SlideShare une entreprise Scribd logo
1  sur  17
ภารกิจการเรียนรู้ที่  4 วิเคราะห์สังเคราะห์เพื่อหาคำจำกัดความและความหมาย 237311  BASIC PRINCIPLES FOR EDUCATIONAL SOFTWARE DEVELOPMENT เสนอ  ดร . จารุณี ซามาตย์ โดย นางสาวชลดา  ตะกะศิลา 523050232-7 นายธัญวิทย์  สาครวงค์ 523050236-9 สาขาคอมพิวเตอร์ศึกษา คณะศึกษาศาสตร์ มหาวิทยาลัยขอนแก่น
1. SDLC  คืออะไร พร้อมยกตัวอย่างที่สามารถอธิบายให้เข้าใจได้ SDLC : Systems Development Life Cycle  หรือ วงจรพัฒนาระบบ คือ ขั้นตอน ที่เป็นลำดับตั้งแต่ต้นจนเสร็จเรียบร้อย เป็นระบบที่ใช้งานได้ ซึ่งนักวิเคราะห์ระบบต้องทำความเข้าใจให้ดีว่าในแต่ละขั้นตอนจะต้องทำอะไรและทำอย่างไร  ขั้นตอนการพัฒนาระบบ  7   ขั้นตอน คือ 1.  เข้าใจปัญหา  (  Problem Recognition)  2.  ศึกษาความเป็นไปได้  (  Feasibility Study)  3.  วิเคราะห์  (  Analysis)  4.  ออกแบบ  (  Design)  5.  สร้างหรือพัฒนาระบบ  ( Construction)  6.  การปรับเปลี่ยน  (  Conversion)  7.  บำรุงรักษา  ( Maintenance)
2.  เครื่องมือที่ใช้ในการพัฒนาระบบ  (Tools)   คืออะไร พร้อมยกตัวอย่าง   และภาพประกอบมาให้มากที่สุด เครื่องมือในการพัฒนาระบบ  (  Tools )  คือ ซอฟต์แวร์ที่ช่วยสร้างหรือวาดแบบจำลองชนิดต่าง ๆ ตรวจสอบความถูกต้องของแบบจำลอง ช่วยสร้างรายงานและแบบฟอร์ม รวมทั้งช่วยสร้างโค้ดโปรแกรมให้อัตโนมัติ ตัวอย่างเครื่องมือ - Project Management Application - Drawing/Graphics Application - Word Processor/Text Editor - Computer-Aided System Engineering (CASE) Tools - Integrated Development Environment (IDE) - Database Development Application - Reverse-Engineering Tool - Code Generator Tool
Word Processor/Text Editor Notepad OpenOffice.org Writer Word Perfect Office Microsoft Word Database Development Application Microsoft Access Coral Paradox Lotus Approach
Database Development Application Microsoft Access Coral Paradox Lotus Approach Drawing/Graphics Application Adobe Illustrator Adobe Photoshop Microsoft Photo Editor
 
3.  แบบจำลองที่ใช้ในการพัฒนาระบบ  (Model)  คืออะไร พร้อมยกตัวอย่าง   และภาพประกอบมาให้มากที่สุด แบบจำลอง  (  Model)  คือ สัญลักษณ์ที่ใช้ในการจำลองข้อเท็จจริงต่าง ๆ ที่เกิดขึ้นในระบบ ไม่ว่าจะเป็นแบบจำลองข้อมูล (  Data Model)  หรือขั้นตอนการทำงานของระบบ  (  Process Model) ตัวอย่างแบบจำลอง  -  Flow Chart - Data Flow Diagram (DFD) - Entity Relationship Diagram (ERD) - Structure Chart - Use Case Diagram - Class Diagram - Sequence Diagram - PERT Chart - Gantt Chart - Organization Hierarchy Chart - Financial Analysis Model – NPV, ROI
Flow Chart Entity Relationship Diagram (ERD) Use Case Diagram ตัวอย่างแบบจำลอง
Sequence Diagram Gantt Chart Data Flow Diagram (DFD) ตัวอย่างแบบจำลอง  Structure Chart
Class Diagram ตัวอย่างแบบจำลอง  Organization Hierarchy Chart PERT Chart
4.  สร้างตารางเปรียบเทียบข้อดี ข้อเสียของ  SSADM ,  RAD  และ  OOD&D ข้อดี ข้อเสีย SSADM SSADM  ใ นรูปแบบของ  SDLC Waterfall Model  คือ สามารถรวบรวมความต้องการจากผู้ที่ใช้ได้เป็นระยะทางเวลานานก่อนที่จะเริ่มเขียนโปรแกรม และการเปลี่ยนแปลงความต้องการมีน้อย เนื่องจากที่จะถึงขั้นตอนการเขียนโปรแกรมข้อมูลต่างๆ ที่วิเคราะห์มานั้นจะต้องได้รับการอนุมัติเห็นชอบจากเจ้าของระบบก่อน จึงจะสามารถเข้าสู่ขั้นตอนการเขียนโปรแกรมได้หมายความว่าข้อมูลทุกอย่างที่วิเคราะห์และออกแบบมานั้นจะต้องตรงตามความต้องการของผู้ใช้และเจ้าของระบบมากที่สุดนั้นเอง ใช้เวลาในขั้นตอนการวิเคราะห์และออกแบบ และการออกแบบระบบ และการออกแบบต่าง ๆ นานมาก จะร่างบนกระดาษ ซึ่งผู้ใช้หรือเจ้าของระบบไม่สามารถทดลองใช้งานได้ จึงอาจจะทำให้ไม่ทราบถึงปัญหา ส่งผลให้เกิดปัญหาในระหว่างขั้นตอนการเขียนโปรแกรมได้
ข้อดี ข้อเสีย RAD : Phased Development-based Methodology ผู้ใช้สามารถใช้ระบบได้เร็วกว่า  SSADM  ถึงแม้ว่าระบบ  Version 1  นั้นยังไม่สามารถครอบคลุมหน้าที่ทุกส่วนก็ตาม   ผู้ใช้จะได้ใช้ระบบ  Version 1  ที่ไม่สามารถทำงานได้ครอบคลุมทุกหน้าที่หรือทุกความต้องการได้ เนื่องจากระบบ  Version 1  นั้นสามารถทำงานได้ตามหน้าที่หรือความต้องการที่จำเป็นและสำคัญที่สุดก่อน และต้องใช้เวลาในการรอระบบ  Version 2  เพื่อเพิ่มเติมความสามารถในการทำงานของระบบ Prototyping-based Methodology ใช้เวลาน้อยในการพัฒนาเพื่อให้เป็นระบบที่สามารถใช้งานได้เนื่องจากขั้นตอนการวิเคราะห์ ออกแบบ และพัฒนาสามารถดำเนินการไปพร้อมกันได้ด้วยการสร้างต้นแบบของระบบ ( System Prototype)  โดยผู้ใช้สามารถทดลองใช้ต้นแบบของระบบก่อนการติดตั้ง ทำให้สามารถระบุข้อผิดพลาดและความต้องการที่แท้จริงได้เร็วขึ้น เนื่องจากเป็นวิธีที่มีการสร้างต้นแบบของระบบทีละส่วนด้วยความรวดเร็ว ในขณะที่มีการเก็บรวบรวมวิเคราะห์และออกแบบไปพร้อม ๆกัน ทำให้ขาดความรอบคอบในการตระหนักถึงปัญหาที่ตามมาเมื่อติดตั้งและใช้งานระบบทั้งหมดทุกส่วน เช่น ความยากต่อการใช้งานและการเรียนรู้ เป็นต้น จึงอาจทำให้ถูกมองว่า การออกแบบระบบนั้นไม่ดีพอ 
ข้อดี ข้อเสีย Throw -Away Prototyping-based Methodology ช่วยให้นักวิเคราะห์ระบบมั่นใจได้ว่า ระบบที่ออกมานั้นตรงตามความต้องการของผู้ใช้ ซึ่งทำให้สามารถลดความเสี่ยง ในการเกิดความผิดพลาดของระบบ ด้วยการสร้างความเข้าใจให้กับผู้ใช้ก่อนการสร้างระบบจริง   ใช้ระยะเวลาในการสร้างระบบจริงนานกว่าแบบ  Prototyping-based Methodology  เนื่องจากไม่ใช้ตัวต้นแบบนั้นมาเป็นระบบจริง อย่างไรก็ตามวิธีการนี้จะมี ความถูกต้องและมีความน่าเชื่อถือมากกว่า OOD&D ,[object Object],ไม่  Self contained  คือ การอ้างอิงถึง  Object  ใดๆเดี่ยวๆไม่ได้ เราต้องรู้จัก  Super class  ทุกตัวด้วย ไม่เช่นนั้นคุณสมบัติจะมาไม่หมด  
5. UML  คืออะไร และ  CASE TOOL  คืออะไร UML  คือ โมเดลมาตรฐานที่ใช้หลักการออกแบบ  OOP(Object oriented programming)   ได้แก่  Use Case Diagram, Class Diagram, Sequence Diagram  และ  Activity Diagram มีผู้ผลิต  Software  หลายค่ายได้ทำการสร้างเครื่องมือสำหรับการทำงานกับ  UML  โดยเฉพาะ อาทิ  Rational Rose, Borland Together , Visual UML CASE TOOL  คือ ซอฟแวร์ที่จะอำนวยความสะดวกในการพัฒนาซอฟแวร์ (Computer-Aided Systems Engineering - CASE)   เป็นเทคนิควิธีที่ใช้ในโปรแกรมที่มีความสามารถสูงเป็นเครื่องมือ  เรียกย่อๆ  ว่า  เคสทูล  (CASE  TOOLS) โดยอาศัยหลักการของ  CASE  นั่นเอง   เพื่อช่วยนักวิเคราะห์ระบบพัฒนาระบบและบำรุงรักษาระบบสารสนเทศ  โดยมองเห็นกรอบของการพัฒนาระบบทั้งหมด แบ่งออกเป็น  2  แบบ  คือ 1. อัพเปอร์  (Upper)  โดยอัพเปอร์เคสทูลจะใช้ในการสร้างแบบจำลองการประมวลผลและการออกแบบระบบสารสนเทศในเชิงตรรกะ  2. โลเวอร์  (Lower)  โดยโลเวอร์เคสทูลจะช่วยให้กระบวนการพัฒนาเร็วยิ่งขึ้นโดยการทำรหัสต้นฉบับ  (Source  code)  จากแบบจำลองตรรกะให้ UML CASE TOOL
6.  ยกตัวอย่างโปรแกรมที่ใช้เป็นเครื่องมือของ  Upper-CASE  และ  Lower-CASE คือเครื่องมือที่ช่วยสนับสนุนการทำงานในขั้นตอนต้น ๆ ของการพัฒนาระบบ ได้แก่  - ขั้นตอนการวางแผน  - ขั้นตอนการวิเคราะห์  - ขั้นตอนการออกแบบระบบ ตัวอย่างโปรแกรมที่ใช้ - visible analysis - Rational Rose visible analysis Rational Rose Upper-CASE
6.  ยกตัวอย่างโปรแกรมที่ใช้เป็นเครื่องมือของ  Upper-CASE  และ  Lower-CASE คือเครื่องมือที่ช่วยสนับสนุนการทำงานในขั้นตอนสุดท้ายในการพัฒนาระบบ ได้แก่  - ขั้นตอนการออกแบบ  - ขั้นตอนการพัฒนาและทดสอบระบบ - ขั้นตอนการให้บริการหลังการติดตั้งระบบ  ตัวอย่างโปรแกรม -   Visual Studio -  Diagram Visual Studio Diagram Lower-CASE
7. จากที่ศึกษา  CASE  มาท่านจะเลือกใช้  Tool  โปรแกรมใดที่จะช่วยพัฒนาระบบ เพราะเหตุใด  สาเหตุที่เลือก  Documentation tool  เพราะ ช่วยในการจัดทำเอกสารของ  Project  ช่วยเพิ่มประสิทธิภาพในการจัดการเอกสารและออกแบบการจัดการเอกสารได้อย่างไร้ขีดจำกัด การกำหนดสิทธิการใช้งานของพนักงาน และการกำหนด  Document Life Cycle Documentation tools      

Contenu connexe

Tendances (18)

การพัฒนาซอฟแวร์
การพัฒนาซอฟแวร์การพัฒนาซอฟแวร์
การพัฒนาซอฟแวร์
 
Presentation1
Presentation1Presentation1
Presentation1
 
การพัฒนา Software
การพัฒนา Softwareการพัฒนา Software
การพัฒนา Software
 
ภารกิจที่ 4
ภารกิจที่ 4ภารกิจที่ 4
ภารกิจที่ 4
 
วงจรการพัฒนาโปรแกรม
วงจรการพัฒนาโปรแกรมวงจรการพัฒนาโปรแกรม
วงจรการพัฒนาโปรแกรม
 
System development life cycle sdlc
System development life cycle  sdlcSystem development life cycle  sdlc
System development life cycle sdlc
 
การพัฒนา Software
การพัฒนา Softwareการพัฒนา Software
การพัฒนา Software
 
วงจรการพัฒนาโปรแกรม
วงจรการพัฒนาโปรแกรมวงจรการพัฒนาโปรแกรม
วงจรการพัฒนาโปรแกรม
 
UML
UMLUML
UML
 
Software
SoftwareSoftware
Software
 
Software
SoftwareSoftware
Software
 
Agile Process
Agile ProcessAgile Process
Agile Process
 
The system-analysis-and-design
The system-analysis-and-designThe system-analysis-and-design
The system-analysis-and-design
 
Activity 4
Activity 4Activity 4
Activity 4
 
Activity4
Activity4Activity4
Activity4
 
การพัฒนาซอฟแวร์
การพัฒนาซอฟแวร์การพัฒนาซอฟแวร์
การพัฒนาซอฟแวร์
 
Lesson 4 (misson)2
Lesson 4 (misson)2Lesson 4 (misson)2
Lesson 4 (misson)2
 
Lesson 4 (misson)
Lesson 4 (misson)Lesson 4 (misson)
Lesson 4 (misson)
 

Similaire à Act (17)

การพัฒนาซอฟแวร์
การพัฒนาซอฟแวร์การพัฒนาซอฟแวร์
การพัฒนาซอฟแวร์
 
Sdlc
SdlcSdlc
Sdlc
 
work
workwork
work
 
Lesson 4 (misson)2
Lesson 4 (misson)2Lesson 4 (misson)2
Lesson 4 (misson)2
 
Activity4
Activity4Activity4
Activity4
 
Activity4_naka
Activity4_nakaActivity4_naka
Activity4_naka
 
Activity4
Activity4Activity4
Activity4
 
Soft were
Soft wereSoft were
Soft were
 
Presentation1
Presentation1Presentation1
Presentation1
 
Activitiy-4
Activitiy-4Activitiy-4
Activitiy-4
 
Activity 4
Activity 4Activity 4
Activity 4
 
Activity 4
Activity 4Activity 4
Activity 4
 
com
comcom
com
 
Software
SoftwareSoftware
Software
 
การพัฒนาซอฟแวร์
การพัฒนาซอฟแวร์การพัฒนาซอฟแวร์
การพัฒนาซอฟแวร์
 
Sdlc
SdlcSdlc
Sdlc
 
ระบบสารสนเทศ
ระบบสารสนเทศระบบสารสนเทศ
ระบบสารสนเทศ
 

Act

  • 1. ภารกิจการเรียนรู้ที่ 4 วิเคราะห์สังเคราะห์เพื่อหาคำจำกัดความและความหมาย 237311 BASIC PRINCIPLES FOR EDUCATIONAL SOFTWARE DEVELOPMENT เสนอ ดร . จารุณี ซามาตย์ โดย นางสาวชลดา ตะกะศิลา 523050232-7 นายธัญวิทย์ สาครวงค์ 523050236-9 สาขาคอมพิวเตอร์ศึกษา คณะศึกษาศาสตร์ มหาวิทยาลัยขอนแก่น
  • 2. 1. SDLC คืออะไร พร้อมยกตัวอย่างที่สามารถอธิบายให้เข้าใจได้ SDLC : Systems Development Life Cycle  หรือ วงจรพัฒนาระบบ คือ ขั้นตอน ที่เป็นลำดับตั้งแต่ต้นจนเสร็จเรียบร้อย เป็นระบบที่ใช้งานได้ ซึ่งนักวิเคราะห์ระบบต้องทำความเข้าใจให้ดีว่าในแต่ละขั้นตอนจะต้องทำอะไรและทำอย่างไร ขั้นตอนการพัฒนาระบบ 7 ขั้นตอน คือ 1. เข้าใจปัญหา ( Problem Recognition)  2. ศึกษาความเป็นไปได้ ( Feasibility Study)  3. วิเคราะห์ ( Analysis)  4. ออกแบบ ( Design)  5. สร้างหรือพัฒนาระบบ ( Construction)  6. การปรับเปลี่ยน ( Conversion)  7. บำรุงรักษา ( Maintenance)
  • 3. 2. เครื่องมือที่ใช้ในการพัฒนาระบบ (Tools) คืออะไร พร้อมยกตัวอย่าง และภาพประกอบมาให้มากที่สุด เครื่องมือในการพัฒนาระบบ ( Tools )  คือ ซอฟต์แวร์ที่ช่วยสร้างหรือวาดแบบจำลองชนิดต่าง ๆ ตรวจสอบความถูกต้องของแบบจำลอง ช่วยสร้างรายงานและแบบฟอร์ม รวมทั้งช่วยสร้างโค้ดโปรแกรมให้อัตโนมัติ ตัวอย่างเครื่องมือ - Project Management Application - Drawing/Graphics Application - Word Processor/Text Editor - Computer-Aided System Engineering (CASE) Tools - Integrated Development Environment (IDE) - Database Development Application - Reverse-Engineering Tool - Code Generator Tool
  • 4. Word Processor/Text Editor Notepad OpenOffice.org Writer Word Perfect Office Microsoft Word Database Development Application Microsoft Access Coral Paradox Lotus Approach
  • 5. Database Development Application Microsoft Access Coral Paradox Lotus Approach Drawing/Graphics Application Adobe Illustrator Adobe Photoshop Microsoft Photo Editor
  • 6.  
  • 7. 3. แบบจำลองที่ใช้ในการพัฒนาระบบ (Model) คืออะไร พร้อมยกตัวอย่าง และภาพประกอบมาให้มากที่สุด แบบจำลอง ( Model) คือ สัญลักษณ์ที่ใช้ในการจำลองข้อเท็จจริงต่าง ๆ ที่เกิดขึ้นในระบบ ไม่ว่าจะเป็นแบบจำลองข้อมูล ( Data Model) หรือขั้นตอนการทำงานของระบบ ( Process Model) ตัวอย่างแบบจำลอง - Flow Chart - Data Flow Diagram (DFD) - Entity Relationship Diagram (ERD) - Structure Chart - Use Case Diagram - Class Diagram - Sequence Diagram - PERT Chart - Gantt Chart - Organization Hierarchy Chart - Financial Analysis Model – NPV, ROI
  • 8. Flow Chart Entity Relationship Diagram (ERD) Use Case Diagram ตัวอย่างแบบจำลอง
  • 9. Sequence Diagram Gantt Chart Data Flow Diagram (DFD) ตัวอย่างแบบจำลอง Structure Chart
  • 10. Class Diagram ตัวอย่างแบบจำลอง Organization Hierarchy Chart PERT Chart
  • 11. 4. สร้างตารางเปรียบเทียบข้อดี ข้อเสียของ SSADM , RAD และ OOD&D ข้อดี ข้อเสีย SSADM SSADM ใ นรูปแบบของ SDLC Waterfall Model  คือ สามารถรวบรวมความต้องการจากผู้ที่ใช้ได้เป็นระยะทางเวลานานก่อนที่จะเริ่มเขียนโปรแกรม และการเปลี่ยนแปลงความต้องการมีน้อย เนื่องจากที่จะถึงขั้นตอนการเขียนโปรแกรมข้อมูลต่างๆ ที่วิเคราะห์มานั้นจะต้องได้รับการอนุมัติเห็นชอบจากเจ้าของระบบก่อน จึงจะสามารถเข้าสู่ขั้นตอนการเขียนโปรแกรมได้หมายความว่าข้อมูลทุกอย่างที่วิเคราะห์และออกแบบมานั้นจะต้องตรงตามความต้องการของผู้ใช้และเจ้าของระบบมากที่สุดนั้นเอง ใช้เวลาในขั้นตอนการวิเคราะห์และออกแบบ และการออกแบบระบบ และการออกแบบต่าง ๆ นานมาก จะร่างบนกระดาษ ซึ่งผู้ใช้หรือเจ้าของระบบไม่สามารถทดลองใช้งานได้ จึงอาจจะทำให้ไม่ทราบถึงปัญหา ส่งผลให้เกิดปัญหาในระหว่างขั้นตอนการเขียนโปรแกรมได้
  • 12. ข้อดี ข้อเสีย RAD : Phased Development-based Methodology ผู้ใช้สามารถใช้ระบบได้เร็วกว่า SSADM ถึงแม้ว่าระบบ Version 1 นั้นยังไม่สามารถครอบคลุมหน้าที่ทุกส่วนก็ตาม   ผู้ใช้จะได้ใช้ระบบ Version 1 ที่ไม่สามารถทำงานได้ครอบคลุมทุกหน้าที่หรือทุกความต้องการได้ เนื่องจากระบบ Version 1  นั้นสามารถทำงานได้ตามหน้าที่หรือความต้องการที่จำเป็นและสำคัญที่สุดก่อน และต้องใช้เวลาในการรอระบบ Version 2  เพื่อเพิ่มเติมความสามารถในการทำงานของระบบ Prototyping-based Methodology ใช้เวลาน้อยในการพัฒนาเพื่อให้เป็นระบบที่สามารถใช้งานได้เนื่องจากขั้นตอนการวิเคราะห์ ออกแบบ และพัฒนาสามารถดำเนินการไปพร้อมกันได้ด้วยการสร้างต้นแบบของระบบ ( System Prototype) โดยผู้ใช้สามารถทดลองใช้ต้นแบบของระบบก่อนการติดตั้ง ทำให้สามารถระบุข้อผิดพลาดและความต้องการที่แท้จริงได้เร็วขึ้น เนื่องจากเป็นวิธีที่มีการสร้างต้นแบบของระบบทีละส่วนด้วยความรวดเร็ว ในขณะที่มีการเก็บรวบรวมวิเคราะห์และออกแบบไปพร้อม ๆกัน ทำให้ขาดความรอบคอบในการตระหนักถึงปัญหาที่ตามมาเมื่อติดตั้งและใช้งานระบบทั้งหมดทุกส่วน เช่น ความยากต่อการใช้งานและการเรียนรู้ เป็นต้น จึงอาจทำให้ถูกมองว่า การออกแบบระบบนั้นไม่ดีพอ 
  • 13.
  • 14. 5. UML คืออะไร และ CASE TOOL คืออะไร UML คือ โมเดลมาตรฐานที่ใช้หลักการออกแบบ OOP(Object oriented programming)  ได้แก่ Use Case Diagram, Class Diagram, Sequence Diagram และ Activity Diagram มีผู้ผลิต Software หลายค่ายได้ทำการสร้างเครื่องมือสำหรับการทำงานกับ UML โดยเฉพาะ อาทิ  Rational Rose, Borland Together , Visual UML CASE TOOL คือ ซอฟแวร์ที่จะอำนวยความสะดวกในการพัฒนาซอฟแวร์ (Computer-Aided Systems Engineering - CASE) เป็นเทคนิควิธีที่ใช้ในโปรแกรมที่มีความสามารถสูงเป็นเครื่องมือ เรียกย่อๆ ว่า เคสทูล (CASE TOOLS) โดยอาศัยหลักการของ CASE นั่นเอง เพื่อช่วยนักวิเคราะห์ระบบพัฒนาระบบและบำรุงรักษาระบบสารสนเทศ โดยมองเห็นกรอบของการพัฒนาระบบทั้งหมด แบ่งออกเป็น 2 แบบ คือ 1. อัพเปอร์ (Upper) โดยอัพเปอร์เคสทูลจะใช้ในการสร้างแบบจำลองการประมวลผลและการออกแบบระบบสารสนเทศในเชิงตรรกะ 2. โลเวอร์ (Lower) โดยโลเวอร์เคสทูลจะช่วยให้กระบวนการพัฒนาเร็วยิ่งขึ้นโดยการทำรหัสต้นฉบับ (Source code) จากแบบจำลองตรรกะให้ UML CASE TOOL
  • 15. 6. ยกตัวอย่างโปรแกรมที่ใช้เป็นเครื่องมือของ Upper-CASE และ Lower-CASE คือเครื่องมือที่ช่วยสนับสนุนการทำงานในขั้นตอนต้น ๆ ของการพัฒนาระบบ ได้แก่ - ขั้นตอนการวางแผน - ขั้นตอนการวิเคราะห์ - ขั้นตอนการออกแบบระบบ ตัวอย่างโปรแกรมที่ใช้ - visible analysis - Rational Rose visible analysis Rational Rose Upper-CASE
  • 16. 6. ยกตัวอย่างโปรแกรมที่ใช้เป็นเครื่องมือของ Upper-CASE และ Lower-CASE คือเครื่องมือที่ช่วยสนับสนุนการทำงานในขั้นตอนสุดท้ายในการพัฒนาระบบ ได้แก่ - ขั้นตอนการออกแบบ - ขั้นตอนการพัฒนาและทดสอบระบบ - ขั้นตอนการให้บริการหลังการติดตั้งระบบ ตัวอย่างโปรแกรม - Visual Studio - Diagram Visual Studio Diagram Lower-CASE
  • 17. 7. จากที่ศึกษา CASE มาท่านจะเลือกใช้ Tool โปรแกรมใดที่จะช่วยพัฒนาระบบ เพราะเหตุใด สาเหตุที่เลือก Documentation tool เพราะ ช่วยในการจัดทำเอกสารของ Project ช่วยเพิ่มประสิทธิภาพในการจัดการเอกสารและออกแบบการจัดการเอกสารได้อย่างไร้ขีดจำกัด การกำหนดสิทธิการใช้งานของพนักงาน และการกำหนด Document Life Cycle Documentation tools