SlideShare une entreprise Scribd logo
1  sur  10
Télécharger pour lire hors ligne
รายงาน

              เรื่อง อาชญากรรมคอมพิวเตอร์


                          เสนอ

                  นาง จุฑารัตน์ ใจบุญ

                        จัดทาโดย

                 นางสาว สุพัตรา บัวอ่อน

             ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 6/2 เลขที่ 15

รายงานเล่มนี้เป็นส่วนหนึ่งของวิชา การงานอาชีพและเทคโนโลยี

             โรงเรียนรัษฎานุประดิษฐ์อนุสรณ์

                 อาเภอ สิเกา จังหวัดตรัง

              ภาคเรียนที่ 2 ปีการศึกษา 2555
ก
                                               คานา

         รายงานฉบับนี้เป็นส่วนหนึ่งของวิชา การงานอาชีพและเทคโนโลยี ง. 33102 เรื่อง อาชญากรรม
คอมพิวเตอร์ จัดทาขึ้นเพื่อเป็นสื่อในการประกอบการเรียนการสอน เพื่อเป็นข้อมูลในการสืบค้นหรือ
ค้นคว้าเพื่อหาความรู้ และสาหรับผู้ที่สนใจใน เรื่อง อาชญากรรมคอมพิวเตอร์
         ผู้จดทาหวังว่า รายงานฉบับนี้จะสามารถเป็นประโยชน์แก่ผู้ที่มีความสนใจทุกท่าน ไม่ว่าจะเป็น ครู
             ั
อาจารย์ นักเรียน นักศึกษา ผู้ที่เกี่ยวข้องกับการงานอาชีพและเทคโนโลยี หรือผู้ที่สนใจอื่นๆก็ตาม ทั้งใน
เรื่องของพื้นฐานทางการงานอาชีพและเทคโนโลยี และเรื่องของอาชญากรรมคอมพิวเตอร์ เพื่อไป
ประยุกต์ใช้ต่อไป
         หากรายงานฉบับนี้เกิดข้อบกพร้องหรือผิดพลาดในฉบับรายงานประการใด ผู้จัดทาต้องข้ออภัยเป็น
อย่างสูงไว้ ณ ที่นี้ด้วย

                                                                                              ผู้จัดทำ
ข
                                           สารบัญ

เรื่อง                                              หน้า
คานา                                                 ก
สารบัญ                                               ข

อาชญากรรมทางคอมพิวเตอร์ (Computer Crime)

อาชญากรรมทางคอมพิวเตอร์                              1

อาชญากรคอมพิวเตอร์                                   2

อาชญากรรมทางคอมพิวเตอร์ประเภทต่างๆ                  3-4

จริยธรรมการใช้คอมพิวเตอร์                            5

แหล่งอ้างอิง                                         6
1

                     อาชญากรรมทางคอมพิวเตอร์ (Computer Crime)
     อาชญากรรมคอมพิวเตอร์ หมายถึง การกระทาผิดทางอาญาในระบบคอมพิวเตอร์ หรือการใช้
คอมพิวเตอร์เพื่อกระทาผิดทางอาญา เช่น ทาลาย เปลี่ยนแปลง หรือขโมยข้อมูลต่าง ๆ เป็นต้น ระบบ
คอมพิวเตอร์ในที่นี้ หมายรวมถึงระบบเครือข่ายคอมพิวเตอร์และอุปกรณ์ที่เชื่อมกับระบบดังกล่าวด้วย
สาหรับอาชญากรรมในระบบเครือข่ายคอมพิวเตอร์ (เช่น อินเทอร์เน็ต) อาจเรียกได้อีกอย่างหนึ่ง คือ

   อาชญากรรมไซเบอร์ (อังกฤษ: Cybercrime) อาชญากรที่ก่ออาชญากรรมประเภทนี้ มักถูกเรียกว่า
แครกเกอร์

อาชญากรรมคอมพิวเตอร์ คือ

    1.การกระทาการใด ๆ เกี่ยวกับการใช้คอมพิวเตอร์ อันทาให้เหยื่อได้รับ

ความเสียหาย และผู้กระทาได้รับผลประโยชน์ตอบแทน

   2.การกระทาผิดกฎหมายใด ๆ ซึ่งใช้เทคโนโลยี คอมพิวเตอร์เป็นเครื่องมือ

และในการสืบสวนสอบสวนของเจ้าหน้าที่เพื่อนาผู้กระทาผิดมาดาเนินคดี

ต้องใช้ความรู้ทางเทคโนโลยีเช่นเดียวกัน

   การประกอบอาชญากรรมทางคอมพิวเตอร์ได้ก่อให้เกิดความเสียหาย ต่อเศรษฐกิจของประเทศจานวน
มหาศาล อาชญากรรมทางคอมพิวเตอร์ จึงจัดเป็นอาชญากรรมทางเศรษฐกิจ หรือ อาชญากรรมทางธุรกิจ
รูปแบบ หนึ่งที่มีความสาคัญ
2

อาชญากรคอมพิวเตอร์

1. พวกเด็กหัดใหม่ (Novice)

2. พวกวิกลจริต (Deranged persons)

3. อาชญากรที่รวมกลุ่มกระทาผิด (Organized crime)

4. อาชญากรอาชีพ (Career)

5. พวกหัวพัฒนา มีความก้าวหน้า(Con artists)

6. พวกคลั่งลัทธิ(Dremer) / พวกช่างคิดช่างฝัน(Ideologues)

7. ผู้ที่มีความรู้และทักษะด้านคอมพิวเตอร์อย่างดี (Hacker/Cracker )




       Hacker หมายถึง บุคคลผู้ที่เป็นอัจฉริยะ มีความรู้ในระบบคอมพิวเตอร์เป็นอย่างดี สามารถเข้าไปถึง
ข้อมูลในคอมพิวเตอร์โดยเจาะผ่านระบบ รักษาความปลอดภัยของ คอมพิวเตอร์ได้ แต่อาจไม่แสวงหา
ผลประโยชน์
       Cracker หมายถึง ผู้ที่มีความรู้และทักษะทางคอมพิวเตอร์เป็นอย่างดี จนสามารถเข้าสู่ระบบได้ เพื่อ
เข้าไปทาลายหรือลบแฟ้มข้อมูล หรือทาให้ เครื่องคอมพิวเตอร์ เสียหายรวมทั้งการทาลายระบบปฏิบัติการ
ของเครื่องคอมพิวเตอร์
3

                            อาชญากรรมทางคอมพิวเตอร์ประเภทต่างๆ

อาชญากรรมทางคอมพิวเตอร์ (Cyber-Crime) เป็นการกระทาที่ผิดกฎหมายโดยใช้วิธีการทาง
อิเล็กทรอนิกส์เพื่อโจมตีระบบคอมพิวเตอร์และข้อมูลที่อยู่บนระบบดังกล่าว ส่วนในมุมมองที่กว้างขึ้น
“อาชญากรรมที่เกี่ยวเนื่องกับคอมพิวเตอร์” หมายถึงการกระทาที่ผิดกฎหมายใดๆ ซึ่งอาศัยหรือมีความ
เกี่ยวเนื่องกับระบบคอมพิวเตอร์หรือเครือข่าย อย่างไรก็ตาม อาชญากรรมประเภทนี้ไม่ถือเป็นอาชญากรรม
ทางคอมพิวเตอร์โดยตรง

ในการประชุมสหประชาชาติครั้งที่ 10 ว่าด้วยการป้องกันอาชญากรรมและการปฏิบัติต่อผู้กระทาผิด (The
Tenth United Nations Congress on the Prevention of Crime and the Treatment of Offenders) ซึ่งจัดขึ้นที่
กรุงเวียนนา เมื่อวันที่ 10-17 เมษายน 2543 ได้มีการจาแนกประเภทของอาชญากรรมทางคอมพิวเตอร์ โดย
แบ่งเป็น 5 ประเภท คือ การเข้าถึงโดยไม่ได้รับอนุญาต, การสร้างความเสียหายแก่ข้อมูลหรือโปรแกรม
คอมพิวเตอร์, การก่อกวนการทางานของระบบคอมพิวเตอร์หรือเครือข่าย, การยับยั้งข้อมูลที่ส่งถึง/จากและ
ภายในระบบหรือเครือข่ายโดยไม่ได้รับอนุญาต และการจารกรรมข้อมูลบนคอมพิวเตอร์

โครงการอาชญากรรมทางคอมพิวเตอร์และการโจรกรรมทรัพย์สินทางปัญญา (Cyber-Crime and
Intellectual Property Theft) พยายามที่จะเก็บรวบรวมและเผยแพร่ข้อมูล และค้นคว้าเกี่ยวกับอาชญากรรม
ทางคอมพิวเตอร์ 6 ประเภท ที่ได้รับความนิยม ซึ่งส่งผลกระทบโดยตรงต่อประชาชนและผู้บริโภค
นอกจากนี้ยังทาหน้าที่เผยแพร่ความรู้เกี่ยวกับขอบเขตและความซับซ้อนของปัญหา รวมถึงนโยบายปัจจุบัน
และความพยายามในการปัญหานี้

อาชญากรรม 6 ประเภทดังกล่าวได้แก่

    1. การเงิน – อาชญากรรมที่ขัดขวางความสามารถขององค์กรธุรกิจในการทาธุรกรรม อี-คอมเมิร์ซ
       (หรือพาณิชย์อิเล็กทรอนิกส์)

            2. การละเมิดลิขสิทธิ์ – การคัดลอกผลงานที่มีลิขสิทธิ์ ในปัจจุบันคอมพิวเตอร์ส่วนบุคคลและ
            อินเทอร์เน็ตถูกใช้เป็นสื่อในการก่ออาชญากรรม แบบเก่า โดยการโจรกรรมทางออนไลน์หมาย
          รวมถึง การละเมิดลิขสิทธิ์ ใดๆ ที่เกี่ยวข้องกับการใช้อินเทอร์เน็ตเพื่อจาหน่ายหรือเผยแพร่ผลงาน
                                                                   สร้างสรรค์ที่ได้รับการคุ้มครองลิขสิทธิ์
4
3. การเจาะระบบ – การให้ได้มาซึ่งสิทธิในการเข้าถึงระบบคอมพิวเตอร์หรือเครือข่ายโดยไม่ได้รับ
   อนุญาต และในบางกรณีอาจหมายถึงการใช้สิทธิการเข้าถึงนี้โดยไม่ได้รับอนุญาต นอกจากนี้การ
   เจาะระบบยังอาจรองรับอาชญากรรมทางคอมพิวเตอร์ในรูปแบบอื่นๆ (เช่น การปลอมแปลง การ
   ก่อการร้าย ฯลฯ)

4. การก่อการร้ายทางคอมพิวเตอร์ – ผลสืบเนื่องจากการเจาะระบบ โดยมีจุดมุ่งหมายเพื่อสร้างความ
   หวาดกลัว เช่นเดียวกับการก่อการร้ายทั่วไป โดยการกระทาที่เข้าข่าย การก่อการร้ายทาง
   อิเล็กทรอนิกส์ (e-terrorism) จะเกี่ยวข้องกับการเจาระบบคอมพิวเตอร์เพื่อก่อเหตุรุนแรงต่อบุคคล
   หรือทรัพย์สิน หรืออย่างน้อยก็มีจุดมุ่งหมายเพื่อสร้างความหวาดกลัว

5. ภาพอนาจารทางออนไลน์ – ตามข้อกาหนด 18 USC 2252 และ 18 USC 2252A การประมวลผล
   หรือการเผยแพร่ภาพอนาจารเด็กถือเป็นการกระทาที่ผิดกฎหมาย และตามข้อกาหนด 47 USC 223
   การเผยแพร่ภาพลามกอนาจารในรูปแบบใดๆ แก่เยาวชนถือเป็นการกระทาที่ขัดต่อกฎหมาย
   อินเทอร์เน็ตเป็นเพียงช่องทางใหม่สาหรับอาชญากรรม แบบเก่า อย่างไรก็ดี ประเด็นเรื่องวิธีที่
   เหมาะสมที่สุดในการควบคุมช่องทางการสื่อสารที่ครอบคลุมทั่วโลกและเข้าถึงทุกกลุ่มอายุนี้ได้
   ก่อให้เกิดการถกเถียงและการโต้แย้งอย่างกว้างขวาง

6. ภายในโรงเรียน – ถึงแม้ว่าอินเทอร์เน็ตจะเป็นแหล่งทรัพยากรสาหรับการศึกษาและสันทนาการ แต่
   เยาวชนจาเป็นต้องได้รับทราบเกี่ยวกับวิธีการใช้งานเครื่องมืออันทรงพลังนี้อย่างปลอดภัยและมี
   ความรับผิดชอบ โดยเป้าหมายหลักของโครงการนี้คือ เพื่อกระตุ้นให้เด็กได้เรียนรู้เกี่ยวกับ
   ข้อกาหนดทางกฎหมาย สิทธิของตนเอง และวิธีที่เหมาะสมในการป้องกันการใช้อินเทอร์เน็ต
   ในทางที่ผิด
5
                           จริยธรรมการใช้คอมพิวเตอร์
        คอมพิวเตอร์เข้ามามีบทบาทต่อการดารงชีวิตประจาวันของมนุษย์มากยิ่งขึ้น เนื่องจาก
คอมพิวเตอร์มีความสามารในการจัดเก็บข้อมูประมวลผลสารสนเทศ และเป็นเครื่องมือ
การสือสารที่รวดเร็ว ส่งผลให้การดาเนินกิจกรรมต่างๆ ทั้งที่บ้าน ที่ทางาน โรงเรียน และ
หน่วยงานธุรกิจมีประสิทธิภาพสูงขึ้น คาดการณ์กันไว้ว่า ใน 2-3 ปีข้างหน้า ความก้าวหน้าด้าน
เทคโนโลยีคอมพิวเตอร์จะมีการพัฒนาในหลากหลายรูปแบบ ไม่ว่าจะเป็นฮาร์ดแวร์ ซอร์ฟแวร์
การสื่อสารและเครือข่ายแบบไร้สาย และครือข่ายเคลื่อนที่ ตลอดจนเทคโนโลยีด้านหุ่นยนต์
      มนุษย์ได้คิดค้นและพัฒนาเทคโนโลยีอย่างต่อเนื่อง ทั้งนี้เพื่อจะได้นาอุปกรณ์ทาง
เทคโนโลยีเหล่านั้นมาช่วยอานวนความสะดวก ลดขั้นตอนการทางาน ช่วยเพิ่มคุณภาพชีวิต หรือ
แม้แต่การช่วยชีวิตมนุษย์ เช่น การใช้หุ่นยนต์ในการเก็บกู้ระเบิด และผ่าตัดรักษาโรค

      ถึงแม้ว่าเทคโนโลยีคอมพิวเตอร์จะมีประโยชน์มากเพียงไรก็ตาม หากพิจารณาอีกด้านหนึ่ง
แล้ว คอมพิวเตอร์ก็จอาจจะเป็นภัยได้เช่นกัน หากผู้ใช้ไม่ระมัดระวังหรือนาไปใช้ในทางที่ไม่
ถูกต้อง ดังนั้น ในการใช้งานคอมพิวเตอร์ร่วมกันในสังคม ในแต่ละประเทศจึงได้มีารกาหนด
ระเบียบ กฎเกณฑ์ รวมถึงกฎหมายที่ใช้เป็นแนวทางในการปฏิบัติเพื่อให้เกิดคุณธรรมและ
จริยธรรมในการใช้เทคโนโลยีสารสนเทศ




                                                                                              6
แหล่งอ้างอิง
         http://www.gotoknow.org/posts/372559

http://www.microsoft.com/thailand/piracy/cybercrime.aspx
อาชญากรรมคอมพิวเตอร์  33

Contenu connexe

En vedette

臺中市潭子國小簡介
臺中市潭子國小簡介臺中市潭子國小簡介
臺中市潭子國小簡介世銘 陳
 
Situación desafiante de la ética en guatemala
Situación desafiante de la ética en guatemalaSituación desafiante de la ética en guatemala
Situación desafiante de la ética en guatemalaRafa Tó
 
Willamette river
Willamette riverWillamette river
Willamette riverSuKaOt
 
Metodologi Desain - PSX ( Kelompok 2)
Metodologi Desain - PSX ( Kelompok 2)Metodologi Desain - PSX ( Kelompok 2)
Metodologi Desain - PSX ( Kelompok 2)Burhanudin Abu Sujak
 
Metodologi Desain - The Deep Dive (Kelompok 2)
Metodologi Desain - The Deep Dive (Kelompok 2)Metodologi Desain - The Deep Dive (Kelompok 2)
Metodologi Desain - The Deep Dive (Kelompok 2)Burhanudin Abu Sujak
 
4. ch 6 financial statement analysis
4. ch 6 financial statement analysis4. ch 6 financial statement analysis
4. ch 6 financial statement analysisirfan_1
 
The life of a sea turtle
The life of a sea turtleThe life of a sea turtle
The life of a sea turtleantmes123
 
1. introduction to corporate finance
1. introduction to corporate finance1. introduction to corporate finance
1. introduction to corporate financeirfan_1
 

En vedette (9)

臺中市潭子國小簡介
臺中市潭子國小簡介臺中市潭子國小簡介
臺中市潭子國小簡介
 
Situación desafiante de la ética en guatemala
Situación desafiante de la ética en guatemalaSituación desafiante de la ética en guatemala
Situación desafiante de la ética en guatemala
 
Willamette river
Willamette riverWillamette river
Willamette river
 
Metodologi Desain - PSX ( Kelompok 2)
Metodologi Desain - PSX ( Kelompok 2)Metodologi Desain - PSX ( Kelompok 2)
Metodologi Desain - PSX ( Kelompok 2)
 
Metodologi Desain - The Deep Dive (Kelompok 2)
Metodologi Desain - The Deep Dive (Kelompok 2)Metodologi Desain - The Deep Dive (Kelompok 2)
Metodologi Desain - The Deep Dive (Kelompok 2)
 
4. ch 6 financial statement analysis
4. ch 6 financial statement analysis4. ch 6 financial statement analysis
4. ch 6 financial statement analysis
 
Democrito
DemocritoDemocrito
Democrito
 
The life of a sea turtle
The life of a sea turtleThe life of a sea turtle
The life of a sea turtle
 
1. introduction to corporate finance
1. introduction to corporate finance1. introduction to corporate finance
1. introduction to corporate finance
 

อาชญากรรมคอมพิวเตอร์ 33

  • 1. รายงาน เรื่อง อาชญากรรมคอมพิวเตอร์ เสนอ นาง จุฑารัตน์ ใจบุญ จัดทาโดย นางสาว สุพัตรา บัวอ่อน ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 6/2 เลขที่ 15 รายงานเล่มนี้เป็นส่วนหนึ่งของวิชา การงานอาชีพและเทคโนโลยี โรงเรียนรัษฎานุประดิษฐ์อนุสรณ์ อาเภอ สิเกา จังหวัดตรัง ภาคเรียนที่ 2 ปีการศึกษา 2555
  • 2. คานา รายงานฉบับนี้เป็นส่วนหนึ่งของวิชา การงานอาชีพและเทคโนโลยี ง. 33102 เรื่อง อาชญากรรม คอมพิวเตอร์ จัดทาขึ้นเพื่อเป็นสื่อในการประกอบการเรียนการสอน เพื่อเป็นข้อมูลในการสืบค้นหรือ ค้นคว้าเพื่อหาความรู้ และสาหรับผู้ที่สนใจใน เรื่อง อาชญากรรมคอมพิวเตอร์ ผู้จดทาหวังว่า รายงานฉบับนี้จะสามารถเป็นประโยชน์แก่ผู้ที่มีความสนใจทุกท่าน ไม่ว่าจะเป็น ครู ั อาจารย์ นักเรียน นักศึกษา ผู้ที่เกี่ยวข้องกับการงานอาชีพและเทคโนโลยี หรือผู้ที่สนใจอื่นๆก็ตาม ทั้งใน เรื่องของพื้นฐานทางการงานอาชีพและเทคโนโลยี และเรื่องของอาชญากรรมคอมพิวเตอร์ เพื่อไป ประยุกต์ใช้ต่อไป หากรายงานฉบับนี้เกิดข้อบกพร้องหรือผิดพลาดในฉบับรายงานประการใด ผู้จัดทาต้องข้ออภัยเป็น อย่างสูงไว้ ณ ที่นี้ด้วย ผู้จัดทำ
  • 3. สารบัญ เรื่อง หน้า คานา ก สารบัญ ข อาชญากรรมทางคอมพิวเตอร์ (Computer Crime) อาชญากรรมทางคอมพิวเตอร์ 1 อาชญากรคอมพิวเตอร์ 2 อาชญากรรมทางคอมพิวเตอร์ประเภทต่างๆ 3-4 จริยธรรมการใช้คอมพิวเตอร์ 5 แหล่งอ้างอิง 6
  • 4. 1 อาชญากรรมทางคอมพิวเตอร์ (Computer Crime) อาชญากรรมคอมพิวเตอร์ หมายถึง การกระทาผิดทางอาญาในระบบคอมพิวเตอร์ หรือการใช้ คอมพิวเตอร์เพื่อกระทาผิดทางอาญา เช่น ทาลาย เปลี่ยนแปลง หรือขโมยข้อมูลต่าง ๆ เป็นต้น ระบบ คอมพิวเตอร์ในที่นี้ หมายรวมถึงระบบเครือข่ายคอมพิวเตอร์และอุปกรณ์ที่เชื่อมกับระบบดังกล่าวด้วย สาหรับอาชญากรรมในระบบเครือข่ายคอมพิวเตอร์ (เช่น อินเทอร์เน็ต) อาจเรียกได้อีกอย่างหนึ่ง คือ อาชญากรรมไซเบอร์ (อังกฤษ: Cybercrime) อาชญากรที่ก่ออาชญากรรมประเภทนี้ มักถูกเรียกว่า แครกเกอร์ อาชญากรรมคอมพิวเตอร์ คือ 1.การกระทาการใด ๆ เกี่ยวกับการใช้คอมพิวเตอร์ อันทาให้เหยื่อได้รับ ความเสียหาย และผู้กระทาได้รับผลประโยชน์ตอบแทน 2.การกระทาผิดกฎหมายใด ๆ ซึ่งใช้เทคโนโลยี คอมพิวเตอร์เป็นเครื่องมือ และในการสืบสวนสอบสวนของเจ้าหน้าที่เพื่อนาผู้กระทาผิดมาดาเนินคดี ต้องใช้ความรู้ทางเทคโนโลยีเช่นเดียวกัน การประกอบอาชญากรรมทางคอมพิวเตอร์ได้ก่อให้เกิดความเสียหาย ต่อเศรษฐกิจของประเทศจานวน มหาศาล อาชญากรรมทางคอมพิวเตอร์ จึงจัดเป็นอาชญากรรมทางเศรษฐกิจ หรือ อาชญากรรมทางธุรกิจ รูปแบบ หนึ่งที่มีความสาคัญ
  • 5. 2 อาชญากรคอมพิวเตอร์ 1. พวกเด็กหัดใหม่ (Novice) 2. พวกวิกลจริต (Deranged persons) 3. อาชญากรที่รวมกลุ่มกระทาผิด (Organized crime) 4. อาชญากรอาชีพ (Career) 5. พวกหัวพัฒนา มีความก้าวหน้า(Con artists) 6. พวกคลั่งลัทธิ(Dremer) / พวกช่างคิดช่างฝัน(Ideologues) 7. ผู้ที่มีความรู้และทักษะด้านคอมพิวเตอร์อย่างดี (Hacker/Cracker ) Hacker หมายถึง บุคคลผู้ที่เป็นอัจฉริยะ มีความรู้ในระบบคอมพิวเตอร์เป็นอย่างดี สามารถเข้าไปถึง ข้อมูลในคอมพิวเตอร์โดยเจาะผ่านระบบ รักษาความปลอดภัยของ คอมพิวเตอร์ได้ แต่อาจไม่แสวงหา ผลประโยชน์ Cracker หมายถึง ผู้ที่มีความรู้และทักษะทางคอมพิวเตอร์เป็นอย่างดี จนสามารถเข้าสู่ระบบได้ เพื่อ เข้าไปทาลายหรือลบแฟ้มข้อมูล หรือทาให้ เครื่องคอมพิวเตอร์ เสียหายรวมทั้งการทาลายระบบปฏิบัติการ ของเครื่องคอมพิวเตอร์
  • 6. 3 อาชญากรรมทางคอมพิวเตอร์ประเภทต่างๆ อาชญากรรมทางคอมพิวเตอร์ (Cyber-Crime) เป็นการกระทาที่ผิดกฎหมายโดยใช้วิธีการทาง อิเล็กทรอนิกส์เพื่อโจมตีระบบคอมพิวเตอร์และข้อมูลที่อยู่บนระบบดังกล่าว ส่วนในมุมมองที่กว้างขึ้น “อาชญากรรมที่เกี่ยวเนื่องกับคอมพิวเตอร์” หมายถึงการกระทาที่ผิดกฎหมายใดๆ ซึ่งอาศัยหรือมีความ เกี่ยวเนื่องกับระบบคอมพิวเตอร์หรือเครือข่าย อย่างไรก็ตาม อาชญากรรมประเภทนี้ไม่ถือเป็นอาชญากรรม ทางคอมพิวเตอร์โดยตรง ในการประชุมสหประชาชาติครั้งที่ 10 ว่าด้วยการป้องกันอาชญากรรมและการปฏิบัติต่อผู้กระทาผิด (The Tenth United Nations Congress on the Prevention of Crime and the Treatment of Offenders) ซึ่งจัดขึ้นที่ กรุงเวียนนา เมื่อวันที่ 10-17 เมษายน 2543 ได้มีการจาแนกประเภทของอาชญากรรมทางคอมพิวเตอร์ โดย แบ่งเป็น 5 ประเภท คือ การเข้าถึงโดยไม่ได้รับอนุญาต, การสร้างความเสียหายแก่ข้อมูลหรือโปรแกรม คอมพิวเตอร์, การก่อกวนการทางานของระบบคอมพิวเตอร์หรือเครือข่าย, การยับยั้งข้อมูลที่ส่งถึง/จากและ ภายในระบบหรือเครือข่ายโดยไม่ได้รับอนุญาต และการจารกรรมข้อมูลบนคอมพิวเตอร์ โครงการอาชญากรรมทางคอมพิวเตอร์และการโจรกรรมทรัพย์สินทางปัญญา (Cyber-Crime and Intellectual Property Theft) พยายามที่จะเก็บรวบรวมและเผยแพร่ข้อมูล และค้นคว้าเกี่ยวกับอาชญากรรม ทางคอมพิวเตอร์ 6 ประเภท ที่ได้รับความนิยม ซึ่งส่งผลกระทบโดยตรงต่อประชาชนและผู้บริโภค นอกจากนี้ยังทาหน้าที่เผยแพร่ความรู้เกี่ยวกับขอบเขตและความซับซ้อนของปัญหา รวมถึงนโยบายปัจจุบัน และความพยายามในการปัญหานี้ อาชญากรรม 6 ประเภทดังกล่าวได้แก่ 1. การเงิน – อาชญากรรมที่ขัดขวางความสามารถขององค์กรธุรกิจในการทาธุรกรรม อี-คอมเมิร์ซ (หรือพาณิชย์อิเล็กทรอนิกส์) 2. การละเมิดลิขสิทธิ์ – การคัดลอกผลงานที่มีลิขสิทธิ์ ในปัจจุบันคอมพิวเตอร์ส่วนบุคคลและ อินเทอร์เน็ตถูกใช้เป็นสื่อในการก่ออาชญากรรม แบบเก่า โดยการโจรกรรมทางออนไลน์หมาย รวมถึง การละเมิดลิขสิทธิ์ ใดๆ ที่เกี่ยวข้องกับการใช้อินเทอร์เน็ตเพื่อจาหน่ายหรือเผยแพร่ผลงาน สร้างสรรค์ที่ได้รับการคุ้มครองลิขสิทธิ์
  • 7. 4 3. การเจาะระบบ – การให้ได้มาซึ่งสิทธิในการเข้าถึงระบบคอมพิวเตอร์หรือเครือข่ายโดยไม่ได้รับ อนุญาต และในบางกรณีอาจหมายถึงการใช้สิทธิการเข้าถึงนี้โดยไม่ได้รับอนุญาต นอกจากนี้การ เจาะระบบยังอาจรองรับอาชญากรรมทางคอมพิวเตอร์ในรูปแบบอื่นๆ (เช่น การปลอมแปลง การ ก่อการร้าย ฯลฯ) 4. การก่อการร้ายทางคอมพิวเตอร์ – ผลสืบเนื่องจากการเจาะระบบ โดยมีจุดมุ่งหมายเพื่อสร้างความ หวาดกลัว เช่นเดียวกับการก่อการร้ายทั่วไป โดยการกระทาที่เข้าข่าย การก่อการร้ายทาง อิเล็กทรอนิกส์ (e-terrorism) จะเกี่ยวข้องกับการเจาระบบคอมพิวเตอร์เพื่อก่อเหตุรุนแรงต่อบุคคล หรือทรัพย์สิน หรืออย่างน้อยก็มีจุดมุ่งหมายเพื่อสร้างความหวาดกลัว 5. ภาพอนาจารทางออนไลน์ – ตามข้อกาหนด 18 USC 2252 และ 18 USC 2252A การประมวลผล หรือการเผยแพร่ภาพอนาจารเด็กถือเป็นการกระทาที่ผิดกฎหมาย และตามข้อกาหนด 47 USC 223 การเผยแพร่ภาพลามกอนาจารในรูปแบบใดๆ แก่เยาวชนถือเป็นการกระทาที่ขัดต่อกฎหมาย อินเทอร์เน็ตเป็นเพียงช่องทางใหม่สาหรับอาชญากรรม แบบเก่า อย่างไรก็ดี ประเด็นเรื่องวิธีที่ เหมาะสมที่สุดในการควบคุมช่องทางการสื่อสารที่ครอบคลุมทั่วโลกและเข้าถึงทุกกลุ่มอายุนี้ได้ ก่อให้เกิดการถกเถียงและการโต้แย้งอย่างกว้างขวาง 6. ภายในโรงเรียน – ถึงแม้ว่าอินเทอร์เน็ตจะเป็นแหล่งทรัพยากรสาหรับการศึกษาและสันทนาการ แต่ เยาวชนจาเป็นต้องได้รับทราบเกี่ยวกับวิธีการใช้งานเครื่องมืออันทรงพลังนี้อย่างปลอดภัยและมี ความรับผิดชอบ โดยเป้าหมายหลักของโครงการนี้คือ เพื่อกระตุ้นให้เด็กได้เรียนรู้เกี่ยวกับ ข้อกาหนดทางกฎหมาย สิทธิของตนเอง และวิธีที่เหมาะสมในการป้องกันการใช้อินเทอร์เน็ต ในทางที่ผิด
  • 8. 5 จริยธรรมการใช้คอมพิวเตอร์ คอมพิวเตอร์เข้ามามีบทบาทต่อการดารงชีวิตประจาวันของมนุษย์มากยิ่งขึ้น เนื่องจาก คอมพิวเตอร์มีความสามารในการจัดเก็บข้อมูประมวลผลสารสนเทศ และเป็นเครื่องมือ การสือสารที่รวดเร็ว ส่งผลให้การดาเนินกิจกรรมต่างๆ ทั้งที่บ้าน ที่ทางาน โรงเรียน และ หน่วยงานธุรกิจมีประสิทธิภาพสูงขึ้น คาดการณ์กันไว้ว่า ใน 2-3 ปีข้างหน้า ความก้าวหน้าด้าน เทคโนโลยีคอมพิวเตอร์จะมีการพัฒนาในหลากหลายรูปแบบ ไม่ว่าจะเป็นฮาร์ดแวร์ ซอร์ฟแวร์ การสื่อสารและเครือข่ายแบบไร้สาย และครือข่ายเคลื่อนที่ ตลอดจนเทคโนโลยีด้านหุ่นยนต์ มนุษย์ได้คิดค้นและพัฒนาเทคโนโลยีอย่างต่อเนื่อง ทั้งนี้เพื่อจะได้นาอุปกรณ์ทาง เทคโนโลยีเหล่านั้นมาช่วยอานวนความสะดวก ลดขั้นตอนการทางาน ช่วยเพิ่มคุณภาพชีวิต หรือ แม้แต่การช่วยชีวิตมนุษย์ เช่น การใช้หุ่นยนต์ในการเก็บกู้ระเบิด และผ่าตัดรักษาโรค ถึงแม้ว่าเทคโนโลยีคอมพิวเตอร์จะมีประโยชน์มากเพียงไรก็ตาม หากพิจารณาอีกด้านหนึ่ง แล้ว คอมพิวเตอร์ก็จอาจจะเป็นภัยได้เช่นกัน หากผู้ใช้ไม่ระมัดระวังหรือนาไปใช้ในทางที่ไม่ ถูกต้อง ดังนั้น ในการใช้งานคอมพิวเตอร์ร่วมกันในสังคม ในแต่ละประเทศจึงได้มีารกาหนด ระเบียบ กฎเกณฑ์ รวมถึงกฎหมายที่ใช้เป็นแนวทางในการปฏิบัติเพื่อให้เกิดคุณธรรมและ จริยธรรมในการใช้เทคโนโลยีสารสนเทศ 6
  • 9. แหล่งอ้างอิง http://www.gotoknow.org/posts/372559 http://www.microsoft.com/thailand/piracy/cybercrime.aspx