใดไม่แต่งเครื่องแบบนักเรียน โดยไม่ได้รับยกเว้นตามวรรคสอง อาจได้รับโทษทาง
วินัย ตามระเบียบที่กระทรวงศึกษาธิการกาหนด
20
มำตรำ 6 สถานศึกษาใดมีความประสงค์จะขอใช้เครื่องแบบนักเรียนเป็นอย่างอื่นนอกเหนือจากที่
กาหนดตามมาตรา 5 วรรคสอง ให้ยื่นคาขออนุญาตต่อกระทรวงศึกษาธิการตามระเบียบที่
กระทรวงศึกษาธิการกาหนด
มำตรำ 7 ผู้ใดแต่งเครื่องแบบนักเรียนโดยไม่มีสิทธิที่จะแต่ง หรือแต่งกายเลียนแบบเครื่องแบบ
นักเรียน ถ้าได้กระทาเพื่อให้บุคคลอื่นเชื่อว่าตนเป็นนักเรียน ต้องระวางโทษปรับไม่เกินหนึ่งพันบาท
มำตรำ 8 บรรดาระเบียบ ประกาศ และคาสั่งที่ออกโดยอาศัยอานาจตามพระราชบัญญัติเครื่องแบบ
นักเรียน พุทธศักราช 2482 ที่ใช้บังคับอยู่ในวันก่อนวันที่พระราชบัญญัตินี้ใช้บังคับ ให้ใช้บังคับได้
ต่อไป เท่าที่ไม่ขัดหรือแย้งกับบทบัญญัติในพระราชบัญญัตินี้ ทั้งนี้ จนกว่าจะได้มีการออกระเบียบตาม
บทบัญญัติแห่งพระราชบัญญัตินี้
มำตรำ 9 ให้รัฐมนตรีว่าการกระทรวงศึกษาธิการรักษาการตามพระราชบัญญัตินี้
ผู้รับสนองพระบรมราชโองการ
พลเอกสุรยุทธ์ จุลานนท์
นายกรัฐมนตรี
*หมายเหตุ
เหตุผลในการประกาศใช้พระราชบัญญัติฉบับนี้ คือ โดยที่พระราชบัญญัติเครื่องแบบนักเรียน
พุทธศักราช 2482 ใช้บังคับมาเป็นเวลานาน บทบัญญัติบางประการจึงไม่เหมาะสมกับสภาวการณ์ใน
ปัจจุบัน สมควรปรับปรุง โดยกาหนดให้มีเครื่องแบบนักเรียนไว้เป็นมาตรฐานกลาง เพื่อประโยชน์ใน
การประหยัดและความเป็นระเบียบเรียบร้อย และสร้างวินัยให้แก่นักเรียน รวมทั้งเป็นการคุ้มครอง
เพื่อมิให้บุคคลอื่นแต่งเครื่องแบบนักเรียนโดยไม่สิทธิที่จะแต่ง จึงจาเป็นต้องตราพระราชบัญญัตินี้
รายงาน เรื่อง ทรงผม(ของ)นักเรียน | ดรัณภพ ศรีสมบัติ (2019)
รายงาน เรื่อง ทรงผม(ของ)นักเรียน | ดรัณภพ ศรีสมบัติ (2019)
รายงาน เรื่อง ทรงผม(ของ)นักเรียน | ดรัณภพ ศรีสมบัติ (2019)
รายงาน เรื่อง ทรงผม(ของ)นักเรียน | ดรัณภพ ศรีสมบัติ (2019)
รายงาน เรื่อง ทรงผม(ของ)นักเรียน | ดรัณภพ ศรีสมบัติ (2019)
รายงาน เรื่อง ทรงผม(ของ)นักเรียน | ดรัณภพ ศรีสมบัติ (2019)
รายงาน เรื่อง ทรงผม(ของ)นักเรียน | ดรัณภพ ศรีสมบัติ (2019)
รายงาน เรื่อง ทรงผม(ของ)นักเรียน | ดรัณภพ ศรีสมบัติ (2019)
รายงาน เรื่อง ทรงผม(ของ)นักเรียน | ดรัณภพ ศรีสมบัติ (2019)
รายงาน เรื่อง ทรงผม(ของ)นักเรียน | ดรัณภพ ศรีสมบัติ (2019)
รายงาน เรื่อง ทรงผม(ของ)นักเรียน | ดรัณภพ ศรีสมบัติ (2019)
รายงาน เรื่อง ทรงผม(ของ)นักเรียน | ดรัณภพ ศรีสมบัติ (2019)
รายงาน เรื่อง ทรงผม(ของ)นักเรียน | ดรัณภพ ศรีสมบัติ (2019)
รายงาน เรื่อง ทรงผม(ของ)นักเรียน | ดรัณภพ ศรีสมบัติ (2019)
รายงาน เรื่อง ทรงผม(ของ)นักเรียน | ดรัณภพ ศรีสมบัติ (2019)
รายงาน เรื่อง ทรงผม(ของ)นักเรียน | ดรัณภพ ศรีสมบัติ (2019)
รายงาน เรื่อง ทรงผม(ของ)นักเรียน | ดรัณภพ ศรีสมบัติ (2019)
รายงาน เรื่อง ทรงผม(ของ)นักเรียน | ดรัณภพ ศรีสมบัติ (2019)
รายงาน เรื่อง ทรงผม(ของ)นักเรียน | ดรัณภพ ศรีสมบัติ (2019)
รายงาน เรื่อง ทรงผม(ของ)นักเรียน | ดรัณภพ ศรีสมบัติ (2019)
รายงาน เรื่อง ทรงผม(ของ)นักเรียน | ดรัณภพ ศรีสมบัติ (2019)
รายงาน เรื่อง ทรงผม(ของ)นักเรียน | ดรัณภพ ศรีสมบัติ (2019)
รายงาน เรื่อง ทรงผม(ของ)นักเรียน | ดรัณภพ ศรีสมบัติ (2019)
รายงาน เรื่อง ทรงผม(ของ)นักเรียน | ดรัณภพ ศรีสมบัติ (2019)
รายงาน เรื่อง ทรงผม(ของ)นักเรียน | ดรัณภพ ศรีสมบัติ (2019)
รายงาน เรื่อง ทรงผม(ของ)นักเรียน | ดรัณภพ ศรีสมบัติ (2019)
รายงาน เรื่อง ทรงผม(ของ)นักเรียน | ดรัณภพ ศรีสมบัติ (2019)
รายงาน เรื่อง ทรงผม(ของ)นักเรียน | ดรัณภพ ศรีสมบัติ (2019)
รายงาน เรื่อง ทรงผม(ของ)นักเรียน | ดรัณภพ ศรีสมบัติ (2019)
รายงาน เรื่อง ทรงผม(ของ)นักเรียน | ดรัณภพ ศรีสมบัติ (2019)
รายงาน เรื่อง ทรงผม(ของ)นักเรียน | ดรัณภพ ศรีสมบัติ (2019)
รายงาน เรื่อง ทรงผม(ของ)นักเรียน | ดรัณภพ ศรีสมบัติ (2019)
รายงาน เรื่อง ทรงผม(ของ)นักเรียน | ดรัณภพ ศรีสมบัติ (2019)

Contenu connexe

Tendances

ตัวอย่างสารบัญ เล่มโปรเจ็ค
ตัวอย่างสารบัญ เล่มโปรเจ็คตัวอย่างสารบัญ เล่มโปรเจ็ค
ตัวอย่างสารบัญ เล่มโปรเจ็ค
tumetr1
 
การฟื้นฟูเศรษฐกิจในสมัยรัชกาลที่ 1
การฟื้นฟูเศรษฐกิจในสมัยรัชกาลที่ 1การฟื้นฟูเศรษฐกิจในสมัยรัชกาลที่ 1
การฟื้นฟูเศรษฐกิจในสมัยรัชกาลที่ 1
Princess Chulabhorn's College, Chiang Rai Thailand
 
โครงงานวิทยาศาสตร์ เรื่อง สมุนไพรกำจัดปลวก
โครงงานวิทยาศาสตร์ เรื่อง สมุนไพรกำจัดปลวกโครงงานวิทยาศาสตร์ เรื่อง สมุนไพรกำจัดปลวก
โครงงานวิทยาศาสตร์ เรื่อง สมุนไพรกำจัดปลวก
พัน พัน
 
โครงงานภาษาไทยเรื่องนิทาน
โครงงานภาษาไทยเรื่องนิทานโครงงานภาษาไทยเรื่องนิทาน
โครงงานภาษาไทยเรื่องนิทาน
Rawinnipha Joy
 
คำยืมภาษาต่างประเทศในภาษาไทย
คำยืมภาษาต่างประเทศในภาษาไทยคำยืมภาษาต่างประเทศในภาษาไทย
คำยืมภาษาต่างประเทศในภาษาไทย
พัน พัน
 
สารบัญโครงงานคอม
สารบัญโครงงานคอมสารบัญโครงงานคอม
สารบัญโครงงานคอม
kand-2539
 
สื่อและแหล่งการเรียนรู้
สื่อและแหล่งการเรียนรู้สื่อและแหล่งการเรียนรู้
สื่อและแหล่งการเรียนรู้
poms0077
 
ชอล์กสมุนไพรเปลือกไข่ไล่มด 1
ชอล์กสมุนไพรเปลือกไข่ไล่มด 1ชอล์กสมุนไพรเปลือกไข่ไล่มด 1
ชอล์กสมุนไพรเปลือกไข่ไล่มด 1
Chanatda Anuwat
 
ตัวอย่างหนังสือราชการ
ตัวอย่างหนังสือราชการตัวอย่างหนังสือราชการ
ตัวอย่างหนังสือราชการ
justymew
 
บทที่ 2 เอกสารที่เกี่ยวข้อง
บทที่ 2 เอกสารที่เกี่ยวข้องบทที่ 2 เอกสารที่เกี่ยวข้อง
บทที่ 2 เอกสารที่เกี่ยวข้อง
Kittichai Pinlert
 
แบบประเมินผลชิ้นงาน
แบบประเมินผลชิ้นงานแบบประเมินผลชิ้นงาน
แบบประเมินผลชิ้นงาน
pacharawalee
 
ตัวอย่างชื่อโครงงานวิทยาศาสตร์
ตัวอย่างชื่อโครงงานวิทยาศาสตร์ตัวอย่างชื่อโครงงานวิทยาศาสตร์
ตัวอย่างชื่อโครงงานวิทยาศาสตร์
Jiraporn
 

Tendances (20)

เฉลยแบบฝึกหัดหน่วยที่ 4
เฉลยแบบฝึกหัดหน่วยที่ 4เฉลยแบบฝึกหัดหน่วยที่ 4
เฉลยแบบฝึกหัดหน่วยที่ 4
 
ตัวอย่างสารบัญ เล่มโปรเจ็ค
ตัวอย่างสารบัญ เล่มโปรเจ็คตัวอย่างสารบัญ เล่มโปรเจ็ค
ตัวอย่างสารบัญ เล่มโปรเจ็ค
 
การฟื้นฟูเศรษฐกิจในสมัยรัชกาลที่ 1
การฟื้นฟูเศรษฐกิจในสมัยรัชกาลที่ 1การฟื้นฟูเศรษฐกิจในสมัยรัชกาลที่ 1
การฟื้นฟูเศรษฐกิจในสมัยรัชกาลที่ 1
 
โครงงานวิทยาศาสตร์ เรื่อง สมุนไพรกำจัดปลวก
โครงงานวิทยาศาสตร์ เรื่อง สมุนไพรกำจัดปลวกโครงงานวิทยาศาสตร์ เรื่อง สมุนไพรกำจัดปลวก
โครงงานวิทยาศาสตร์ เรื่อง สมุนไพรกำจัดปลวก
 
โครงงานภาษาไทยเรื่องนิทาน
โครงงานภาษาไทยเรื่องนิทานโครงงานภาษาไทยเรื่องนิทาน
โครงงานภาษาไทยเรื่องนิทาน
 
คำยืมภาษาต่างประเทศในภาษาไทย
คำยืมภาษาต่างประเทศในภาษาไทยคำยืมภาษาต่างประเทศในภาษาไทย
คำยืมภาษาต่างประเทศในภาษาไทย
 
กิตติกรรมประกาศ
กิตติกรรมประกาศกิตติกรรมประกาศ
กิตติกรรมประกาศ
 
สารบัญโครงงานคอม
สารบัญโครงงานคอมสารบัญโครงงานคอม
สารบัญโครงงานคอม
 
Key of 5 การสถาปนาธนบุรี
Key of 5 การสถาปนาธนบุรีKey of 5 การสถาปนาธนบุรี
Key of 5 การสถาปนาธนบุรี
 
สื่อและแหล่งการเรียนรู้
สื่อและแหล่งการเรียนรู้สื่อและแหล่งการเรียนรู้
สื่อและแหล่งการเรียนรู้
 
ชอล์กสมุนไพรเปลือกไข่ไล่มด 1
ชอล์กสมุนไพรเปลือกไข่ไล่มด 1ชอล์กสมุนไพรเปลือกไข่ไล่มด 1
ชอล์กสมุนไพรเปลือกไข่ไล่มด 1
 
สมุดเล่มเล็ก เรื่อง ลดหวานต้านโรค
สมุดเล่มเล็ก เรื่อง ลดหวานต้านโรคสมุดเล่มเล็ก เรื่อง ลดหวานต้านโรค
สมุดเล่มเล็ก เรื่อง ลดหวานต้านโรค
 
อิเหนา
อิเหนาอิเหนา
อิเหนา
 
ตัวอย่างหนังสือราชการ
ตัวอย่างหนังสือราชการตัวอย่างหนังสือราชการ
ตัวอย่างหนังสือราชการ
 
บทบาทหน้าที่ของรัฐบาลในการพัฒนาประเทศ
บทบาทหน้าที่ของรัฐบาลในการพัฒนาประเทศบทบาทหน้าที่ของรัฐบาลในการพัฒนาประเทศ
บทบาทหน้าที่ของรัฐบาลในการพัฒนาประเทศ
 
กาพย์เห่เรือ บทชมปลา ภาษาไทย ม.6
กาพย์เห่เรือ บทชมปลา ภาษาไทย ม.6 กาพย์เห่เรือ บทชมปลา ภาษาไทย ม.6
กาพย์เห่เรือ บทชมปลา ภาษาไทย ม.6
 
บทที่ 2 เอกสารที่เกี่ยวข้อง
บทที่ 2 เอกสารที่เกี่ยวข้องบทที่ 2 เอกสารที่เกี่ยวข้อง
บทที่ 2 เอกสารที่เกี่ยวข้อง
 
แบบประเมินผลชิ้นงาน
แบบประเมินผลชิ้นงานแบบประเมินผลชิ้นงาน
แบบประเมินผลชิ้นงาน
 
ตัวอย่างชื่อโครงงานวิทยาศาสตร์
ตัวอย่างชื่อโครงงานวิทยาศาสตร์ตัวอย่างชื่อโครงงานวิทยาศาสตร์
ตัวอย่างชื่อโครงงานวิทยาศาสตร์
 
ลิลิตตะเลงพ่าย (สอน Ppt)[1]
ลิลิตตะเลงพ่าย (สอน Ppt)[1]ลิลิตตะเลงพ่าย (สอน Ppt)[1]
ลิลิตตะเลงพ่าย (สอน Ppt)[1]
 

Similaire à รายงาน เรื่อง ทรงผม(ของ)นักเรียน | ดรัณภพ ศรีสมบัติ (2019)

พัฒนาหลักสูตร
พัฒนาหลักสูตรพัฒนาหลักสูตร
พัฒนาหลักสูตร
Esarnee
 
พัฒนาหลักสูตร
พัฒนาหลักสูตรพัฒนาหลักสูตร
พัฒนาหลักสูตร
Esarnee
 
พัฒนาหลักสูตร1
พัฒนาหลักสูตร1พัฒนาหลักสูตร1
พัฒนาหลักสูตร1
Esarnee
 
ทำไมเด็กไทยพูดภาษอังกฤษไม่ได้
ทำไมเด็กไทยพูดภาษอังกฤษไม่ได้ทำไมเด็กไทยพูดภาษอังกฤษไม่ได้
ทำไมเด็กไทยพูดภาษอังกฤษไม่ได้
คุณครูพี่อั๋น
 
แผ่นพับรับนร56.doc
แผ่นพับรับนร56.doc แผ่นพับรับนร56.doc
แผ่นพับรับนร56.doc
KruPor Sirirat Namthai
 
R บทที่ 1
R บทที่  1R บทที่  1
R บทที่ 1
khuwawa
 
ภาคเรียนที่ 2 ปีการศึกษา 2554
ภาคเรียนที่ 2 ปีการศึกษา 2554ภาคเรียนที่ 2 ปีการศึกษา 2554
ภาคเรียนที่ 2 ปีการศึกษา 2554
Nattapon
 
การกินอย่างมีคุณค่า
การกินอย่างมีคุณค่าการกินอย่างมีคุณค่า
การกินอย่างมีคุณค่า
aon04937
 

Similaire à รายงาน เรื่อง ทรงผม(ของ)นักเรียน | ดรัณภพ ศรีสมบัติ (2019) (20)

Report1 5
Report1 5Report1 5
Report1 5
 
ส่งวิจัยในชั้นเรียน1.59
ส่งวิจัยในชั้นเรียน1.59ส่งวิจัยในชั้นเรียน1.59
ส่งวิจัยในชั้นเรียน1.59
 
พัฒนาหลักสูตร
พัฒนาหลักสูตรพัฒนาหลักสูตร
พัฒนาหลักสูตร
 
พัฒนาหลักสูตร
พัฒนาหลักสูตรพัฒนาหลักสูตร
พัฒนาหลักสูตร
 
พัฒนาหลักสูตร1
พัฒนาหลักสูตร1พัฒนาหลักสูตร1
พัฒนาหลักสูตร1
 
ทำไมเด็กไทยพูดภาษอังกฤษไม่ได้
ทำไมเด็กไทยพูดภาษอังกฤษไม่ได้ทำไมเด็กไทยพูดภาษอังกฤษไม่ได้
ทำไมเด็กไทยพูดภาษอังกฤษไม่ได้
 
เค้าโครงร่าง
เค้าโครงร่างเค้าโครงร่าง
เค้าโครงร่าง
 
การศึกษาพฤติกรรมสาเหตุการทะเลาะวิวาทของเด็กนักเรียนอาชีวะม.6/1
การศึกษาพฤติกรรมสาเหตุการทะเลาะวิวาทของเด็กนักเรียนอาชีวะม.6/1การศึกษาพฤติกรรมสาเหตุการทะเลาะวิวาทของเด็กนักเรียนอาชีวะม.6/1
การศึกษาพฤติกรรมสาเหตุการทะเลาะวิวาทของเด็กนักเรียนอาชีวะม.6/1
 
04028 683
04028 68304028 683
04028 683
 
test
testtest
test
 
2562 final-project (1)
2562 final-project  (1)2562 final-project  (1)
2562 final-project (1)
 
2562 final-project 32
2562 final-project 322562 final-project 32
2562 final-project 32
 
เค้าโครงร่าง
เค้าโครงร่างเค้าโครงร่าง
เค้าโครงร่าง
 
Chapter 8 อิอิ
Chapter 8 อิอิChapter 8 อิอิ
Chapter 8 อิอิ
 
แผ่นพับรับนร56.doc
แผ่นพับรับนร56.doc แผ่นพับรับนร56.doc
แผ่นพับรับนร56.doc
 
Work1
Work1Work1
Work1
 
R บทที่ 1
R บทที่  1R บทที่  1
R บทที่ 1
 
ภาคเรียนที่ 2 ปีการศึกษา 2554
ภาคเรียนที่ 2 ปีการศึกษา 2554ภาคเรียนที่ 2 ปีการศึกษา 2554
ภาคเรียนที่ 2 ปีการศึกษา 2554
 
05 โครงการค่ายคืนปัญญาสู่มาตุภูมิ ๕๖
05 โครงการค่ายคืนปัญญาสู่มาตุภูมิ ๕๖05 โครงการค่ายคืนปัญญาสู่มาตุภูมิ ๕๖
05 โครงการค่ายคืนปัญญาสู่มาตุภูมิ ๕๖
 
การกินอย่างมีคุณค่า
การกินอย่างมีคุณค่าการกินอย่างมีคุณค่า
การกินอย่างมีคุณค่า
 

รายงาน เรื่อง ทรงผม(ของ)นักเรียน | ดรัณภพ ศรีสมบัติ (2019)

  • 1. รายงานเรื่อง ทรง(ผมของ)นักเรียน เสนอ คุณครู วนัชนันท์ เอกทนากุล กลุ่มสาระการเรียนรู้ภาษาไทย โดย นาย ดรัณภพ ศรีสมบัติ ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 5 ห้อง 7 ภาคเรียนที่ 1 ปีการศึกษา 2562 โรงเรียนเทพศิรินทร์
  • 2. ก คำนำ รายงานเล่มนี้จัดทาขึ้นเพื่อเป็นส่วนหนึ่งของวิชา การสื่อสารและการนาเสนอ (I32201) ชั้นมัธยมศึกษาปี่ที่ 5 เพื่อให้ได้ศึกษาหาความรู้ในเรื่อง ทรงผมของนักเรียน และได้ศึกษา อย่างเข้าใจ เพื่อเป็นประโยชน์ต่อการเรียน ผู้จัดทาหวังว่า รายงานเล่มนี้จะเป็นประโยชน์กับผู้อ่าน นักเรียน นักศึกษา หรือ ผู้ปกครอง ผู้สนใจประวัติศาสตร์ ผู้สนใจการเมือง ที่กาลังค้นหาข้อมูลเรื่องนี้อยู่ หากมีข้อแนะนาหรือ ผิดพลาดประการใด ผู้จัดทาขอน้อมรับไว้และขออภัยมา ณ ที่นี้ด้วย นายดรัณภพ ศรีสมบัติ ผู้จัดทา
  • 3. ข กิตติกรรมประกำศ การทารายงานเล่มนี้ สามารถสาเร็จลุล่วงผ่านไปได้ด้วยดีด้วยความกรุณาของ คุณ ครูวนัชนันท์ เอกทนากุล ครูที่ปรึกษาประจารายวิชาการสื่อสารและการนาเสนอ 1 ที่คอยให้ คาปรึกษา คาแนะนา ความคิดเห็นเสนอแนะ ตลอดจนการแก้ไขข้อผิดพลาด และข้อบกพร่องต่างๆ มาโดยตลอดจนทาให้รายงานฉบับนี้สาเร็จลุล่วงไปด้วยดี ผู้จัดทาขอขอบพระคุณเป็นอย่าสูง นาย ดรัณภพ ศรีสมบัติ ผู้จัดทา
  • 4. ค สำรบัญ เรื่อง หน้า คานา ก กิตติกรรมประกาศ ข สารบัญ ค บทที่ 1 บทนา 1 1.1 ที่มาและความสาคัญ 1 1.2 วัตถุประสงค์ 2 1.3 ขอบเขตการของศึกษา 2 1.4 ประโยชน์ที่คาดว่าจะได้รับ 2 บทที่ 2 เอกสาร แนวคิด และหลักการที่เกี่ยวข้อง 3 2.1 เกรียนไทยมาจากไหน? และทาไมทรงผมถึงกลายเป็นเครื่องแบบ? 3 2.2 ประวัติทรงผมของคนไทย 5 2.3 การเมืองเรื่องทรงผม 6 2.4 “ยุวกษัตริย์” รัชกาลที่ 5 แรกเสด็จประพาสต่างประเทศครั้งแรก 10 2.5 พระราชบัญญัติเครื่องแบบนักเรียน พ.ศ. 2482 12 2.6 ประกาศของคณะปฏิวัติ ฉบับที่ 132 13 2.7 กฎกระทรวงศึกษาธิการ ฉบับที่ 1/2515 16 2.8 กฎกระทรวงศึกษาธิการ ฉบับที่ 2/2518 18 2.9 พระราชบัญญัติเครื่องแบบนักเรียน พ.ศ. 2551 19 2.10 ปฏิญญาสากลว่าด้วยสิทธิมนุษยชนแห่งสหประชาชาติ 21 2.11 ‘อานาจนิยม’ และความรุนแรงในการศึกษาไทย 27 2.12 ทัศนะ ผอ.ปรเมษฐ์ ที่มีต่อ ผมทรงนักเรียน สาหรับเด็กเทพฯ 28 2.13 การลงโทษนักเรียนนักศึกษา ตามกฎหมาย 29 2.14 หนังสือเวียน เรื่องซ้อมความเข้าใจเกี่ยวกับทรงผมของนักเรียน 31 2.15 ระเบียบโรงเรียนเทพศิรินทร์ ว่าด้วยเครื่องแบบนักเรียน พ.ศ. 2562 33 2.16 เกณฑ์การตัดคะแนนพฤติกรรมนักเรียนโรงเรียนเทพศิรินทร์ 33 2.17 การจัดระเบียบ “ทรงนักเรียน” ที่เพิ่งสร้าง สาระในกฎหมายเผด็จการ 34
  • 5. ง เรื่อง หน้า บทที่ 2 เอกสาร แนวคิด และหลักการที่เกี่ยวข้อง (ต่อ) 3 2.18 ลักษณะอุปนิสัยประจาชาติ 39 2.19 ทาไมเด็กอยุธยาทาผมทรงนั้นกัน 40 บทที่ 3 วิธีดาเนินงาน 42 บทที่ 4 ผลการศึกษา 43 4.1 สมัยอยุธยา 43 4.2 สมัยรัตนโกสินทร์ สมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว 43 4.3 สมัยรัตนโกสินทร์ จอมพล แปลก พิบูลย์สงคราม 44 4.4 สมัยรัตนโกสินทร์ จอมพล สฤษดิ์ ธนรัชน์ 45 4.5 สมัยรัตนโกสินทร์ จอมพล ถนอม กิตติขจร 46 4.6 สมัยรัตนโกสินทร์ ศาสตราจารย์ สัญญา ธรรมศักดิ์ 47 4.7 สมัยรัตนโกสินทร์ ธานินทร์ กรัยวิเชียร์ 47 4.8 สมัยรัตนโกสินทร์ ทักษิณ ชินวัตร 48 4.9 สมัยรัตนโกสินทร์ ยิ่งลักษณ์ ชินวัตร 48 บทที่ 5 สรุปผลการศึกษา และข้อเสนอแนะ 49 5.1 สรุปผลการศึกษา 49 5.2 ข้อเสนอแนะ 50 บรรณานุกรม 51
  • 6. 1 บทที่ 1 บทนำ 1.1 ที่มำและควำมสำคัญ ในปัจจุบันนี้ ไม่ว่าจะเป็นนักเรียนไทยในช่วงชั้นใดๆ โรงเรียนก็จะมีกฎสถานศึกษา มาควบคุมความประพฤติของนักเรียน ในโรงเรียน หรือแม้กระทั่งวัยทางานเองก็จะมีกฎของท่างานที่ ชัดเจน และมารยาททางสังคมที่จะต้องปฏิบัติให้ถูกต้องตามค่านิยม วัฒนธรรม ประเพณีของไทยและ สากลซึ่งหนึ่งในหมวดหนึ่งของกฎสถานศึกษา ว่าด้วยเรื่องของระเบียบเครื่องแต่งกาย รวมไปถึงทรง ผมที่ถูกควบคุมไว้ให้นักเรียนในแต่ละเพศสภาพเหมือนกันเช่น นักเรียนชายให้ไว้รองทรงสูง ความยาว ผมด้านบนไม่ยาวเกิน 7 เซนติเมตร ในกรณืของโรงเรียนหลายโรงเรียนที่ยังยึดในคติเดิมก็จะให้ นักเรียนชายตัดผมเป็นทรงนักเรียน หรือรู้จักกันในชื่อ ทรงเกรียน ทรงนักเรียน ในแต่ละศถานที่ก็มีเกณฑ์ไม่เหมือนกันเช่น โรงเรียนรักษาดินแดน เคย มีเกณฑ์ให้ไว้ยาวได้ไม่เกิน 3 ซม. โรงเรียนเทพศิรินทร์ ให้นักเรียนชั้นมัธยมศึกษาตอนต้นไว้ยาวได้ไม่ เกิน 4 ซม. แม้แต่ทรงนักเรียนเองก็มีหลายเกณฑ์ จึงทาให้เกิดความเหลื่อมล้า จากเรื่องเล็กๆ ไปสู่ โครงสร้างที่ใหญ่ขึ้นได้ ในการพิจารณาเลือกโรงเรียน ปัจจัยหนึ่งที่นักเรียนต้องดูเลยก็คือ โรงเรียนมี ระเบียบให้ไว้ผมยาวได้แค่ไหน เพราะเด็กบางคนให้ความสาคัญกับบุคลิกภาพภายนอก ว่าดูดีแล้ว หรือไม่ ซึ่งถ้าเด็กไม่ชอบแล้วต้องอดทนอยู่ไปนานๆ อาจส่งผลต่อสุขภาพจิตของตัวเด็ก จะทาให้ส่งผล ต่อเรื่องต่างๆ เป็นความไม่มั่นใจ ไม่กล้าแสดงออก ซึ่งอาจจะไปปิดกั้นความคิดสร้างสรรค์ของเด็ก ก็ เป็นไปได้ โรงเรียนเอกชนที่อนุญาตไว้ผมได้ยาว เด็กก็จะมีโอกาสชื่นชอบมากกว่า โรงเรียนรัฐบาลที่ให้ นักเรียนไว้ผมสั้น เด็กที่ไม่มีโอกาสในการเลือก เพราะฐานะของที่บ้านก็จะต้องอยู่ไปจนกว่าจะจบ การศึกษา เป็นต้น และทาให้เกิดความเหลื่อมล้าระหว่างเด็กนักเรียนโรงเรียนรัฐ กับเอกชน โดยในปัจจุบันนี้ ทางกระทรวงศึกษาธิการ ก็ให้อานาจทางโรงเรียนในสังกัด เป็นผู้ เลือกการไว้ทรงผมของนักเรียนโรงเรียนของตนเองได้แล้ว แต่ถึงอย่างนั้นหลายๆ โรงเรียนก็ยังไม่มอบ โอกาสนั้นให้เด็กด้วยเช่นกัน และมีผู้พยายามรณรงค์ให้เกิดเสรีทรงผมนักเรียนไทยมาโดยตลอด จากความสาคัญของทรงผมนักเรียนไทย ผู้จัดทาจึงสนใจเรื่องทรงผมนักเรียนไทย มาวิเคราะห์ สังเคราะห์ในประเด็นข้อสงสัยต่างๆ ของผู้จัดทา
  • 7. 2 1.2 วัตถุประสงค์ เพื่อศึกษาเกี่ยวกับทรงผมของนักเรียนในด้านประวัติศาสตร์และการเมือง 1.3 ขอบเขตของกำรศึกษำ การศึกษาข้อมูลเกี่ยวกับทรงผมของนักเรียน จะศึกษาเฉพาะทรงผมนักเรียนของ เพศชาย ในประเทศไทยเป็นหลัก 1.4 ประโยชน์ที่คำดว่ำจะได้รับ ผลการศึกษานี้สามารถเป็นแนวทางให้ผู้ที่สนใจศึกษา ในเรื่องของประวัติศาสตร์ การเมืองการปกครอง นาไปศึกษาต่อยอดได้
  • 8. 3 บทที่ 2 เอกสำร แนวคิด และหลักกำรที่เกี่ยวข้อง 2.1 เกรียนไทยมำจำกไหน? และทำไมทรงผมถึงกลำยเป็นเครื่องแบบ? ไม่ว่าคุณครูของน้องๆ จะให้เหตุผลยอดนิยมอย่างการไว้ผมยาวจะทาให้เจ้าเส้นผม ตัวดีมาแย่งสารอาหารของสมองไป (ทั้งๆ ที่ในทางวิทยาศาสตร์ เส้นผม คือเซลล์ที่ตายไปแล้ว และ อะไรที่ตายไปแล้วก็คงไม่ลุกขึ้นมาแย่งอาหารจากใครไปได้แน่ๆ) หรือว่าเหตุผลสุดคลาสสิก อย่างการ เป็นกุศโลบายให้นักเรียนมีสมาธิที่แน่วแน่ ไม่ต้องคอยมาห่วงสวย ห่วงหล่อ (แต่ถ้าโกนหัว โดยไม่ได้ บวช ก็จะตกเป็นจาเลยในข้อหาประชดประชันคุณครูฝ่ายปกครองอยู่ดี แล้วตกลงจะเอายังไงแน่ ตอบ!) อย่าเพิ่งรีบเชื่อ แล้วรีบกลับสติก่อนเลยนะครับ เพราะว่าตามหลักฐานทางประวัติศาสตร์แล้ว มันไม่ใช่อย่างนั้นเลยสักนิด ข้อคิดเห็นที่น่าฟังมากกว่า มาจากปากคาของนักประวัติศาสตร์ระดับไอคอนของ ประเทศอย่าง ศาสตราจารย์ ดร. นิธิ เอียวศรีวงศ์ ซึ่งเคยเขียนถึงทรงผมนักเรียนแบบไท้ไทย อยู่อย่าง น้อย 2 ครั้ง 2 ครา ในช่วงตลอดระยะเวลาสิบปีที่ผ่านมานี้ หนแรก อ. นิธิ เขียนลงในหนังสือพิมพ์มติชนรายวัน ฉบับประจาวันที่ 2 พฤศจิกายน พ.ศ. 2550 โดยมีเนื้อความสรุปง่ายๆ ได้ใจความว่า การไถผมจนเกรียนเป็นลานบินอย่าง นี้ เริ่มเกิดขึ้นในยุคที่จอมพล ป. พิบูลสงคราม ดารงตาแหน่งนายกรัฐมนตรีของประเทศไทยเราอยู่ นี่เอง และก็เป็นเพราะคาสั่งของจอมพลท่านนี้แหละ ที่ทาให้ทรงผมของเด็กนักเรียนไทย ‘เกรียน’ ไกลไปทั่วโลกมาจนกระทั่งทุกวันนี้ โดย อ.นิธิ ได้บอกกับเราว่า จอมพล ป. ท่านไปลอกแบบ ทรงผมมาจากทหารญี่ปุ่น ที่ยกพลขึ้นบกผ่านทางเข้ามาในไทยในช่วงสงครามโลกครั้งที่ 2 แต่ที่ต้องเลียนแบบทรงผมทหารญี่ปุ่นนี่มันก็มีเหตุอยู่นะครับ ไม่ใช่ว่าชอบก็เลยนึก จะเลียนแบบมันขึ้นมาเฉยๆ แต่เป็นเพราะว่าช่วงนั้นน้อง ‘เหา’ เค้ากาลังระบาดอยู่ต่างหาก ผมก็ไม่รู้เหมือนกันว่า อ. นิธิ ไปได้ข้อมูลมาจากไหน แต่ก็มีเรื่องเล่าว่าเหาระบาดอยู่ มาก ในช่วงสงครามโลกครั้งที่ 2 ตามค่ายกักกันต่างๆ ในยุโรป (แน่นอนว่าเป็นเพราะการจัดการทาง สุขอนามัยที่ไม่ดีนัก) หากเหาจะมาระบาดในค่ายกักกันนักโทษที่ทหารญี่ปุ่นนามา ก่อนจะระบาดไปสู่ ชุมชนบ้านใกล้เคียงก็ไม่น่าจะแปลกอะไรเท่าไหร่
  • 9. 4 และในสมัยจอมพล ป. ดารงตาแหน่งนายกรัฐมนตรีสมัยแรก (ซึ่งคาบเกี่ยวกันกับ ช่วงสงครามโลกครั้งที่ 2 นี่แหละ) ก็ได้มีพระราชบัญญัติเครื่องแบบนักเรียน พ.ศ. 2482 ออกมา เนื้อหาภายใน พ.ร.บ. ฉบับนี้เน้นหนักในเรื่อง ‘เสื้อผ้า’ แถมยังไม่ค่อยพูดถึงเรื่องของ ‘หน้าผม’ สัก เท่าไหร่ แต่ก็นั่นแหละครับ เครื่องแบบต่างๆ ในประเทศแห่งนี้ มักไม่หมายถึงสิ่งที่บังคับให้ ใครสวมใส่เข้าไปเท่านั้น แต่ยังมักจะหมายถึงการจับเอาร่างกายของเรา ไม่ว่าจะเป็นทรงหรือสีของเส้น ผม เล็บมือ หรือหนังหน้า เข้าไปเป็นส่วนหนึ่งของเครื่องแบบอยู่ด้วยเสมอ ไม่อย่างนั้นคงไม่มีถ้อย ความประเภท การให้เกียรติเครื่องแบบให้เราได้ยินกันบ่อยๆ หรอก พ.ร.บ. ฉบับเดียวกันนี้ยังเป็นกฎหมายฉบับแรกที่กาหนดรูปแบบชุดนักเรียนไทย ให้ มีหน้าตาเป็นอย่างปัจจุบันนี้ แต่นั่นไม่ได้หมายความว่า ก่อนหน้านั้นประเทศไทย ที่ยังใช้ชื่อเดิมว่า สยามอยู่นั้นจะไม่มีเครื่องแบบนักเรียนมาก่อน เพราะอย่างน้อยในสมัยรัชกาลที่ 5 ก็มีหลักฐานการใส่ เครื่องแบบนักเรียนด้วยเสื้อราชปะแตน (ชุดไทย ที่ลอกแบบฝรั่ง แถมยังถือกาเนิดขึ้นที่อินเดีย) กับ กางเกงไทย และมีหมวกฟางพันผ้าสีประจาโรงเรียนเป็นเครื่องประดับชิคๆ คูลๆ อีกด้วย เพิ่งจะเป็น พ.ร.บ. ฉบับปี 2482 นี่เองที่ไปเอาเครื่องแบบทหารญี่ปุ่น (พร้อมๆ กับ ผมทรงลานบิน อย่างที่ อ. นิธิ ว่าไว้) มาเป็นเครื่องแบบนักเรียนไทย อีกหนหนึ่งที่ อ. นิธิ เขียนถึงทรงผมนักเรียน ตีพิมพ์อยู่ในนิตยสารมติชนสุดสัปดาห์ ฉบับประจาวันที่ 18-24 มกราคม พ.ศ. 2556 ซึ่งก็ยังยืนยันว่า ทรงผมเกรียนเกิดขึ้นสมัยจอมพล ป. อยู่เหมือนเดิม แต่คราวนี้อาจารย์ไม่ได้อ้างถึงเรื่องเหา สิ่งที่ อ. นิธิ เน้นย้ามากในบทความชิ้นหลังนี้สรุปง่ายๆ ว่า ผมทรงลานบินคือการ กล่อมเกลาเด็กให้มีจิตใจแบบทหาร ดังนั้น วินัยจากการแต่งตัวจึงตามมาอีกหลายอย่าง ไม่ว่าจะเป็น สีของกางเกง, ความยาวของขอบกางเกง, ถุงเท้า, รองเท้า, เข็มขัด, หัวเข็มขัด ฯลฯ และก็ไม่ต้องสงสัยเลยนะครับว่า ทรงผมสั้นเสมอติ่งของนักเรียนหญิงก็ถือกาเนิดขึ้น จากวินัยแบบทหารเช่นเดียวกัน อาเข้าจริงแล้ว นอกเหนือจากเราจะไม่มีหลักฐานเป็นลายลักษณ์อักษร ถึงระเบียบ ในการตัดผมเกรียนแล้ว เรายังมีภาพถ่ายเก่าๆ ของนักเรียนไทย อย่างรูปของ ม.ล. ปิ่น มาลากุล ขณะที่เป็นนักเรียนโรงเรียนสวนกุหลาบวิทยาลัย แต่ไม่ได้ตัดผมเกรียนอีกด้วย (แน่นอนว่า ยังต้องมี ภาพของนักเรียนคนอื่นๆ อีกเช่นกันที่ผมไม่ได้เอ่ยถึง เพราะไม่เคยเห็น หรือเห็นแล้วแต่จาไม่ได้) เป็นได้ว่า ยังไม่มีระเบียบที่ชัดเจนถึงการตัดผมสั้นเกรียน แต่เป็นไปในทางจารีตปฏิบัติ
  • 10. 5 ลายลักษณ์อักษรฉบับแรกที่พูดถึงการตัดผมสั้นเกรียนของนักเรียนไทยเป็นผลมา จาก ประกาศของคณะปฏิวัติฉบับที่ 132 เมื่อปี พ.ศ. 2515 ที่จอมพลถนอม กิตติขจร ทารัฐประหาร ตนเอง ที่มีข้อความว่า “นักเรียนและนักศึกษาควรจะได้รับการอบรมใกล้ชิดจากบิดามารดา ผู้ปกครองและครูอาจารย์ เพื่อ เป็นบุตรที่ดีของบิดามารดา เป็นศิษย์ที่ดีของครู อยู่ในโอวาทคาสั่งสอนรวมทั้งอยู่ในระเบียบประเพณี และกฎหมายของบ้านเมือง เป็นการสมควรที่จะส่งเสริมและคุ้มครองความประพฤติ การแต่งกาย และจรรยามารยาทให้รัดกุมยิ่งขึ้น” จากประกาศฉบับนี้แหละครับที่ทาให้เกิด กฎกระทรวงฉบับที่ 1 ในปี พ.ศ. เดียวกัน ที่ลงรายละเอียดไปว่า นักเรียนจะต้องตัดผมข้างเกรียน และมีผมข้างหน้าและกลางศีรษะยาวได้ 5 เซนติเมตร ผมเกรียนๆ ของนักเรียนไทย นอกเหนือจากจะตัดเพื่อหนีเหา และได้แบบอย่างมา จากทหารญี่ปุ่นแล้ว จึงยังเป็นสัญลักษณ์ของความเชื่อฟัง และไม่แข็งขืนต่ออานาจ โดยเฉพาะอานาจ ของเผด็จการที่ตกค้างมาถึงปัจจุบัน 2.2 ประวัติทรงผมของคนไทย คนไทยเรานั้นได้มีการไว้ทรงผมแบ่งออกเป็น 3 สมัย คือ 1. สมัยสุโขทัย 2. สมัยกรุงศรีอยุธยา 3. สมัยกรุงรัตนโกสินทร์ 2.2.1 สมัยกรุงสุโขทัย ทั้งผู้ชายและผู้หญิงไว้ผมคล้ายคลึงกันมาก คือไว้ผมเกล้ามวยรวบม้วนไว้ตอนกลาง ศีรษะ พอจะสมมุติได้ว่า เพราะบ้านเมืองสมัยนั้นมีแต่ความร่มเย็นเป็นสุข ปกครองกันแบบ พ่อปกครองลูก ดังคาศิลาจารึกของพ่อขุนรามคาแหง ได้ทรงจารึกไว้ว่า “ในน้ามีปลา ในนามีข้าว ใครจักรักใคร่ค้าข้าวค้า ใครจักรักใคร่ค้าม้าค้า ฯลฯ” เหล่านี้ เป็นต้น 2.2.2 สมัยกรุงศรีอยุธยำ การไว้ผมสมัยนี้มีการไว้ผมไปอีกแบบหนึ่ง ซึ่งเป็นสมัยของสมเด็จพระรามาธิบดีที่ 1 พระเจ้าอู่ทอง และในสมัยนี้คนไทยได้แยกกันเป็นพวกเป็นเหล่า ในประวัติศาสตร์กล่าวว่าคนไทยต้อง รบราฆ่าฟันกัน ทาศึกสงครามตลอด ต้องรบกับประเทศเพื่อนบ้านใกล้เคียงกัน เช่น ญวน ลาว เขมร พม่า เป็นต้น ดังนั้นพระเจ้าอู่ทองจึงมีพระราชประสงค์ที่จะรวบรวมคนไทยให้เป็นปึกแผ่นมั่นคง
  • 11. 6 จึงได้รวบนวมชายฉกรรจ์ไว้พอสมควรแล้ว พร้อมที่จะออกรบ จึงมีพระราชดาริว่าควรไว้ผมสั้น เหมือนกันหมด คือ มีลักษณะโกนรอบศีรษะเหมือนกะลาครอบ มีผมอยู่ตรงกลางศีรษะ หวีแสกกลาง ตอนแรกผมทรงนี้ยังไม่มีชื่อเรียก ต่อมาจึงได้เรียกชื่อว่าทรง “มหาดไทย” ตามชื่อของกระทรวง การ ไว้ผมสั้นดังกล่าว จึงทาให้ผู้ชายสมัยนั้นต้องทางานหนักในการสร้างบ้านเมือง และเป็นการทหาร อีก ทั้งยังต้องออกทัพ 2.2.3 สมัยกรุงรัตนโกสินทร์ เป็นสมัยแผ่นดินของสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว (รัชกาลที่ 5) ซึ่งเป็นพระเจ้า แผ่นดินพระองค์แรกที่ได้มีการริเริ่มเปลี่ยนทรงผมจากทรงมหาดไทย มาเป็นทรงผมสมัยใหม่ คือ เมื่อครั้งสมเด็จพระพาลประเทศสิงคโปร์ ขณะนั้นพระองค์ทรงมีพระชนม์มายุเพียง 16 พระชันษา ในครั้งนั้นได้มีข้าราชบริพารติดตามเสด็จไปประมาณ 40 กว่าคน พอไปถึงประเทศสิงคโปร์ทุกคนขึ้น จากเรือ พอพวกฝรั่งเห็นเข้าก็พากันหัวเราะ ถามว่าเป็นชนเผ่าไหน เมื่อพระองค์ได้เสด็จกลับจากต่างประเทศ พระองค์ได้นาเอาแบบอย่างต่าง ๆ มาดัดแปลงพัฒนาบ้านเมืองและทรงกล่าวกับข้าราชการชั้นผู้ใหญ่บางคนว่า การไว้ผมสั้นนั้นควรที่จะ เลิกเสียเพราะการไว้ผมทรงมหาดไทยนั้นทาให้พวกฝรั่งดูหมิ่นคนไทยว่าเป็นคนป่าเถื่อน จึงเห็นควรให้ เลิกประเพณีการไว้ผมสั้นแบบมหาดไทยเสีย และให้เปลี่ยนมาไว้แบบเดียวกับพวกฝรั่ง และการไว้ผม ตามแบบฝรั่งนั้นก็มิได้กาหนดกฎหมายตรากาหนดไว้แต่อย่างใด เพียงแต่พระองค์เองไม่ทรงพระเกศาแบบมหาดไทย และได้ทรงมีพระราชานุญาตให้ ข้าราชการที่เข้าเฝ้า เปลี่ยนมาไว้ผมตามใจชอบซึ่งในปัจจุบันนี้ทรงผมที่ได้ตัดกันโดยทั่วไปตามฝรั่งใน สมัยนั้นเรียกว่า รองทรงอังกฤษชั้นเดียว และรองทรงอังกฤษสองชั้น ตราบเท่าทุกวันนี้ คือ รองทรงสูง- รองทรงต่านั่นเอง 2.3 กำรเมืองเรื่องทรงผม ครั้งนี้ไม่ใช่ครั้งแรกที่มีการถกเถียงกันเกี่ยวกับทรงผมของนักเรียน ผมสงสัยว่าเมื่อ จอมพล ป.พิบูลสงคราม สั่งให้นักเรียนชายตัดผมทรงลานบินครั้งแรก ตามอย่างนักเรียนญี่ปุ่นสมัย สงคราม ก็คงมีการถกเถียงกันแล้ว แต่ไม่ดังเพราะบรรยากาศทางการเมืองระหว่างนั้น ไม่มีใครกล้าส่ง เสียงดังๆ
  • 12. 7 ทรงลานบินคือการกล่อมเกลาเด็กให้มีจิตใจแบบทหาร ฉะนั้น จึงตามมาด้วยวินัย การแต่งกายอีกหลายอย่าง เช่น สีของกางเกง, ความยาวของขอบกางเกง, ถุงเท้า, รองเท้า, เข็มขัด, ฯลฯ เป็น "เครื่องแบบ" ครบบริบูรณ์อย่างที่เรารู้จัก และนี่คือกองกาลังยุวชนของชาติไงครับ ช่วยเสริม ให้การศึกษาของเราแข็งแกร่งขึ้นด้วยการเชื่อฟังครูหรือผู้บังคับบัญชาอย่างมืดบอดสืบมา จิตใจแบบทหารสอดคล้องกับเผด็จการทหารที่ดารงอยู่อย่างสืบเนื่องในประเทศไทย นับตั้งแต่ พ.ศ.2490 จนถึงอย่างน้อยก็ 14 ตุลาคม 2516 การเรียกร้องของนักเรียนในแนวทางเสรี นิยมหลัง 14 ตุลาคม ทาให้กระทรวงศึกษาออกระเบียบ 2518 ผ่อนปรนทรงผมนักเรียนทั้งหญิงและ ชายลงไปเป็นอันมาก เช่น ผู้ชายจะไว้ผมรองทรงก็ได้ ผู้หญิงไว้ผมยาวเกินต้นคอก็ได้ แต่ต้องรวบผม เป็นต้น แต่น่าประหลาดที่โรงเรียนส่วนใหญ่ยังบังคับให้นักเรียนไว้ผมตามระเบียบเดิมต่อไป ครูและ ผู้บริหารคงรู้ว่าเสรีนิยมที่ทรงผมอาจซึมลงไปถึงหัวสมองของเด็ก และทาให้การศึกษาแบบเผด็จการที่ ดาเนินมานานแล้ว ดาเนินต่อไปไม่ได้ ด้วยเหตุใดก็ไม่ทราบ ที่นักเรียนเคลื่อนไหวกันเรื่องทรงผมอีกครั้งในตอนนี้ รัฐมนตรี ศึกษาจึงอ้างระเบียบปี 2518 ขึ้นมาใหม่ เพื่อไม่ต้องตัดสินใจทาอะไรที่อาจก่อให้เกิดการกระเพื่อมทาง การเมือง ไม่ว่าจากนักเรียนหรือจากครู ผมคิดว่าสิ่งที่น่าสนใจในการเคลื่อนไหวเรื่องทรงผมและเครื่องแบบในครั้งนี้ก็คือ เรา ไม่สามารถทาความเข้าใจเรื่องนี้ได้จาก อุดมการณ์เสรีนิยม VS อุดมการณ์ทหาร ได้อีกแล้ว เพราะ กระแสสังคมนิยมในช่วงนี้ไม่ได้ปะทุขึ้นแรงกว่าที่ผ่านมา ผมคิดว่าการทาความเข้าใจกับการยอมรับและการปฏิเสธทรงผม-เครื่องแบบ นักเรียน ทั้งในครั้งนี้และครั้งอื่นๆ ที่ผ่านมา อาจทาได้ดีกว่าหากมองจากแง่ของ "การเมืองเรื่อง อัตลักษณ์" (Politics of Identity) เพราะนอกจากเราอาจเข้าใจการยอมรับหรือปฏิเสธแล้ว ยังอาจทา ให้มองเห็นความเปลี่ยนแปลงทางสังคมในประเทศไทยด้วย ในสังคมการเมืองทุกประเภทในโลกนี้ อัตลักษณ์คือเครื่องมือสาคัญในการต่อรองอานาจ เพราะฉันหรือเรา มีผลประโยชน์, วิถีชีวิต, ความ ใฝ่ฝัน, โลกทรรศน์, ฯลฯ แตกต่างจากคนอื่น จึงจาเป็นต้องจัดการทางสังคมที่เอื้อต่อฉันหรือเราด้วย ใครที่ไม่สร้างลักษณะเฉพาะของฉันหรือเรา คือคนที่ไม่มีอัตลักษณ์ และผลประโยชน์, วิถีชีวิต, ความ ใฝ่ฝัน, โลกทรรศน์, ฯลฯ ของเขาจึงถูกคนอื่นมองข้าม และด้วยเหตุดังนั้น เราจึงอาจมองความสัมพันธ์ เชิงอานาจ ไม่ว่าระหว่างหมู่ชนในสังคม หรือระหว่างปัจเจกบุคคลตั้งแต่สองคนขึ้นไปว่า คือการเมือง เรื่องอัตลักษณ์
  • 13. 8 เมื่อตอนที่ จอมพล ป. บังคับให้นักเรียนตัดผมทรงลานบินตามอย่างญี่ปุ่น สืบมา จนถึง 14 ตุลาคม นักเรียนและผู้ปกครองทั่วไปก็ยอมรับโดยดี เหตุผลก็เพราะมันสอดคล้องกับการ สร้างอัตลักษณ์ใหม่ของกลุ่มคนที่เรียกว่า "นักเรียน" (และครอบครัวของเขาโดยนัยยะ) "นักเรียน" นั้นแทบไม่เคยเป็นอัตลักษณ์ของคนกลุ่มใด และเราจะเห็นความไม่มีอัต ลักษณ์ร่วมของนักเรียนได้ดีจากเครื่องแบบ เมื่อก่อนสงคราม เฉพาะโรงเรียนหลวงในกรุงเทพฯ เช่น เทพศิรินทร์, สวนกุหลาบ, วชิราวุธ, เท่านั้นที่มีเครื่องแบบนักเรียน ซ้าเป็นเครื่องแบบที่โรงเรียนกาหนดขึ้นเอง ที่น่าสนใจคือ เครื่องแบบเหล่านั้นคือการจาลองเครื่องแต่งกายของผู้ดีใหม่ ซึ่งสัมพันธ์เชื่อมโยงกับราชการของรัฐ นั่นคือนุ่งผ้านุ่ง (ตามสีที่โรงเรียนกาหนด) สวนเสื้อราชปะแตน และสวมหมวกกะโล่ตามสีที่โรงเรียน กาหนดเช่นกัน นักเรียนเหล่านี้คือคุณหลวงน้อย ทั้งในสายตาของผู้พบเห็นและในสานึกของตัว นักเรียนเอง "นักเรียน" ไม่ใช่อัตลักษณ์อีกอันหนึ่งในสังคม เพราะนักเรียน ในโรงเรียนที่เรียกว่า "ประชาบาล" ทั่วประเทศ (ซึ่งก็ยังมีไม่มากนัก) หาได้มีเครื่องแบบแต่อย่างใดไม่ แต่งตัวไปเรียนหนังสือเหมือนหรือเกือบเหมือนกับตอนที่อยู่บ้าน ไม่มี ข้อกาหนดตายตัวว่าต้องแต่งอย่างไรหรือไว้ผมทรงอะไร คณะราษฎรทาให้การศึกษาที่เป็นทางการขยายตัวขึ้นอย่างมากในเมืองไทย (แต่ครู ประวัติศาสตร์กลับไปยกให้ ร.6) เพราะเป็นรัฐบาลแรกที่ดึงงบประมาณมาสร้างโรงเรียนอย่าง แพร่หลาย เพื่อให้ชนทุกชั้นสามารถเข้าถึงการศึกษาได้ทั่วถึง แทนที่จะสนับสนุนการศึกษาด้วยลมปาก อย่างที่ผ่านมา มีคนกลุ่มใหม่ที่ไม่ใช่ลูกคุณหลวงกลายเป็น "นักเรียน" มากขึ้น แต่ดูเหมือนกระทรวงก็ยังไม่ได้กาหนดเครื่องแบบตายตัว หรือถึงกาหนดก็คงไม่ เคร่งครัดนัก เพราะผมจาได้ว่าเมื่อแรกเรียนหนังสือยังไม่มีเครื่องแบบ และนักเรียนโรงเรียน ประชาบาลที่อยู่ใกล้ๆ ก็ยังไม่ได้สวมเครื่องแบบต่อมาอีกนาน ผมลานบินตามคาสั่ง จอมพล ป. ซึ่งเกิดขึ้นในช่วงที่กาลังจะมีเครื่องแบบนักเรียน แห่งชาตินี่แหละ คือการสร้างอัตลักษณ์ให้แก่ "นักเรียน" อันเป็นคนกลุ่มใหม่ ซึ่งถูกสอนโดยการศึกษา ให้เห็นความบกพร่องของอัตลักษณ์เดิมของครอบครัวตนเอง ดังนั้น จึงตอบสนองต่อความต้องการ ของพวกเขาพอดี เครื่องแบบและทรงผมคือการเปลี่ยนอัตลักษณ์ตัวเอง จาก "ลูกชาวบ้าน" ให้ กลายเป็น "นักเรียน" แม้เป็นภาระทางเศรษฐกิจของครอบครัว แต่อัตลักษณ์ใหม่ก็ช่วยเพิ่มอานาจ ต่อรองทางวัฒนธรรมขึ้นมา แทนอัตลักษณ์เดิมที่แทบไม่เหลือศักดิ์ศรีไว้ต่อรองกับใครได้เลย
  • 14. 9 เครื่องแบบและทรงผมเปลี่ยน "ไอ้ตี๋" ให้กลายเป็น "นักเรียน" เปลี่ยนลูกคนจนให้กลายเป็น "นักเรียน" และในสมัยหลังเปลี่ยนลูกชาวเขาให้กลายเป็น "นักเรียน" เช่นกัน ซ้าเป็นนักเรียน "แห่งชาติ" ด้วย เพราะการศึกษาไทยถูกกากับโดยชาติ ฉะนั้น "นักเรียน" คือคนที่มีบทบาทอย่างใดอย่างหนึ่งในชาติ ทั้งปัจจุบันและอนาคต พูดอีกอย่างหนึ่งคือผูกพันลูกเจ๊ก, ลูกชาวเขา, ลูกขอทาน กับชาติ เป็นอัต ลักษณ์ที่มีคุณค่าในตัวมันเองอย่างที่ไม่มีใครปฏิเสธ กลายเป็นอานาจต่อรองทางวัฒนธรรมอย่างหนึ่ง ผมคิดว่าไม่ต่างจากที่ชาวนาต้องเสียแรงงานไปกับการเกณฑ์ทหาร ในแง่หนึ่งก็ เสียดายแรงงาน แต่ในอีกด้านหนึ่งก็รู้สึกภาคภูมิใจที่ได้เห็นลูกชายในเครื่องแบบทหาร เพราะเขา กลายเป็นส่วนหนึ่งของชาติไปแล้ว จากอัตลักษณ์เดิมที่ไม่มีใครมองเห็นและยอมรับ มาเป็น "รั้วของ ชาติ" ที่ได้รับการตอกย้าในความสาคัญตลอดมา เครื่องแบบและทรงผมนักเรียนจึงดารงอยู่สืบมา 40 ปี (เกินหนึ่งชั่วอายุคน) โดยไม่มี กระแสคัดค้านต่อต้านมากนัก แต่ใน 40 ปีนี้ อัตลักษณ์ใหม่ไม่ได้สร้างความเสมอภาคขึ้นในคนกลุ่มใหม่ที่เรียกว่า นักเรียน ความไม่เท่าเทียมอันเป็นเอกลักษณ์ไทยยังดารงอยู่ได้ภายใต้ อัตลักษณ์ใหม่นี้ เพราะแต่ละ โรงเรียนสามารถกาหนด อัตลักษณ์เฉพาะของตนขึ้นได้ นับตั้งแต่สีของกางเกงและโบว์ ไปจนถึงชื่อย่อ และเข็มกลัดโรงเรียนบนอกเสื้อ มีความแตกต่างที่พอจะเห็นได้ไม่ยากระหว่างนักเรียนโรงเรียนวัดลิง ค่างบ่างชะนีกับโรงเรียนสวนกุหลาบ หรือราชวินิต อัตลักษณ์ใหม่ของนักเรียนจึงไม่ใช่ อัตลักษณ์ของ การปฏิวัติ เป็นแต่เพียงการดูดกลืนคนกลุ่มใหม่เข้ามามีที่ยืนในชาติ แต่ยืนที่บันไดของตนเอง ไม่ใช่รื้อ ทาลายบันไดลงทั้งหมด และด้วยเหตุดังนั้น พลังต่อรองของ อัตลักษณ์ใหม่จึงค่อยๆ ลดน้อยถอยลง ไปเรื่อยๆ การต่อรองในสังคมสมัยใหม่เน้น อัตลักษณ์ของปัจเจกมากขึ้น สะท้อนให้เห็นในการแต่ง กายของผู้คนที่แสดง "ตัวตน" ของตนเองมากกว่าของกลุ่ม ผมอาจไม่มีเสื้อยืดเวอร์ซาเช่สวมเหมือน คุณ แต่ผมเป็นแฟนตัวจริงของนักร้องชื่อดัง ขนาดมีลายเซ็นของเขาประทับอยู่บนอก เสื้อของผมด้วย ผมอาจจะจน แต่ผมไว้ผมทรงหนามซึ่งแสดงความเป็นแนวหน้าของกระแส อัตลักษณ์ ของปัจเจกก้าวข้ามความไม่เสมอภาคไปได้ง่ายกว่า และเร็วกว่า อัตลักษณ์ของกลุ่ม ผมคิดว่านี่คือกระแสใหญ่ที่ทาให้เกิดการเคลื่อนไหวในเรื่องเครื่องแบบและทรงผม นักเรียนในช่วงนี้ น่าสังเกตด้วยนะครับว่า การเคลื่อนไหวครั้งนี้ไม่ได้เรียกร้องให้เลิกเครื่องแบบ-ทรง ผมนักเรียนลงทั้งหมด อย่างที่เคยเคลื่อนไหวหลัง 14 ตุลาคม แต่ให้เปิดเสรีมากขึ้นกับทรงผม (อาจ รวมถึงการแต่งกายส่วนอื่นด้วย) นั่นก็คือ ในอัตลักษณ์ของ "นักเรียน" ยังต้องมี อัตลักษณ์ของ นักเรียนที่เป็นปัจเจกแต่ละคนด้วย อัตลักษณ์ของกลุ่มไม่ช่วยเพิ่มอานาจต่อรองทางวัฒนธรรมกับ
  • 15. 10 คนอื่น ซึ่งล้วนสร้าง อัตลักษณ์เฉพาะตัวขึ้นทั่วไป ผมเป็นนักเรียนแน่ ไม่ต้องการปฏิเสธ แต่จะให้ผม เชยจากหัวจรดเท้าได้อย่างไร แต่ยังมีอีกด้านหนึ่งที่ผมเห็นว่าน่าสนใจมาก เพียงแต่ข้อมูลที่ผมมีอยู่ค่อนข้างหยาบ มากเท่านั้นเพราะเอามาจากรายการทีวีของ คุณสรยุทธ สุทัศนจินดา คนทาสื่อซึ่งแค่เห็นหน้าแกทาง ทีวีก็ทาให้ตาร้อนผ่าวไปด้วยความริษยาเสียแล้ว เช้าวันหนึ่ง คุณสรยุทธไปเชิญนักเรียนมากลุ่มหนึ่ง ให้มาเถียงกันทางทีวีว่า ควรให้ใช้ ระเบียบการแต่งกายของกระทรวงศึกษาฯ ซึ่งออกเมื่อปี 2518 หรือไม่ และแค่ไหน ผมพบด้วยความ ประหลาดใจว่า นักเรียนชายเห็นด้วยกับการปล่อยให้นักเรียนไว้ผมอย่างไรก็ได้ตามใจนั้นถูกต้องแล้ว ส่วนนักเรียนหญิงไม่เห็นด้วยเลย ทั้งนี้ แบ่งออกเป็นระหว่างชาย-หญิงอย่างสมบูรณ์ คือไม่มีนักเรียน ชายอยู่ฝ่ายหญิง และไม่มีนักเรียนหญิงอยู่ฝ่ายชายเลย ด้วยข้อมูลเพียงเท่านี้ ผมถามตัวเองว่า ทาไมผู้หญิงในวัฒนธรรมไทยจึงอยาก "อยู่ใน ร่องในรอย" มากกว่าผู้ชาย ผมคิดว่าคาตอบนั้นค่อนข้างชัด การไม่อยู่ในร่องในรอยทาให้ผู้หญิงถูก ลงโทษมาก ในขณะที่ผู้ชายได้รับอนุญาตให้ออกจากร่องจากรอยมากกว่ากันมาก ที่รู้กันดีก็เช่น พฤติกรรมทางเพศ ผู้หญิงจะถูกประณามอย่างมากหากมีเพศสัมพันธ์นอกสถาบันการสมรส ในขณะที่ ผู้ชายได้รับการให้อภัย เพราะถือเป็นเรื่องปรกติตามธรรมชาติ และคงยกตัวอย่างอื่นๆ ได้อีกมาก และด้วยเหตุดังนั้น ผู้หญิงจึงรู้สึกปลอดภัยมากกว่า หากจะออกนอกร่องนอกรอย เมื่อทากันเป็นกลุ่ม และในความเป็นจริงนักเรียนผู้หญิงก็ดัดแปลงเครื่องแบบ-ทรงผมให้แสดง อัตลักษณ์ส่วนตัวไปมากแล้ว ไม่ต่างจากนักเรียนชาย แต่ไม่ได้ทาคนเดียว หากทาร่วมกับเพื่อน นักเรียนหญิงทั่วไป จะให้มาออกจากร่องจากรอยทางทีวีคนเดียว คงไม่ปลอดภัยแก่เธอ 2.4 “ยุวกษัตริย์” รัชกำลที่ 5 แรกเสด็จประพำสต่ำงประเทศครั้งแรก การเสด็จประพาสต่างประเทศครั้งแรก ของพระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้า เจ้าอยู่หัว รัชกาลที่ 5 เกิดขึ้นในวันที่ 9 มี.ค. พ.ศ.2413 ถึงวันที่ 15 เม.ย. พ.ศ.2413 โดยเสด็จทางเรือ พระที่นั่ง “พิทธยัมรณยุทธ” และประเทศที่เสด็จฯเยือน หาใช่ยุโรปตามความเข้าใจของคนไทยอีกหลายคนไม่ แต่ เป็นเพื่อนบ้านอย่าง สิงคโปร์ บาตาเวีย หรือปัจจุบันคือกรุงจาการ์ตา และสมารัง เมืองหลวงและเมือง ท่าที่สาคัญตั้งอยู่ทางด้านเหนือเกาะชวากลาง นั่นเอง
  • 16. 11 ทั้งนี้ หากศึกษาประวัติศาสตร์จะพบว่า ในช่วงที่ พระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้า ฯ เสวยราชสมบัติ ขณะดารงพระอิสริยยศเป็น กรมขุนพินิจประชานาถ ขณะพระชนมายุได้ 15 พรรษา แต่เนื่องจากพระองค์ยังไม่ทรงบรรลุนิติภาวะ อานาจเบ็ดเสร็จในการบริหารราชการ แผ่นดินขณะนั้นอยู่กับเจ้าพระยาศรีสุริยวงศ์ และกลุ่มขุนนางตระกูลบุนนาค แต่ในช่วงเวลานั้นเอง บ้านเมืองยังมีภัยคุกคามจากการล่าอาณานิคมของชาติ ตะวันตก ที่ทวีความรุนแรงมากยิ่งขึ้น พระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้า ฯ ใช้เวลาที่ยังไม่ทรงมีพระ ราชอานาจเด็ดขาดนี้ ในการทรงเตรียมพระองค์ อย่างเปี่ยมไปด้วยสายพระเนตรยาวไกล และพระ ปรีชาสามารถ โดยทรงตระหนักถึงปัญหาภัยคุกคามจากลัทธิล่าอาณานิคมของตะวันตกและได้ทรง เตรียมการอย่างเป็นขั้นตอน ซึ่งทรงยึดแนวทางสืบเนื่องจากสมเด็จพระราชบิดา นั่นคือ ทรงปรับปรุง ขนบธรรมเนียมประเพณี ยกระดับมาตรฐานความเป็นอยู่ของชาวสยาม มิให้ต่างชาติมาดูหมิ่น ดูแคลน และหลังการเสด็จครั้งนี้ บ้านเมืองเรามีการเปลี่ยนแปลงที่สาคัญ เช่น โปรดฯ ให้ ยกเลิกการไว้ผมทรงมหาดไทย หลังจากนั้นปี 2415 ยังทรงปรับปรุงการทหารครั้งใหญ่, โปรดให้ใช้เสื้อ ราชปะแตน, โปรดให้สร้างโรงเรียนหลวงสอนภาษาอังกฤษแห่งแรกขึ้นในพระบรมหาราชวัง
  • 17. 12 2.5 พระรำชบัญญัติเครื่องแบบนักเรียน พ.ศ. 2482 ในพระปรมาภิไธยสมเด็จพระเจ้าอยู่หัวอานันทมหิดล คณะผู้สาเร็จราชการแทนพระองค์ (ตามประกาศประธานสภาผู้แทนราษฎร ลงวันที่ 4 สิงหาคม พุทธศักราช 2480) อาทิตย์ทิพอาภา และ พลเอก เจ้าพระยาพิชเยนทรโยธิน ตราไว้ ณ วันที่ 8 กรกฎาคม พุทธศักราช 2482 เป็นปีที่ 6 ในรัชกาลปัจจุบัน โดยที่สภาผู้แทนราษฎรลงมติว่าสมควรตรากฎหมายว่าด้วยเครื่องแบบนักเรียนขึ้นไว้ จึงมีพระบรมราชโองการให้ตราพระราชบัญญัติขึ้นไว้โดยคาแนะนาและยินยอมของสภา ผู้แทนราษฎร ดังต่อไปนี้ มาตรา 1 พระราชบัญญัตินี้ให้เรียกว่า "พระราชบัญญัติเครื่องแบบนักเรียน พุทธศักราช 2482" มาตรา 2 ให้ใช้พระราชบัญญัตินี้ตั้งแต่วันประกาศในราชกิจจานุเบกษาเป็นต้นไป มาตรา 3 ในพระราชบัญญัตินี้ "เครื่องแบบนักเรียน" หมายความถึงเครื่องแบบทั้งหลายที่กาหนดให้นักเรียนจากโรงเรียน รัฐบาลในความควบคุมของกระทรวงธรรมการ โรงเรียนประชาบาล โรงเรียนเทศบาล และโรงเรียน ราษฎร์ แต่ง มาตรา 4 เครื่องแบบนักเรียนจะเป็นอย่างใด จะให้แต่งเมื่อไรและโดยเงื่อนไขอย่างใดนั้น ให้ เป็นไปตามระเบียบที่กระทรวงธรรมการกาหนดไว้ มาตรา 5 ผู้ใดไม่มีสิทธิแต่งเครื่องแบบนักเรียนโดยชอบด้วยกฎหมายบังอาจแต่งเครื่องแบบ หรือแต่งเลียน เครื่องแบบดังกล่าวแล้วนั้นก็ดี หรือจัดหรืออุดหนุนให้ผู้ใดกระทาการดังกล่าวแล้วนั้นก็ดี ถ้าการ กระทาที่ว่ามานี้ให้ปรากฏแก่คนทั้งหลายโดยประสงค์จะให้เขาเชื่อถือ หรือเข้าใจว่าผู้แต่งเป็นนักเรียน ผู้นั้นมีความผิด ต้องระวางโทษปรับไม่เกินสองร้อยบาท
  • 18. 13 มาตรา 6 ให้รัฐมนตรีว่าการกระทรวงธรรมการมีหน้าที่รักษาการให้เป็นไปตาม พระราชบัญญัตินี้ และให้มีอานาจออกระเบียบเพื่อปฏิบัติการให้เป็นไปตามพระราชบัญญัตินี้ ระเบียบนั้น เมื่อได้ประกาศในราชกิจจานุเบกษาแล้วให้ใช้บังคับได้ ผู้รับสนองพระบรมราชโองการ พิบูลสงคราม (นายกรัฐมนตรี) 2.6 ประกำศของคณะปฏิวัติ ฉบับที่ 132 โดยที่คณะปฏิวัติพิจารณาเห็นว่า นักเรียนและนักศึกษาเป็นเยาวชนที่กาลังสร้างสม คุณสมบัติทั้งในด้านความรู้ ความคิดและคุณธรรม พร้อมที่จะรับมรดกตกทอดจากผู้ใหญ่เป็นพลเมือง ดี มีประโยชน์แก่ประเทศชาติในอนาคต นักเรียนและนักศึกษาควรได้รับการดูแลใกล้ชิดจากบิดา มารดา ผู้ปกครอง และครูอาจารย์ เพื่อเป็นบุตรที่ดีของบิดามารดา เป็นศิษย์ที่ดีของครู อยู่ในโอวาท คาสั่งสอน รวมทั้งอยู่ในระเบียบประเพณีและกฎหมายของบ้านเมือง เป็นการควรส่งเสริมและ คุ้มครองความประพฤติการแต่งกาย และจรรยามารยาทให้รัดกุมยิ่งขึ้น เพื่อให้เหมาะสมกับ สถานการณ์ปัจจุบัน หัวหน้าคณะปฏิวัติ จึงมีคาสั่งต่อไปนี้ ข้อ 1 ให้ยกเลิกพระราชบัญญัติควบคุมเด็กและนักเรียน พุธศักราช 2481 และบรรดาบทกฎหมาย กฎ และข้อบังคับอื่น ๆ ที่มีกาหนดไว้แล้วในประกาศของคณะปฏิวัติฉบับนี้ หรือซึ่งขัดหรือแย้งกับ ประกาศของคณะปฏิวัติฉบับนี้ และให้ใช้ประกาศของคณะปฏิวัติฉบับนี้แทน ข้อ 2 ในประกาศของคณะปฏิวัติฉบับนี้ "นักเรียน" หมายความว่า บุคคลซึ่งกาลังรับการศึกษาระดับประถมศึกษาหรือมัธยมศึกษา สายสามัญ และสายอาชีพ อยู่ในโรงเรียนของรัฐบาล โรงเรียนเทศบาล โรงเรียนประชาบาล หรือ โรงเรียนราษฎร์ "นักศึกษา" หมายความว่า บุคคลซึ่งกาลังรับการศึกษาระดับที่สูงกว่าระดับมัธยมศึกษา อยู่ใน สถานศึกษาสังกัดกระทรวงศึกษาธิการ ซึ่งมิได้ตั้งขึ้นโดยมีกฎหมายเฉพาะของสถานศึกษานั้น "ผู้ปกครอง" หมายความว่า บุคคลซึ่งรับนักเรียนหรือนักศึกษาไว้ในความปกครองหรือ อุปการะเลี้ยงดู หรือบุคคลที่นักเรียนหรือนักศึกษานั้นอาศัยอยู่
  • 19. 14 "สารวัตรนักเรียนนักศึกษา" หมายความว่า ผู้ซึ่งได้รับแต่งตั้งให้ปฏิบัติการตามประกาศของ คณะปฏิวัติฉบับนี้ "แต่งกาย" หมายความรวมถึงการแต่งผมหรือส่วนอื่นของร่างกายด้วย "รัฐมนตรี" หมายความว่า รัฐมนตรีผู้รักษาการตามประกาศของปฏิวัติฉบับนี้ ข้อ 3 ให้รัฐมนตรีหรือผู้ที่รัฐมนตรีมอบหมาย มีอานาจแต่งตั้งสารวัตรนักเรียนและนักศึกษาเพื่อ ปฏิบัติการตามประกาศของคณะปฏิวัติฉบับนี้ และให้ถือว่าเป็นเจ้าพนักงานตามประมวลกฎหมาย อาญา การปฏิบัติการของสารวัตรนักเรียนและนักศึกษา ให้เป็นไปตามระเบียบที่รัฐมนตรีกาหนด ข้อ 4 นักเรียนและนักศึกษาต้องประพฤติตนอยู่ในระเบียบวินัยของโรงเรียนหรือสถานศึกษาที่ตน สังกัดอยู่ และต้องแต่งกายหรือแต่งเครื่องแบบตามระเบียบข้อบังคับของโรงเรียน และสถานศึกษา หรือตามกฎกาหนด นักเรียนนักศึกษาต้องไม่แต่งกายหรือประพฤติตนไม่สมควรแก่วัย หรือไม่ เหมาะสมแก่สภาพของนักเรียนนักศึกษา ทั้งนี้ ตามกาหนดในกฎกระทรวง ข้อ 5 นักเรียนหรือนักศึกษาผู้ใดแต่งกายหรือประพฤติตนฝ่าฝืนข้อ 4 ให้เจ้าหน้าที่ตารวจหรือ สารวัตรนักเรียนและนักศึกษามีอานาจปฏิบัติการตามระเบียบที่รัฐมนตรีกาหนด และมีอานาจไปมอบ แก่ครูใหญ่ อาจารย์ใหญ่ ผู้อานวยการหรือหัวหน้าของโรงเรียนหรือสถานศึกษาของนักเรียนหรือ นักศึกษานั้น เพื่อดาเนินการสอบสวนและอบรมสั่งสอนหรือลงโทษตามระเบียบหรือข้อบังคับ ในกรณี ที่ไม่สามารถนาตัวไปมอบได้ จะแจ้งด้วยวาจาหรือเป็นหนังสือก็ได้ เมื่อได้รับการอบรมสั่งสอนหรือ ลงโทษนักเรียนหรือนักศึกษาแล้ว ให้โรงเรียนหรือสถานศึกษาแจ้งให้บิดามารดาหรือผู้ปกครองว่า กล่าวตักเตือนอีกชั้นหนึ่ง การลงโทษนักเรียนหรือนักศึกษา ให้รัฐมนตรีมีอานาจออกระเบียบหรือข้อบังคับเพื่อให้ โรงเรียนหรือสถานศึกษาปฏิบัติตามสมควร เพื่อว่ากล่าวสั่งสอน ข้อ 6 นักเรียนหรือนักศึกษาผู้ใดฝ่าฝืนข้อ 4 เป็นครั้งที่สอง ให้โรงเรียนหรือสถานศึกษาสั่งลงโทษ ตามระเบียบหรือข้อบังคับ และแจ้งให้บิดามารดาหรือผู้ปกครองมาให้สัญญาว่าจะอบรมสั่งสอนและ ควบคุมนักเรียนหรือนักศึกษานั้นมิให้ฝ่าฝืนเช่นนั้นอีก ข้อ 7 ถ้าบิดามารดาหรือผู้ปกครองไม่มา หรือไม่ให้สัญญาว่าจะอบรมสั่งสอนและควบคุมนักเรียน หรือนักศึกษาตามข้อ 6 หรือนักศึกษาผู้ใดฝ่าฝืนข้อ 4 เป็นครั้งที่สาม ให้โรงเรียนหรือสถานศึกษาส่งตัว นักเรียนหรือนักศึกษาพร้อมทั้งรายงานลงโทษที่แล้วมาไปยังตารวจในท้องที่ที่โรงเรียนหรือ สถานศึกษานั้นตั้งอยู่ และให้ข้าราชการตารวจซึ่งมียศตั้งแต่ร้อยตารวจตรีขึ้นไป มีอานาจออก
  • 20. 15 หมายเรียกบิดามารดาหรือผู้ปกครองมาว่ากล่าวตักเตือนหรือเรียกประกันทัณฑ์บนว่าจะปกครองดูแล มิให้นักเรียนนักศึกษาฝ่าฝืนเช่นนั้นอีก โดยอาจกาหนดระยะเวลาไม่เกินหนึ่งปี หากผิดทัณฑ์บนให้ ปรับได้ไม่เกินห้าร้อยบาท ข้อ 8 นักเรียนหรือนักศึกษาผู้ใดฝ่าฝืนข้อ 4 เป็นครั้งที่สี่ ให้เรียนหรือสถานศีกษาส่งตัวไปยัง คณะกรรมการควบคุมความประพฤตินักเรียนและนักศึกษา ซึ่งรัฐมนตรีแต่งตั้งเพื่อพิจารณาส่งตัวไป ยังโรงเรียนหรือสถานศึกษาที่จัดตั้งขึ้นโดยเฉพาะเพื่ออบรมศึกษาหรือในกรณีที่นักเรียนนักศึกษานั้นมี อายุไม่ครบสิบแปดปีบริบูรณ์ คณะกรรมการควบคุมความประพฤตินักเรียนและนักศึกษาจะส่งตัวไป ยังสถานแรกรับเด็ก เพื่อให้การสงเคราะห์หรือคุ้มครองสวัสดิภาพที่เหมาะสมตามกฎหมายว่าด้วยการ คุ้มครองสวัสดิภาพและการสงเคราะห์เด็กต่อไปก็ได้ ข้อ 9 ถ้าการฝ่าฝืนข้อ 4 เกิดขึ้นในบริเวณโรงเรียนหรือสถานศึกษาซึ่งนักเรียนหรือนักศึกษานั้น ศึกษาอยู่ ให้ครูใหญ่ อาจารย์ ผู้อานวยการ หรือหัวหน้าของโรงเรียนหรือสถานศึกษาดาเนินการตาม ข้อ 5 ข้อ 6 ข้อ 7 หรือข้อ 8 ตามลาดับ แล้วแต่กรณี ข้อ 10 บิดามารดาหรือผู้ปกครองไม่ยอมรับทัณฑ์บนตามข้อ 7 มีความผิดต้องโทษปรับไม่เกินหนึ่ง พันบาท ข้อ 11 ให้รัฐมนตรีว่าการกระทรวงศึกษาธิการรักษาการตามประกาศของคณะปฏิวัติฉบับนี้และให้มี อานาจออกกฎกระทรวงและระเบียบเพื่อปฏิบัติการตามประกาศคณะปฏิวัติฉบับนี้ กฎกระทรวงนั้น เมื่อได้ประกาศในราชกิจจานุเบกษาแล้ว ให้ใช้บังคับได้ ข้อ 12 ประกาศของคณะปฏิวัติฉบับนี้ ให้ใช้บังคับตั้งแต่วันถัดจากวันประกาศในราชกิจจานุเบกษา เป็นต้นไป ประกาศ ณ วันที่ 22 เมษายน พุทธศักราช 2515 (ลงชื่อ) จอมพลถนอม กิตติขจร หัวหน้าคณะปฏิวัติ
  • 21. 16 2.7 กฎกระทรวงศึกษำธิกำร ฉบับที่ 1/2515 ออกตามความในประกาศของคณะปฏิวัติ ฉบับที่ 132 ลงวันที่ 22 เมษายน พ.ศ. 2515 อาศัยอานาจตามความในข้อ 3 และข้อ 11 แห่งประกาศของคณะปฏิวัติ ฉบับที่ 132 ลงวันที่ 22 เมษายน พ.ศ. 2515 รัฐมนตรีว่าการกระทรวงศึกษาธิการออกกฎกระทรวงไว้ดังต่อไปนี้ ข้อ 1 การแต่งกาย และความประพฤติดังต่อไปนี้ถือว่าไม่เหมาะสมแก่สภาพของนักเรียนตาม ความใน ข้อ 4 แห่งประกาศของคณะปฏิบัติ ฉบับที่ 132 (1) นักเรียนชายไว้ผมยาว โดยไว้ผมข้างหน้าและกลางศีรษะยาวเกิน 5 เซนติเมตร และ ชาย ผมรอบศีรษะไม่ตัดเกรียนชิดผิวหนัง หรือไว้หนวดหรือเครา นักเรียนหญิงตัดผมหรือไว้ผมยาวเลยต้นคอ หากโรงเรียนหรือสถานศึกษาใดอนุญาต ให้ไว้ยาวเกินกว่า นั้นก็ให้รวบให้เรียบร้อย นักเรียนใช้เครื่องสาอาง หรือสิ่งปลอมเพื่อการเสริมสวย (2) เที่ยวเร่ร่อนอยู่ในที่สาธารณะสถาน หรือทาลายสมบัติของโรงเรียนหรือสถานศึกษา หรือ สาธารณสมบัติ (3) แสดงกิริยา วาจา หรือกระทาอย่างหนึ่งอย่างใดที่ไม่สุภาพ (4) มั่วสุมและก่อความเดือดร้อนราคาญอย่างหนึ่งอย่างใด (5) เล่นการพนันซึ่งต้องห้ามตามกฎหมายการพนัน (6) เที่ยวเตร่เวลากลางคืนระหว่าง 22.00 นาฬิกา ถึง 04.00 นาฬิกา ของวันรุ่งขึ้น เว้นไว้แต่ ไปกับบิดามารดาหรือผู้ปกครอง หรือได้รับอนุญาตจากโรงเรียนหรือสถานศึกษา (7) สูบบุหรี่ สูบกัญชา หรือเสพสุรา ยาเสพติด หรือของมึนเมาอย่างอื่น (8) เข้าไปในสถานบริการตามกฎหมายว่าด้วยสถานบริการหรือสถานอื่นใดซึ่งมีลักษณะ คล้ายคลึงกัน โรงรับจานา หรือสถานการณ์พนันในระหว่างเวลาที่มีการเล่นการพนัน เว้นแต่จะเป็นผู้ อาศัยอยู่หรือเยี่ยมญาติสถานที่นั้น
  • 22. 17 (9) เข้าไปในงานหรืองานร่วมสังสรรค์ และงานนั้นมีการเต้นราหรือการแสดงซึ่งไม่สมควร แก่ สภาพของนักเรียน เว้นแต่ไปกับบิดามารดาหรือผู้ปกครอง หรืองานนั้นบิดามารดาผู้ปกครอง หรือ สถานศึกษาของนักเรียนคนหนึ่งคนใดเป็นผู้จัด (10) เข้าไปในสถานค้าประเวณี เว้นแต่จะเป็นผู้อาศัยอยู่ในที่นั้นหรือเข้าไปเยี่ยมญาติ ซึ่ง อาศัยอยู่ในสถานที่นั้น (11) คบค้าสมาคมกับหญิงที่ประพฤติตนเพื่อการค้าประเวณีเว้นแต่จะเป็นญาติใกล้ชิดกับหญิงนั้น (12) ประพฤติตนในทานองชู้สาว (13) มีวัตถุระเบิดก็ดี หรือมีอาวุธติดตัวหรือซ่อนเร้นไว้เพื่อใช้ในการประทุษร้ายก็ดี (14) หลบหนีโรงเรียน ข้อ 2 การแต่งกายและความประพฤติดังต่อไปนี้ถือว่าไม่เหมาะสมแก่สภาพของนักศึกษาตาม ความใน ข้อ 4 แห่งประกาศของคณะปฏิวัติ ฉบับที่ 132 (1) นักศึกษาชายตัดผมหรือไว้ผมยาวจนด้านข้างและด้านหลังยาวเลยตีนผมหรือไว้หนวดไว้เครา นักศึกษาหญิงนุ่งประโปรงสั้นจนชายกระโปรงสูงกว่ากึ่งกลางสะบ้าหัวเขาเกิน 5 เซนติเมตร ขอบ กระโปรงต่ากว่าระดับสะดือ คาดเข็มขัดหลวมต่ากว่าระดับขอบกระโปรงหรือแต่งกายไม่เหมาะสมกับ สภาพกุลสตรีไทย นักศึกษาใช้เครื่องสาอาง หรือสิ่งปลอมเพื่อการเสริมสวย (2) สูบกัญชาหรือเสพสุรา ยาเสพติด หรือของมึนเมาอย่างอื่น (3) กระทาการอันเป็นปฏิปักษ์ต่ออานาจบริหารของโรงเรียนหรือสถานศึกษาหรือบังคับขู่ เข็ญ ยุยงส่งเสริมหรือสนับสนุนให้นักเรียนหรือนักศึกษากระทาการเช่นว่านั้น และ (4) ความประพฤติตามข้อ 1 (2) (3) (4) (5)(8) (10) (11) (12) (13) ให้ไว้ ณ วันที่ 28 มิถุนายน พ.ศ. 2515 นายบุญถิ่น อัตถากร ปลัดกระทรวงศึกษาธิการ ผู้ใช้อานาจของรัฐมนตรีว่าการกระทรวงศึกษาธิการ
  • 23. 18 2.8 กฎกระทรวงศึกษำธิกำร ฉบับที่ 2/2518 ออกตามความในประกาศของคณะปฏิวัติ ฉบับที่ ๑๓๒ ลงวันที่ ๒๒ เมษายน พ.ศ. ๒๕๑๕ อาศัยอานาจตามความข้อที่ ๔ และข้อที่ ๑๑ แห่งประกาศของคณะปฏิวัติ ฉบับที่ ๑๓๒ ลงวันที่ ๒๒ เมษายน พ.ศ. ๒๕๑๕ รัฐมนตรีว่าการกระทรวงศึกษาธิการออกกฎกระทรวงศึกษาธิการออก กฎกระทรวงไว้ดังต่อไปนี้ ให้ยกเลิกความในข้อ (๑) ของข้อ ๑ แห่งกฎกระทรวง ฉบับที่ ๑ (พ.ศ. ๒๕๑๕) ออกตาม ความในประกาศของคณะปฏิวัติ ฉบับที่ ๑๓๒ ลงวันที่ ๒๒ เมษายน พ.ศ. ๒๕๑๕ และให้ใช้ความ ต่อไปนี้แทน “ (1) นักเรียนชายดัดผมหรือไว้ผมยาวจนด้านข้างและด้านหลังยาวเลยตีนผมหรือไว้หนวด เครา นักเรียนหญิงดัดผมหรอืไว้ผมยาวเลยต้นคอ หากโรงเรียนหรือสถานศึกษาใดอนุญาต ให้ไว้ยาวเกินกว่านั้นก็ให้รวบให้เรียบร้อย นักเรียนใช้เครื่องสาอางหรือสิ่งปลอมแปลงเพื่อการเสริมสวย" ให้ไว้ ณ วันที่ ๖ มกราคม พ.ศ. ๒๕๑๘ เกรียง กีรติกร รัฐมนตรีว่าการกระทรวงศึกษาธิการ หมำยเหตุ เหตุผลในการประกาศใช้กฎกระทรวงฉบับนี้คือ เนื่องจากสมัยนิยมเปลี่ยนไป สมควรผ่อนผันให้นักเรียนชายไว้ผมที่เหมาะสมกับวัยและสภาพของนักเรียนตาม สมัยนิยมได้บ้าง จึงจาเป็นต้องออกกฎกระทรวงนี้
  • 24. 19 2.9 พระรำชบัญญัติเครื่องแบบนักเรียน พ.ศ. 2551 ภูมิพลอดุลยเดช ป.ร. ให้ไว้ ณ วันที่ 31 มกราคม พ.ศ. 2551 เป็นปีที่ 63 ในรัชกาลปัจจุบัน พระบาทสมเด็จพระปรมินทรมหาภูมิพลอดุลยเดช มีพระบรมราชโองการโปรดเกล้าฯ ให้ ประกาศว่า โดยที่เป็นการสมควรปรับปรุงกฎหมายว่าด้วยเครื่องแบบนักเรียน พระราชบัญญัตินี้มีบทบัญญัติบางประการเกี่ยวกับการจากัดสิทธิและเสรีภาพของบุคคล ซึ่ง มาตรา 29 ประกอบกับมาตรา 32 ของรัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย บัญญัติให้กระทาได้โดย อาศัยอานาจตามบทบัญญัติแห่งกฎหมาย จึงทรงพระกรุณาโปรดเกล้าฯ ให้ตราพระราชบัญญัติขึ้นไว้ โดยคาแนะนาและยินยอมของสภานิติบัญญัติแห่งชาติ ดังต่อไปนี้ มำตรำ 1 พระราชบัญญัตินี้ เรียกว่า “พระราชบัญญัติเครื่องแบบนักเรียน พ.ศ. 2551” มำตรำ 2 พระราชบัญญัตินี้ ให้ใช้บังคับตั้งแต่วันถัดจากวันประกาศในราชกิจจานุเบกษาเป็นต้นไป[1] มำตรำ 3 ให้ยกเลิกพระราชบัญญัติเครื่องแบบนักเรียน พุทธศักราช 2482 มำตรำ 4 ในพระราชบัญญัตินี้ “นักเรียน” หมายความว่า ผู้ซึ่งศึกษาในสถานศึกษาขั้นพื้นฐาน และผู้ซึ่งศึกษาใน ระดับอุดมศึกษาต่ากว่าปริญญาตามกฎหมายว่าด้วยการศึกษาแห่งชาติ “สถานศึกษา” หมายความว่า สถานศึกษาตามกฎหมายว่าด้วยการศึกษาแห่งชาติ แต่ไม่ รวมถึงสถานศึกษาในระดับอุดมศึกษาระดับปริญญา “เครื่องแบบนักเรียน” หมายความว่า เครื่องแต่งกาย สิ่งประกอบเครื่องแต่งกาย และ เครื่องหมายต่าง ๆ ที่กาหนดให้นักเรียนแต่งตามพระราชบัญญัตินี้ มำตรำ 5 ให้นักเรียนแต่งเครื่องแบบนักเรียน ลักษณะของเครื่องแบบนักเรียน วิธีการแต่ง เงื่อนไขในการแต่ง และการยกเว้นไม่ต้องแต่ง เครื่องแบบนักเรียน ให้เป็นไปตามระเบียบที่กระทรวงศึกษาธิการกาหนด นักเรียนผู้ใดไม่แต่งเครื่องแบบนักเรียน โดยไม่ได้รับยกเว้นตามวรรคสอง อาจได้รับโทษทาง วินัย ตามระเบียบที่กระทรวงศึกษาธิการกาหนด
  • 25. 20 มำตรำ 6 สถานศึกษาใดมีความประสงค์จะขอใช้เครื่องแบบนักเรียนเป็นอย่างอื่นนอกเหนือจากที่ กาหนดตามมาตรา 5 วรรคสอง ให้ยื่นคาขออนุญาตต่อกระทรวงศึกษาธิการตามระเบียบที่ กระทรวงศึกษาธิการกาหนด มำตรำ 7 ผู้ใดแต่งเครื่องแบบนักเรียนโดยไม่มีสิทธิที่จะแต่ง หรือแต่งกายเลียนแบบเครื่องแบบ นักเรียน ถ้าได้กระทาเพื่อให้บุคคลอื่นเชื่อว่าตนเป็นนักเรียน ต้องระวางโทษปรับไม่เกินหนึ่งพันบาท มำตรำ 8 บรรดาระเบียบ ประกาศ และคาสั่งที่ออกโดยอาศัยอานาจตามพระราชบัญญัติเครื่องแบบ นักเรียน พุทธศักราช 2482 ที่ใช้บังคับอยู่ในวันก่อนวันที่พระราชบัญญัตินี้ใช้บังคับ ให้ใช้บังคับได้ ต่อไป เท่าที่ไม่ขัดหรือแย้งกับบทบัญญัติในพระราชบัญญัตินี้ ทั้งนี้ จนกว่าจะได้มีการออกระเบียบตาม บทบัญญัติแห่งพระราชบัญญัตินี้ มำตรำ 9 ให้รัฐมนตรีว่าการกระทรวงศึกษาธิการรักษาการตามพระราชบัญญัตินี้ ผู้รับสนองพระบรมราชโองการ พลเอกสุรยุทธ์ จุลานนท์ นายกรัฐมนตรี *หมายเหตุ เหตุผลในการประกาศใช้พระราชบัญญัติฉบับนี้ คือ โดยที่พระราชบัญญัติเครื่องแบบนักเรียน พุทธศักราช 2482 ใช้บังคับมาเป็นเวลานาน บทบัญญัติบางประการจึงไม่เหมาะสมกับสภาวการณ์ใน ปัจจุบัน สมควรปรับปรุง โดยกาหนดให้มีเครื่องแบบนักเรียนไว้เป็นมาตรฐานกลาง เพื่อประโยชน์ใน การประหยัดและความเป็นระเบียบเรียบร้อย และสร้างวินัยให้แก่นักเรียน รวมทั้งเป็นการคุ้มครอง เพื่อมิให้บุคคลอื่นแต่งเครื่องแบบนักเรียนโดยไม่สิทธิที่จะแต่ง จึงจาเป็นต้องตราพระราชบัญญัตินี้