SlideShare une entreprise Scribd logo
1  sur  5
Télécharger pour lire hors ligne
https://www.facebook.com/Mbakku_tutor

อัตราส่วนทางการเงิน
อัตราส่วนทางการเงิน ( Financial ratio) เป็นการนาตัวเลขที่อยู่ในงบการเงิน มาหา
อัตราส่วนเพื่อใช้ในการวิเคราะห์เปรียบเทียบกับกิจการอื่นหรือ เปรียบเทียบกับผลการดาเนินงานใน
อดีต ช่วยให้ผู้วิเคราะห์ประเมินผลการดาเนินงาน แนวโน้ม และความเสี่ยง ของกิจการได้ดียิ่งขึ้น
1. อัตราส่วนสภาพคล่อง (Liquidity Ratio)
1.1 อัตราส่วนทุนหมุนเวียน (Current ratio)
1.2 อัตราส่วนทุนหมุนเวียนเร็ว (Quick ratio)
1.3 อัตราส่วนเงินสด (Cash ratio)
1.4 อัตราหมุนเวียนของลูกหนี้ (Receivable turnover)
1.5 ระยะเวลาเก็บหนี้ (Collection period)
1.6 อัตราหมุนเวียนของสินค้าคงเหลือ (Inventory turnover)
1.7 ระยะเวลาขายสินค้า (Holding period)
2. อัตราส่วนประสิทธิภาพในการใช้สินทรัพย์ (Efficiency Ratio)
2.1 อัตราหมุนเวียนของสินทรัพย์รวม (Total asset turnover)
2.2 อัตราหมุนเวียนของสินทรัพย์ถาวร (Net fixed asset turnover)
3. อัตราส่วนความสามารถในการทากาไร (Profitability Ratio)
3.1 อัตรากาไรขั้นต้น (Gross profit margin)
3.2 อัตรากาไรจากการดาเนินงาน (Operating profit margin)
3.3 อัตรากาไรสุทธิ (Net profit margin)
3.4 อัตราผลตอบแทนจากสินทรัพย์ทั้งหมด (Return On Assets : ROA)
3.5อัตราผลตอบแทนจากส่วนของผู้ถือหุ้น (Return On Equity : ROE)
4. อัตราส่วนความสามารถในการชาระหนี้ (Leverage Ratio)
4.1 อัตราส่วนหนี้สินต่อส่วนของผู้ถือหุ้น (Debt to Equity ratio)
4.2 อัตราส่วนความสามารถในการจ่ายดอกเบี้ย (Interest coverage ratio)
4.3 อัตราการจ่ายเงินปันผล (Dividend Payout)
1.1 อัตราส่วนทุนหมุนเวียน
อัตราส่วนทุนหมุนเวียน หรืออัตราส่ วนสภาพคล่อง (Current ratio) คือ อัตราส่วนระหว่าง
สินทรัพย์หมุนเวียนและ หนี้สินหมุนเวียน ซึ่งบ่งบอกถึงสภาพคล่อง ของกิจการในการที่จะชาระหนี้
ระยะสั้น หากอัตราส่วนนี้มีค่าน้อยกว่า 1 หมายความว่ากิจการมีหนี้สินหมุนเวียนมากกว่าสินทรัพย์
หมุนเวียน ทาให้อาจมีปัญหาในการชาระหนี้ระยะสั้นได้ หากอัตราส่วนนี้มากกว่า 1 แสดงว่ากิจการมี
สินทรัพย์หมุนเวียน มากพอที่จะชาระหนี้ระยะสั้น แต่หากมีค่าสูงกว่า
1 มาก ๆ อาจหมาย ถึง
ประสิทธิภาพในการใช้ สินทรัพย์ของกิจการไม่ดีพอ อย่างไรก็ตามสินทรัพย์หมุนเวียนบางประเภท เช่น
สินค้าคงเหลือ อาจมีมูลค่าลดลงหากต้องรีบขายเพื่อนาไปชาระหนี้ ทาให้บางทีเราอาจใช้อัตราส่วนที่
ไม่นาสินค้าคงเหลือมาคิดด้วย หรือเรียกว่า อัตราส่วนทุนหมุนเวียนเร็ว (Quick ratio)
สูตรการคานวณ
อัตราส่วนทุนหมุนเวียน (Current Ratio) = สินทรัพย์หมุนเวียน(CA) /หนี้สินหมุนเวียน(CL)

อ้างอิง : http://www.op.mahidol.ac.th/orfa/ratio.html
https://www.facebook.com/Mbakku_tutor
1.2 อัตราส่วนทุนหมุนเวียนเร็ว
อัตราส่วนทุนหมุนเวียนเร็ว ( Quick ratio หรือ Acid test ratio) คือ อัตราส่วนที่ปรับปรุงมา
จาก อัตราส่วนทุนหมุนเวียน ซึ่งในการคานวณจะไม่นา สินค้าคงเหลือ มาคิดรวมกับ สินทรัพย์
หมุนเวียน อื่น ๆ เช่น เงินสด ลูกหนี้การค้า และ สินทรัพย์ในความต้องการของตลาด เนื่องจากสินค้า
คงเหลือสามารถแปลงเป็นเงินสดได้ช้ากว่า และอาจมีมูลค่าต่ากว่ามูลค่าทางบัญชี ทาให้อัตรา ส่วนทุน
หมุนเวียนเร็วบอกถึง สภาพคล่อง ของกิจการได้ดีกว่าอัตราส่วนทุนหมุนเวียน
สูตรการคานวณ
อัตราส่วนทุนหมุนเวียนเร็ว (Quick Ratio) = (สินทรัพย์หมุนเวียน – สินค้าคงเหลือ ) /หนี้สินหมุนเวียน
หรือ Quick Ratio = (CA – Inventory) /CL
1.3 อัตราส่วนเงินสด
อัตราส่วนเงินสด (Cash ratio) คือ อัตราส่วนที่ใช้วิเคราะห์ สภาพคล่อง ของกิจการที่ตั้งอยู่บน
หลัก ความระมัดระวังที่สุด โดยจะนา สินทรัพย์หมุนเวียน ที่เป็น เงินสด และ หลักทรพย์ในความ
ต้องการของตลาด หารด้วย หนี้สินหมุนเวียน หากอัตราส่วนนี้สูงหมายถึงกิจการมีสภาพคล่องสูง แต่
หากสูงมากอาจหมายถึงกิจการถือเงินสดไว้มากเกินไปทาให้ประสิทธิภาพในการใช้สินทรัพย์ลดลง จึง
ควรดูอัตรา ส่วนประสิทธิภาพในการใช้สินทรัพย์ควบคู่กันด้วย
สูตรการคานวณ
อัตราส่วนเงินสด = (เงินสด + หลักทรัพย์ในความต้องการของตลาด) / หนี้สินหมุนเวียน
1.4 อัตราหมุนเวียนของลูกหนี้
อัตราหมุนเวียนของลูกหนี้ (Account Receivable Turnover) คือ จานวนครั้งที่กิจการ
สามารถเก็บเงินจากการขายเชื่อได้ คานวณโดยยอดขายเชื่อสุทธิหารด้วย ลูกหนี้การค้าเฉลี่ย โดยที่
ลูกหนี้การค้าเฉลี่ย คือ ลูกหนี้การค้าต้นงวดบวกลูกหนี้การค้าปลายงวดหารด้วย
2 หากอัตรา
หมุนเวียนของลูกหนี้สูงหมายความว่า กิจการสามารถเก็บเงินจากการขายเชื่อได้เร็ว แต่หากอัตร านี้สูง
เกินไปอาจหมายถึงกิจการเข้มงวดในการให้เครดิตกับลูกค้ามากเกินไปทาให้เสียเปรียบในการแข่งขัน
ดังนั้นการนาอัตราส่วนนี้ไปเปรียบเทียบกับกิจการอื่น จึงควรดูนโยบายการให้เครดิตแก่ลูกหนี้ของ
กิจการด้วย
สูตรการคานวณ
อัตราหมุนเวียนของลูกหนี้ = ยอดขายเชื่อสุทธิ / ลูกหนี้เฉลี่ย
โดยที่ ลูกหนี้เฉลี่ยคานวณได้จาก :
ลูกหนี้เฉลี่ย = (ลูกหนี้ต้นงวด + ลูกหนี้ปลายงวด) / 2
อย่างไรก็ตามโดยทั่วไปกิจการจะไม่เปิดเผยยอดขายเชื่อสุทธิใน งบการเงิน ในทางปฏิบัติเรา
จึงใช้ยอดขายสุทธิเป็นตัวตั้งแทน ดังนั้น
อัตราหมุนเวียนของลูกหนี้ = ยอดขายสุทธิ / ลูกหนี้เฉลี่ย
อ้างอิง : http://www.op.mahidol.ac.th/orfa/ratio.html
https://www.facebook.com/Mbakku_tutor
1.5 ระยะเวลาเก็บหนี้
ระยะเวลาถัวเฉลี่ยในการเรียกเก็บหนี้ (Average Collection Period) คือ การคานวนให้เห็นถึง
ระยะเวลาในการเรียกเก็บหนี้ว่าสั้นหรือยาว เพื่อให้ทราบถึงคุณภาพของลูกหนี้ ประสิทธิภาพในการ
เรียกเก็บหนี้และนโยบายในการให้สินเชื่อทางธุรกิจ ผลการคานวนต่าจะแสดงถึงคุณภาพของลูกหนี้ที่
สามารถชาระได้เร็ว
สูตรการคานวณ
ระยะเวลาถัวเฉลี่ยในการเรียกเก็บหนี้ (Avg. Collection Period) = 365วัน /อัตราหมุนเวียนของลูกหนี้
1.6 อัตราหมุนเวียนของสินค้าคงเหลือ
อัตราหมุนเวียนของสินค้าคงเหลือ (Inventory Turnover) คือ จานวนครั้งที่กิจการสามารถ
ขายสินค้าคงเหลือ ออกไปได้ คานวณโดยใช้ต้นทุนขายหารด้วยสินค้าคงเหลือเฉลี่ย โดยที่สินค้า
คงเหลือเฉลี่ยคือ สินค้าคงเหลือต้นงวดบวกสินค้าคงเหลือปลายงวดหารด้วย 2 หากอัตรา หมุนเวียน
ของสินค้าคงเหลือสูง หมายความว่า กิจการสามารถขายสินค้าได้เร็ว แต่หากอัตรานี้สูงเนื่องจากสินค้า
คงเหลือน้อยเกินไป จนทาให้สินค้าไม่พอขายและต้องสูญเสียลูกค้าไปในที่สุด ดังนั้นจึงต้องมี การ
บริหารสินค้าคงเหลือ ไม่ให้มากหรือน้อยเกินไป
สูตรการคานวณ
อัตราการหมุนเวียนของสินค้าคงเหลือ (Inventory Turnover)
= ต้นทุนสินค้าขาย (COGS) /สินค้าคงเหลือเฉลี่ย (Avg. Inventory)
โดยที่ สินค้าคงเหลือเฉลี่ยคานวณได้จาก :
สินค้าคงเหลือเฉลี่ย = สินค้าต้นงวด + สินค้าปลายงวด / 2
1.7 ระยะเวลาขายสินค้า
ยิ่งขายได้เร็ว ระยะเวลาสั้น ยิ่งดี
สูตรการคานวณ
ระยะเวลาในการขายสินค้า(วัน) = 365 /อัตราหมุนเวียนของสินค้า (Inventory Turnover)

2.1 อัตราหมุนเวียนของสินทรัพย์รวม
เป็นอัตราส่วนที่แสดงถึงประสิทธิภาพในการใช้สินทรัพย์ทั้งหมด (TA) เมื่อเทียบกับยอดขาย
(SALES) ถ้าอัตราส่วนนี้ต่า แสดงว่า บริษัทมีสินทรัพย์มากเกินความต้องการ
สูตรการคานวณ
อัตราส่วนการหมุนเวียนของสินทรัพย์รวม (Total Assets Turnover) (ครั้งหรือเท่า )
= ขายสุทธิ (SALES) /สินทรัพย์รวม (Total Assets)
อ้างอิง : http://www.op.mahidol.ac.th/orfa/ratio.html
https://www.facebook.com/Mbakku_tutor
2.2 อัตราหมุนเวียนของสินทรัพย์ถาวร
สูตรการคานวณ
อัตราหมุนเวียนของสินทรัพย์ถาวร (Fixed Asset Turnover)(ครั้ง )
= ขายสุทธิ (SALES) /สินทรัพย์ถาวร (Fixed Asset)

3.1 อัตรากาไรขั้นต้น
แสดงให้เห็นประสิทธิภาพในการขายของบริษัท ในการทากาไร หลังจากหักต้นทุนสินค้าก่อน
หักค่าใช้จ่ายรวม ผลลัพธ์ยิ่งสูงยิ่งดี
สูตรการคานวณ
อัตรากาไรขั้นต้น(Gross Profit Margin)(%) = ขายสุทธิ - ต้นทุนขาย(SALES – COGS) / ขายสุทธิ(SALES)
= กาไรขั้นต้น หรือ Gross Profit /ขายสุทธิ SALES
3.2 อัตรากาไรจากการดาเนินงาน
แสดงให้เห็นประสิทธิภาพในการขายของบริษัท ในการ ทากาไร หลังจากหักต้นทุนสินค้าแล ะ
หักค่าใช้จ่ายรวม ผลลัพธ์ยิ่งสูงยิ่งดี
สูตรการคานวณ
อัตรากาไรจากผลการดาเนินงาน(Operating Profit Margin)(%)
= กาไรจากการดาเนินงาน(Operating Profit Margin) /ขายสุทธิ (SALES)
3.3 อัตรากาไรสุทธิ
แสดงให้เห็นประสิทธิภาพในการดาเนินงานของบริษัทในการทากาไร หลังจากหักต้นทุน
ค่าใช้จ่ายรวมทั้งภาษีเงินได้หมดแล้ว ผลลัพธ์ยิ่งสูงยิ่งดี
สูตรการคานวณ
อัตรากาไรสุทธิ (Net Profit Margin)(%) = กาไรสุทธิ (Net Profit) /ขายสุทธิ (SALES)
3.4 อัตราผลตอบแทนจากสินทรัพย์ทั้งหมด
เป็นการวัดความสามารถในการทากาไรของสินทรัพย์ทั้งหมดที่ธุรกิจใช้ในการ ดาเนินงาน ว่า
ให้ผลตอบแทน จากการดาเนินงานได้มากน้อยเพียงใด หากมีค่าสูง แสดงถึงการใช้สินทรัพย์อย่างมี
ประสิทธิภาพ ผลลัพธ์ยิ่งสูงยิ่งดี
สูตรการคานวณ
อัตราผลตอบแทนจากสินทรัพย์รวม(ROA)(%) = กาไรสุทธิ (Net Profit) /สินทรัพย์รวม (Total Assets)
อ้างอิง : http://www.op.mahidol.ac.th/orfa/ratio.html
https://www.facebook.com/Mbakku_tutor
3.5 อัตราผลตอบแทนจากส่วนของผู้ถือหุ้น
แสดงให้เห็นว่าเงินลงทุนในส่วนของเจ้าของ จะได้รับผลตอบแทนกลับคืนมาจากการ
ดาเนินการของกิจการนั้นในอัตราส่วนเท่าไร หากมีค่าสูง แสดงถึงประสิทธิภาพในการหากาไรสูงด้วย
ผลลัพธ์ยิ่งสูงยิ่งดี
สูตรการคานวณ
ผลตอบแทนผู้ถือหุ้น (ROE %) = กาไรสุทธิ (Net Profit) /ส่วนของผู้ถือหุ้น (Equity)
4.1 อัตราส่วนหนี้สินต่อส่วนของผู้ถือหุ้น
อัตราส่วนหนี้สินต่อส่วนของผู้ถือหุ้น (Debt to Equity ratio : D/E) คือ อัตราส่วนที่นา หนี้สิน
รวม หารด้วย ส่วนของผู้ถือหุ้น อัตราส่วนนี้จะแสดง โครงสร้างเงินทุน ของกิจการว่า สินทรัพย์ ของ
กิจการมาจากการกู้ยืม หรือมาจากทุนของกิจการ ถ้าอัตราส่วนนี้สูงมีโอกาสที่กิจการจะไม่สามารถ
ชาระ ดอกเบี้ย ได้สูงตามไปด้วย เนื่องจากหนี้สินที่มากทาให้กิจการมีภาระผูกพันที่ต้องชาระดอกเบี้ย
ทุกงวดไม่ว่ากิจการนั้น จะกาไรหรือขาดทุน ซึ่งต่างจากส่วนของผู้ถือหุ้นที่หากกิจการ ขาดทุนอาจจะ
พิจารณาไม่จ่าย เงินปันผลก็ได้
สูตรการคานวณ
อัตราส่วนหนี้สินต่อส่วนของผู้ถือหุ้น = หนี้สิน /ส่วนของผู้ถือหุ้น
หรือ
อัตราส่วนหนี้สินต่อส่วนของผู้ถือหุ้น = (หนี้สินหมุนเวียน + หนี้สินไม่หมุนเวียน) / ส่วนของผู้ถือหุ้น
4.2 อัตราส่วนความสามารถในการจ่ายดอกเบี้ย
เป็นการวัดความสามารถของธุรกิจในการจ่ายดอกเบี้ยเงินกู้ ผลคานวณออกมามีค่าสูง แสดง
ว่าธุรกิจมีความสามารถในการจ่ายดอกเบี้ยสูง
สูตรการคานวณ
ความสามารถในการจ่ายดอกเบี้ย (Interest Coverage) (เท่า)
= {กาไรสุทธิ (NP) + ภาษีเงินได้ (Tax) - ดอกเบี้ยจ่าย(Interest)} /ดอกเบี้ยจ่าย (Interest)
4.3 อัตราการจ่ายเงินปันผล
แสดงถึงนโยบายการจ่ายเงินปันผลของธุรกิจ เป็นเ ครื่องมือในการวิเคราะห์หลักทรัพย์ด้วย
ปัจจัยพื้นฐาน เพื่อจะได้พิจารณางบการเงินของกิจการที่ลงทุนได้
สูตรการคานวณ
อัตราการจ่ายเงินปันผล(Dividend Payout) = เงินปันผลต่อหุ้น(Dividend/share) /กาไรสุทธิต่อหุ้น(EPS)

อ้างอิง : http://www.op.mahidol.ac.th/orfa/ratio.html

Contenu connexe

En vedette

Capitulo i – introduccion al siaf (1)
Capitulo i – introduccion al siaf (1)Capitulo i – introduccion al siaf (1)
Capitulo i – introduccion al siaf (1)Jhonatan Cesar Garcia
 
Walther’s social information processing theory
Walther’s social information processing theoryWalther’s social information processing theory
Walther’s social information processing theoryJemaima Rae Porter
 

En vedette (6)

5 teori keadaan_transisi
5 teori keadaan_transisi5 teori keadaan_transisi
5 teori keadaan_transisi
 
CSR Award - 國家永續發展獎(2014)
CSR Award - 國家永續發展獎(2014)CSR Award - 國家永續發展獎(2014)
CSR Award - 國家永續發展獎(2014)
 
Capitulo i – introduccion al siaf (1)
Capitulo i – introduccion al siaf (1)Capitulo i – introduccion al siaf (1)
Capitulo i – introduccion al siaf (1)
 
Walther’s social information processing theory
Walther’s social information processing theoryWalther’s social information processing theory
Walther’s social information processing theory
 
Linguística textual
Linguística textualLinguística textual
Linguística textual
 
Actividad 2 metodología de la investigación
Actividad 2 metodología de la investigaciónActividad 2 metodología de la investigación
Actividad 2 metodología de la investigación
 

อัตราส่วนทางการเงิน

  • 1. https://www.facebook.com/Mbakku_tutor อัตราส่วนทางการเงิน อัตราส่วนทางการเงิน ( Financial ratio) เป็นการนาตัวเลขที่อยู่ในงบการเงิน มาหา อัตราส่วนเพื่อใช้ในการวิเคราะห์เปรียบเทียบกับกิจการอื่นหรือ เปรียบเทียบกับผลการดาเนินงานใน อดีต ช่วยให้ผู้วิเคราะห์ประเมินผลการดาเนินงาน แนวโน้ม และความเสี่ยง ของกิจการได้ดียิ่งขึ้น 1. อัตราส่วนสภาพคล่อง (Liquidity Ratio) 1.1 อัตราส่วนทุนหมุนเวียน (Current ratio) 1.2 อัตราส่วนทุนหมุนเวียนเร็ว (Quick ratio) 1.3 อัตราส่วนเงินสด (Cash ratio) 1.4 อัตราหมุนเวียนของลูกหนี้ (Receivable turnover) 1.5 ระยะเวลาเก็บหนี้ (Collection period) 1.6 อัตราหมุนเวียนของสินค้าคงเหลือ (Inventory turnover) 1.7 ระยะเวลาขายสินค้า (Holding period) 2. อัตราส่วนประสิทธิภาพในการใช้สินทรัพย์ (Efficiency Ratio) 2.1 อัตราหมุนเวียนของสินทรัพย์รวม (Total asset turnover) 2.2 อัตราหมุนเวียนของสินทรัพย์ถาวร (Net fixed asset turnover) 3. อัตราส่วนความสามารถในการทากาไร (Profitability Ratio) 3.1 อัตรากาไรขั้นต้น (Gross profit margin) 3.2 อัตรากาไรจากการดาเนินงาน (Operating profit margin) 3.3 อัตรากาไรสุทธิ (Net profit margin) 3.4 อัตราผลตอบแทนจากสินทรัพย์ทั้งหมด (Return On Assets : ROA) 3.5อัตราผลตอบแทนจากส่วนของผู้ถือหุ้น (Return On Equity : ROE) 4. อัตราส่วนความสามารถในการชาระหนี้ (Leverage Ratio) 4.1 อัตราส่วนหนี้สินต่อส่วนของผู้ถือหุ้น (Debt to Equity ratio) 4.2 อัตราส่วนความสามารถในการจ่ายดอกเบี้ย (Interest coverage ratio) 4.3 อัตราการจ่ายเงินปันผล (Dividend Payout) 1.1 อัตราส่วนทุนหมุนเวียน อัตราส่วนทุนหมุนเวียน หรืออัตราส่ วนสภาพคล่อง (Current ratio) คือ อัตราส่วนระหว่าง สินทรัพย์หมุนเวียนและ หนี้สินหมุนเวียน ซึ่งบ่งบอกถึงสภาพคล่อง ของกิจการในการที่จะชาระหนี้ ระยะสั้น หากอัตราส่วนนี้มีค่าน้อยกว่า 1 หมายความว่ากิจการมีหนี้สินหมุนเวียนมากกว่าสินทรัพย์ หมุนเวียน ทาให้อาจมีปัญหาในการชาระหนี้ระยะสั้นได้ หากอัตราส่วนนี้มากกว่า 1 แสดงว่ากิจการมี สินทรัพย์หมุนเวียน มากพอที่จะชาระหนี้ระยะสั้น แต่หากมีค่าสูงกว่า 1 มาก ๆ อาจหมาย ถึง ประสิทธิภาพในการใช้ สินทรัพย์ของกิจการไม่ดีพอ อย่างไรก็ตามสินทรัพย์หมุนเวียนบางประเภท เช่น สินค้าคงเหลือ อาจมีมูลค่าลดลงหากต้องรีบขายเพื่อนาไปชาระหนี้ ทาให้บางทีเราอาจใช้อัตราส่วนที่ ไม่นาสินค้าคงเหลือมาคิดด้วย หรือเรียกว่า อัตราส่วนทุนหมุนเวียนเร็ว (Quick ratio) สูตรการคานวณ อัตราส่วนทุนหมุนเวียน (Current Ratio) = สินทรัพย์หมุนเวียน(CA) /หนี้สินหมุนเวียน(CL) อ้างอิง : http://www.op.mahidol.ac.th/orfa/ratio.html
  • 2. https://www.facebook.com/Mbakku_tutor 1.2 อัตราส่วนทุนหมุนเวียนเร็ว อัตราส่วนทุนหมุนเวียนเร็ว ( Quick ratio หรือ Acid test ratio) คือ อัตราส่วนที่ปรับปรุงมา จาก อัตราส่วนทุนหมุนเวียน ซึ่งในการคานวณจะไม่นา สินค้าคงเหลือ มาคิดรวมกับ สินทรัพย์ หมุนเวียน อื่น ๆ เช่น เงินสด ลูกหนี้การค้า และ สินทรัพย์ในความต้องการของตลาด เนื่องจากสินค้า คงเหลือสามารถแปลงเป็นเงินสดได้ช้ากว่า และอาจมีมูลค่าต่ากว่ามูลค่าทางบัญชี ทาให้อัตรา ส่วนทุน หมุนเวียนเร็วบอกถึง สภาพคล่อง ของกิจการได้ดีกว่าอัตราส่วนทุนหมุนเวียน สูตรการคานวณ อัตราส่วนทุนหมุนเวียนเร็ว (Quick Ratio) = (สินทรัพย์หมุนเวียน – สินค้าคงเหลือ ) /หนี้สินหมุนเวียน หรือ Quick Ratio = (CA – Inventory) /CL 1.3 อัตราส่วนเงินสด อัตราส่วนเงินสด (Cash ratio) คือ อัตราส่วนที่ใช้วิเคราะห์ สภาพคล่อง ของกิจการที่ตั้งอยู่บน หลัก ความระมัดระวังที่สุด โดยจะนา สินทรัพย์หมุนเวียน ที่เป็น เงินสด และ หลักทรพย์ในความ ต้องการของตลาด หารด้วย หนี้สินหมุนเวียน หากอัตราส่วนนี้สูงหมายถึงกิจการมีสภาพคล่องสูง แต่ หากสูงมากอาจหมายถึงกิจการถือเงินสดไว้มากเกินไปทาให้ประสิทธิภาพในการใช้สินทรัพย์ลดลง จึง ควรดูอัตรา ส่วนประสิทธิภาพในการใช้สินทรัพย์ควบคู่กันด้วย สูตรการคานวณ อัตราส่วนเงินสด = (เงินสด + หลักทรัพย์ในความต้องการของตลาด) / หนี้สินหมุนเวียน 1.4 อัตราหมุนเวียนของลูกหนี้ อัตราหมุนเวียนของลูกหนี้ (Account Receivable Turnover) คือ จานวนครั้งที่กิจการ สามารถเก็บเงินจากการขายเชื่อได้ คานวณโดยยอดขายเชื่อสุทธิหารด้วย ลูกหนี้การค้าเฉลี่ย โดยที่ ลูกหนี้การค้าเฉลี่ย คือ ลูกหนี้การค้าต้นงวดบวกลูกหนี้การค้าปลายงวดหารด้วย 2 หากอัตรา หมุนเวียนของลูกหนี้สูงหมายความว่า กิจการสามารถเก็บเงินจากการขายเชื่อได้เร็ว แต่หากอัตร านี้สูง เกินไปอาจหมายถึงกิจการเข้มงวดในการให้เครดิตกับลูกค้ามากเกินไปทาให้เสียเปรียบในการแข่งขัน ดังนั้นการนาอัตราส่วนนี้ไปเปรียบเทียบกับกิจการอื่น จึงควรดูนโยบายการให้เครดิตแก่ลูกหนี้ของ กิจการด้วย สูตรการคานวณ อัตราหมุนเวียนของลูกหนี้ = ยอดขายเชื่อสุทธิ / ลูกหนี้เฉลี่ย โดยที่ ลูกหนี้เฉลี่ยคานวณได้จาก : ลูกหนี้เฉลี่ย = (ลูกหนี้ต้นงวด + ลูกหนี้ปลายงวด) / 2 อย่างไรก็ตามโดยทั่วไปกิจการจะไม่เปิดเผยยอดขายเชื่อสุทธิใน งบการเงิน ในทางปฏิบัติเรา จึงใช้ยอดขายสุทธิเป็นตัวตั้งแทน ดังนั้น อัตราหมุนเวียนของลูกหนี้ = ยอดขายสุทธิ / ลูกหนี้เฉลี่ย อ้างอิง : http://www.op.mahidol.ac.th/orfa/ratio.html
  • 3. https://www.facebook.com/Mbakku_tutor 1.5 ระยะเวลาเก็บหนี้ ระยะเวลาถัวเฉลี่ยในการเรียกเก็บหนี้ (Average Collection Period) คือ การคานวนให้เห็นถึง ระยะเวลาในการเรียกเก็บหนี้ว่าสั้นหรือยาว เพื่อให้ทราบถึงคุณภาพของลูกหนี้ ประสิทธิภาพในการ เรียกเก็บหนี้และนโยบายในการให้สินเชื่อทางธุรกิจ ผลการคานวนต่าจะแสดงถึงคุณภาพของลูกหนี้ที่ สามารถชาระได้เร็ว สูตรการคานวณ ระยะเวลาถัวเฉลี่ยในการเรียกเก็บหนี้ (Avg. Collection Period) = 365วัน /อัตราหมุนเวียนของลูกหนี้ 1.6 อัตราหมุนเวียนของสินค้าคงเหลือ อัตราหมุนเวียนของสินค้าคงเหลือ (Inventory Turnover) คือ จานวนครั้งที่กิจการสามารถ ขายสินค้าคงเหลือ ออกไปได้ คานวณโดยใช้ต้นทุนขายหารด้วยสินค้าคงเหลือเฉลี่ย โดยที่สินค้า คงเหลือเฉลี่ยคือ สินค้าคงเหลือต้นงวดบวกสินค้าคงเหลือปลายงวดหารด้วย 2 หากอัตรา หมุนเวียน ของสินค้าคงเหลือสูง หมายความว่า กิจการสามารถขายสินค้าได้เร็ว แต่หากอัตรานี้สูงเนื่องจากสินค้า คงเหลือน้อยเกินไป จนทาให้สินค้าไม่พอขายและต้องสูญเสียลูกค้าไปในที่สุด ดังนั้นจึงต้องมี การ บริหารสินค้าคงเหลือ ไม่ให้มากหรือน้อยเกินไป สูตรการคานวณ อัตราการหมุนเวียนของสินค้าคงเหลือ (Inventory Turnover) = ต้นทุนสินค้าขาย (COGS) /สินค้าคงเหลือเฉลี่ย (Avg. Inventory) โดยที่ สินค้าคงเหลือเฉลี่ยคานวณได้จาก : สินค้าคงเหลือเฉลี่ย = สินค้าต้นงวด + สินค้าปลายงวด / 2 1.7 ระยะเวลาขายสินค้า ยิ่งขายได้เร็ว ระยะเวลาสั้น ยิ่งดี สูตรการคานวณ ระยะเวลาในการขายสินค้า(วัน) = 365 /อัตราหมุนเวียนของสินค้า (Inventory Turnover) 2.1 อัตราหมุนเวียนของสินทรัพย์รวม เป็นอัตราส่วนที่แสดงถึงประสิทธิภาพในการใช้สินทรัพย์ทั้งหมด (TA) เมื่อเทียบกับยอดขาย (SALES) ถ้าอัตราส่วนนี้ต่า แสดงว่า บริษัทมีสินทรัพย์มากเกินความต้องการ สูตรการคานวณ อัตราส่วนการหมุนเวียนของสินทรัพย์รวม (Total Assets Turnover) (ครั้งหรือเท่า ) = ขายสุทธิ (SALES) /สินทรัพย์รวม (Total Assets) อ้างอิง : http://www.op.mahidol.ac.th/orfa/ratio.html
  • 4. https://www.facebook.com/Mbakku_tutor 2.2 อัตราหมุนเวียนของสินทรัพย์ถาวร สูตรการคานวณ อัตราหมุนเวียนของสินทรัพย์ถาวร (Fixed Asset Turnover)(ครั้ง ) = ขายสุทธิ (SALES) /สินทรัพย์ถาวร (Fixed Asset) 3.1 อัตรากาไรขั้นต้น แสดงให้เห็นประสิทธิภาพในการขายของบริษัท ในการทากาไร หลังจากหักต้นทุนสินค้าก่อน หักค่าใช้จ่ายรวม ผลลัพธ์ยิ่งสูงยิ่งดี สูตรการคานวณ อัตรากาไรขั้นต้น(Gross Profit Margin)(%) = ขายสุทธิ - ต้นทุนขาย(SALES – COGS) / ขายสุทธิ(SALES) = กาไรขั้นต้น หรือ Gross Profit /ขายสุทธิ SALES 3.2 อัตรากาไรจากการดาเนินงาน แสดงให้เห็นประสิทธิภาพในการขายของบริษัท ในการ ทากาไร หลังจากหักต้นทุนสินค้าแล ะ หักค่าใช้จ่ายรวม ผลลัพธ์ยิ่งสูงยิ่งดี สูตรการคานวณ อัตรากาไรจากผลการดาเนินงาน(Operating Profit Margin)(%) = กาไรจากการดาเนินงาน(Operating Profit Margin) /ขายสุทธิ (SALES) 3.3 อัตรากาไรสุทธิ แสดงให้เห็นประสิทธิภาพในการดาเนินงานของบริษัทในการทากาไร หลังจากหักต้นทุน ค่าใช้จ่ายรวมทั้งภาษีเงินได้หมดแล้ว ผลลัพธ์ยิ่งสูงยิ่งดี สูตรการคานวณ อัตรากาไรสุทธิ (Net Profit Margin)(%) = กาไรสุทธิ (Net Profit) /ขายสุทธิ (SALES) 3.4 อัตราผลตอบแทนจากสินทรัพย์ทั้งหมด เป็นการวัดความสามารถในการทากาไรของสินทรัพย์ทั้งหมดที่ธุรกิจใช้ในการ ดาเนินงาน ว่า ให้ผลตอบแทน จากการดาเนินงานได้มากน้อยเพียงใด หากมีค่าสูง แสดงถึงการใช้สินทรัพย์อย่างมี ประสิทธิภาพ ผลลัพธ์ยิ่งสูงยิ่งดี สูตรการคานวณ อัตราผลตอบแทนจากสินทรัพย์รวม(ROA)(%) = กาไรสุทธิ (Net Profit) /สินทรัพย์รวม (Total Assets) อ้างอิง : http://www.op.mahidol.ac.th/orfa/ratio.html
  • 5. https://www.facebook.com/Mbakku_tutor 3.5 อัตราผลตอบแทนจากส่วนของผู้ถือหุ้น แสดงให้เห็นว่าเงินลงทุนในส่วนของเจ้าของ จะได้รับผลตอบแทนกลับคืนมาจากการ ดาเนินการของกิจการนั้นในอัตราส่วนเท่าไร หากมีค่าสูง แสดงถึงประสิทธิภาพในการหากาไรสูงด้วย ผลลัพธ์ยิ่งสูงยิ่งดี สูตรการคานวณ ผลตอบแทนผู้ถือหุ้น (ROE %) = กาไรสุทธิ (Net Profit) /ส่วนของผู้ถือหุ้น (Equity) 4.1 อัตราส่วนหนี้สินต่อส่วนของผู้ถือหุ้น อัตราส่วนหนี้สินต่อส่วนของผู้ถือหุ้น (Debt to Equity ratio : D/E) คือ อัตราส่วนที่นา หนี้สิน รวม หารด้วย ส่วนของผู้ถือหุ้น อัตราส่วนนี้จะแสดง โครงสร้างเงินทุน ของกิจการว่า สินทรัพย์ ของ กิจการมาจากการกู้ยืม หรือมาจากทุนของกิจการ ถ้าอัตราส่วนนี้สูงมีโอกาสที่กิจการจะไม่สามารถ ชาระ ดอกเบี้ย ได้สูงตามไปด้วย เนื่องจากหนี้สินที่มากทาให้กิจการมีภาระผูกพันที่ต้องชาระดอกเบี้ย ทุกงวดไม่ว่ากิจการนั้น จะกาไรหรือขาดทุน ซึ่งต่างจากส่วนของผู้ถือหุ้นที่หากกิจการ ขาดทุนอาจจะ พิจารณาไม่จ่าย เงินปันผลก็ได้ สูตรการคานวณ อัตราส่วนหนี้สินต่อส่วนของผู้ถือหุ้น = หนี้สิน /ส่วนของผู้ถือหุ้น หรือ อัตราส่วนหนี้สินต่อส่วนของผู้ถือหุ้น = (หนี้สินหมุนเวียน + หนี้สินไม่หมุนเวียน) / ส่วนของผู้ถือหุ้น 4.2 อัตราส่วนความสามารถในการจ่ายดอกเบี้ย เป็นการวัดความสามารถของธุรกิจในการจ่ายดอกเบี้ยเงินกู้ ผลคานวณออกมามีค่าสูง แสดง ว่าธุรกิจมีความสามารถในการจ่ายดอกเบี้ยสูง สูตรการคานวณ ความสามารถในการจ่ายดอกเบี้ย (Interest Coverage) (เท่า) = {กาไรสุทธิ (NP) + ภาษีเงินได้ (Tax) - ดอกเบี้ยจ่าย(Interest)} /ดอกเบี้ยจ่าย (Interest) 4.3 อัตราการจ่ายเงินปันผล แสดงถึงนโยบายการจ่ายเงินปันผลของธุรกิจ เป็นเ ครื่องมือในการวิเคราะห์หลักทรัพย์ด้วย ปัจจัยพื้นฐาน เพื่อจะได้พิจารณางบการเงินของกิจการที่ลงทุนได้ สูตรการคานวณ อัตราการจ่ายเงินปันผล(Dividend Payout) = เงินปันผลต่อหุ้น(Dividend/share) /กาไรสุทธิต่อหุ้น(EPS) อ้างอิง : http://www.op.mahidol.ac.th/orfa/ratio.html