SlideShare une entreprise Scribd logo
1  sur  28
Télécharger pour lire hors ligne
๑

ปกิณณะวินัย
คาขอขมาพระรัตนตรัย
ระตะนัตตะเย ปะมาเทนะ, ท๎วารัตตะเยนะ กะตัง, สัพพัง อะปะราธัง ขะมะตุ โน* ภันเต.
[กล่าว ๓ หน แล้วกราบ ๓ ครั้ง]
หมายเหตุ:- ถ้าขอขมารูป/คน เดียว เปลี่ยนเป็น ขะมะตุ เม

คาขอขมาครูบาอาจารย์
ผู้ขอขมารูปเดียว
ผู้ขอว่า : เถเร ปะมาเทนะ, ท๎วารัตตะเยนะ กะตัง , สัพพัง อะปะราธัง ขะมะตุ เม
ภันเต. [ถวายเครื่องสักการะ แล้วหมอบลง]
ผู้รับว่า : อะหัง ขะมามิ, ตะยาปิ เม ขะมิตัพพัง.
ผู้ขอว่า : ขะมามิ ภันเต
ผู้รับให้พร : แล้วผู้ขอพึงรับว่า สาธุ ภันเต
ผู้ขอขมาหลายรูป
ผู้ขอว่า : เถเร ปะมาเทนะ, ท๎วารัตตะเยนะ กะตัง, สัพพัง อะปะราธัง ขะมะตุ โน ภันเต.
[ถวายเครื่องสักการะ แล้วหมอบลง]

ผู้รับว่า : อะหัง ขะมามิ, ตุม๎เหหิปิ เม ขะมิตัพพัง.
ผู้ขอว่า : ขะมามะ ภันเต.
ผู้รับให้พร : แล้วผู้ขอพึงรับว่า สาธุ ภันเต
คาให้พรเมื่อมีผขอขมา
ู้
“เอวัง โหตุ เอวัง โหตุ
โย จะ ปุพเพ ปะมัชชิต๎วา

ปัจฉา โส นัปปะมัชชะติ,
๒
โสมัง โลกัง ปะภาเสติ
ยัสสะ ปาปัง กะตัง กัมมัง
โสมัง โลกัง ปะภาเสติ
อะภิวาทะนะสีลิสสะ
จัตตาโร ธัมมา วัฑฒันติ

อัพภา มุตโตวะ จันทิมา,
กุสะเลนะ ปะหียะติ,
อัพภา มุตตะโว จันทิมา,
นิจจัง วุฑฒาปะจายิโน,
อายุ วัณโณ สุขัง พะลัง.”

คาขอนิสัย
ภิกษุมีพรรษาหย่อน ๕ ถือภิกษุรูปใดรูปหนึ่งเป็นพระอุปัชฌาย์ เพื่อรับโอวาทานุศาสน์ของ
ภิกษุนั้นในครั้งแรกที่ได้อุปสมบท ส่วนภิกษุผู้ไม่ได้อยู่ในปกครองของอุปัชฌาย์ต้องถือภิกษุอื่น
เป็นอาจารย์ และอาศัยท่านแทนอุปัชฌาย์ในการรับการอบรมแนะนาสั่งสอน วิธิถือนิสัยอาจารย์
ก็เหมือนกับวิธีถือนิสัยกับอุปัชฌาย์ ต่างแต่คาขอ คือ
อาจะริโย เม ภันเต โหหิ, อายัส๎มะโต นิสสายะ วัจฉามิ [๓ จบ]
[แปลว่า] ขอท่านจงเป็นอาจารย์ของข้าพเจ้า ข้าพเจ้าจักอยู่อาศัยท่าน.
อาจารย์รับว่า “โอปายิกัง, ปะฏิรูปัง, ปาสาทิเกนะ สัมปาเทหิ,” แต่ละบทเว้นระยะให้ผู้
ขอรับว่า “สาธุ ภันเต” แต่นั้นผู้ขอนิสัยรับเป็นธุระว่า
อัชชะตัคเคทานิ เถโร มัย๎หัง ภาโร, อะหัมปิ เถรัสสะ ภาโร [๓ จบ]
คาอปโลกน์สังฆทาน
ยัค เฆ ภั นเต [อาวุโ ส] สั งโฆ ชานาตุ,
อะยั ง [เอตัง ] ปะฐะมะภาโค เถรัสสะ
[มะหาเถรัสสะ] ปาปุณาติ, อะวะเสสา ภาคา อัม๎หากัง ปาปุณันตุ , ภิกขู จะ สามะเณรา จะ
คะหัฏฐา จะ ยะถาสุขัง, ปะริภุญชันตุ. [พระสงฆ์รับพร้อมกันว่า สาธุ]
๓
คากัปปิยะโวหาร
วัต ถุ ที่สมควรท ากัป ปิ ยะเช่ น ผลไม้ ที่ มีเมล็ ด ผั กที่ สามารถน าไปปลู กหรื อ ชาให้ เกิ ด ได้
เรียกว่า พีชคาม และภูตคาม เมื่อจะนามาถวายพระเวลาฉัน อนุปะสัมบัน คือคนที่ไม่ใช่พระ
ได้แก่สามเณร หรืออุบาสก-อุบาสิกา ต้องทาให้เป็นของที่สมควรเสียก่อน ด้วยวิธีการใช้มีดหรือ
เล็บจิกหรือปอกเปลือกหรือทาให้ขาด ดังนี้
พระสงฆ์กล่าวว่า : กัปปิยัง กะโรหิ.
อนุปะสัมบันรับว่า : กัปปิยัง ภันเต.
คาอธิษฐานเข้าพรรษา
อิมัสมิง อาวาเส อิมัง เตมาสัง วัสสัง อุเปมิ [ว่า ๓ หน]
คาสัตตาหะ
เมื่อมีกิจจาเป็นตามที่พระวินัยบัญญัติไว้ ให้พระภิกษุสามารถลาไปที่ปฏิบัติศาสนกิจได้ ๗
วัน ตามที่พุทธานุญาต โดยภิกษุที่จะไปนั้นให้ผูกใจว่าจะกลับมาภายใน ๗ วันเมื่อทาหน้าที่เสร็จ
ซึ่งเข้าไปกราบพระประธานในโบสถ์ หรือบอกแก่ภิกษุรูปใดรูปหนึ่ง ดังนี้
สัตตาหะกะระณียัง กิจจัง เม อัตถิ , ตัสสะมา มะยา คันตัพพัง, อิมัสสมิง สัตตา
หัพภันตะเร นิวัตติสสามิ.
[แปลว่า] กิจที่ต้องทาสัตตาหะของกระผมมีอยู่ เพราะฉะนั้น กระผมจาต้องไป กระผมจัก
กลับมาภายใน ๗ วันนี้.
คาปวารณาออกพรรษา
สังฆัมภันเต ปะวาเรมิ ทิฏเฐนะ วา สุเตนะ วา ปะริสังกายะ วา วะทันตุ มัง อายัส๎ มันโต
อะนุกัมปัง อุปาทายะ ปัสสันโต ปะฏิกกะริสสามิ.
๔
ทุติยัมปิ ภันเต ปะวาเรมิ ทิฏเฐนะ วา สุเตนะ วา ปะริสังกายะ วา วะทันตุ มัง อายัส๎ มันโต
อะนุกัมปัง อุปทายะ ปัสสันโต ปะฏิกกะริสสามิ.
ตะติยัมปิ ภันเต สังฆัง ปะวาเรมิ ทิฏเฐนะ วา สุเตนะ วา ปะริสังกายะ วา วะทันตุ มัง
อายัสมันโต อะนุกัมปัง อุปาทายะ ปัสสันโต ปะฏิกกะริสสามิ.
๎
คาพินทุผ้า
ผ้าทุกชนิดที่ภิกษุได้มา และประสงค์จะนามาใช้สอย เบื้องต้นต้องทาพินทุก่อน คือการทา
จุดประมาณเท่าแววดวงตานกยูง ๓ จุด เป็นรูป ๓ เหลี่ยม หรืออาจจะเขียนชื่อ ฉายา ของ
ตนเองก็ได้ พร้อมกับกล่าวว่า “อิมัง พินทุกัปปัง กะโรมิ.”
คาอธิษฐานบริขาร
บาตร :
สังฆาฏิ :
จีวร :
สบง :
ผ้าปูนั่ง :
ผ้าปูที่นอน :
ผ้าอาบน้าฝน :

อิมัง ปัตตัง อะธิฏฐามิ
อิมัง สังฆาฏิง อะธิฏฐามิ
อิมัง อุตตะราสังคัง อะธิฏฐามิ
อิมัง อันตะระวาสะกัง อะธิฏฐามิ
อิมัง นิสีทะนัง อธิษฐามิ
อิมัง ปัจจะถะระณัง อธิษฐามิ
อิมัง วัสสิกะสาฏิกัง อธิษฐาม

คาถอนอฐิษฐานผ้า
จีวร : อิมัง อุตตะราสังคัง ปัจจุทธะรามิ [ว่า ๓ จบ]
สังฆาฏิ : อิมัง สังฆาฏิ ปัจจุทธะรามิ [ว่า ๓ จบ]
สบง : อิมัง อันตะระวาสะกัง ปัจจุทธะรามิ [ว่า ๓ จบ]
๕
คาอธิษฐานผ้ากฐิน
ผ้าสังฆาฏิ : อิมายะ สังฆาฏิยา กฐินัง อัตถะรามิ
ผ้าจีวร : อิมินา อุตตะราสังเคนะ กฐินัง อัตถะรามิ
ผ้าสบง : อิมินา อันตะระวาสะเกนะ กฐินัง อัตถะรามิ
คาสละผ้าล่วงราตรี
พึงถือผ้าที่ล่วงราตรีเข้าไปหาภิกษุผู้มีความสามารถแก้ไขได้ นั่งคุกเข่าเหมือนนั่งแสดงอาบัติ
กล่าวว่า
“อิทัง เม ภันเต จีวะรัง รัตติวิปปะวุตถัง อัญญัต๎ระ ภิกขุสัมมะติยา นิสสัคคิยัง อิมาหัง
อายัส๎มะโต นิสสัชชามิ.”
[๒ ผืน ว่า ท๎วิจีวรัง ๓ ผืน ว่า ติจีวะรัง]
เมื่อสละผ้าแล้วพึงกล่าวคาแสดงอาบัติปาจิตตีย์ ทุกกฎ ทุพภาษิต แล้วจึงให้เพื่อนสหธรรมิก
กล่าวคาคืน ดังนี้
คาคืน
อิมัง จีวะรัง อายัส๎มะโต ทัมมิ. [ว่า ๓ จบ]
คาวิกัปป์
อิมัง จีวะรัง ตุย๎หัง วิกัปเปมิ.
[หลายผืนว่า อิมานิ จีวะรานิ ตุย๎หง วิกัปเปมิ]
ั
คาถอนวิกัปป์
อิมัง จีวะรัง มัย๎หัง สันตะกัง ปะริภุญชะ วา วิสัชเชหิ วา ยะถาปัจจะยัง วา กะโรหิ.
[ผู้ถอนพรรษาอ่อนกว่าว่า] อิมัง จีวะรัง มัย๎หัง สันตะกัง ปะริภุญชะถะ วา วิสัชเชถะ วา
ยะถาปัจจะยัง วา กะโรถะ.
๖
คาบอกบริสุทธิ์
ปริสุทโธ อะหัง ภันเต [อาวุโส] ปริสทโธติ มัง สังโฆ ธาเรตุ. [๓ จบ]
ุ

ระเบียบปฏิบัติพิธีลาสิกขา
สาหรับพระภิกษุ-สามเณร
การลาสิกขา คือการบอกคืนพระธรรมวินัยเพื่อเวียนไปเป็นคนเลว คือการครองเพศเป็น
ฆราวาส หมายถึงผู้อยู่ครองเรือน ดังนั้น เวลาจะสึกพระภิกษุสามเณรจึงถือเป็นเรื่องใหญ่ คติ
โบราณมองว่า ถ้าลาสิกขาผิดวันเวลาอาจทาให้การดาเนินชีวิตไม่เจริญรุ่งเรือง ทั้งนี้ถ้าเราถือ
ปฏิบัติตามเพื่อความสบายใจทั้งผู้ลาสิกขาเองและบิดามารดาญาติพี่น้อง และเพื่อให้สอดคล้อง
กับคติที่ว่า “เมื่อบวชเข้ามาเป็นพระในพุทธศาสนาสึกออกไปแล้วจะมีแต่ความเจริญรุ่งเรือง” โดย
มีขั้นตอนปฏิบัติ ดังนี้
๑. ผู้ที่จะลาสิกขาต้องปรึกษาบิดามารดา หรือญาติผู้ใหญ่ เพื่ อหาวันที่เหมาะสมและไม่ขัด
กับจารีตประเพณีของตน แล้วจึงนาวันเวลาดังกล่าวมากราบเรียนประธานสงฆ์ หรือพระเถระที่
ได้รับมอบหมายให้ทาหน้าที่เป็นพยานในการลาสิกขารับทราบก่อน ๑-๒ อาทิตย์
๒. ก่อนวันลาสิกขาหนึ่งวัน ให้พระภิกษุสามเณรที่จะลาสิกขานาดอกไม้ธูปเทียนห่มผ้ า
เฉวียงบ่าไปขอขมาพระภิกษุ หรือสามเณรที่ตนเคยล่วงเกิน ถ้าทาได้ทุกรูปจะเป็นการดีที่สุด [นี้
เป็นรายบุคคล] และขอขมาหมู่สงฆ์อีกครั้งหนึ่งในวันลาสิกขา แล้วทาความสะอาดกุฏีที่พักอาศัย
ให้เรียบร้อย ตลอดจนห้องน้าห้องสุขาภายในวัดให้สะอาด เพื่อเป็นการสร้างบารมีแก่ตนเองครั้ง
สุดท้าย
๓. ในวันลาสิกขาต้องแสดงอาบัติก่อน ถ้าเป็นสามเณรต้องสมาทานศีล ๑๐ เพื่อแสดง
ความบริสุทธิ์จะได้ไม่มีโทษติดตัวออกไป เสร็จแล้วจึงนาดอกไม้ธูปเทียนขอขมาพระรัตนตรัย
๗
และกล่าวคาอตีตะปัจจะเวกขะณะ [อัชชะ มะยาฯ] แล้วจึงกล่าวคาลาสิกขา ดังนี้ [ส่วนใหญ่นิยม
ทาพิธีในตอนเช้าของวันใหม่]
คาลาสิกขา
สิกขัง ปัจจักขามิ คิหีติ มัง ธาเรถะ. [ว่า ๓ จบ]
[คาแปล] ข้าพเจ้าลาสิกขา ท่านทั้งหลายจงจาข้าพเจ้าไว้ว่า เป็นคฤหัสถ์
๔. ประธานสงฆ์ยื่นมือดึงผ้าสังฆาฏิออกให้ แล้วจึงลุกออกไปนุ่งห่มเสื้อผ้าที่เตรียมมา แล้ว
เข้ามาคาลาสิกขาอีกครั้งเพื่อเป็นการกล่าวย้าให้แน่ใจ จะเป็นภาษาไทยหรือภาษาบาลีก็ได้ คือ
“ข้าพเจ้าลาลิกขา ท่านทั้งหลายจงจาข้าพเจ้าไว้ว่าเป็นคฤหัสถ์แล้ว ”จากนั้นจึงกล่าวคาแสดงตน
เป็นพุทธะมามะกะ ดังนี้
คาแสดงตนเป็นพุทธะมามะกะ
เอสาหัง ภันเต, สุจิระปะรินิพพุตัมปิ, ตัง ภะคะวันตัง สะระณัง คัจฉามิ , ธัมมัญจะ ภิกขุ
สังฆัญจะ อุปาสะกัตตัง [อุปาสิกัตตัง] มัง สังโฆ ธาเรตุ.
๕. จากนั้นสมาทานศีล ๕ เสร็จแล้วถวายจตุปัจจัยไทยธรรม พระสงฆ์ให้พร แล้วจึงไปกราบ
บิดามารดา หรือญาติผู้ใหญ่ของตน เสร็จพิธี
๖. ลาสิกขาเสร็จแล้วทิด [ปแฎง] อยู่วัดก่อน ๑-๒ วัน เพื่อทาความสะอาดเสนาสนะ หรือ
ช่วยทากิจของสงฆ์พอสมควรจึงสามารถลากลับบ้านได้ เว้นแต่มีกิจธุระด่วน
สาหรับผู้บวชเนกขัมมะ
เมื่อผู้บวชเนกขัมมะ [แม่ชี/พราหมณ์] ปฏิบัติตามข้อ ๑-๓ แล้ว ให้กล่าวคาขอขมาโทษต่อ
พระรัตนตรัยและพระอาจารย์ [ประธานสงฆ์] แล้วจึงกล่าวคาลาสิกขา ดังนี้
คาลาสิกขาผู้บวชเนกขัมมะ
ปัณฑะระปัพพัชชายะ, อัฏฐะสิกขาปะทานิ, ปัจจักขามิ คิหีติ มัง ธาเรถะ.
๘
[แปลว่า] ข้าแต่ท่านผู้เจริญ ข้าพเจ้าขอลาสิกขาบททั้ง ๘ ของนักบวชผู้นุ่งห่มขาว ขอท่าน
ทั้งหลายจงจาข้าพเจ้าไว้ว่าเป็นคฤหัสถ์ ตั้งแต่บัดนี้เป็นต้นไป.
พึงกราบ ๓ ครั้ง พระอาจารย์จะให้คติธรรมะ แล้วจึงเปล่งวาจาแสดงตนเป็นพุทธะมามะกะ
และสมาทานศีล ๕ เป็นลาดับไป

อุโบสถ
อุโบสถ คื อการมาประชุมกั นของเหล่าภิ กษุ สงฆ์เพื่ อร่ วมทาสังฆกรรมเกี่ ยวกั บพระวินั ย
กล่าวคือการร่วมฟังพระวินัยบัญญัติที่มาในพระปาฏิโมกข์ มีสิกขาบททั้งสิ้น ๒๒๗ ข้อ โดยมี
ภิกษุรูปใดหนึ่งที่มีความสามารถในการท่องจาและสาธยายให้จบได้ ซึ่งมีพุทธานุญาตให้หมู่สงฆ์
นั้นๆ ที่มีจานวนตั้งแต่ ๔ รูปขึ้นไป สามารถสวดปาฏิโมกข์ได้ อุโบสถ มี ๓ คือ สังฆอุโบสถ
คณะอุโบสถ และปุคคลอุโบสถ
๑. สังฆอุโบสถ คือการประชุมกันของภิกษุในอาวาสนั้นๆ ตั้งแต่ ๔ รูปขึ้นไป ทรงอนุญาต
ให้สงฆ์ห มู่นั้นสวดปาฏิโ มกข์ได้ และภิ กษุที่จะเข้าฟังต้ องชาระตนให้ บริสุทธิ์ จากอาบัติที่เป็ น
ลหุกาบัติ คืออาบัติเบาที่สามารถแสดงความบริสุทธิ์ได้ด้วยการแสดง หรือปลงอาบัติในภาษา
ชาวบ้าน ส่ วนอาบัติ ประเภทวุฏ ฐานคามิ นี คืออาบัติ ที่จะพ้นได้ด้ว ยการอยู่กรรม คืออาบั ติ
สังฆาทิเสสนั้น ท่านให้บอกวัตรและเก็บวัตรไว้กับภิกษุรูปใดรูปหนึ่งก่อน แล้วจึงแสดงอาบัติประ
เทภเทศนาคามินี (อาบัติเบา) เพื่อเข้าร่วมรับฟังปาฏิโมกข์กับหมู่สงฆ์ ในระหว่างที่กาลังสวด
ปาฏิโมกข์อยู่นั้น เผอิญมีภิกษุจากต่างถิ่นมาในบริเวณเพื่อร่วมฟัง ถ้ามีจานวนมากกว่าภิกษุที่มีอยู่
เดิมให้ย้อนเริ่มต้นสวดใหม่ แต่ถ้ามีจานวนน้อยกว่าภิกษุที่มีอยู่รอให้แสดงอาบัติเสร็จก่อน แล้ว
สวดต่อจากที่หยุดไว้ และในกรณีที่สวดจบแล้วถึงแม้ภิกษุที่มาทีหลังจะมีจานวนมากกว่าก็ไม่
ต้องสวดใหม่อีกรอบ เพียงให้บอกบริสุทธิ์ในสานักของหมู่สงฆ์นั้น
๙
คาแสดงบริสุทธิ์ต่อสงฆ์
ปะริสุทโธ อะหัง ภันเต [อาวุโส], ปะริสุทโธติ มัง สังโฆ ธาเรตุ.
คาขอโอกาสแสดงปาฏิโมกข์
โอกาสัง เม ภนฺเต เถโร๑ เทตุ. ปาฏิโมกขัง๒ อุทเทสิตุง.
หมายเหตุ : ๑. ถ้าภิกษุผู้เถระไม่มีในสงฆ์ ให้เปลี่ยน เถโร เป็น สังโฆ แทน
๒. ถ้าขึ้นกล่าวพระวินัย พึงว่า วินยกถัง กะเถตุง และถ้าเป็นวันปวารณา พึงว่า ปวารณา ญัตติง
ฐะเปตุง.

เหตุฉุกเฉินที่มีพุทธานุญาตให้สวดปาฏิโมกข์ย่อ
๑. พระราชาเสด็จมา
๓. ไฟไหม้
๕. คนมามาก (ก่อให้เกิดเสียงดังวุ่นวาย)
๗. สัตว์ร้ายมีเสือเป็นต้นเข้ามาในเขต
๙. ภิกษุอาพาธโรคร้ายขึ้นในที่ชมนม
ุ

๒. โจรมาปล้น
๔. น้าหลากมา (น้าท่วม)
๖. ผีเข้าภิกษุ (หรือพระเป็นบ้าอาละวาด)
๘. งูร้ายเลื้อยเข้ามาในที่ชุมนุม
๑๐. มีอนตรายแก่พรหมจรรย์
ั

๒. คณะอุโบสถ คือมีภิกษุที่อยู่ในอาวาส หรือรวมจากที่อื่นด้วยแล้วไม่ถึง ๔ รูป พระพุทธ
องค์ทรงห้ามไม่ให้ทาการสวดปาฏิโมกข์ แต่ประสงค์ให้แสดงความบริสุทธิ์ คือ ถ้ามีภิกษุอยู่ ๓
รูป ให้ทาปาริสุทธิอุโบสถ โดยให้ภิกษุรูปที่มีพรรษามากว่าใครสวดประกาศ หรือรูปใดรูปหนึ่งใน
นั้นเป็นผู้สวดประกาศด้วยญัตติว่า
“สุณันตุ เม ภันเต อายัส๎มันตา อัชชุโปสะโถ ปัณณะระโส, ยะทายัส๎มันตานัง
ปัตตะกัลลัง, มะยัง อัญญะมัญญัง ปาริสุทธิอุโปสะถัง กะเรยยามะ.”
[คาแปล] “ท่านทั้งหลายเจ้าข้า อุโบสถวันนี้ที่ ๑๕ ถ้าความพร้อมพรั่งของท่านทั้งหลาย
ถึงที่แล้ว เราทั้งหลายพึงทาปาริสุทธิอุโบสถด้วยกัน.”
๑๐
หมายเหตุ : ถ้าผู้สวดญัตติมีพรรษามากกว่าเพื่อนถึงพึงเปลี่ยน ภันเต เป็น อาวุโส และถ้าเป็นวัน ๑๔
ค่า พึงเปลี่ยน ปัณณะระโส เป็น จาตุททะโส แทน

เมื่อสวดญัตติเสร็จ ภิกษุผู้เป็นเถระในสมาคมนั้นพึงบอกความบริสุทธิ์ของตนว่า “ปะริ
สุทโธ อะหัง อาวุโส, ปะริสุทโธติ มัง ธาเรถะ. [๓ จบ] แปลว่า “ฉันบริสุทธิ์แล้วเธอ ขอเธอ
ทั้งหลายจาฉันว่าผู้บริสุทธิ์แล้ว”
ภิกษุนอกนั้นก็พึงบอกความบริสุทธิ์ของตนตามลาดับพรรษาไป ดังนี้ “ปะริสุทโธ อะหัง
ภันเต, ปะริสุทโธติ มัง ธาเรถะ. [๓ จบ] แปลว่า “ผมบริสุทธิ์แล้วขอรับ ขอท่านทั้งหลายจงจาผม
ว่าผู้บริสุทธิ์แล้ว”


กรณีที่มีภิกษุอยู่ ๒ รูป ไม่ต้องตั้งญัตติ เป็นแต่บอกบริสุทธิ์ต่อกัน ดังนี้
[สาหรับผู้มีพรรษามากกว่า] “ปะริสุทโธ อะหัง อาวุโส, ปะริสุทโธติ มัง ธาเรหิ.”

[๓ จบ]
[สาหรับผู้มีพรรษาอ่อนกว่า] “ปะริสุทโธ อะหัง ภันเต, ปะริสุทโธติ มัง ธาเรถะ.”
[๓ จบ]
๓. ปุคคลอุโบสถ คือ ในอาวาสมีภิกษุอยู่รูปเดียว ในวันอุโบสถท่านให้รอดูภิกษุรูปอื่นจาก
ต่างอาวาสเสียก่อนว่าจะมีมาสมทบไหม จนถึงเวลาที่สมควร (ตอนเย็น) เห็นว่าไม่น่าจะมีมาแล้ว
จึงค่อยอธิษฐานรูปเดียวว่า “อัชชะ เม อุโปสะโถ ปัณณะระโส [จาตุททะโส]. แปลว่า “วันนี้เป็น
อุโบสถที่ ๑๕ ของเรา”
หมายเหตุ : ถ้าเป็น ๑๔ ค่า ให้เปลี่ยน ปัณณะระโส เป็น จาตุททะโส แทน

กิจกรรมการลงอุโบสถ ถือเป็นเรื่องใหญ่สาหรับภิกษุสงฆ์ มีทาเนียมปฏิบัติมาอย่างยาวนาน
ตั้งแต่ยุคสมัยที่พระพุทธองค์ยังทรงพระชนม์อยู่ คณะสงฆ์ยังคงรักษาวัตรปฏิบัติ นี้ไว้ได้เป็น
อย่างดี ฉะนั้น เมื่อถึงวันลงอุโบสถภิกษุสงฆ์จะเลือกทาอุโบสถด้วยวิธีที่ง่ายกว่าที่ยากย่อมไม่
๑๑
เหมาะไม่ควร ดังนั้น เมื่อวันเวลานั้นมาถึงภิกษุสงฆ์ไม่ควรหลีกไปเสียที่อื่น ควรขวนขวายกิจธุระ
นี้ให้สาเร็จ เว้นเสียแต่ในอาวาสไม่มีภิกษุรูปใดท่องจาและสาธยายได้ พากันไปร่วมฟังกับสานัก
อื่นที่มีภิกษุผู้มีความสามารถสาธยายได้ ถือเป็นการควรอย่างยิ่ง เพราะนอกจากจะได้ร่วมฟังปาฏิ
โมกข์เป็นการทบทวนสิกขาบทแล้ว ยังความสามัคคีให้เกิดขึ้นในคณะสงฆ์นั้นๆ ด้วย คือได้
พบปะ พูดคุยปราศรัยสาระทุกข์สุขแก่กันและกัน เป็นการยังความสนิทสนมให้เกิดขึ้น
ในอาวาสที่ไม่มีภิกษุสวดปาฏิโมกข์ได้ ให้เจ้าสานักส่งภิกษุหนุ่มที่เห็นว่ามีความฉลาดในการ
ทรงจาไปเรียนมาจากสานักอื่น จะโดยพิสดารหรือโดยย่อก็สุดแล้วแต่จะสามารถจามาได้ ถ้า
เรียนไม่สาเร็จแล้วกลับมา ท่านห้ามไม่ให้ภิกษุรูปอื่นๆ ที่จะมาก็ดีหรือที่อยู่ก่อนก็ดีอยู่จาพรรษาใน
อาวาสเช่นนั้น เว้นแต่ภิกษุในสานักมีความเพียรพยายามที่จะไปร่วมฟังกับสานักอื่นได้ จะอยู่จา
พรรษาในอาวาสดังกล่าวนี้ก็ควร.
สมัยพุทธกาล พระเถระผู้ใหญ่ให้ความเคารพในสังฆอุโบสถเป็นอย่างมาก เช่น พระมหากัส
สะปะเถระเจ้า ยอมลาบากเหน็ดเหนื่อยเมื่อยหล้า เพื่อเดินทางมาร่วมฟังอุโบสถแต่ที่ไกล ต้อง
ข้ามลาน้าผ้าสบงจีวรเปียกน้าชุ่มหมด ท่านก็ยังอุตส่าห์มา และพระมหากปินะ คิดในใจว่า เมื่อตน
สาเร็ จพระอรหั นต์ แล้ วแล้ว จะเลิก ไม่ เข้ าร่ ว มประชุม ทาอุโ บสถ ความทราบถึง พระศาสดา
พระองค์ทรงเตือนว่ า “เพื่อเป็นการรักษาธรรมเนียมวัตรปฏิบัติ และให้กายสามัคคี ” ท่านพระ
มหากปินะก็ยอมปฏิบัติตาม

ปวารณา
วันเพ็ญแห่งเดือนกัตติกาต้นที่เต็ม ๓ เดือน นับแต่วันจาพรรษา ทรงมีพุทธานุญาตให้ภิกษุผู้
อยู่จาพรรษาครบ ๓ เดือน ทาปวารณาต่อกันแทนวันอุโบสถ การทาปวารณานั้นเพราะอาศัยเหตุ
๓ อย่าง คือ ด้วยได้เห็น ด้วยได้ยิน ด้วยรังเกียจ การปวารณานั้นเป็นวิธีการให้อภัยซึ่งกันและ
กัน กาจัดความขัดแย้งทั้งหลายที่เกิดขึ้น และเพื่อยังกันกันและกันออกจากอาบัติ พูดภาษา
๑๒
ชาวบ้านก็คือการเปิดใจให้กัน ปวารณาว่าโดยบุคคลและลักษณะการปฏิบัติมี ๓ อย่าง คือ สังฆ
ปวารณา คณะปวารณา ปุคคลปวารณา
๑. สังฆปวารณา คือปวารณาเป็นการสงฆ์ สงฆ์ในที่นี้มีจานวน ๕ รูปขึ้นไป เหมือนรับกฐิน
ผู้ปวารณา ๑ รูป อีก ๔ รูป เป็นองค์สงฆ์ ตามธรรมเนียมเวลาปวารณาให้กล่าวรูปละ ๓ หน ถ้า
มีเหตุ ขัดข้ องรูป ละ ๒ หรื อ ๑ หน ก็ได้ หรือ ถ้าพรรษาเท่า กันก็ใ ห้ว่า พร้อมกัน ทั้งนี้ก่ อนท า
ปวารณาต้องมีการสวดตั้งญัตติก่อน ดังนี้
ถ้าจะปวารณา ๓ หน พึงตั้งญัตติว่า “สุณาตุ เม ภันเต สังโฆ, อัชชะ ปะวาระณา
ปัณณะระสี, ยะทิ สังฆัสสะ ปัตตะกัลลัง, สังโฆ เตวาจิกัง ปะวาเรยยะ.” แปลว่า “ท่านเจ้าข้า
ขอสงฆ์จงฟังข้าพเจ้า ปวารณาวันนี้ที่ ๑๕ ถ้าความพร้อมพรั่งของสงฆ์ถึงที่แล้ว สงฆ์พึงปวารณา
๓ หน”
ถ้าจะปวารณา ๒ หน พึงตั้งญัตติเหมือน ๓ หน เพียงแต่เปลี่ยนคาลงท้ายว่า “สังโฆ
เท๎ววาจิกัง ปะวาเรยยะ” แปลว่า “.......สงฆ์พึงปวารณา ๒ หน”
ถ้าจะปวารณาหนเดียว พึงตั้งญัตติเหมือน ๓ หน เพียงแต่เปลี่ยนคาลงท้ายว่า “สังโฆ
เอกะวาจิกัง ปะวาเรยยะ” แปลว่า “.....สงฆ์พึงปวารณาหนเดียว”
ถ้าจะให้ภิกษุ ที่มีพรรษาเท่ ากัน ให้ปวารณาพร้ อมกัน พึงตั้ งญัตติ เหมือน ๓ หน
เพียงแต่เปลี่ยนคาลงท้ายว่า “สังโฆ สะมานะวัสสิกัง ปะวาเรยยะ” แปลว่า “....สงฆ์พึงปวารณา
มีพรรษาเท่ากัน” จะปวารณาพร้อมกัน ๓-๒-๑ หน ได้ทั้งนั้น
ถ้าจะไม่ระบุจานวนครั้ง พึงตั้งญัตติครอบทั่วไป เพียงลงท้ายว่า “สังโฆ ปะวาเรยยะ”
แปลว่า “....สงฆ์พึงปวารณา” จะปวารณากี่ครั้งก็ได้ แต่ห้ามไม่ให้ผู้มีพรรษาเท่ากันปวารณา
พร้อมกัน
หมายเหตุ : ผู้ตั้งญัตติมีพรรษามากกว่าเพื่อน พึงว่า อาวุโส แทน ภันเต และถ้าวันปวารณาที่ ๑๔ ค่่า พึงว่า
จาตุททะสี แทน ปัณณะระสี
๑๓
ครั้นตั้งญัตติแล้ว ภิกษุผู้เถระพึงนั่งคุกเข่าประนมมือ กล่าวปวารณาต่อสงฆ์ว่า
“สังฆัง อาวุโส ปะวาเรมิ, ทิฏเฐนะ วา สุเตนะ วา ปะริสังกายะ วา, วะทันตุ
มัง อายัสมันโต อะนุกัมปัง อุปาทายะ, ปัสสันโต ปะฏิกกะริสสามิ.
๎
ทุติยัมปิ อาวุโส สังฆัง ปะวาเรมิ, .... ฯลฯ .... ปะฏิกกะริสสามิ.
ตะติยัมปิ อาวุโส สังฆัง ปะวาเรมิ, .... ฯลฯ .... ปะฏิกกะริสสามิ.”
[คาแปล] “เธอ ฉันปวารณาต่อสงฆ์ ด้วยได้เห็นก็ดี ด้วยได้ฟังก็ดี ด้วยสงสัยก็ดี ขอท่าน
ทั้งหลายจงอาศัยความกรุณาว่ากล่าวฉัน ฉันเห็นอยู่ จักทาคืนเสีย. ฉันปวารณาต่อสงฆ์ ครั้งที่
๒ ... ฯลฯ ..., ครั้งที่ ๓ ... ฯลฯ ...จักทาคืนเสีย.”
ภิกษุนอกนั้น พึงปวารณาตามลาดับพรรษาทีละรูป (เว้นไว้แต่ตั้งญัตติให้ผู้มีพรรษาเท่ากัน
ปวารณาพร้อมกัน) โดยนัยนี้ คือ
“สังฆัมภันเต ปะวาเรมิ, ทิฏเฐนะ วา สุเตนะ วา ปะริสังกายะ วา, วะทันตุ มัง
อายัสมันโต อะนุกัมปัง อุปาทายะ, ปัสสันโต ปะฏิกกะริสสามิ.
๎
ทุติยัมปิ ภันเต สังฆัง ปะวาเรมิ, .... ฯลฯ .... ปะฏิกกะริสสามิ.
ตะติยัมปิ ภันเต สังฆัง ปะวาเรมิ, .... ฯลฯ .... ปะฏิกกะริสสามิ.”


ถ้าในสมาคมนั้นมีภิกษุผู้อาจปวารณาได้เพราะขาดพรรษา หรืออุปสมบทภายหลังแต่วัน
เข้าพรรษา และมีจานวนน้อยกว่าภิกษุผู้ทาปวารณา ท่านให้บอกบริสุทธิ์ ถ้ามีจานวนมากกว่า
ภิกษุผู้ทาปวารณา จานวน ๔ รูป ขึ้นไป ท่านให้สวดปาฏิโมกข์ เมื่อจบแล้วจึงให้ภิกษุผู้ทาปวารณา
ในสานักของเธอทั้งหลาย ห้ามไม่ให้ตั้งญัตติทาเป็นการสงฆ์การคณะ คือลงอุโบสถกับปวารณา
ออกพรรษาในวันเดียวกัน
๒. คณะปวารณา คือปวารณาเป็นการคณะโดยมีภิกษุอยู่จาพรรษาไม่ถึง ๕ รูป เช่น มี ๔,
๓, ๒ รูป อย่างใดอย่างหนึ่ง ซึ่งสามารถทาปวารณาได้ ดังนี้
๑๔
ถ้ามีภิกษุ ๔ รูป ให้ภิกษุรูปหนึ่งประกาศด้วยญัตติว่า “สุณันตุ เม อายัส๎มันโต,
อัชชะ ปะวาระณา ปัณณะระสี, ยะทายัส๎มันตานัง ปัตตะกัลลัง, มะยัง อัญญะมัญญัง ปะ
วาเรยยามะ.” แปลว่า “ท่านเจ้าข้า ท่านทั้งหลายจงฟังข้าพเจ้า ปวารณาวันนี้ที่ ๑๕ ถ้าความพร้อม
พรั่งของท่านทั้งหลายถึงที่แล้ว เราทั้งหลายพึงปวารณากันเถิด”
ถ้ามีภิกษุ ๓ รูป ว่า “อายัสมันตา” แทน “อายัสมันโต” แล้วพึงกล่าวปวารณา
๎
๎
ตามลาดับ ดังนี้ :“อะหัง อาวุโส อายัส๎มันเต ปะวาเรมิ, ทิฏเฐนะ วา สุเตนะ วา ปะริสังกายะ วา,
วะทันตุ มัง อายัสมันโต อะนุกัมปัง อุปาทายะ, ปัสสันโต ปะฏิกกะริสสามิ.”
๎
ทุติยัมปิ อาวุโส อายัส๎มันเต ปะวาเรมิ, .... ฯลฯ .... ปะฏิกกะริสสามิ.
ตะติยัมปิ อาวุโส อายัส๎มันเต ปะวาเรมิ, .... ฯลฯ .... ปะฏิกกะริสสามิ.”
ถ้ามีภิกษุ ๒ รูป ไม่ต้องตั้งญัตติ สามารถทาปวารณาได้เลย ดังนี้ :“อะหัง อาวุโส อายัส๎มันตัง ปะวาเรมิ, ทิฏเฐนะ วา สุเตนะ วา ปะริสังกายะ วา,
วะทะตุ มัง อายัสมา อะนุกัมปัง อุปาทายะ, ปัสสันโต ปะฏิกกะริสสามิ.”
๎
ทุติยัมปิ อาวุโส อายัส๎มันตัง ปะวาเรมิ, .... ฯลฯ .... ปะฏิกกะริสสามิ.
ตะติยัมปิ อาวุโส อายัส๎มันตัง ปะวาเรมิ, .... ฯลฯ .... ปะฏิกกะริสสามิ.”
๓. ปุคคลปวารณา คืออธิษฐานเป็นการบุคคล ภิกษุผู้อยู่จาพรรษารูปเดียว ครั้นถึงวัน
ปวารณาท่านให้ตระเตรียมที่ อาสนะ คอยภิกษุอื่นจนสิ้นเวลาเห็นว่าไม่มาแล้ว ให้อธิษฐานว่า
“อัชชะ เม ปะวาระณา ปัณณะระสี [จาตุททะสี].” แปลว่า “ปวารณาของวันนี้ ที่ ๑๕”
บุพพกิจแห่งปวารณา
ปวารณากรณโต ปุพฺเพ นววิธ ปุพฺพกิจฺจ กาตพฺพ โหติ. ตณฺฐานะ สมฺมชฺชนญฺจ ตตฺถ
ปทีปุชฺชลนญฺจ อาสนปญฺญปนญฺจ ปานียปริโภชนียูปฏฺฐปนญฺจ ฉนฺทารหาน ภิกฺขู น ฉนฺทา
๑๕
หรณญฺจ เตสญฺเญว อกตปวารณาน ปวารณายปิ อาหรณญฺจ อุตุกฺขานญฺจ ภิกฺขุคณนา จ
ภิกฺขุนีนโมวาโท จาติ.
ตตฺถ... [กลางวัน “ปุริเมสุ จตูสุ กิจฺเจ ปทีปกิจฺจ อิทานิ สุริยาโลกสฺส อตฺถิตาย นตฺถิ
อปรานิตีนิ” หรือตอนเย็นใกล้ค่า “ปุริมานิ จตฺตาริ”]...ภิกฺขูน วตฺต ชานนฺเตหิ สามเณเรหิปิ
[ถ้าไม่มีสามเณรช่วยจัดก็ไม่ต้องว่า] ภิกฺขูหิปิ กตานิ ปรินิฏฺฐิตานิ โหนฺติ.
ฉนฺทาหรณ ปวารณา อาหรณานิ ปน อิมิสฺส สีมาย [อพทฺธสีมาย] หตฺถปาส วิชหิตฺวา
นิสินฺนาน ภิกฺขูน อภาวโต นตฺถิ.
อุตุกฺขาน นาม เอตฺตก อติกฺกนฺต, เอตฺตก อวสิฏฺฐนฺติ เอว อุตุอาจิกฺขน , อุตูนีธ ปน
สาสเน เหมนฺตคิมฺหวสฺสานาน วเสน ตีณิ โหนฺติ. อย วสฺสาโนตุ, อิมสฺมิญฺจ อุตุมฺหิ สตฺต
จ อุโปสถา เอกา จ ปวารณา, อิมินา ปกฺเขน เอกา ปวารณา สมฺปตฺตา, ปญฺจ อุโปสถา
อติกฺกนฺตา, เท๎ว อุโปสถา อวิสิฏฺฐา. อิติ เอว สพฺเพ อายสฺมนฺเตหิ อุตุกฺขาน ธาเรตพฺพ.
[รับพร้อมกันว่า เอว ภนฺเต/อาวุโส]
ภิกฺขุค ณนา นาม อิมสฺ มึ ปวารณคฺ เค ปวารณตฺ ถาย สนฺนิป ติตา ภิกฺ ขู เอตฺ ตกาติ
ภิกฺขูน คณนา. อิมสฺมิมฺปน ปวารณคฺเค ทส [เปลี่ยนตามจานวนภิกษุ] ภิกฺขู สนฺนิปติตา
โหนฺติ. อิติ สพฺเพหิ อายสฺมนฺเตหิ ภิกฺขุคณนาปิ ธาเรตพฺพา.
[รับพร้อมกันว่า เอว ภนฺเต/อาวุโส]
ภิกฺขุนีนโมวาโท ปน อิทานิ ตาส นตฺถิตาย นตฺถิ. อิติ สกรโณ กาสาน ปุพฺพกิจฺจาน
กตตฺตา นิกฺกรโณกาสาน ปุพฺพกิจฺจาน ปกติยา ปรินิฏฺฐิตตฺตา เอวนฺต นววิธ ปุพฺพกิจฺจ
ปรินิฏฺฐิต โหติ.
นิฏฺ ฐิ เต จ ปุพฺ พ กิจฺเจ สเจ โส ทิ ว โส จาตุ ทฺท สี ปณฺ ณรสี สามคฺ คี น มญฺญ ตโร
ยถาชฺช ปวารณา ปณฺณรสี, ยาวติกา จ ภิกฺขู กมฺมปฺปตฺตา สงฺฆปวารณารหา ปญฺจ วา
ตโต วา อติเรกา ปกตตฺตา ปาราชิก อนาปนฺนา สงฺเฆน วา อนุกฺขิตฺตา, เต จ โข หตฺถ
๑๖
ปาส อวิชหิตฺวา เอกสีมาย ฐิตา, เตสญฺจ วิกาลโภชนาทิวเสน วตฺถุสภาคาปตฺติโย เจ น
วิชฺชนฺติ. เตสญฺจ หตฺถปาเส หตฺถปาสโต พหิกรณวเสน วชฺเชตพฺโพ โกจิ วชฺชนียปุคฺคโล
เจ นตฺถิ.
เอวนฺต ปวารณากมฺม อิเมหิ จตูหิ ลกฺขเณหิ สงฺคหิต ปตฺตกลฺล นาม โหตุ กาตุ ง
ยุตฺตรูปํ ปวารณากมฺมสฺส ปตฺตกลฺลตฺต วิทิตฺวา อิทานิ กริยมานา ปวารณา สงฺเฆน อนุมา
เนตพฺพา.
[รับพร้อมกันว่า สาธุ]
๑๗

กฐินแบบธรรมยุต
หนึ่งเดือนหลังจากวันออกพรรษา หรือท้ายฤดูฝนตั้งแต่แรม ๑ ค่า เดือน ๑๑ ถึงวันเพ็ญ
เดือน ๑๒ เป็นช่วงเวลาที่มีพุทธานุญาตให้ภิกษุแสวงหาผ้ามาทาจีวร เรียกอีกอย่างหนึ่งว่า “กาล
จีวร” เพื่อเปลี่ยนผ้าเก่าที่ใช้อยู่ อาจเป็นผ้าที่ทายกทายิกานามาถวายแก่หมู่สงฆ์เพื่อประโยชน์ นี้
ในกรณีผ้าที่นามาถวายนั้นไม่พอ คือไม่ครบทุกรูปทรงอนุญาตให้ยกผ้านั้นขึ้นท่ามกลางสงฆ์ เพื่อ
จะขอมติว่าจะให้รูปใดเป็นผู้ครองแทน แต่โดยธรรมเนียมปฏิบัติและความเคารพในครูอุปัชฌา
อาจารย์นิยมมอบให้ท่านเป็นผู้ถือครอง และผ้านั้นภิกษุผู้มีความสามารถตลอดจนหมู่สงฆ์ ต้อง
ช่วยกัน โดยเริ่มตั้งแต่กระบวนการ “ซัก กะประมาณ ตัด เย็บ ย้อมสี ” ให้แล้วเสร็จภายใน
วันเดียว ซึ่งสามารถเย็บสบง, จีวร, สังฆาฏิ อย่างใดอย่างหนึ่งก็ได้ แล้วนามาท่ามกลางสงฆ์เพื่อ
มอบให้ภิกษุผู้จะครองได้อธิษฐานใช้ ซึ่งเริ่มจาก “สละผ้าครองผืนเก่า  ทาพินทุผ้าผืนใหม่ 
อธิษฐานผ้า  กรานผ้าผืนใหม่  อนุโมทนาผ้าที่กราน”
อาวาสที่สามารถรับกฐินได้ต้องมีจานวนภิกษุอยู่จาพรรษาตั้งแต่ ๕ รูป ขึ้นไป และทุกรูปนั้น
ล้วนอยู่จาพรรษาครบไตรมาส เมื่อออกพรรษาแล้วนอกจากจะได้รับอานิสงส์การอยู่จาพรรษา ๕
อย่างแล้ว เมื่อได้ รับกฐินก็ขยายเวลาการถืออานิสงส์นั้นออกไปอีก ๔ เดือน ตลอดฤดูเหมันต์
(ฤดูหนาว)
คาอปโลกน์กฐิน
[รูปที่ ๑]
อิทานิ โข ภนฺเต, อิท สปริวาร กฐินทุสฺส สงฺฆสฺส กฐินตฺถารารหกาเลเยว อุปฺปนฺน.
อีทิเส จ กาเล เอว อุปฺป นฺเนนะ ทุสฺเสน กฐินตฺถาโร วสฺส วุตฺถาน ภิกฺขูน ภควตา
อนุญฺญาโต, เยน อากงฺขมานสฺส สงฺฆสฺส ปญฺจ กปฺปิสฺสนฺติ. อนามนฺตจาโร, อสมาทานจาโร,
คณโภชน, ยาวทตฺถจีวร, โย จ ตตฺถ จีวรุปฺปาโท โส เนส ภวิสฺสติ. จตูสุปิ เหมนฺติเกสุ
๑๘
มาเสสุ จีวรกาโล มหนฺตีกโต ภวิสฺสติ. อิทาน ปน สงฺโฆ อากงฺขติ นุ โข กฐินตฺถาร,
อุทาหุ นากงฺขติ ? [สงฆ์พึงรับว่า “อากงฺขาม ภนฺเต” ผู้พรรษามากรับเพียง “อากงฺขาม”]
[คาแปล] ข้าแต่ท่านผู้เจริญทั้งหลาย, บัดนี้แลผ้ากฐินกับทั้งบริวารอันนี้เกิดขึ้น แล้วแก่สงฆ์ ในกาลอันควร
กรานกฐินนั่นแหละ, ก็พระผู้มีพระภาคเจ้าได้ทรงอนุญาตการกรานกฐินแก่ภิกษุทั้งหลาย ผู้ได้อยู่จาพรรษาแล้ว
ด้วยผ้าที่เกิดขึ้นแล้วอย่างนี้ ในกาลเช่นนี้, อาศัยการกรานกฐินไรเล่าเป็นเหตุอานิสงส์ ๕ จักสาเร็จแก่สงฆ์ผู้
ปรารถนาอยู่, คือเที่ยวไปด้วยไม่ต้องบอกลา ๑ เที่ยวจาริกไปด้วยไม่ต้องถือเอาไตรจีวรไปครบสารับ ๑ ฉันคณะ
โภชน์ได้ ๑ เก็บอติเรกจีวรไว้ได้ตามปรารถนา ๑ จีวรลาภเกิดขึ้นในอาวาสนั้นจักเป็นของได้แก่พวกเธอ ๑ ทั้งจีวร
กาล เธอเหล่านั้นจักได้ทาให้เป็นกาลมาก ยืดออกไปในฤดูเหมันต์ ๔ เดือน, ก็บัดนี้ สงฆ์ปรารถนาจะกรานกฐิน,
หรือไม่ปรารถนา ?

[รูปที่ ๒]
โส โข ปน ภนฺ เต กฐิน ตฺ ถ าโร, ภควตา ปุ คฺ คลสฺ ส อตฺ ถ ารวเสเนว อนุ ญฺ ญ าโต,
นาญญตฺตร ปุคฺคลสฺส อตฺถารา อตฺถต โหติ กฐินนฺติ หิ วุตฺต ภควตา. น สงฺโฆ วา
คโณ วา กฐิ น อตฺ ถ รติ . สงฺ ฆ สฺ ส จ คณสฺ ส จ สามคฺ คิ ย า ปุ คฺ ค ลสฺ เสว อตฺ ถ ารา,
สงฺฆสฺสปิ คณสฺสปิ ตสฺเสว ปุคฺคลสฺสปิ อตฺถต โหติ กฐิน. อิทานิ กสฺสิม กฐินทุสฺส ทสฺ
สาม กฐิน อตฺถริตุง, โย ชิณฺณจีวโร วา ทุพฺพลจีวโร วา, โย วา ปน อุสฺสหิสฺสติ อชฺเชว
จีวรกมฺม นิฏฺฐาเปตฺวา, สพฺพวิธาน อปริหาเปตฺวา กฐิน อตฺถริตุง, สมตฺโถ ภวิสฺสติ.
[สงฆ์พึ่งนิ่งเฉย]
[คาแปล] ข้าแต่ท่านผู้เจริญ ก็การกรานกฐินนั่นแล พระผู้มีพระภาคเจ้าได้ทรงอนุญาตด้วยอานาจแห่งความ
กรานของบุคคลอย่างเดียว, เพราะพระผู้มีพระภาคเจ้าได้ตรัสไว้ว่า กฐินไม่เป็นอันกรานแล้ว นอกจากการกราน
แห่งบุคคลดังนี้. สงฆ์หรือคณะก็หากรานได้ไม่. เพราะอาศัยความกรานกฐินแห่งบุคคล โดยความพร้อมเพรียง
แห่งสงฆ์ด้วยแห่งคณะด้วย, กฐินแห่งสงฆ์ แห่งคณะ แห่งบุคคลนั้น เป็นอันสงฆ์และคณะ และบุคคลนั้นได้กราน
แล้ว. ก็บัดนี้ เราทั้งหลายจักให้ผ้ากฐินนี้แ ก่ภิกษุรูปใด เพื่อจะกรานกฐิน. ภิกษุใดมีจีวรเก่าคร่าคร่า หรือมีจีวร
ทุพพลภาพ, ก็หรือว่า ภิกษุใดจักอาจหาญจักเป็นผู้สามารถเพื่อจะให้จีวรกรรมสาเร็จ ในวันนี้นี่แหละ, ไม่ให้วิธีทั้ง
ปวงเสื่อม, แล้วกรานกฐินได้.
๑๙
[รูปที่ ๓]
อิธ อมฺเหสุ อายสฺมา อิตฺถนฺนาโม, สพฺพมหลฺลโก พหุสฺสุโต ธมฺมธโร วินยธโร, สพฺรหฺม
จารีน สนฺทสฺสโก สมาทปโก สมุตฺเตชโก สมฺปหงฺสโก, พหุนฺน อาจริโย (วา อุปชฺฌาโย วา)
หุตฺวา โอวาทโก อนุสาสโก, สมตฺโถ จ ต ต วินยกมฺม อวิโกเปตฺวา กฐิน อตฺถริตุง.
มญฺญามหเมว สพฺโพย สงฺโฆ อิม สปริวาร กฐินทุสฺส, อายสฺมโต อิตฺถนฺนามสฺส ทาตุกาโม.
ตสฺมึ กฐิน อตฺถรนฺเต, สพฺโพย สงฺโฆ สมฺมเทว อนุโมทิสฺสติ. อายสฺมโต อิตฺถนฺนามสฺเสว
อิม สปริวาร กฐินทุสฺส ทาตุง, รุจฺจติ วา โน วา สพฺพสฺสิมสฺส สงฺฆสฺส ?
[สงฆ์พึงรับว่า รุจฺจติ ภันเต]
[คาแปล] บรรดาเราทั้งหลายท่านผู้มีอายุ..ฉายา.., ท่านมีพรรษายุกาลมากกว่าสงฆ์ทั้งปวงเป็นพหุสูต ทรง
ธรรม ทรงวินัย, แสดงให้เพื่อนพรหมจรรย์เห็นจริง ให้รับปฏิบัติให้อาจหาญ ให้ร่าเริง, และเป็นอาจารย์ (หรือเป็น
อุปัชฌาย์) เป็นผู้ให้โอวาทสั่งสอนแก่คฤหัสถ์ บรรพชิต เป็นอันมาก. อนึ่ง สามารถเพื่อจะกรานกฐิน ไม่ให้วินัย
กรรมนั้นๆ กาเริบ. ข้าพเจ้าสาคัญว่า สงฆ์ทั้งปวงนี้ปรารถนาจะให้ผ้ากฐินกับทั้งบริวารนี้, แก่ท่านผู้มีอายุ...ฉายา...
เมื่อท่านนั้นกรานกฐินอยู่, สงฆ์ทั้งปวงนี้จักอนุโมทนาโดยชอบทั่วกัน. การให้ผ้ากฐินกับทั้งบริวารนี้แก่ท่าน...
ฉายา..., ย่อมชอบหรือไม่ชอบแก่สงฆ์ทั้งปวง ? [ชอบละ เจ้าข้า]

[รูปที่ ๔]
ยทิ อายสฺมโต อิตฺถนฺนามสฺส, อิม สปริวาร กฐินทุสฺส ทาตุง. สพฺพสฺสิมสฺส สงฺฆสฺส
รุจฺจติ, สาธุ ภนฺเต สงฺโฆ, อิม กฐินทุสฺสปริวารภูต ติจีวร วสฺสาวาสิกฏฺฐิติกาย อคาเหตฺวา,
อายสฺมโต อิตฺถนินามสฺเสว อิมินา อปโลกเนน ททาตุ. กฐินทุสฺส ปน อปโลกเนน ทิยฺย
มานปิ น รูหติ. ตสฺมา ต อิทานิ ญตฺติทุติเยน กมฺเมน อกุปฺเปน ฐานารเหน, อายสฺมโต
อิตฺถนฺนามสฺส, เทมาติ กมฺมสนฺนิฏฺฐาน กโรตุ.
[สงฆ์พึงรับว่า สาธุ ภนฺเต]
[คาแปล] ถ้าการให้ผ้ากฐินกับบริวารนี้แก่ท่าน...ฉายา..., ควรชอบแก่สงฆ์ทั้งปวงนี้ไซร้, ขอสงฆ์จงให้ผ้าไตร
ซึ่งเป็นบริวารของผ้ากฐินไตรนี้แก่ท่าน...ฉายา..., ด้วยการอปโลกน์นี้เถิด อย่าให้ต้องถือเอาตามลาดับจานา
๒๐
พรรษาเลย, ก็แลผ้ากฐินแม้สงฆ์จะให้ด้วยอปโลกน์ก็ไม่ขึ้น, (ต้องให้ด้วยญัตติทุติยกรรมนั้นจึงขึ้น) เพราะฉะนั้น
บัดนี้ขอสงฆ์จงทากรรมสันนิษฐานว่า เราทั้งหลายให้ผ้ากฐินนั้น แก่ท่าน...ฉายา..., ด้วยญัตติทุติยกรรม อันไม่
กาเริบอันควรแก่ฐานะ ณ กาลบัดนี้แล. [ดีละ เจ้าข้า]
หมายเหตุ :- บทว่า อิตฺถนฺนาโม และ อิตฺถนฺนามสฺส ที่ขีดเส้นใต้ไว้นั้น ให้เปลี่ยนตามฉายาของภิกษุผู้กราน
กฐิน ทุกแห่งไป แต่ถ้าผู้กรานกฐินมีราชทินนาม (พระครู, เจ้าคุณ) ให้ใช้ชื่อราชทินนามนั้นๆ แทน
บทว่า สพฺพมหลฺลโก นี้ สาหรับผู้กราบกฐินแก่พรรษาในหมู่สงฆ์ ถ้าในสงฆ์มีภิกษุพรรษา
มากกว่าผู้กรานกฐินให้ยกเสียไม่ต้องว่า
บทว่า พหุนฺน อาจริโย (วา อุปชฺฌาโย วา) หุตฺวา นั้น ถ้าผู้กรานกฐินเป็นอาจารย์ของ
ภิกษุทั้งหลาย จงว่า พหุนฺน อาจริโย หุตฺวา ถ้าเป็นแต่อุปัชฌาย์จงว่า พหุนฺน อุปชฺฌาโย หุตฺวา ถ้าเป็นทั้ง ๒
อย่างคงว่าตามแบบ

ญัตติทุติยกรรมวาจา [ตั้งญัตติ ๒ รูป]
[ตั้ง นะโม ๕ ชั้น]
๑. นโม ตสฺส ภควโต อรหโต สมฺมาสมฺพุทฺธสฺส นโม ตสฺส.
๒. ภควโต อรหโต สมฺมาสมฺพุทฺธสฺสะ.
๓. นโม ตสฺส ภควโต.
๔. อรหโต สมฺมา.
๕. สมฺพุทฺธสฺส.
สุณาตุ เม ภนฺเต [อาวุโส] สงฺโฆ. อิท สงฺฆสฺส กฐินทุสฺส อุปฺปนฺน, ยทิ สงฺฆสฺส
ปตฺตกลฺล, สงฺโฆ อิม กฐินทุสฺส, อายสฺมโต อิตฺถนฺนามสฺส, ทเทยฺย กฐิน อตฺถริตุง, เอสา
ญตฺติ.
สุณาตุ เม ภนฺเต [อาวุโส] สงฺโฆ, อิท สงฺฆสฺส กฐินทุสฺส อุปฺปนฺน, สงฺโฆ อิม กฐิน
ทุสฺส, อายสฺมโต อิตฺถนฺนามสฺส, เทติ กฐิน อตฺถริตุง. ยสฺสายสฺมโต ขมติ, อิมสฺส กฐิน
ทุสฺสสฺส, อายสฺมโต อิตฺถนฺนามสฺส, ทาน กฐิน อตฺถริตุง, โส ตุณฺหสฺสะ, ยสฺส น ขมติ,
๒๑
โส ภาเสยฺย, ทินฺน อิท สงฺเฆน กฐินทุสฺส, อายสฺมโต อิตฺถนฺนามสฺส, กฐิน อตฺถริตุง,
ขมติ สงฺฆสฺส, ตสฺมา ตุณฺหี, เอวเมต ธารยามิ.
[คาแปล] ความนอบน้อมแห่งข้าฯ จงมีแด่พระผู้มีพระภาคเจ้า อรหันตสัมมาสัมพุทธเจ้า พระองค์นั้น.
ข้าแต่ท่านผู้เจริญ ขอสงฆ์จงฟังข้าพเจ้า, ผ้ากฐินนี้เกิดขึ้นแล้วแก่สงฆ์, ถ้าความพร้อมพรั่งของ
สงฆ์ถึงที่แล้ว, สงฆ์พึงให้ผ้ากฐินนี้แก่ท่าน...ฉายา..., เพื่อจะกรานกฐิน, นี้เป็นญัตติ [คาเสนอ]
ข้าแต่ท่านผู้เจริญ ขอสงฆ์จงฟังข้าพเจ้า, ผ้ากฐินนี้เกิดขึ้นแล้วแก่สงฆ์, สงฆ์ให้ ผ้ากฐินนี้แก่
ท่าน ...ฉายา..., เพื่อจะกรานกฐิน, การให้ผ้ากฐินนี้แก่ท่าน...ฉายา..., เพื่อจะกรานกฐิน ชอบแก่ท่านผู้ใด,
ท่านผู้นั้นเป็นผู้นิ่ง, ไม่ชอบแก่ท่านผู้ใด, ท่านผู้นั้นพึงพูด, ผ้ากฐินนี้อันสงฆ์ให้แล้วแก่ท่าน...ฉายา..., เพื่อกราน
กฐิน, ย่อมชอบแก่สงฆ์, เหตุนั้นสงฆ์จึงนิ่งอยู่, ข้าพเจ้าทรงความนี้ไว้ ด้วยอาการอย่างนี้.

คากรานกฐิน
กรานด้วยผ้าสังฆาฏิ : อิมาย สงฺฆาฏิยา กฐิน อตฺถรามิ.
กรานด้วยผ้าจีวร : อิมินา อุตฺตราสงฺเคน กฐิน อตฺถรามิ.
กรานด้วยผ้าสบง : อิมินา อนฺตรวาสเกน กฐิน อตฺถรามิ.
คาเสนออนุโมทนากฐิน
อตฺถต อาวุโส [ภนฺเต] สงฺฆสฺส กฐิน, ธมฺมิโก กฐินตฺถาโร อนุโมทถ.
คาอนุโมทนากฐิน [ว่าพร้อมกัน]
อตฺถต ภนฺเต [อาวุโส] สงฺฆสฺส กฐิน, ธมฺมิโก กฐินตฺถาโร อนุโมทาม.
[ถ้าว่าทีละรูปให้เปลี่ยน อนุโมทาม เป็น อนุโมทามิ]
๒๒

กาลิก ๔
ของที่สามารถกลืนกินให้ล่วงลาคอลงไป ท่านเรียกว่ากาลิก เพราะเป็นของมีกาหนดให้
ใช้ชั่วคราว จาแนกเป็น ๔ อย่าง
๑. ยาวกาลิก เป็นของที่ใช้บริโภคเป็นอาหาร ตั้งแต่เช้าถึงเที่ยงวัน มีโภชนะทั้ง ๕
คือ ข้าวสุกที่หุงจากธัญญชาติทั้งหลาย ๑ ขนมกุมมาสเป็นของทาด้วยแป้งหรือด้วยถั่วงา มีอันจะ
บูดหรือล่วงคืนแล้ว ๑ สัตตุ คือขนมแห้งเป็นของไม่บูด ๑ ปลา ๑ เนื้อ ๑ นอกจากนี้ยังมี นมสด
นมส้ม ของขบเคี้ยว เช่นผลไม้และเง่ามีมันเป็นต้น
ยาวกาลิกนี้ พ้นกาหนดเวลาแล้ว ภิกษุฉันให้ล่วงลาคอไป ต้องอาบัติปาจิตตีย์
ด้วยวิ กาลโภชนสิกขา รั บประเคนแรมคืนแล้วฉั นในกาลแห่งวั นรุ่ง ขึ้นเป็นต้น ไป ต้องอาบั ติ
ปาจิตตีย์ด้วยสันนิธิการสิกขาบท
๒. ยาวกาลิก เป็นของที่ให้บริโภคได้วันหนึ่งกับคนหนึ่ง ได้แก่ปานะ คือน้าสาหรับ
ดื่ม ที่คั้นออกจากน้าลูกไม้ ๘ ชนิด คือ น้ามะม่วง ๑ น้าชมพู่หรือน้าหว้า ๑ น้ากล้วยมีเม็ด ๑ น้า
กล้วยไม่มีเม็ด ๑ น้ามะซาง ๑ น้าลูกจันทร์หรือองุ่น ๑ น้าเง่าอุบล ๑ น้ามะปรางหรือลิ้นจี่ ๑
วิธีทาปานะ ปอกหรือคว้านผลไม้เหล่านี้ที่สุก เอาผ้าห่อ บิดผ้าให้ตึง อัดเนื้อ
ผลไม้ให้คายน้าออกจากผ้า หรืออาจใช้ที่คั้นน้าผลไม้แล้วเอาผ้ากรองน้าผลไม้ ระวังอย่าให้มีเนื้อ
หรือกากผลไม้เจือปน เติมน้าลงให้พอดี ประกอบของอื่นเป็นต้นว่า น้าตาล เกลือ พอเข้ารส
ปานะนี้ให้ใช้ของสด ห้ามมิให้ต้มด้วยไฟ เป็นของที่อนุปสัมบันทาจึงควรในวิกาล
ถ้าภิกษุทาเองท่านว่ามีคติอย่างยาวกาลิก เพราะรับประเคนทั้งผล ยามกาลิกนี้ล่ วงกาหนดคืน
หนึ่ง คืออรุณใหม่ขึ้นแล้ว ท่านห้ามไม่ให้ฉัน ปรับเป็นอาบัติทุกกฎ
๓. สัตตาหกาลิก เป็นของที่ให้บริโภคได้ ๗ วัน ได้แก่ เภสัช ๕ อย่าง คือ เนยใส
เนยข้น น้ามัน น้าผึ้ง น้าอ้อย
๒๓
สัตตาหกาลิกที่ภิกษุไม่ได้ทาเอง รับประเคนในเช้า ฉันแม้กับอาหารในวันนั้ นก็
ได้ ตั้งแต่วิกาลแห่งวันนั้นไป ฉันกับอาหารไม่ได้ ฉันได้โดยฐานเป็นเภสัชตลอดกาล ล่วงคราว
คือ ๗ วันแล้วไป เป็นนิสสัคคีย์ ภิกษุต้องปาจิตตีย์ ด้วยสิกขาบทที่ ๓ แห่งปัตตวรรค ในนิสสัค
คีย์กัณฑ์ ฉันเภสัชที่เป็นนิสสัคคีย์ต้องทุกกฏ
๔. ยาวชีวิก เป็นของที่ให้บริโ ภคได้เสมอไปไม่มีจากัดกาล ใช้ประกอบเป็นยา
นอกจากกาลิก ๓ อย่างนั้น จัดเป็นยาวชีวิก ดังนี้
รากไม้ เช่น ขมิ้น ขิง ว่านน้า ว่านเปราะ อุตพิด ข่า แฝก แห้วหมู เป็น
น้าฝาด เช่น น้าฝาดสะเดา น้าฝาดมูกมัน น้าฝาดกระดอม หรือมูลกา น้า
ฝาดบอระเพ็ด หรือพญามือเหล็ก น้าฝาดกระถินพิมาน
ใบไม้ เช่น ใบสะเดา ใบมูกมัน ใบกระดอม หรือมูลกา ใบกะเพรา หรือ
แมงลัก ใบฝ้าย ใบชะพลู ใบบัวบก ใบส้มลม ใบส้มกบ
ผลไม้ เช่น ลูกพิลังกาสา ดีปลี พริก สมอไทย สมอพิเภก มะขามป้อม
ผลแห่งโกศ
ยางไม้ เช่น ยางที่ไหลออกจากต้นหิงคุ์ หรือเคี่ยวออกจากก้านและใบแห่งต้น
หิงคุ์
เกลือต่างๆ เช่น เกลือจากน้าทะเล เกลือดา เกลือสินเธาว์ หรือเกลือที่เขาเอา
ดินโป่งมาเคี่ยวทาขึ้น

กาลิกระคนกัน
๑. ยามกาลิก สัตตาหกาลิก ยาวชีวิก ๓ นี้ สิ่งใดสิ่งหนึ่งรับประเคนไว้ในวันนั้น
ด้วยกันกับ ยาวกาลิก ย่อมควรในกาล ไม่ควรในวิกาล
๒. สัตตาหกาลิก ยาวชีวิก ๒ นี้ สิ่งใดสิ่งหนึ่งรับประเคนในวันนั้นด้วยกันกับ ยาม
กาลิก ย่อมควรในยาม คือวันหนึ่งไปจนวันรุ่ง ล่วงยามไปคือถึงอรุณใหม่ไม่ควร
๒๔
๓. ยาวชีวิก รับประเคนกับ สัตตาหกาลิก ควร ๗ วัน ล่วง ๗ วันไปไม่ควร
กาลิกใดๆ มีรสไม่ระคนปนกัน กาลิกนั้นๆ แม้รับประเคนด้วยกันจะบริสุทธิ์อย่างใด
ล้างหรือปอกเสียอย่างนั้นแล้ว และบริโภคตามกาลแห่งกาลิกนั้นๆ ก็ควร ถ้ามีรสอันเจือระคนกัน
ไซร้ ไม่ควรบริโภค
ยาวกาลิก กั บ ยามกาลิ ก ๒ นี้ เก็ บไว้ใ นอกัป ปิยะกุ ฎี แม้ เป็นของสงฆ์ ชื่อ ว่า อั น
โตวุฏฐะ แปลว่า อยู่ในภายใน หุงต้มให้สุกในอกัปปิยะกุฎี ชื่อว่า อันโตปักกะ แปลว่า สุกใน
ภายใน ภิกษุหุงต้มให้สุกเอง ชื่อว่า สามะปักกะ แปลว่า ให้สุกเอง ทั้ง ๓ กระบวนการนี้ เป็นวัตถุ
แห่งทุกกฎ ห้ามไม่ให้ฉัน
ยาวกาลิก ที่เก็บไว้ในกัปปิยะกุฎีไม่เป็นอันโตวุฏฐะ หุงต้มในนั้นไม่เป็นอันโตปักกะ แต่
ทาเองในนั้นคงเป็นสามะปักกะท่านห้าม แต่จะอุ่นของที่คนอื่นทาสุกแล้วท่านอนุญาต

ห้ามไม่ให้ภิกษุฉันเนื้อ ๑๐ อย่าง
๑. เนื้อมนุษย์

๖. เนื้อราชสีห์

๒. เนื้อช้าง
๗. เนื้อหมี
๓. เนื้อม้า
๘. เนื้อเสือโคร่ง
๔. เนื้อสุนัข
๙. เนื้อเสือดาว
๕. เนื้องู
๑๐. เนื้อเสือเหลือง
เนื้อมนุษย์ เป็นของห้ามโดยกวดขันเป็นวัตถุแห่งถุลลัจจัย เลือดก็สงเคราะห์เข้าในเนื้อ
ด้วยเหมือนกัน เนื้ออีก ๙ ชนิดนั้นเป็นวัตถุแห่งทุกกฏ เนื้อนอกจากที่ระบุชื่อไว้เป็นของไม่ห้าม
โดยกาเนิด แต่ห้ามโดยความเป็นของดิบ ยังไม่ได้ทาให้สุกด้วยไฟ และต้องเป็นเนื้อที่บริสุทธิ์
โดยส่วน ๓ คือ ภิกษุไม่ได้เห็น ไม่ได้ยิน ไม่ได้สงสัย ว่าเขาฆ่ามาเฉพาะตนเช่นนี้ ฉันไม่มีโทษ
คือต้องอาบัติ
๒๕

มหาปเทส ๔
คือหลักการตัดสินพระธรรมวินัย ว่าควรหรือไม่ควร
๑. สิ่งใดไม่ได้ทรงห้ามไว้ว่าไม่ควร แต่เข้ากันกับสิ่งที่เป็นอกัปปิยะ ขัดกันกับสิ่งที่เป็น
กัปปิยะ สิ่งนั้นไม่ควร.
๒. สิ่งใดไม่ได้ทรงห้ามไว้ว่าไม่ควร แต่เข้ากันกับสิ่งที่เป็นกัปปิยะ ขัดกันกับสิ่งที่เป็น
อกัปปิยะ สิ่งนั้นควร.
๓. สิ่งใดไม่ได้ทรงอนุญาตไว้ว่าควร แต่เข้ากันกับสิ่งที่เป็นอกัปปิยะ ขัดกันกับสิ่งที่
เป็นกัปปิยะ สิ่งนั้นไม่ควร.
๔. สิ่งใดไม่ได้ทรงอนุญาตไว้ว่า ควร แต่เข้ากันกับสิ่งที่เป็นกัปปิยะ ขัดกันกับสิ่งที่
เป็นอกัปปิยะ สิ่งนั้นควร.

เทศนาบัติพิธี
พระภิกษุที่ต้องลหุกาบัติ คืออาบัติเบาที่สามารถแสดงความบริสุทธิ์กับภิกษุด้วยกันได้ ได้แก่
อาบัติถุลลัจจัย ปาจิตตีย์ ทุกกฎ และทุพภาษิต หรือเรียกอีกอย่างหนึ่งว่า เทสนาบัติ คือจะพ้น
จากอาบัติได้ด้วยการแสดง ทั้งนี้การแสดงอาบัติมิใช่วิธีการที่จะทาให้ภิกษุผู้ต้องพ้นจากกรรมไป
ได้ เป็นแต่เพียงการผูกใจว่าต่อไปจะไม่กระทาผิดอีก
ดังนั้น เมื่อภิกษุรู้ดังนี้แล้ว พึงห่มผ้าเฉวียงบ่าเข้าไปหาภิกษุที่มีความสามารถบอกและ
วิ ธี ก ารได้ เช่ น ครู บ าอาจารย์ สหธรรมิ ก อาจจะมี พ รรษามากกว่ า หรื อ น้ อ ยกว่ า ก็ ไ ด้ ที่ มี
ความสามารถแสดงอาบัติได้ ทั้งนี้ ผู้ที่มีพรรษาอ่อนกว่าพึงน้อมตัวลงต่ากว่าภิกษุผู้มีพรรษาแก่
กว่า โดยนั่งคุกเข่าห่างกัน ๑ หัตถบาท [๑ ศอก] พร้อมกับกล่าวว่า
๒๖

สาหรับภันเต ภิกษุ [ผู้มีพรรษามาก]
อาบัติถุลลัจจัย
ผู้แสดง : อะหัง อาวุโส สัมพะหุลา นานาวัตถุกาโย, ถุลลัจจะยาโย
อาปัตติโย อาปันโนตา ปะฏิเทเสมิ.
ผู้รับ : ปัสสะถะ ภันเต.
ผู้แสดง : อามะ อาวุโส ปัสสามิ.
ผู้รับ : อายะติง ภันเต สังวะเรยยาถะ.
ผู้แสดง : สาธุ สุฏฐุ อาวุโส สังวะริสสามิ. [ว่า ๓ ครั้ง]
อาบัติปาจิตตีย์
ผู้แสดง : อะหัง อาวุโส สัมพะหุลา นานาวัตถุกาโย,
ปาจิตติยาโย อาปัตติโย อาปันโนตา ปะฏิเทเสมิ.
ผู้รับ : ปัสสะถะ ภันเต.
ผู้แสดง : อามะ อาวุโส ปัสสามิ.
ผู้รับ : อายะติง ภันเต สังวะเรยยาถะ.
ผู้แสดง : สาธุ สุฏฐุ อาวุโส สังวะริสสามิ. [ว่า ๓ ครั้ง]
อาบัติทุกกฎ
ผู้แสดง : อะหัง อาวุโส สัมพะหุลา นานาวัตถุกาโย,
ทุกกะฏาโย อาปัตติโย อาปันโนตา ปะฏิเทเสมิ.
ผู้รับ : ปัสสะถะ ภันเต.
ผู้แสดง : อามะ อาวุโส ปัสสามิ.
ผู้รับ : อายะติง ภันเต สังวะเรยยาถะ.
ผู้แสดง : สาธุ สุฏฐุ อาวุโส สังวะริสสามิ. [ว่า ๓ ครั้ง]
๒๗
อาบัติทุพภาสิต
ผู้แสดง : อะหัง อาวุโส สัมพะหุลา ทุพภาสิตาโย,
อาปัตติโย อาปันโนตา ปะฏิเทเสมิ.
ผู้รับ : ปัสสะถะ ภันเต.
ผู้แสดง : อามะ อาวุโส ปัสสามิ.
ผู้รับ : อายะติง ภันเต สังวะเรยยาถะ.
ผู้แสดง : สาธุ สุฏฐุ อาวุโส สังวะริสสามิ. [ว่า ๓ ครั้ง]

สาหรับอาวุโสภิกษุ [ผู้มีพรรษาอ่อนกว่า]
อาบัติถุลลัจจัย
ผู้แสดง : อะหัง ภันเต สัมพะหุลา นานาวัตถุกาโย,
ถุลลัจจะยาโย อาปัตติโย อาปันโนตา ปะฏิเทเสมิ.
ผู้รับ : ปัสสะสิ๊ อาวุโส.
ผู้แสดง : อามะ ภันเต ปัสสามิ.
ผู้รับ : อายะติง อาวุโส สังวะเรยยาสิ.
ผู้แสดง : สาธุ สุฏฐุ ภันเต สังวะริสสามิ. [ว่า ๓ ครั้ง]
อาบัติปาจิตตีย์
ผู้แสดง : อะหัง ภันเต สัมพะหุลา นานาวัตถุกาโย,
ปาจิตติยาโย อาปัตติโย อาปันโนตา ปะฏิเทเสมิ.
ผู้รับ : ปัสสะสิ๊ อาวุโส.
ผู้แสดง : อามะ ภันเต ปัสสามิ.
ผู้รับ : อายะติง อาวุโส สังวะเรยยาสิ.
ผู้แสดง : สาธุ สุฏฐุ ภันเต สังวะริสสามิ. [ว่า ๓ ครั้ง]
๒๘
อาบัติทุกกฎ
ผู้แสดง : อะหัง ภันเต สัมพะหุลา นานาวัตถุกาโย,
ทุกกะฏาโย อาปัตติโย อาปันโนตา ปะฏิเทเสมิ.
ผู้รับ : ปัสสะสิ๊ อาวุโส.
ผู้แสดง : อามะ ภันเต ปัสสามิ.
ผู้รับ : อายะติง อาวุโส สังวะเรยยาสิ.
ผู้แสดง : สาธุ สุฏฐุ ภันเต สังวะริสสามิ. [ว่า ๓ ครั้ง]
อาบัติทุพภาสิต
ผู้แสดง : อะหัง ภันเต สัมพะหุลา ทุพภาสิตาโย,
อาปัตติโย อาปันโนตา ปะฏิเทเสมิ.
ผู้รับ : ปัสสะสิ๊ อาวุโส.
ผู้แสดง : อามะ ภันเต ปัสสามิ.
ผู้รับ: อายะติง อาวุโส สังวะเรยยาสิ.
ผู้แสดง : สาธุ สุฏฐุ ภันเต สังวะริสสามิ. [ว่า ๓ ครั้ง]

Contenu connexe

Tendances

ธัมมะฐิตะกะถา (เทศน์ทำบุญอุทิศให้ยายยาน มาลีหวล)
ธัมมะฐิตะกะถา (เทศน์ทำบุญอุทิศให้ยายยาน มาลีหวล)ธัมมะฐิตะกะถา (เทศน์ทำบุญอุทิศให้ยายยาน มาลีหวล)
ธัมมะฐิตะกะถา (เทศน์ทำบุญอุทิศให้ยายยาน มาลีหวล)
Kiat Chaloemkiat
 
ธัมมานุปัสสนาสติปัฏฐาน
ธัมมานุปัสสนาสติปัฏฐานธัมมานุปัสสนาสติปัฏฐาน
ธัมมานุปัสสนาสติปัฏฐาน
Anchalee BuddhaBucha
 
รามเกียรติ์ ตอนนารายณ์ปราบนนทก พร้อมแบบฝึกหัด
รามเกียรติ์ ตอนนารายณ์ปราบนนทก พร้อมแบบฝึกหัดรามเกียรติ์ ตอนนารายณ์ปราบนนทก พร้อมแบบฝึกหัด
รามเกียรติ์ ตอนนารายณ์ปราบนนทก พร้อมแบบฝึกหัด
Methaporn Meeyai
 
สามัคคีคำฉันท์.Ppt 34
สามัคคีคำฉันท์.Ppt 34สามัคคีคำฉันท์.Ppt 34
สามัคคีคำฉันท์.Ppt 34
Kittisak Chumnumset
 
รวมบทสวดพระพุทธมนต์ พร้อมคำแปล
รวมบทสวดพระพุทธมนต์ พร้อมคำแปลรวมบทสวดพระพุทธมนต์ พร้อมคำแปล
รวมบทสวดพระพุทธมนต์ พร้อมคำแปล
Chavalit Deeudomwongsa
 
นาย มนตรี นวลสม
นาย มนตรี  นวลสมนาย มนตรี  นวลสม
นาย มนตรี นวลสม
A'waken B'Benz
 

Tendances (20)

แปลบาลีเป็นไทย แปลไทยเป็นบาลี
แปลบาลีเป็นไทย แปลไทยเป็นบาลีแปลบาลีเป็นไทย แปลไทยเป็นบาลี
แปลบาลีเป็นไทย แปลไทยเป็นบาลี
 
ธัมมะฐิตะกะถา (เทศน์ทำบุญอุทิศให้ยายยาน มาลีหวล)
ธัมมะฐิตะกะถา (เทศน์ทำบุญอุทิศให้ยายยาน มาลีหวล)ธัมมะฐิตะกะถา (เทศน์ทำบุญอุทิศให้ยายยาน มาลีหวล)
ธัมมะฐิตะกะถา (เทศน์ทำบุญอุทิศให้ยายยาน มาลีหวล)
 
ปัญหาเฉลย-นักธรรมชั้นเอก (ปี 2549 - 2564).pdf
ปัญหาเฉลย-นักธรรมชั้นเอก (ปี 2549 - 2564).pdfปัญหาเฉลย-นักธรรมชั้นเอก (ปี 2549 - 2564).pdf
ปัญหาเฉลย-นักธรรมชั้นเอก (ปี 2549 - 2564).pdf
 
กรรมฐาน (สื่อการสอน ๑) สัปดาห์ที่ ๑
กรรมฐาน (สื่อการสอน ๑) สัปดาห์ที่ ๑กรรมฐาน (สื่อการสอน ๑) สัปดาห์ที่ ๑
กรรมฐาน (สื่อการสอน ๑) สัปดาห์ที่ ๑
 
สวดมนต์แปล(ตัวใหญ่)
สวดมนต์แปล(ตัวใหญ่)สวดมนต์แปล(ตัวใหญ่)
สวดมนต์แปล(ตัวใหญ่)
 
แบบตั้งฉายาพระ.pdf
แบบตั้งฉายาพระ.pdfแบบตั้งฉายาพระ.pdf
แบบตั้งฉายาพระ.pdf
 
โคลนติดล้อ (สอน Ppt)[1]
โคลนติดล้อ (สอน Ppt)[1]โคลนติดล้อ (สอน Ppt)[1]
โคลนติดล้อ (สอน Ppt)[1]
 
ธัมมานุปัสสนาสติปัฏฐาน
ธัมมานุปัสสนาสติปัฏฐานธัมมานุปัสสนาสติปัฏฐาน
ธัมมานุปัสสนาสติปัฏฐาน
 
รามเกียรติ์ ตอนนารายณ์ปราบนนทก พร้อมแบบฝึกหัด
รามเกียรติ์ ตอนนารายณ์ปราบนนทก พร้อมแบบฝึกหัดรามเกียรติ์ ตอนนารายณ์ปราบนนทก พร้อมแบบฝึกหัด
รามเกียรติ์ ตอนนารายณ์ปราบนนทก พร้อมแบบฝึกหัด
 
สามัคคีคำฉันท์.Ppt 34
สามัคคีคำฉันท์.Ppt 34สามัคคีคำฉันท์.Ppt 34
สามัคคีคำฉันท์.Ppt 34
 
คู่มือพระกรรมวาจาจารย์บรรพชาอุปสมบท
คู่มือพระกรรมวาจาจารย์บรรพชาอุปสมบทคู่มือพระกรรมวาจาจารย์บรรพชาอุปสมบท
คู่มือพระกรรมวาจาจารย์บรรพชาอุปสมบท
 
หนังสือเรียนวิชาเรียงความแก้กระทู้ธรรม นักธรรมชั้นตรี แผนใหม่
หนังสือเรียนวิชาเรียงความแก้กระทู้ธรรม นักธรรมชั้นตรี แผนใหม่หนังสือเรียนวิชาเรียงความแก้กระทู้ธรรม นักธรรมชั้นตรี แผนใหม่
หนังสือเรียนวิชาเรียงความแก้กระทู้ธรรม นักธรรมชั้นตรี แผนใหม่
 
สรุปนักธรรมโท _V.2565.pdf
สรุปนักธรรมโท _V.2565.pdfสรุปนักธรรมโท _V.2565.pdf
สรุปนักธรรมโท _V.2565.pdf
 
สรุปนักธรรมเอก_V 2565.pdf
สรุปนักธรรมเอก_V 2565.pdfสรุปนักธรรมเอก_V 2565.pdf
สรุปนักธรรมเอก_V 2565.pdf
 
ความรู้พื้นฐานและบ่อเกิดพุทธศาสนามหายาน
ความรู้พื้นฐานและบ่อเกิดพุทธศาสนามหายานความรู้พื้นฐานและบ่อเกิดพุทธศาสนามหายาน
ความรู้พื้นฐานและบ่อเกิดพุทธศาสนามหายาน
 
กระทู้ ธรรมศึกษาชั้นเอก
กระทู้ ธรรมศึกษาชั้นเอกกระทู้ ธรรมศึกษาชั้นเอก
กระทู้ ธรรมศึกษาชั้นเอก
 
กระทู้ ธรรมศึกษาชั้นโท
กระทู้ ธรรมศึกษาชั้นโทกระทู้ ธรรมศึกษาชั้นโท
กระทู้ ธรรมศึกษาชั้นโท
 
บาลีไวยากรณ์ ๔ สมาส
บาลีไวยากรณ์ ๔ สมาส บาลีไวยากรณ์ ๔ สมาส
บาลีไวยากรณ์ ๔ สมาส
 
รวมบทสวดพระพุทธมนต์ พร้อมคำแปล
รวมบทสวดพระพุทธมนต์ พร้อมคำแปลรวมบทสวดพระพุทธมนต์ พร้อมคำแปล
รวมบทสวดพระพุทธมนต์ พร้อมคำแปล
 
นาย มนตรี นวลสม
นาย มนตรี  นวลสมนาย มนตรี  นวลสม
นาย มนตรี นวลสม
 

En vedette

คำกล่าวอวยพรวันคล้ายวันเกิด
คำกล่าวอวยพรวันคล้ายวันเกิดคำกล่าวอวยพรวันคล้ายวันเกิด
คำกล่าวอวยพรวันคล้ายวันเกิด
A-NKR Ning
 
บทสวดมนต์แปลภาษาไทยและภาษาอังกฤษ 7 บทสำหรับแข่งทักษะ
บทสวดมนต์แปลภาษาไทยและภาษาอังกฤษ 7 บทสำหรับแข่งทักษะบทสวดมนต์แปลภาษาไทยและภาษาอังกฤษ 7 บทสำหรับแข่งทักษะ
บทสวดมนต์แปลภาษาไทยและภาษาอังกฤษ 7 บทสำหรับแข่งทักษะ
อุษณีษ์ ศรีสม
 

En vedette (6)

คำขอขมาพระอาจารย์และครูอาจารย์
คำขอขมาพระอาจารย์และครูอาจารย์คำขอขมาพระอาจารย์และครูอาจารย์
คำขอขมาพระอาจารย์และครูอาจารย์
 
บทบรรยายรายการขอขมาบูชาครู2
บทบรรยายรายการขอขมาบูชาครู2บทบรรยายรายการขอขมาบูชาครู2
บทบรรยายรายการขอขมาบูชาครู2
 
335เข้าใจในมิตร(มิตรแท้ มิตรเทียม)
335เข้าใจในมิตร(มิตรแท้ มิตรเทียม)335เข้าใจในมิตร(มิตรแท้ มิตรเทียม)
335เข้าใจในมิตร(มิตรแท้ มิตรเทียม)
 
คำกล่าวอวยพรวันคล้ายวันเกิด
คำกล่าวอวยพรวันคล้ายวันเกิดคำกล่าวอวยพรวันคล้ายวันเกิด
คำกล่าวอวยพรวันคล้ายวันเกิด
 
บทสวดมนต์แปลภาษาไทยและภาษาอังกฤษ 7 บทสำหรับแข่งทักษะ
บทสวดมนต์แปลภาษาไทยและภาษาอังกฤษ 7 บทสำหรับแข่งทักษะบทสวดมนต์แปลภาษาไทยและภาษาอังกฤษ 7 บทสำหรับแข่งทักษะ
บทสวดมนต์แปลภาษาไทยและภาษาอังกฤษ 7 บทสำหรับแข่งทักษะ
 
บทสวดแปล+ทิพย์มนต์
บทสวดแปล+ทิพย์มนต์บทสวดแปล+ทิพย์มนต์
บทสวดแปล+ทิพย์มนต์
 

Similaire à ปกิณณะวินัยที่ภิกษุควรรู้

บทสวดพระบรมมหาจักรพรรดิ
บทสวดพระบรมมหาจักรพรรดิบทสวดพระบรมมหาจักรพรรดิ
บทสวดพระบรมมหาจักรพรรดิ
nuom131219
 
1 ปกรายงาน
1 ปกรายงาน1 ปกรายงาน
1 ปกรายงาน
vanchai899
 
พระสีวลี
พระสีวลีพระสีวลี
พระสีวลี
kannika2264
 
บทสวด
บทสวดบทสวด
บทสวด
sanunya
 
บทพิธีงานทำบุญบ้าน
บทพิธีงานทำบุญบ้านบทพิธีงานทำบุญบ้าน
บทพิธีงานทำบุญบ้าน
Pojjanee Paniangvait
 
พิธีสะเดาะห์เคราะห์2
พิธีสะเดาะห์เคราะห์2พิธีสะเดาะห์เคราะห์2
พิธีสะเดาะห์เคราะห์2
Tongsamut vorasan
 
สวดมนต์ข้ามปี ๒๕๕๖ (ฉบับ สสส.)
สวดมนต์ข้ามปี ๒๕๕๖ (ฉบับ สสส.)สวดมนต์ข้ามปี ๒๕๕๖ (ฉบับ สสส.)
สวดมนต์ข้ามปี ๒๕๕๖ (ฉบับ สสส.)
Ballista Pg
 
บทสวดมนต์ข้ามปี
บทสวดมนต์ข้ามปีบทสวดมนต์ข้ามปี
บทสวดมนต์ข้ามปี
Tongsamut vorasan
 
สวดมนต์ วัดพระธาตุจอมมอญ
สวดมนต์ วัดพระธาตุจอมมอญสวดมนต์ วัดพระธาตุจอมมอญ
สวดมนต์ วัดพระธาตุจอมมอญ
Phatphong Mahawattano
 
7 57+สมนฺตปาสาทิกาย+นาม+วินยฏฐกถา+อตฺถโยชนา+(ปฐโม+ภาโค)
7 57+สมนฺตปาสาทิกาย+นาม+วินยฏฐกถา+อตฺถโยชนา+(ปฐโม+ภาโค)7 57+สมนฺตปาสาทิกาย+นาม+วินยฏฐกถา+อตฺถโยชนา+(ปฐโม+ภาโค)
7 57+สมนฺตปาสาทิกาย+นาม+วินยฏฐกถา+อตฺถโยชนา+(ปฐโม+ภาโค)
Tongsamut vorasan
 

Similaire à ปกิณณะวินัยที่ภิกษุควรรู้ (20)

บทสวดมนต์
บทสวดมนต์บทสวดมนต์
บทสวดมนต์
 
บทบูชาพระบรมสาริกธาติ
บทบูชาพระบรมสาริกธาติบทบูชาพระบรมสาริกธาติ
บทบูชาพระบรมสาริกธาติ
 
บทสวดพระบรมมหาจักรพรรดิ
บทสวดพระบรมมหาจักรพรรดิบทสวดพระบรมมหาจักรพรรดิ
บทสวดพระบรมมหาจักรพรรดิ
 
text บทสวดสอนเจ้ากรรมนายเวร.pdf
text บทสวดสอนเจ้ากรรมนายเวร.pdftext บทสวดสอนเจ้ากรรมนายเวร.pdf
text บทสวดสอนเจ้ากรรมนายเวร.pdf
 
1 ปกรายงาน
1 ปกรายงาน1 ปกรายงาน
1 ปกรายงาน
 
2 บทสวดมนต์ - 9 มนต์ เพื่อความก้าวหน้า
2 บทสวดมนต์ - 9 มนต์ เพื่อความก้าวหน้า2 บทสวดมนต์ - 9 มนต์ เพื่อความก้าวหน้า
2 บทสวดมนต์ - 9 มนต์ เพื่อความก้าวหน้า
 
สมุดประจำตัวสำหรับผู้เขาค่ายคุณธรรม
สมุดประจำตัวสำหรับผู้เขาค่ายคุณธรรมสมุดประจำตัวสำหรับผู้เขาค่ายคุณธรรม
สมุดประจำตัวสำหรับผู้เขาค่ายคุณธรรม
 
พระสีวลี
พระสีวลีพระสีวลี
พระสีวลี
 
9 mantra
9 mantra9 mantra
9 mantra
 
บทสวด
บทสวดบทสวด
บทสวด
 
บทพิธีงานทำบุญบ้าน
บทพิธีงานทำบุญบ้านบทพิธีงานทำบุญบ้าน
บทพิธีงานทำบุญบ้าน
 
พิธีสะเดาะห์เคราะห์2
พิธีสะเดาะห์เคราะห์2พิธีสะเดาะห์เคราะห์2
พิธีสะเดาะห์เคราะห์2
 
สวดมนต์ข้ามปี ๒๕๕๖ (ฉบับ สสส.)
สวดมนต์ข้ามปี ๒๕๕๖ (ฉบับ สสส.)สวดมนต์ข้ามปี ๒๕๕๖ (ฉบับ สสส.)
สวดมนต์ข้ามปี ๒๕๕๖ (ฉบับ สสส.)
 
บทสวดมนต์ข้ามปี
บทสวดมนต์ข้ามปีบทสวดมนต์ข้ามปี
บทสวดมนต์ข้ามปี
 
คู่มือการบวช
คู่มือการบวชคู่มือการบวช
คู่มือการบวช
 
200789830 katin
200789830 katin200789830 katin
200789830 katin
 
สวดมนต์ วัดพระธาตุจอมมอญ
สวดมนต์ วัดพระธาตุจอมมอญสวดมนต์ วัดพระธาตุจอมมอญ
สวดมนต์ วัดพระธาตุจอมมอญ
 
45 พรรษา
45 พรรษา45 พรรษา
45 พรรษา
 
7 57+สมนฺตปาสาทิกาย+นาม+วินยฏฐกถา+อตฺถโยชนา+(ปฐโม+ภาโค)
7 57+สมนฺตปาสาทิกาย+นาม+วินยฏฐกถา+อตฺถโยชนา+(ปฐโม+ภาโค)7 57+สมนฺตปาสาทิกาย+นาม+วินยฏฐกถา+อตฺถโยชนา+(ปฐโม+ภาโค)
7 57+สมนฺตปาสาทิกาย+นาม+วินยฏฐกถา+อตฺถโยชนา+(ปฐโม+ภาโค)
 
แต่งไทย ป.ธ. ๙.pdf
แต่งไทย ป.ธ. ๙.pdfแต่งไทย ป.ธ. ๙.pdf
แต่งไทย ป.ธ. ๙.pdf
 

Plus de Kiat Chaloemkiat

กระแสโลกกับความอยู่รอดของท้องถิ่น
กระแสโลกกับความอยู่รอดของท้องถิ่นกระแสโลกกับความอยู่รอดของท้องถิ่น
กระแสโลกกับความอยู่รอดของท้องถิ่น
Kiat Chaloemkiat
 
แผนการจัดกิจกรรมอบรมคุณธรรมจริยธรรม
แผนการจัดกิจกรรมอบรมคุณธรรมจริยธรรมแผนการจัดกิจกรรมอบรมคุณธรรมจริยธรรม
แผนการจัดกิจกรรมอบรมคุณธรรมจริยธรรม
Kiat Chaloemkiat
 
แผนการจัดกิจกรรมอบรมคุณธรรมจริยธรรม
แผนการจัดกิจกรรมอบรมคุณธรรมจริยธรรมแผนการจัดกิจกรรมอบรมคุณธรรมจริยธรรม
แผนการจัดกิจกรรมอบรมคุณธรรมจริยธรรม
Kiat Chaloemkiat
 
กัยลาณธรรม
กัยลาณธรรมกัยลาณธรรม
กัยลาณธรรม
Kiat Chaloemkiat
 
เทวตาธรรม
เทวตาธรรมเทวตาธรรม
เทวตาธรรม
Kiat Chaloemkiat
 
เมตตาค้ำจุ่นโลก
เมตตาค้ำจุ่นโลกเมตตาค้ำจุ่นโลก
เมตตาค้ำจุ่นโลก
Kiat Chaloemkiat
 
การประพฤติพรหมจรรย์ให้บริสุทธิ์
การประพฤติพรหมจรรย์ให้บริสุทธิ์การประพฤติพรหมจรรย์ให้บริสุทธิ์
การประพฤติพรหมจรรย์ให้บริสุทธิ์
Kiat Chaloemkiat
 
ทุกข์ในอริยสัจจ์ ๔
ทุกข์ในอริยสัจจ์ ๔ทุกข์ในอริยสัจจ์ ๔
ทุกข์ในอริยสัจจ์ ๔
Kiat Chaloemkiat
 
ศีลเป็นเยี่ยมในโลก
ศีลเป็นเยี่ยมในโลกศีลเป็นเยี่ยมในโลก
ศีลเป็นเยี่ยมในโลก
Kiat Chaloemkiat
 
แสงสว่างเสมอด้วยปัญญาไม่มี
แสงสว่างเสมอด้วยปัญญาไม่มีแสงสว่างเสมอด้วยปัญญาไม่มี
แสงสว่างเสมอด้วยปัญญาไม่มี
Kiat Chaloemkiat
 
ร่มเงาพระพุทธศาสนา
ร่มเงาพระพุทธศาสนาร่มเงาพระพุทธศาสนา
ร่มเงาพระพุทธศาสนา
Kiat Chaloemkiat
 
พระคุณพ่อแม่
พระคุณพ่อแม่พระคุณพ่อแม่
พระคุณพ่อแม่
Kiat Chaloemkiat
 
คำสอนของหลวงปู่ดูลย์ อตุโล
คำสอนของหลวงปู่ดูลย์  อตุโลคำสอนของหลวงปู่ดูลย์  อตุโล
คำสอนของหลวงปู่ดูลย์ อตุโล
Kiat Chaloemkiat
 
พระกู้เกียรติ กิตฺติโสภโณ
พระกู้เกียรติ  กิตฺติโสภโณพระกู้เกียรติ  กิตฺติโสภโณ
พระกู้เกียรติ กิตฺติโสภโณ
Kiat Chaloemkiat
 
การบูชาบุคคลที่ควรบูชาเป็นมงคลสูงสุด
การบูชาบุคคลที่ควรบูชาเป็นมงคลสูงสุดการบูชาบุคคลที่ควรบูชาเป็นมงคลสูงสุด
การบูชาบุคคลที่ควรบูชาเป็นมงคลสูงสุด
Kiat Chaloemkiat
 

Plus de Kiat Chaloemkiat (16)

กระแสโลกกับความอยู่รอดของท้องถิ่น
กระแสโลกกับความอยู่รอดของท้องถิ่นกระแสโลกกับความอยู่รอดของท้องถิ่น
กระแสโลกกับความอยู่รอดของท้องถิ่น
 
แผนการจัดกิจกรรมอบรมคุณธรรมจริยธรรม
แผนการจัดกิจกรรมอบรมคุณธรรมจริยธรรมแผนการจัดกิจกรรมอบรมคุณธรรมจริยธรรม
แผนการจัดกิจกรรมอบรมคุณธรรมจริยธรรม
 
แผนการจัดกิจกรรมอบรมคุณธรรมจริยธรรม
แผนการจัดกิจกรรมอบรมคุณธรรมจริยธรรมแผนการจัดกิจกรรมอบรมคุณธรรมจริยธรรม
แผนการจัดกิจกรรมอบรมคุณธรรมจริยธรรม
 
กัยลาณธรรม
กัยลาณธรรมกัยลาณธรรม
กัยลาณธรรม
 
เทวตาธรรม
เทวตาธรรมเทวตาธรรม
เทวตาธรรม
 
เมตตาค้ำจุ่นโลก
เมตตาค้ำจุ่นโลกเมตตาค้ำจุ่นโลก
เมตตาค้ำจุ่นโลก
 
การประพฤติพรหมจรรย์ให้บริสุทธิ์
การประพฤติพรหมจรรย์ให้บริสุทธิ์การประพฤติพรหมจรรย์ให้บริสุทธิ์
การประพฤติพรหมจรรย์ให้บริสุทธิ์
 
ทุกข์ในอริยสัจจ์ ๔
ทุกข์ในอริยสัจจ์ ๔ทุกข์ในอริยสัจจ์ ๔
ทุกข์ในอริยสัจจ์ ๔
 
ศีลเป็นเยี่ยมในโลก
ศีลเป็นเยี่ยมในโลกศีลเป็นเยี่ยมในโลก
ศีลเป็นเยี่ยมในโลก
 
แสงสว่างเสมอด้วยปัญญาไม่มี
แสงสว่างเสมอด้วยปัญญาไม่มีแสงสว่างเสมอด้วยปัญญาไม่มี
แสงสว่างเสมอด้วยปัญญาไม่มี
 
ร่มเงาพระพุทธศาสนา
ร่มเงาพระพุทธศาสนาร่มเงาพระพุทธศาสนา
ร่มเงาพระพุทธศาสนา
 
พระคุณพ่อแม่
พระคุณพ่อแม่พระคุณพ่อแม่
พระคุณพ่อแม่
 
คำสอนของหลวงปู่ดูลย์ อตุโล
คำสอนของหลวงปู่ดูลย์  อตุโลคำสอนของหลวงปู่ดูลย์  อตุโล
คำสอนของหลวงปู่ดูลย์ อตุโล
 
พระกู้เกียรติ กิตฺติโสภโณ
พระกู้เกียรติ  กิตฺติโสภโณพระกู้เกียรติ  กิตฺติโสภโณ
พระกู้เกียรติ กิตฺติโสภโณ
 
การบูชาบุคคลที่ควรบูชาเป็นมงคลสูงสุด
การบูชาบุคคลที่ควรบูชาเป็นมงคลสูงสุดการบูชาบุคคลที่ควรบูชาเป็นมงคลสูงสุด
การบูชาบุคคลที่ควรบูชาเป็นมงคลสูงสุด
 
โลกธรรม ๘
โลกธรรม ๘โลกธรรม ๘
โลกธรรม ๘
 

ปกิณณะวินัยที่ภิกษุควรรู้

  • 1. ๑ ปกิณณะวินัย คาขอขมาพระรัตนตรัย ระตะนัตตะเย ปะมาเทนะ, ท๎วารัตตะเยนะ กะตัง, สัพพัง อะปะราธัง ขะมะตุ โน* ภันเต. [กล่าว ๓ หน แล้วกราบ ๓ ครั้ง] หมายเหตุ:- ถ้าขอขมารูป/คน เดียว เปลี่ยนเป็น ขะมะตุ เม คาขอขมาครูบาอาจารย์ ผู้ขอขมารูปเดียว ผู้ขอว่า : เถเร ปะมาเทนะ, ท๎วารัตตะเยนะ กะตัง , สัพพัง อะปะราธัง ขะมะตุ เม ภันเต. [ถวายเครื่องสักการะ แล้วหมอบลง] ผู้รับว่า : อะหัง ขะมามิ, ตะยาปิ เม ขะมิตัพพัง. ผู้ขอว่า : ขะมามิ ภันเต ผู้รับให้พร : แล้วผู้ขอพึงรับว่า สาธุ ภันเต ผู้ขอขมาหลายรูป ผู้ขอว่า : เถเร ปะมาเทนะ, ท๎วารัตตะเยนะ กะตัง, สัพพัง อะปะราธัง ขะมะตุ โน ภันเต. [ถวายเครื่องสักการะ แล้วหมอบลง] ผู้รับว่า : อะหัง ขะมามิ, ตุม๎เหหิปิ เม ขะมิตัพพัง. ผู้ขอว่า : ขะมามะ ภันเต. ผู้รับให้พร : แล้วผู้ขอพึงรับว่า สาธุ ภันเต คาให้พรเมื่อมีผขอขมา ู้ “เอวัง โหตุ เอวัง โหตุ โย จะ ปุพเพ ปะมัชชิต๎วา ปัจฉา โส นัปปะมัชชะติ,
  • 2. ๒ โสมัง โลกัง ปะภาเสติ ยัสสะ ปาปัง กะตัง กัมมัง โสมัง โลกัง ปะภาเสติ อะภิวาทะนะสีลิสสะ จัตตาโร ธัมมา วัฑฒันติ อัพภา มุตโตวะ จันทิมา, กุสะเลนะ ปะหียะติ, อัพภา มุตตะโว จันทิมา, นิจจัง วุฑฒาปะจายิโน, อายุ วัณโณ สุขัง พะลัง.” คาขอนิสัย ภิกษุมีพรรษาหย่อน ๕ ถือภิกษุรูปใดรูปหนึ่งเป็นพระอุปัชฌาย์ เพื่อรับโอวาทานุศาสน์ของ ภิกษุนั้นในครั้งแรกที่ได้อุปสมบท ส่วนภิกษุผู้ไม่ได้อยู่ในปกครองของอุปัชฌาย์ต้องถือภิกษุอื่น เป็นอาจารย์ และอาศัยท่านแทนอุปัชฌาย์ในการรับการอบรมแนะนาสั่งสอน วิธิถือนิสัยอาจารย์ ก็เหมือนกับวิธีถือนิสัยกับอุปัชฌาย์ ต่างแต่คาขอ คือ อาจะริโย เม ภันเต โหหิ, อายัส๎มะโต นิสสายะ วัจฉามิ [๓ จบ] [แปลว่า] ขอท่านจงเป็นอาจารย์ของข้าพเจ้า ข้าพเจ้าจักอยู่อาศัยท่าน. อาจารย์รับว่า “โอปายิกัง, ปะฏิรูปัง, ปาสาทิเกนะ สัมปาเทหิ,” แต่ละบทเว้นระยะให้ผู้ ขอรับว่า “สาธุ ภันเต” แต่นั้นผู้ขอนิสัยรับเป็นธุระว่า อัชชะตัคเคทานิ เถโร มัย๎หัง ภาโร, อะหัมปิ เถรัสสะ ภาโร [๓ จบ] คาอปโลกน์สังฆทาน ยัค เฆ ภั นเต [อาวุโ ส] สั งโฆ ชานาตุ, อะยั ง [เอตัง ] ปะฐะมะภาโค เถรัสสะ [มะหาเถรัสสะ] ปาปุณาติ, อะวะเสสา ภาคา อัม๎หากัง ปาปุณันตุ , ภิกขู จะ สามะเณรา จะ คะหัฏฐา จะ ยะถาสุขัง, ปะริภุญชันตุ. [พระสงฆ์รับพร้อมกันว่า สาธุ]
  • 3. ๓ คากัปปิยะโวหาร วัต ถุ ที่สมควรท ากัป ปิ ยะเช่ น ผลไม้ ที่ มีเมล็ ด ผั กที่ สามารถน าไปปลู กหรื อ ชาให้ เกิ ด ได้ เรียกว่า พีชคาม และภูตคาม เมื่อจะนามาถวายพระเวลาฉัน อนุปะสัมบัน คือคนที่ไม่ใช่พระ ได้แก่สามเณร หรืออุบาสก-อุบาสิกา ต้องทาให้เป็นของที่สมควรเสียก่อน ด้วยวิธีการใช้มีดหรือ เล็บจิกหรือปอกเปลือกหรือทาให้ขาด ดังนี้ พระสงฆ์กล่าวว่า : กัปปิยัง กะโรหิ. อนุปะสัมบันรับว่า : กัปปิยัง ภันเต. คาอธิษฐานเข้าพรรษา อิมัสมิง อาวาเส อิมัง เตมาสัง วัสสัง อุเปมิ [ว่า ๓ หน] คาสัตตาหะ เมื่อมีกิจจาเป็นตามที่พระวินัยบัญญัติไว้ ให้พระภิกษุสามารถลาไปที่ปฏิบัติศาสนกิจได้ ๗ วัน ตามที่พุทธานุญาต โดยภิกษุที่จะไปนั้นให้ผูกใจว่าจะกลับมาภายใน ๗ วันเมื่อทาหน้าที่เสร็จ ซึ่งเข้าไปกราบพระประธานในโบสถ์ หรือบอกแก่ภิกษุรูปใดรูปหนึ่ง ดังนี้ สัตตาหะกะระณียัง กิจจัง เม อัตถิ , ตัสสะมา มะยา คันตัพพัง, อิมัสสมิง สัตตา หัพภันตะเร นิวัตติสสามิ. [แปลว่า] กิจที่ต้องทาสัตตาหะของกระผมมีอยู่ เพราะฉะนั้น กระผมจาต้องไป กระผมจัก กลับมาภายใน ๗ วันนี้. คาปวารณาออกพรรษา สังฆัมภันเต ปะวาเรมิ ทิฏเฐนะ วา สุเตนะ วา ปะริสังกายะ วา วะทันตุ มัง อายัส๎ มันโต อะนุกัมปัง อุปาทายะ ปัสสันโต ปะฏิกกะริสสามิ.
  • 4. ๔ ทุติยัมปิ ภันเต ปะวาเรมิ ทิฏเฐนะ วา สุเตนะ วา ปะริสังกายะ วา วะทันตุ มัง อายัส๎ มันโต อะนุกัมปัง อุปทายะ ปัสสันโต ปะฏิกกะริสสามิ. ตะติยัมปิ ภันเต สังฆัง ปะวาเรมิ ทิฏเฐนะ วา สุเตนะ วา ปะริสังกายะ วา วะทันตุ มัง อายัสมันโต อะนุกัมปัง อุปาทายะ ปัสสันโต ปะฏิกกะริสสามิ. ๎ คาพินทุผ้า ผ้าทุกชนิดที่ภิกษุได้มา และประสงค์จะนามาใช้สอย เบื้องต้นต้องทาพินทุก่อน คือการทา จุดประมาณเท่าแววดวงตานกยูง ๓ จุด เป็นรูป ๓ เหลี่ยม หรืออาจจะเขียนชื่อ ฉายา ของ ตนเองก็ได้ พร้อมกับกล่าวว่า “อิมัง พินทุกัปปัง กะโรมิ.” คาอธิษฐานบริขาร บาตร : สังฆาฏิ : จีวร : สบง : ผ้าปูนั่ง : ผ้าปูที่นอน : ผ้าอาบน้าฝน : อิมัง ปัตตัง อะธิฏฐามิ อิมัง สังฆาฏิง อะธิฏฐามิ อิมัง อุตตะราสังคัง อะธิฏฐามิ อิมัง อันตะระวาสะกัง อะธิฏฐามิ อิมัง นิสีทะนัง อธิษฐามิ อิมัง ปัจจะถะระณัง อธิษฐามิ อิมัง วัสสิกะสาฏิกัง อธิษฐาม คาถอนอฐิษฐานผ้า จีวร : อิมัง อุตตะราสังคัง ปัจจุทธะรามิ [ว่า ๓ จบ] สังฆาฏิ : อิมัง สังฆาฏิ ปัจจุทธะรามิ [ว่า ๓ จบ] สบง : อิมัง อันตะระวาสะกัง ปัจจุทธะรามิ [ว่า ๓ จบ]
  • 5. ๕ คาอธิษฐานผ้ากฐิน ผ้าสังฆาฏิ : อิมายะ สังฆาฏิยา กฐินัง อัตถะรามิ ผ้าจีวร : อิมินา อุตตะราสังเคนะ กฐินัง อัตถะรามิ ผ้าสบง : อิมินา อันตะระวาสะเกนะ กฐินัง อัตถะรามิ คาสละผ้าล่วงราตรี พึงถือผ้าที่ล่วงราตรีเข้าไปหาภิกษุผู้มีความสามารถแก้ไขได้ นั่งคุกเข่าเหมือนนั่งแสดงอาบัติ กล่าวว่า “อิทัง เม ภันเต จีวะรัง รัตติวิปปะวุตถัง อัญญัต๎ระ ภิกขุสัมมะติยา นิสสัคคิยัง อิมาหัง อายัส๎มะโต นิสสัชชามิ.” [๒ ผืน ว่า ท๎วิจีวรัง ๓ ผืน ว่า ติจีวะรัง] เมื่อสละผ้าแล้วพึงกล่าวคาแสดงอาบัติปาจิตตีย์ ทุกกฎ ทุพภาษิต แล้วจึงให้เพื่อนสหธรรมิก กล่าวคาคืน ดังนี้ คาคืน อิมัง จีวะรัง อายัส๎มะโต ทัมมิ. [ว่า ๓ จบ] คาวิกัปป์ อิมัง จีวะรัง ตุย๎หัง วิกัปเปมิ. [หลายผืนว่า อิมานิ จีวะรานิ ตุย๎หง วิกัปเปมิ] ั คาถอนวิกัปป์ อิมัง จีวะรัง มัย๎หัง สันตะกัง ปะริภุญชะ วา วิสัชเชหิ วา ยะถาปัจจะยัง วา กะโรหิ. [ผู้ถอนพรรษาอ่อนกว่าว่า] อิมัง จีวะรัง มัย๎หัง สันตะกัง ปะริภุญชะถะ วา วิสัชเชถะ วา ยะถาปัจจะยัง วา กะโรถะ.
  • 6. ๖ คาบอกบริสุทธิ์ ปริสุทโธ อะหัง ภันเต [อาวุโส] ปริสทโธติ มัง สังโฆ ธาเรตุ. [๓ จบ] ุ ระเบียบปฏิบัติพิธีลาสิกขา สาหรับพระภิกษุ-สามเณร การลาสิกขา คือการบอกคืนพระธรรมวินัยเพื่อเวียนไปเป็นคนเลว คือการครองเพศเป็น ฆราวาส หมายถึงผู้อยู่ครองเรือน ดังนั้น เวลาจะสึกพระภิกษุสามเณรจึงถือเป็นเรื่องใหญ่ คติ โบราณมองว่า ถ้าลาสิกขาผิดวันเวลาอาจทาให้การดาเนินชีวิตไม่เจริญรุ่งเรือง ทั้งนี้ถ้าเราถือ ปฏิบัติตามเพื่อความสบายใจทั้งผู้ลาสิกขาเองและบิดามารดาญาติพี่น้อง และเพื่อให้สอดคล้อง กับคติที่ว่า “เมื่อบวชเข้ามาเป็นพระในพุทธศาสนาสึกออกไปแล้วจะมีแต่ความเจริญรุ่งเรือง” โดย มีขั้นตอนปฏิบัติ ดังนี้ ๑. ผู้ที่จะลาสิกขาต้องปรึกษาบิดามารดา หรือญาติผู้ใหญ่ เพื่ อหาวันที่เหมาะสมและไม่ขัด กับจารีตประเพณีของตน แล้วจึงนาวันเวลาดังกล่าวมากราบเรียนประธานสงฆ์ หรือพระเถระที่ ได้รับมอบหมายให้ทาหน้าที่เป็นพยานในการลาสิกขารับทราบก่อน ๑-๒ อาทิตย์ ๒. ก่อนวันลาสิกขาหนึ่งวัน ให้พระภิกษุสามเณรที่จะลาสิกขานาดอกไม้ธูปเทียนห่มผ้ า เฉวียงบ่าไปขอขมาพระภิกษุ หรือสามเณรที่ตนเคยล่วงเกิน ถ้าทาได้ทุกรูปจะเป็นการดีที่สุด [นี้ เป็นรายบุคคล] และขอขมาหมู่สงฆ์อีกครั้งหนึ่งในวันลาสิกขา แล้วทาความสะอาดกุฏีที่พักอาศัย ให้เรียบร้อย ตลอดจนห้องน้าห้องสุขาภายในวัดให้สะอาด เพื่อเป็นการสร้างบารมีแก่ตนเองครั้ง สุดท้าย ๓. ในวันลาสิกขาต้องแสดงอาบัติก่อน ถ้าเป็นสามเณรต้องสมาทานศีล ๑๐ เพื่อแสดง ความบริสุทธิ์จะได้ไม่มีโทษติดตัวออกไป เสร็จแล้วจึงนาดอกไม้ธูปเทียนขอขมาพระรัตนตรัย
  • 7. ๗ และกล่าวคาอตีตะปัจจะเวกขะณะ [อัชชะ มะยาฯ] แล้วจึงกล่าวคาลาสิกขา ดังนี้ [ส่วนใหญ่นิยม ทาพิธีในตอนเช้าของวันใหม่] คาลาสิกขา สิกขัง ปัจจักขามิ คิหีติ มัง ธาเรถะ. [ว่า ๓ จบ] [คาแปล] ข้าพเจ้าลาสิกขา ท่านทั้งหลายจงจาข้าพเจ้าไว้ว่า เป็นคฤหัสถ์ ๔. ประธานสงฆ์ยื่นมือดึงผ้าสังฆาฏิออกให้ แล้วจึงลุกออกไปนุ่งห่มเสื้อผ้าที่เตรียมมา แล้ว เข้ามาคาลาสิกขาอีกครั้งเพื่อเป็นการกล่าวย้าให้แน่ใจ จะเป็นภาษาไทยหรือภาษาบาลีก็ได้ คือ “ข้าพเจ้าลาลิกขา ท่านทั้งหลายจงจาข้าพเจ้าไว้ว่าเป็นคฤหัสถ์แล้ว ”จากนั้นจึงกล่าวคาแสดงตน เป็นพุทธะมามะกะ ดังนี้ คาแสดงตนเป็นพุทธะมามะกะ เอสาหัง ภันเต, สุจิระปะรินิพพุตัมปิ, ตัง ภะคะวันตัง สะระณัง คัจฉามิ , ธัมมัญจะ ภิกขุ สังฆัญจะ อุปาสะกัตตัง [อุปาสิกัตตัง] มัง สังโฆ ธาเรตุ. ๕. จากนั้นสมาทานศีล ๕ เสร็จแล้วถวายจตุปัจจัยไทยธรรม พระสงฆ์ให้พร แล้วจึงไปกราบ บิดามารดา หรือญาติผู้ใหญ่ของตน เสร็จพิธี ๖. ลาสิกขาเสร็จแล้วทิด [ปแฎง] อยู่วัดก่อน ๑-๒ วัน เพื่อทาความสะอาดเสนาสนะ หรือ ช่วยทากิจของสงฆ์พอสมควรจึงสามารถลากลับบ้านได้ เว้นแต่มีกิจธุระด่วน สาหรับผู้บวชเนกขัมมะ เมื่อผู้บวชเนกขัมมะ [แม่ชี/พราหมณ์] ปฏิบัติตามข้อ ๑-๓ แล้ว ให้กล่าวคาขอขมาโทษต่อ พระรัตนตรัยและพระอาจารย์ [ประธานสงฆ์] แล้วจึงกล่าวคาลาสิกขา ดังนี้ คาลาสิกขาผู้บวชเนกขัมมะ ปัณฑะระปัพพัชชายะ, อัฏฐะสิกขาปะทานิ, ปัจจักขามิ คิหีติ มัง ธาเรถะ.
  • 8. ๘ [แปลว่า] ข้าแต่ท่านผู้เจริญ ข้าพเจ้าขอลาสิกขาบททั้ง ๘ ของนักบวชผู้นุ่งห่มขาว ขอท่าน ทั้งหลายจงจาข้าพเจ้าไว้ว่าเป็นคฤหัสถ์ ตั้งแต่บัดนี้เป็นต้นไป. พึงกราบ ๓ ครั้ง พระอาจารย์จะให้คติธรรมะ แล้วจึงเปล่งวาจาแสดงตนเป็นพุทธะมามะกะ และสมาทานศีล ๕ เป็นลาดับไป อุโบสถ อุโบสถ คื อการมาประชุมกั นของเหล่าภิ กษุ สงฆ์เพื่ อร่ วมทาสังฆกรรมเกี่ ยวกั บพระวินั ย กล่าวคือการร่วมฟังพระวินัยบัญญัติที่มาในพระปาฏิโมกข์ มีสิกขาบททั้งสิ้น ๒๒๗ ข้อ โดยมี ภิกษุรูปใดหนึ่งที่มีความสามารถในการท่องจาและสาธยายให้จบได้ ซึ่งมีพุทธานุญาตให้หมู่สงฆ์ นั้นๆ ที่มีจานวนตั้งแต่ ๔ รูปขึ้นไป สามารถสวดปาฏิโมกข์ได้ อุโบสถ มี ๓ คือ สังฆอุโบสถ คณะอุโบสถ และปุคคลอุโบสถ ๑. สังฆอุโบสถ คือการประชุมกันของภิกษุในอาวาสนั้นๆ ตั้งแต่ ๔ รูปขึ้นไป ทรงอนุญาต ให้สงฆ์ห มู่นั้นสวดปาฏิโ มกข์ได้ และภิ กษุที่จะเข้าฟังต้ องชาระตนให้ บริสุทธิ์ จากอาบัติที่เป็ น ลหุกาบัติ คืออาบัติเบาที่สามารถแสดงความบริสุทธิ์ได้ด้วยการแสดง หรือปลงอาบัติในภาษา ชาวบ้าน ส่ วนอาบัติ ประเภทวุฏ ฐานคามิ นี คืออาบัติ ที่จะพ้นได้ด้ว ยการอยู่กรรม คืออาบั ติ สังฆาทิเสสนั้น ท่านให้บอกวัตรและเก็บวัตรไว้กับภิกษุรูปใดรูปหนึ่งก่อน แล้วจึงแสดงอาบัติประ เทภเทศนาคามินี (อาบัติเบา) เพื่อเข้าร่วมรับฟังปาฏิโมกข์กับหมู่สงฆ์ ในระหว่างที่กาลังสวด ปาฏิโมกข์อยู่นั้น เผอิญมีภิกษุจากต่างถิ่นมาในบริเวณเพื่อร่วมฟัง ถ้ามีจานวนมากกว่าภิกษุที่มีอยู่ เดิมให้ย้อนเริ่มต้นสวดใหม่ แต่ถ้ามีจานวนน้อยกว่าภิกษุที่มีอยู่รอให้แสดงอาบัติเสร็จก่อน แล้ว สวดต่อจากที่หยุดไว้ และในกรณีที่สวดจบแล้วถึงแม้ภิกษุที่มาทีหลังจะมีจานวนมากกว่าก็ไม่ ต้องสวดใหม่อีกรอบ เพียงให้บอกบริสุทธิ์ในสานักของหมู่สงฆ์นั้น
  • 9. ๙ คาแสดงบริสุทธิ์ต่อสงฆ์ ปะริสุทโธ อะหัง ภันเต [อาวุโส], ปะริสุทโธติ มัง สังโฆ ธาเรตุ. คาขอโอกาสแสดงปาฏิโมกข์ โอกาสัง เม ภนฺเต เถโร๑ เทตุ. ปาฏิโมกขัง๒ อุทเทสิตุง. หมายเหตุ : ๑. ถ้าภิกษุผู้เถระไม่มีในสงฆ์ ให้เปลี่ยน เถโร เป็น สังโฆ แทน ๒. ถ้าขึ้นกล่าวพระวินัย พึงว่า วินยกถัง กะเถตุง และถ้าเป็นวันปวารณา พึงว่า ปวารณา ญัตติง ฐะเปตุง. เหตุฉุกเฉินที่มีพุทธานุญาตให้สวดปาฏิโมกข์ย่อ ๑. พระราชาเสด็จมา ๓. ไฟไหม้ ๕. คนมามาก (ก่อให้เกิดเสียงดังวุ่นวาย) ๗. สัตว์ร้ายมีเสือเป็นต้นเข้ามาในเขต ๙. ภิกษุอาพาธโรคร้ายขึ้นในที่ชมนม ุ ๒. โจรมาปล้น ๔. น้าหลากมา (น้าท่วม) ๖. ผีเข้าภิกษุ (หรือพระเป็นบ้าอาละวาด) ๘. งูร้ายเลื้อยเข้ามาในที่ชุมนุม ๑๐. มีอนตรายแก่พรหมจรรย์ ั ๒. คณะอุโบสถ คือมีภิกษุที่อยู่ในอาวาส หรือรวมจากที่อื่นด้วยแล้วไม่ถึง ๔ รูป พระพุทธ องค์ทรงห้ามไม่ให้ทาการสวดปาฏิโมกข์ แต่ประสงค์ให้แสดงความบริสุทธิ์ คือ ถ้ามีภิกษุอยู่ ๓ รูป ให้ทาปาริสุทธิอุโบสถ โดยให้ภิกษุรูปที่มีพรรษามากว่าใครสวดประกาศ หรือรูปใดรูปหนึ่งใน นั้นเป็นผู้สวดประกาศด้วยญัตติว่า “สุณันตุ เม ภันเต อายัส๎มันตา อัชชุโปสะโถ ปัณณะระโส, ยะทายัส๎มันตานัง ปัตตะกัลลัง, มะยัง อัญญะมัญญัง ปาริสุทธิอุโปสะถัง กะเรยยามะ.” [คาแปล] “ท่านทั้งหลายเจ้าข้า อุโบสถวันนี้ที่ ๑๕ ถ้าความพร้อมพรั่งของท่านทั้งหลาย ถึงที่แล้ว เราทั้งหลายพึงทาปาริสุทธิอุโบสถด้วยกัน.”
  • 10. ๑๐ หมายเหตุ : ถ้าผู้สวดญัตติมีพรรษามากกว่าเพื่อนถึงพึงเปลี่ยน ภันเต เป็น อาวุโส และถ้าเป็นวัน ๑๔ ค่า พึงเปลี่ยน ปัณณะระโส เป็น จาตุททะโส แทน เมื่อสวดญัตติเสร็จ ภิกษุผู้เป็นเถระในสมาคมนั้นพึงบอกความบริสุทธิ์ของตนว่า “ปะริ สุทโธ อะหัง อาวุโส, ปะริสุทโธติ มัง ธาเรถะ. [๓ จบ] แปลว่า “ฉันบริสุทธิ์แล้วเธอ ขอเธอ ทั้งหลายจาฉันว่าผู้บริสุทธิ์แล้ว” ภิกษุนอกนั้นก็พึงบอกความบริสุทธิ์ของตนตามลาดับพรรษาไป ดังนี้ “ปะริสุทโธ อะหัง ภันเต, ปะริสุทโธติ มัง ธาเรถะ. [๓ จบ] แปลว่า “ผมบริสุทธิ์แล้วขอรับ ขอท่านทั้งหลายจงจาผม ว่าผู้บริสุทธิ์แล้ว”  กรณีที่มีภิกษุอยู่ ๒ รูป ไม่ต้องตั้งญัตติ เป็นแต่บอกบริสุทธิ์ต่อกัน ดังนี้ [สาหรับผู้มีพรรษามากกว่า] “ปะริสุทโธ อะหัง อาวุโส, ปะริสุทโธติ มัง ธาเรหิ.” [๓ จบ] [สาหรับผู้มีพรรษาอ่อนกว่า] “ปะริสุทโธ อะหัง ภันเต, ปะริสุทโธติ มัง ธาเรถะ.” [๓ จบ] ๓. ปุคคลอุโบสถ คือ ในอาวาสมีภิกษุอยู่รูปเดียว ในวันอุโบสถท่านให้รอดูภิกษุรูปอื่นจาก ต่างอาวาสเสียก่อนว่าจะมีมาสมทบไหม จนถึงเวลาที่สมควร (ตอนเย็น) เห็นว่าไม่น่าจะมีมาแล้ว จึงค่อยอธิษฐานรูปเดียวว่า “อัชชะ เม อุโปสะโถ ปัณณะระโส [จาตุททะโส]. แปลว่า “วันนี้เป็น อุโบสถที่ ๑๕ ของเรา” หมายเหตุ : ถ้าเป็น ๑๔ ค่า ให้เปลี่ยน ปัณณะระโส เป็น จาตุททะโส แทน กิจกรรมการลงอุโบสถ ถือเป็นเรื่องใหญ่สาหรับภิกษุสงฆ์ มีทาเนียมปฏิบัติมาอย่างยาวนาน ตั้งแต่ยุคสมัยที่พระพุทธองค์ยังทรงพระชนม์อยู่ คณะสงฆ์ยังคงรักษาวัตรปฏิบัติ นี้ไว้ได้เป็น อย่างดี ฉะนั้น เมื่อถึงวันลงอุโบสถภิกษุสงฆ์จะเลือกทาอุโบสถด้วยวิธีที่ง่ายกว่าที่ยากย่อมไม่
  • 11. ๑๑ เหมาะไม่ควร ดังนั้น เมื่อวันเวลานั้นมาถึงภิกษุสงฆ์ไม่ควรหลีกไปเสียที่อื่น ควรขวนขวายกิจธุระ นี้ให้สาเร็จ เว้นเสียแต่ในอาวาสไม่มีภิกษุรูปใดท่องจาและสาธยายได้ พากันไปร่วมฟังกับสานัก อื่นที่มีภิกษุผู้มีความสามารถสาธยายได้ ถือเป็นการควรอย่างยิ่ง เพราะนอกจากจะได้ร่วมฟังปาฏิ โมกข์เป็นการทบทวนสิกขาบทแล้ว ยังความสามัคคีให้เกิดขึ้นในคณะสงฆ์นั้นๆ ด้วย คือได้ พบปะ พูดคุยปราศรัยสาระทุกข์สุขแก่กันและกัน เป็นการยังความสนิทสนมให้เกิดขึ้น ในอาวาสที่ไม่มีภิกษุสวดปาฏิโมกข์ได้ ให้เจ้าสานักส่งภิกษุหนุ่มที่เห็นว่ามีความฉลาดในการ ทรงจาไปเรียนมาจากสานักอื่น จะโดยพิสดารหรือโดยย่อก็สุดแล้วแต่จะสามารถจามาได้ ถ้า เรียนไม่สาเร็จแล้วกลับมา ท่านห้ามไม่ให้ภิกษุรูปอื่นๆ ที่จะมาก็ดีหรือที่อยู่ก่อนก็ดีอยู่จาพรรษาใน อาวาสเช่นนั้น เว้นแต่ภิกษุในสานักมีความเพียรพยายามที่จะไปร่วมฟังกับสานักอื่นได้ จะอยู่จา พรรษาในอาวาสดังกล่าวนี้ก็ควร. สมัยพุทธกาล พระเถระผู้ใหญ่ให้ความเคารพในสังฆอุโบสถเป็นอย่างมาก เช่น พระมหากัส สะปะเถระเจ้า ยอมลาบากเหน็ดเหนื่อยเมื่อยหล้า เพื่อเดินทางมาร่วมฟังอุโบสถแต่ที่ไกล ต้อง ข้ามลาน้าผ้าสบงจีวรเปียกน้าชุ่มหมด ท่านก็ยังอุตส่าห์มา และพระมหากปินะ คิดในใจว่า เมื่อตน สาเร็ จพระอรหั นต์ แล้ วแล้ว จะเลิก ไม่ เข้ าร่ ว มประชุม ทาอุโ บสถ ความทราบถึง พระศาสดา พระองค์ทรงเตือนว่ า “เพื่อเป็นการรักษาธรรมเนียมวัตรปฏิบัติ และให้กายสามัคคี ” ท่านพระ มหากปินะก็ยอมปฏิบัติตาม ปวารณา วันเพ็ญแห่งเดือนกัตติกาต้นที่เต็ม ๓ เดือน นับแต่วันจาพรรษา ทรงมีพุทธานุญาตให้ภิกษุผู้ อยู่จาพรรษาครบ ๓ เดือน ทาปวารณาต่อกันแทนวันอุโบสถ การทาปวารณานั้นเพราะอาศัยเหตุ ๓ อย่าง คือ ด้วยได้เห็น ด้วยได้ยิน ด้วยรังเกียจ การปวารณานั้นเป็นวิธีการให้อภัยซึ่งกันและ กัน กาจัดความขัดแย้งทั้งหลายที่เกิดขึ้น และเพื่อยังกันกันและกันออกจากอาบัติ พูดภาษา
  • 12. ๑๒ ชาวบ้านก็คือการเปิดใจให้กัน ปวารณาว่าโดยบุคคลและลักษณะการปฏิบัติมี ๓ อย่าง คือ สังฆ ปวารณา คณะปวารณา ปุคคลปวารณา ๑. สังฆปวารณา คือปวารณาเป็นการสงฆ์ สงฆ์ในที่นี้มีจานวน ๕ รูปขึ้นไป เหมือนรับกฐิน ผู้ปวารณา ๑ รูป อีก ๔ รูป เป็นองค์สงฆ์ ตามธรรมเนียมเวลาปวารณาให้กล่าวรูปละ ๓ หน ถ้า มีเหตุ ขัดข้ องรูป ละ ๒ หรื อ ๑ หน ก็ได้ หรือ ถ้าพรรษาเท่า กันก็ใ ห้ว่า พร้อมกัน ทั้งนี้ก่ อนท า ปวารณาต้องมีการสวดตั้งญัตติก่อน ดังนี้ ถ้าจะปวารณา ๓ หน พึงตั้งญัตติว่า “สุณาตุ เม ภันเต สังโฆ, อัชชะ ปะวาระณา ปัณณะระสี, ยะทิ สังฆัสสะ ปัตตะกัลลัง, สังโฆ เตวาจิกัง ปะวาเรยยะ.” แปลว่า “ท่านเจ้าข้า ขอสงฆ์จงฟังข้าพเจ้า ปวารณาวันนี้ที่ ๑๕ ถ้าความพร้อมพรั่งของสงฆ์ถึงที่แล้ว สงฆ์พึงปวารณา ๓ หน” ถ้าจะปวารณา ๒ หน พึงตั้งญัตติเหมือน ๓ หน เพียงแต่เปลี่ยนคาลงท้ายว่า “สังโฆ เท๎ววาจิกัง ปะวาเรยยะ” แปลว่า “.......สงฆ์พึงปวารณา ๒ หน” ถ้าจะปวารณาหนเดียว พึงตั้งญัตติเหมือน ๓ หน เพียงแต่เปลี่ยนคาลงท้ายว่า “สังโฆ เอกะวาจิกัง ปะวาเรยยะ” แปลว่า “.....สงฆ์พึงปวารณาหนเดียว” ถ้าจะให้ภิกษุ ที่มีพรรษาเท่ ากัน ให้ปวารณาพร้ อมกัน พึงตั้ งญัตติ เหมือน ๓ หน เพียงแต่เปลี่ยนคาลงท้ายว่า “สังโฆ สะมานะวัสสิกัง ปะวาเรยยะ” แปลว่า “....สงฆ์พึงปวารณา มีพรรษาเท่ากัน” จะปวารณาพร้อมกัน ๓-๒-๑ หน ได้ทั้งนั้น ถ้าจะไม่ระบุจานวนครั้ง พึงตั้งญัตติครอบทั่วไป เพียงลงท้ายว่า “สังโฆ ปะวาเรยยะ” แปลว่า “....สงฆ์พึงปวารณา” จะปวารณากี่ครั้งก็ได้ แต่ห้ามไม่ให้ผู้มีพรรษาเท่ากันปวารณา พร้อมกัน หมายเหตุ : ผู้ตั้งญัตติมีพรรษามากกว่าเพื่อน พึงว่า อาวุโส แทน ภันเต และถ้าวันปวารณาที่ ๑๔ ค่่า พึงว่า จาตุททะสี แทน ปัณณะระสี
  • 13. ๑๓ ครั้นตั้งญัตติแล้ว ภิกษุผู้เถระพึงนั่งคุกเข่าประนมมือ กล่าวปวารณาต่อสงฆ์ว่า “สังฆัง อาวุโส ปะวาเรมิ, ทิฏเฐนะ วา สุเตนะ วา ปะริสังกายะ วา, วะทันตุ มัง อายัสมันโต อะนุกัมปัง อุปาทายะ, ปัสสันโต ปะฏิกกะริสสามิ. ๎ ทุติยัมปิ อาวุโส สังฆัง ปะวาเรมิ, .... ฯลฯ .... ปะฏิกกะริสสามิ. ตะติยัมปิ อาวุโส สังฆัง ปะวาเรมิ, .... ฯลฯ .... ปะฏิกกะริสสามิ.” [คาแปล] “เธอ ฉันปวารณาต่อสงฆ์ ด้วยได้เห็นก็ดี ด้วยได้ฟังก็ดี ด้วยสงสัยก็ดี ขอท่าน ทั้งหลายจงอาศัยความกรุณาว่ากล่าวฉัน ฉันเห็นอยู่ จักทาคืนเสีย. ฉันปวารณาต่อสงฆ์ ครั้งที่ ๒ ... ฯลฯ ..., ครั้งที่ ๓ ... ฯลฯ ...จักทาคืนเสีย.” ภิกษุนอกนั้น พึงปวารณาตามลาดับพรรษาทีละรูป (เว้นไว้แต่ตั้งญัตติให้ผู้มีพรรษาเท่ากัน ปวารณาพร้อมกัน) โดยนัยนี้ คือ “สังฆัมภันเต ปะวาเรมิ, ทิฏเฐนะ วา สุเตนะ วา ปะริสังกายะ วา, วะทันตุ มัง อายัสมันโต อะนุกัมปัง อุปาทายะ, ปัสสันโต ปะฏิกกะริสสามิ. ๎ ทุติยัมปิ ภันเต สังฆัง ปะวาเรมิ, .... ฯลฯ .... ปะฏิกกะริสสามิ. ตะติยัมปิ ภันเต สังฆัง ปะวาเรมิ, .... ฯลฯ .... ปะฏิกกะริสสามิ.”  ถ้าในสมาคมนั้นมีภิกษุผู้อาจปวารณาได้เพราะขาดพรรษา หรืออุปสมบทภายหลังแต่วัน เข้าพรรษา และมีจานวนน้อยกว่าภิกษุผู้ทาปวารณา ท่านให้บอกบริสุทธิ์ ถ้ามีจานวนมากกว่า ภิกษุผู้ทาปวารณา จานวน ๔ รูป ขึ้นไป ท่านให้สวดปาฏิโมกข์ เมื่อจบแล้วจึงให้ภิกษุผู้ทาปวารณา ในสานักของเธอทั้งหลาย ห้ามไม่ให้ตั้งญัตติทาเป็นการสงฆ์การคณะ คือลงอุโบสถกับปวารณา ออกพรรษาในวันเดียวกัน ๒. คณะปวารณา คือปวารณาเป็นการคณะโดยมีภิกษุอยู่จาพรรษาไม่ถึง ๕ รูป เช่น มี ๔, ๓, ๒ รูป อย่างใดอย่างหนึ่ง ซึ่งสามารถทาปวารณาได้ ดังนี้
  • 14. ๑๔ ถ้ามีภิกษุ ๔ รูป ให้ภิกษุรูปหนึ่งประกาศด้วยญัตติว่า “สุณันตุ เม อายัส๎มันโต, อัชชะ ปะวาระณา ปัณณะระสี, ยะทายัส๎มันตานัง ปัตตะกัลลัง, มะยัง อัญญะมัญญัง ปะ วาเรยยามะ.” แปลว่า “ท่านเจ้าข้า ท่านทั้งหลายจงฟังข้าพเจ้า ปวารณาวันนี้ที่ ๑๕ ถ้าความพร้อม พรั่งของท่านทั้งหลายถึงที่แล้ว เราทั้งหลายพึงปวารณากันเถิด” ถ้ามีภิกษุ ๓ รูป ว่า “อายัสมันตา” แทน “อายัสมันโต” แล้วพึงกล่าวปวารณา ๎ ๎ ตามลาดับ ดังนี้ :“อะหัง อาวุโส อายัส๎มันเต ปะวาเรมิ, ทิฏเฐนะ วา สุเตนะ วา ปะริสังกายะ วา, วะทันตุ มัง อายัสมันโต อะนุกัมปัง อุปาทายะ, ปัสสันโต ปะฏิกกะริสสามิ.” ๎ ทุติยัมปิ อาวุโส อายัส๎มันเต ปะวาเรมิ, .... ฯลฯ .... ปะฏิกกะริสสามิ. ตะติยัมปิ อาวุโส อายัส๎มันเต ปะวาเรมิ, .... ฯลฯ .... ปะฏิกกะริสสามิ.” ถ้ามีภิกษุ ๒ รูป ไม่ต้องตั้งญัตติ สามารถทาปวารณาได้เลย ดังนี้ :“อะหัง อาวุโส อายัส๎มันตัง ปะวาเรมิ, ทิฏเฐนะ วา สุเตนะ วา ปะริสังกายะ วา, วะทะตุ มัง อายัสมา อะนุกัมปัง อุปาทายะ, ปัสสันโต ปะฏิกกะริสสามิ.” ๎ ทุติยัมปิ อาวุโส อายัส๎มันตัง ปะวาเรมิ, .... ฯลฯ .... ปะฏิกกะริสสามิ. ตะติยัมปิ อาวุโส อายัส๎มันตัง ปะวาเรมิ, .... ฯลฯ .... ปะฏิกกะริสสามิ.” ๓. ปุคคลปวารณา คืออธิษฐานเป็นการบุคคล ภิกษุผู้อยู่จาพรรษารูปเดียว ครั้นถึงวัน ปวารณาท่านให้ตระเตรียมที่ อาสนะ คอยภิกษุอื่นจนสิ้นเวลาเห็นว่าไม่มาแล้ว ให้อธิษฐานว่า “อัชชะ เม ปะวาระณา ปัณณะระสี [จาตุททะสี].” แปลว่า “ปวารณาของวันนี้ ที่ ๑๕” บุพพกิจแห่งปวารณา ปวารณากรณโต ปุพฺเพ นววิธ ปุพฺพกิจฺจ กาตพฺพ โหติ. ตณฺฐานะ สมฺมชฺชนญฺจ ตตฺถ ปทีปุชฺชลนญฺจ อาสนปญฺญปนญฺจ ปานียปริโภชนียูปฏฺฐปนญฺจ ฉนฺทารหาน ภิกฺขู น ฉนฺทา
  • 15. ๑๕ หรณญฺจ เตสญฺเญว อกตปวารณาน ปวารณายปิ อาหรณญฺจ อุตุกฺขานญฺจ ภิกฺขุคณนา จ ภิกฺขุนีนโมวาโท จาติ. ตตฺถ... [กลางวัน “ปุริเมสุ จตูสุ กิจฺเจ ปทีปกิจฺจ อิทานิ สุริยาโลกสฺส อตฺถิตาย นตฺถิ อปรานิตีนิ” หรือตอนเย็นใกล้ค่า “ปุริมานิ จตฺตาริ”]...ภิกฺขูน วตฺต ชานนฺเตหิ สามเณเรหิปิ [ถ้าไม่มีสามเณรช่วยจัดก็ไม่ต้องว่า] ภิกฺขูหิปิ กตานิ ปรินิฏฺฐิตานิ โหนฺติ. ฉนฺทาหรณ ปวารณา อาหรณานิ ปน อิมิสฺส สีมาย [อพทฺธสีมาย] หตฺถปาส วิชหิตฺวา นิสินฺนาน ภิกฺขูน อภาวโต นตฺถิ. อุตุกฺขาน นาม เอตฺตก อติกฺกนฺต, เอตฺตก อวสิฏฺฐนฺติ เอว อุตุอาจิกฺขน , อุตูนีธ ปน สาสเน เหมนฺตคิมฺหวสฺสานาน วเสน ตีณิ โหนฺติ. อย วสฺสาโนตุ, อิมสฺมิญฺจ อุตุมฺหิ สตฺต จ อุโปสถา เอกา จ ปวารณา, อิมินา ปกฺเขน เอกา ปวารณา สมฺปตฺตา, ปญฺจ อุโปสถา อติกฺกนฺตา, เท๎ว อุโปสถา อวิสิฏฺฐา. อิติ เอว สพฺเพ อายสฺมนฺเตหิ อุตุกฺขาน ธาเรตพฺพ. [รับพร้อมกันว่า เอว ภนฺเต/อาวุโส] ภิกฺขุค ณนา นาม อิมสฺ มึ ปวารณคฺ เค ปวารณตฺ ถาย สนฺนิป ติตา ภิกฺ ขู เอตฺ ตกาติ ภิกฺขูน คณนา. อิมสฺมิมฺปน ปวารณคฺเค ทส [เปลี่ยนตามจานวนภิกษุ] ภิกฺขู สนฺนิปติตา โหนฺติ. อิติ สพฺเพหิ อายสฺมนฺเตหิ ภิกฺขุคณนาปิ ธาเรตพฺพา. [รับพร้อมกันว่า เอว ภนฺเต/อาวุโส] ภิกฺขุนีนโมวาโท ปน อิทานิ ตาส นตฺถิตาย นตฺถิ. อิติ สกรโณ กาสาน ปุพฺพกิจฺจาน กตตฺตา นิกฺกรโณกาสาน ปุพฺพกิจฺจาน ปกติยา ปรินิฏฺฐิตตฺตา เอวนฺต นววิธ ปุพฺพกิจฺจ ปรินิฏฺฐิต โหติ. นิฏฺ ฐิ เต จ ปุพฺ พ กิจฺเจ สเจ โส ทิ ว โส จาตุ ทฺท สี ปณฺ ณรสี สามคฺ คี น มญฺญ ตโร ยถาชฺช ปวารณา ปณฺณรสี, ยาวติกา จ ภิกฺขู กมฺมปฺปตฺตา สงฺฆปวารณารหา ปญฺจ วา ตโต วา อติเรกา ปกตตฺตา ปาราชิก อนาปนฺนา สงฺเฆน วา อนุกฺขิตฺตา, เต จ โข หตฺถ
  • 16. ๑๖ ปาส อวิชหิตฺวา เอกสีมาย ฐิตา, เตสญฺจ วิกาลโภชนาทิวเสน วตฺถุสภาคาปตฺติโย เจ น วิชฺชนฺติ. เตสญฺจ หตฺถปาเส หตฺถปาสโต พหิกรณวเสน วชฺเชตพฺโพ โกจิ วชฺชนียปุคฺคโล เจ นตฺถิ. เอวนฺต ปวารณากมฺม อิเมหิ จตูหิ ลกฺขเณหิ สงฺคหิต ปตฺตกลฺล นาม โหตุ กาตุ ง ยุตฺตรูปํ ปวารณากมฺมสฺส ปตฺตกลฺลตฺต วิทิตฺวา อิทานิ กริยมานา ปวารณา สงฺเฆน อนุมา เนตพฺพา. [รับพร้อมกันว่า สาธุ]
  • 17. ๑๗ กฐินแบบธรรมยุต หนึ่งเดือนหลังจากวันออกพรรษา หรือท้ายฤดูฝนตั้งแต่แรม ๑ ค่า เดือน ๑๑ ถึงวันเพ็ญ เดือน ๑๒ เป็นช่วงเวลาที่มีพุทธานุญาตให้ภิกษุแสวงหาผ้ามาทาจีวร เรียกอีกอย่างหนึ่งว่า “กาล จีวร” เพื่อเปลี่ยนผ้าเก่าที่ใช้อยู่ อาจเป็นผ้าที่ทายกทายิกานามาถวายแก่หมู่สงฆ์เพื่อประโยชน์ นี้ ในกรณีผ้าที่นามาถวายนั้นไม่พอ คือไม่ครบทุกรูปทรงอนุญาตให้ยกผ้านั้นขึ้นท่ามกลางสงฆ์ เพื่อ จะขอมติว่าจะให้รูปใดเป็นผู้ครองแทน แต่โดยธรรมเนียมปฏิบัติและความเคารพในครูอุปัชฌา อาจารย์นิยมมอบให้ท่านเป็นผู้ถือครอง และผ้านั้นภิกษุผู้มีความสามารถตลอดจนหมู่สงฆ์ ต้อง ช่วยกัน โดยเริ่มตั้งแต่กระบวนการ “ซัก กะประมาณ ตัด เย็บ ย้อมสี ” ให้แล้วเสร็จภายใน วันเดียว ซึ่งสามารถเย็บสบง, จีวร, สังฆาฏิ อย่างใดอย่างหนึ่งก็ได้ แล้วนามาท่ามกลางสงฆ์เพื่อ มอบให้ภิกษุผู้จะครองได้อธิษฐานใช้ ซึ่งเริ่มจาก “สละผ้าครองผืนเก่า  ทาพินทุผ้าผืนใหม่  อธิษฐานผ้า  กรานผ้าผืนใหม่  อนุโมทนาผ้าที่กราน” อาวาสที่สามารถรับกฐินได้ต้องมีจานวนภิกษุอยู่จาพรรษาตั้งแต่ ๕ รูป ขึ้นไป และทุกรูปนั้น ล้วนอยู่จาพรรษาครบไตรมาส เมื่อออกพรรษาแล้วนอกจากจะได้รับอานิสงส์การอยู่จาพรรษา ๕ อย่างแล้ว เมื่อได้ รับกฐินก็ขยายเวลาการถืออานิสงส์นั้นออกไปอีก ๔ เดือน ตลอดฤดูเหมันต์ (ฤดูหนาว) คาอปโลกน์กฐิน [รูปที่ ๑] อิทานิ โข ภนฺเต, อิท สปริวาร กฐินทุสฺส สงฺฆสฺส กฐินตฺถารารหกาเลเยว อุปฺปนฺน. อีทิเส จ กาเล เอว อุปฺป นฺเนนะ ทุสฺเสน กฐินตฺถาโร วสฺส วุตฺถาน ภิกฺขูน ภควตา อนุญฺญาโต, เยน อากงฺขมานสฺส สงฺฆสฺส ปญฺจ กปฺปิสฺสนฺติ. อนามนฺตจาโร, อสมาทานจาโร, คณโภชน, ยาวทตฺถจีวร, โย จ ตตฺถ จีวรุปฺปาโท โส เนส ภวิสฺสติ. จตูสุปิ เหมนฺติเกสุ
  • 18. ๑๘ มาเสสุ จีวรกาโล มหนฺตีกโต ภวิสฺสติ. อิทาน ปน สงฺโฆ อากงฺขติ นุ โข กฐินตฺถาร, อุทาหุ นากงฺขติ ? [สงฆ์พึงรับว่า “อากงฺขาม ภนฺเต” ผู้พรรษามากรับเพียง “อากงฺขาม”] [คาแปล] ข้าแต่ท่านผู้เจริญทั้งหลาย, บัดนี้แลผ้ากฐินกับทั้งบริวารอันนี้เกิดขึ้น แล้วแก่สงฆ์ ในกาลอันควร กรานกฐินนั่นแหละ, ก็พระผู้มีพระภาคเจ้าได้ทรงอนุญาตการกรานกฐินแก่ภิกษุทั้งหลาย ผู้ได้อยู่จาพรรษาแล้ว ด้วยผ้าที่เกิดขึ้นแล้วอย่างนี้ ในกาลเช่นนี้, อาศัยการกรานกฐินไรเล่าเป็นเหตุอานิสงส์ ๕ จักสาเร็จแก่สงฆ์ผู้ ปรารถนาอยู่, คือเที่ยวไปด้วยไม่ต้องบอกลา ๑ เที่ยวจาริกไปด้วยไม่ต้องถือเอาไตรจีวรไปครบสารับ ๑ ฉันคณะ โภชน์ได้ ๑ เก็บอติเรกจีวรไว้ได้ตามปรารถนา ๑ จีวรลาภเกิดขึ้นในอาวาสนั้นจักเป็นของได้แก่พวกเธอ ๑ ทั้งจีวร กาล เธอเหล่านั้นจักได้ทาให้เป็นกาลมาก ยืดออกไปในฤดูเหมันต์ ๔ เดือน, ก็บัดนี้ สงฆ์ปรารถนาจะกรานกฐิน, หรือไม่ปรารถนา ? [รูปที่ ๒] โส โข ปน ภนฺ เต กฐิน ตฺ ถ าโร, ภควตา ปุ คฺ คลสฺ ส อตฺ ถ ารวเสเนว อนุ ญฺ ญ าโต, นาญญตฺตร ปุคฺคลสฺส อตฺถารา อตฺถต โหติ กฐินนฺติ หิ วุตฺต ภควตา. น สงฺโฆ วา คโณ วา กฐิ น อตฺ ถ รติ . สงฺ ฆ สฺ ส จ คณสฺ ส จ สามคฺ คิ ย า ปุ คฺ ค ลสฺ เสว อตฺ ถ ารา, สงฺฆสฺสปิ คณสฺสปิ ตสฺเสว ปุคฺคลสฺสปิ อตฺถต โหติ กฐิน. อิทานิ กสฺสิม กฐินทุสฺส ทสฺ สาม กฐิน อตฺถริตุง, โย ชิณฺณจีวโร วา ทุพฺพลจีวโร วา, โย วา ปน อุสฺสหิสฺสติ อชฺเชว จีวรกมฺม นิฏฺฐาเปตฺวา, สพฺพวิธาน อปริหาเปตฺวา กฐิน อตฺถริตุง, สมตฺโถ ภวิสฺสติ. [สงฆ์พึ่งนิ่งเฉย] [คาแปล] ข้าแต่ท่านผู้เจริญ ก็การกรานกฐินนั่นแล พระผู้มีพระภาคเจ้าได้ทรงอนุญาตด้วยอานาจแห่งความ กรานของบุคคลอย่างเดียว, เพราะพระผู้มีพระภาคเจ้าได้ตรัสไว้ว่า กฐินไม่เป็นอันกรานแล้ว นอกจากการกราน แห่งบุคคลดังนี้. สงฆ์หรือคณะก็หากรานได้ไม่. เพราะอาศัยความกรานกฐินแห่งบุคคล โดยความพร้อมเพรียง แห่งสงฆ์ด้วยแห่งคณะด้วย, กฐินแห่งสงฆ์ แห่งคณะ แห่งบุคคลนั้น เป็นอันสงฆ์และคณะ และบุคคลนั้นได้กราน แล้ว. ก็บัดนี้ เราทั้งหลายจักให้ผ้ากฐินนี้แ ก่ภิกษุรูปใด เพื่อจะกรานกฐิน. ภิกษุใดมีจีวรเก่าคร่าคร่า หรือมีจีวร ทุพพลภาพ, ก็หรือว่า ภิกษุใดจักอาจหาญจักเป็นผู้สามารถเพื่อจะให้จีวรกรรมสาเร็จ ในวันนี้นี่แหละ, ไม่ให้วิธีทั้ง ปวงเสื่อม, แล้วกรานกฐินได้.
  • 19. ๑๙ [รูปที่ ๓] อิธ อมฺเหสุ อายสฺมา อิตฺถนฺนาโม, สพฺพมหลฺลโก พหุสฺสุโต ธมฺมธโร วินยธโร, สพฺรหฺม จารีน สนฺทสฺสโก สมาทปโก สมุตฺเตชโก สมฺปหงฺสโก, พหุนฺน อาจริโย (วา อุปชฺฌาโย วา) หุตฺวา โอวาทโก อนุสาสโก, สมตฺโถ จ ต ต วินยกมฺม อวิโกเปตฺวา กฐิน อตฺถริตุง. มญฺญามหเมว สพฺโพย สงฺโฆ อิม สปริวาร กฐินทุสฺส, อายสฺมโต อิตฺถนฺนามสฺส ทาตุกาโม. ตสฺมึ กฐิน อตฺถรนฺเต, สพฺโพย สงฺโฆ สมฺมเทว อนุโมทิสฺสติ. อายสฺมโต อิตฺถนฺนามสฺเสว อิม สปริวาร กฐินทุสฺส ทาตุง, รุจฺจติ วา โน วา สพฺพสฺสิมสฺส สงฺฆสฺส ? [สงฆ์พึงรับว่า รุจฺจติ ภันเต] [คาแปล] บรรดาเราทั้งหลายท่านผู้มีอายุ..ฉายา.., ท่านมีพรรษายุกาลมากกว่าสงฆ์ทั้งปวงเป็นพหุสูต ทรง ธรรม ทรงวินัย, แสดงให้เพื่อนพรหมจรรย์เห็นจริง ให้รับปฏิบัติให้อาจหาญ ให้ร่าเริง, และเป็นอาจารย์ (หรือเป็น อุปัชฌาย์) เป็นผู้ให้โอวาทสั่งสอนแก่คฤหัสถ์ บรรพชิต เป็นอันมาก. อนึ่ง สามารถเพื่อจะกรานกฐิน ไม่ให้วินัย กรรมนั้นๆ กาเริบ. ข้าพเจ้าสาคัญว่า สงฆ์ทั้งปวงนี้ปรารถนาจะให้ผ้ากฐินกับทั้งบริวารนี้, แก่ท่านผู้มีอายุ...ฉายา... เมื่อท่านนั้นกรานกฐินอยู่, สงฆ์ทั้งปวงนี้จักอนุโมทนาโดยชอบทั่วกัน. การให้ผ้ากฐินกับทั้งบริวารนี้แก่ท่าน... ฉายา..., ย่อมชอบหรือไม่ชอบแก่สงฆ์ทั้งปวง ? [ชอบละ เจ้าข้า] [รูปที่ ๔] ยทิ อายสฺมโต อิตฺถนฺนามสฺส, อิม สปริวาร กฐินทุสฺส ทาตุง. สพฺพสฺสิมสฺส สงฺฆสฺส รุจฺจติ, สาธุ ภนฺเต สงฺโฆ, อิม กฐินทุสฺสปริวารภูต ติจีวร วสฺสาวาสิกฏฺฐิติกาย อคาเหตฺวา, อายสฺมโต อิตฺถนินามสฺเสว อิมินา อปโลกเนน ททาตุ. กฐินทุสฺส ปน อปโลกเนน ทิยฺย มานปิ น รูหติ. ตสฺมา ต อิทานิ ญตฺติทุติเยน กมฺเมน อกุปฺเปน ฐานารเหน, อายสฺมโต อิตฺถนฺนามสฺส, เทมาติ กมฺมสนฺนิฏฺฐาน กโรตุ. [สงฆ์พึงรับว่า สาธุ ภนฺเต] [คาแปล] ถ้าการให้ผ้ากฐินกับบริวารนี้แก่ท่าน...ฉายา..., ควรชอบแก่สงฆ์ทั้งปวงนี้ไซร้, ขอสงฆ์จงให้ผ้าไตร ซึ่งเป็นบริวารของผ้ากฐินไตรนี้แก่ท่าน...ฉายา..., ด้วยการอปโลกน์นี้เถิด อย่าให้ต้องถือเอาตามลาดับจานา
  • 20. ๒๐ พรรษาเลย, ก็แลผ้ากฐินแม้สงฆ์จะให้ด้วยอปโลกน์ก็ไม่ขึ้น, (ต้องให้ด้วยญัตติทุติยกรรมนั้นจึงขึ้น) เพราะฉะนั้น บัดนี้ขอสงฆ์จงทากรรมสันนิษฐานว่า เราทั้งหลายให้ผ้ากฐินนั้น แก่ท่าน...ฉายา..., ด้วยญัตติทุติยกรรม อันไม่ กาเริบอันควรแก่ฐานะ ณ กาลบัดนี้แล. [ดีละ เจ้าข้า] หมายเหตุ :- บทว่า อิตฺถนฺนาโม และ อิตฺถนฺนามสฺส ที่ขีดเส้นใต้ไว้นั้น ให้เปลี่ยนตามฉายาของภิกษุผู้กราน กฐิน ทุกแห่งไป แต่ถ้าผู้กรานกฐินมีราชทินนาม (พระครู, เจ้าคุณ) ให้ใช้ชื่อราชทินนามนั้นๆ แทน บทว่า สพฺพมหลฺลโก นี้ สาหรับผู้กราบกฐินแก่พรรษาในหมู่สงฆ์ ถ้าในสงฆ์มีภิกษุพรรษา มากกว่าผู้กรานกฐินให้ยกเสียไม่ต้องว่า บทว่า พหุนฺน อาจริโย (วา อุปชฺฌาโย วา) หุตฺวา นั้น ถ้าผู้กรานกฐินเป็นอาจารย์ของ ภิกษุทั้งหลาย จงว่า พหุนฺน อาจริโย หุตฺวา ถ้าเป็นแต่อุปัชฌาย์จงว่า พหุนฺน อุปชฺฌาโย หุตฺวา ถ้าเป็นทั้ง ๒ อย่างคงว่าตามแบบ ญัตติทุติยกรรมวาจา [ตั้งญัตติ ๒ รูป] [ตั้ง นะโม ๕ ชั้น] ๑. นโม ตสฺส ภควโต อรหโต สมฺมาสมฺพุทฺธสฺส นโม ตสฺส. ๒. ภควโต อรหโต สมฺมาสมฺพุทฺธสฺสะ. ๓. นโม ตสฺส ภควโต. ๔. อรหโต สมฺมา. ๕. สมฺพุทฺธสฺส. สุณาตุ เม ภนฺเต [อาวุโส] สงฺโฆ. อิท สงฺฆสฺส กฐินทุสฺส อุปฺปนฺน, ยทิ สงฺฆสฺส ปตฺตกลฺล, สงฺโฆ อิม กฐินทุสฺส, อายสฺมโต อิตฺถนฺนามสฺส, ทเทยฺย กฐิน อตฺถริตุง, เอสา ญตฺติ. สุณาตุ เม ภนฺเต [อาวุโส] สงฺโฆ, อิท สงฺฆสฺส กฐินทุสฺส อุปฺปนฺน, สงฺโฆ อิม กฐิน ทุสฺส, อายสฺมโต อิตฺถนฺนามสฺส, เทติ กฐิน อตฺถริตุง. ยสฺสายสฺมโต ขมติ, อิมสฺส กฐิน ทุสฺสสฺส, อายสฺมโต อิตฺถนฺนามสฺส, ทาน กฐิน อตฺถริตุง, โส ตุณฺหสฺสะ, ยสฺส น ขมติ,
  • 21. ๒๑ โส ภาเสยฺย, ทินฺน อิท สงฺเฆน กฐินทุสฺส, อายสฺมโต อิตฺถนฺนามสฺส, กฐิน อตฺถริตุง, ขมติ สงฺฆสฺส, ตสฺมา ตุณฺหี, เอวเมต ธารยามิ. [คาแปล] ความนอบน้อมแห่งข้าฯ จงมีแด่พระผู้มีพระภาคเจ้า อรหันตสัมมาสัมพุทธเจ้า พระองค์นั้น. ข้าแต่ท่านผู้เจริญ ขอสงฆ์จงฟังข้าพเจ้า, ผ้ากฐินนี้เกิดขึ้นแล้วแก่สงฆ์, ถ้าความพร้อมพรั่งของ สงฆ์ถึงที่แล้ว, สงฆ์พึงให้ผ้ากฐินนี้แก่ท่าน...ฉายา..., เพื่อจะกรานกฐิน, นี้เป็นญัตติ [คาเสนอ] ข้าแต่ท่านผู้เจริญ ขอสงฆ์จงฟังข้าพเจ้า, ผ้ากฐินนี้เกิดขึ้นแล้วแก่สงฆ์, สงฆ์ให้ ผ้ากฐินนี้แก่ ท่าน ...ฉายา..., เพื่อจะกรานกฐิน, การให้ผ้ากฐินนี้แก่ท่าน...ฉายา..., เพื่อจะกรานกฐิน ชอบแก่ท่านผู้ใด, ท่านผู้นั้นเป็นผู้นิ่ง, ไม่ชอบแก่ท่านผู้ใด, ท่านผู้นั้นพึงพูด, ผ้ากฐินนี้อันสงฆ์ให้แล้วแก่ท่าน...ฉายา..., เพื่อกราน กฐิน, ย่อมชอบแก่สงฆ์, เหตุนั้นสงฆ์จึงนิ่งอยู่, ข้าพเจ้าทรงความนี้ไว้ ด้วยอาการอย่างนี้. คากรานกฐิน กรานด้วยผ้าสังฆาฏิ : อิมาย สงฺฆาฏิยา กฐิน อตฺถรามิ. กรานด้วยผ้าจีวร : อิมินา อุตฺตราสงฺเคน กฐิน อตฺถรามิ. กรานด้วยผ้าสบง : อิมินา อนฺตรวาสเกน กฐิน อตฺถรามิ. คาเสนออนุโมทนากฐิน อตฺถต อาวุโส [ภนฺเต] สงฺฆสฺส กฐิน, ธมฺมิโก กฐินตฺถาโร อนุโมทถ. คาอนุโมทนากฐิน [ว่าพร้อมกัน] อตฺถต ภนฺเต [อาวุโส] สงฺฆสฺส กฐิน, ธมฺมิโก กฐินตฺถาโร อนุโมทาม. [ถ้าว่าทีละรูปให้เปลี่ยน อนุโมทาม เป็น อนุโมทามิ]
  • 22. ๒๒ กาลิก ๔ ของที่สามารถกลืนกินให้ล่วงลาคอลงไป ท่านเรียกว่ากาลิก เพราะเป็นของมีกาหนดให้ ใช้ชั่วคราว จาแนกเป็น ๔ อย่าง ๑. ยาวกาลิก เป็นของที่ใช้บริโภคเป็นอาหาร ตั้งแต่เช้าถึงเที่ยงวัน มีโภชนะทั้ง ๕ คือ ข้าวสุกที่หุงจากธัญญชาติทั้งหลาย ๑ ขนมกุมมาสเป็นของทาด้วยแป้งหรือด้วยถั่วงา มีอันจะ บูดหรือล่วงคืนแล้ว ๑ สัตตุ คือขนมแห้งเป็นของไม่บูด ๑ ปลา ๑ เนื้อ ๑ นอกจากนี้ยังมี นมสด นมส้ม ของขบเคี้ยว เช่นผลไม้และเง่ามีมันเป็นต้น ยาวกาลิกนี้ พ้นกาหนดเวลาแล้ว ภิกษุฉันให้ล่วงลาคอไป ต้องอาบัติปาจิตตีย์ ด้วยวิ กาลโภชนสิกขา รั บประเคนแรมคืนแล้วฉั นในกาลแห่งวั นรุ่ง ขึ้นเป็นต้น ไป ต้องอาบั ติ ปาจิตตีย์ด้วยสันนิธิการสิกขาบท ๒. ยาวกาลิก เป็นของที่ให้บริโภคได้วันหนึ่งกับคนหนึ่ง ได้แก่ปานะ คือน้าสาหรับ ดื่ม ที่คั้นออกจากน้าลูกไม้ ๘ ชนิด คือ น้ามะม่วง ๑ น้าชมพู่หรือน้าหว้า ๑ น้ากล้วยมีเม็ด ๑ น้า กล้วยไม่มีเม็ด ๑ น้ามะซาง ๑ น้าลูกจันทร์หรือองุ่น ๑ น้าเง่าอุบล ๑ น้ามะปรางหรือลิ้นจี่ ๑ วิธีทาปานะ ปอกหรือคว้านผลไม้เหล่านี้ที่สุก เอาผ้าห่อ บิดผ้าให้ตึง อัดเนื้อ ผลไม้ให้คายน้าออกจากผ้า หรืออาจใช้ที่คั้นน้าผลไม้แล้วเอาผ้ากรองน้าผลไม้ ระวังอย่าให้มีเนื้อ หรือกากผลไม้เจือปน เติมน้าลงให้พอดี ประกอบของอื่นเป็นต้นว่า น้าตาล เกลือ พอเข้ารส ปานะนี้ให้ใช้ของสด ห้ามมิให้ต้มด้วยไฟ เป็นของที่อนุปสัมบันทาจึงควรในวิกาล ถ้าภิกษุทาเองท่านว่ามีคติอย่างยาวกาลิก เพราะรับประเคนทั้งผล ยามกาลิกนี้ล่ วงกาหนดคืน หนึ่ง คืออรุณใหม่ขึ้นแล้ว ท่านห้ามไม่ให้ฉัน ปรับเป็นอาบัติทุกกฎ ๓. สัตตาหกาลิก เป็นของที่ให้บริโภคได้ ๗ วัน ได้แก่ เภสัช ๕ อย่าง คือ เนยใส เนยข้น น้ามัน น้าผึ้ง น้าอ้อย
  • 23. ๒๓ สัตตาหกาลิกที่ภิกษุไม่ได้ทาเอง รับประเคนในเช้า ฉันแม้กับอาหารในวันนั้ นก็ ได้ ตั้งแต่วิกาลแห่งวันนั้นไป ฉันกับอาหารไม่ได้ ฉันได้โดยฐานเป็นเภสัชตลอดกาล ล่วงคราว คือ ๗ วันแล้วไป เป็นนิสสัคคีย์ ภิกษุต้องปาจิตตีย์ ด้วยสิกขาบทที่ ๓ แห่งปัตตวรรค ในนิสสัค คีย์กัณฑ์ ฉันเภสัชที่เป็นนิสสัคคีย์ต้องทุกกฏ ๔. ยาวชีวิก เป็นของที่ให้บริโ ภคได้เสมอไปไม่มีจากัดกาล ใช้ประกอบเป็นยา นอกจากกาลิก ๓ อย่างนั้น จัดเป็นยาวชีวิก ดังนี้ รากไม้ เช่น ขมิ้น ขิง ว่านน้า ว่านเปราะ อุตพิด ข่า แฝก แห้วหมู เป็น น้าฝาด เช่น น้าฝาดสะเดา น้าฝาดมูกมัน น้าฝาดกระดอม หรือมูลกา น้า ฝาดบอระเพ็ด หรือพญามือเหล็ก น้าฝาดกระถินพิมาน ใบไม้ เช่น ใบสะเดา ใบมูกมัน ใบกระดอม หรือมูลกา ใบกะเพรา หรือ แมงลัก ใบฝ้าย ใบชะพลู ใบบัวบก ใบส้มลม ใบส้มกบ ผลไม้ เช่น ลูกพิลังกาสา ดีปลี พริก สมอไทย สมอพิเภก มะขามป้อม ผลแห่งโกศ ยางไม้ เช่น ยางที่ไหลออกจากต้นหิงคุ์ หรือเคี่ยวออกจากก้านและใบแห่งต้น หิงคุ์ เกลือต่างๆ เช่น เกลือจากน้าทะเล เกลือดา เกลือสินเธาว์ หรือเกลือที่เขาเอา ดินโป่งมาเคี่ยวทาขึ้น กาลิกระคนกัน ๑. ยามกาลิก สัตตาหกาลิก ยาวชีวิก ๓ นี้ สิ่งใดสิ่งหนึ่งรับประเคนไว้ในวันนั้น ด้วยกันกับ ยาวกาลิก ย่อมควรในกาล ไม่ควรในวิกาล ๒. สัตตาหกาลิก ยาวชีวิก ๒ นี้ สิ่งใดสิ่งหนึ่งรับประเคนในวันนั้นด้วยกันกับ ยาม กาลิก ย่อมควรในยาม คือวันหนึ่งไปจนวันรุ่ง ล่วงยามไปคือถึงอรุณใหม่ไม่ควร
  • 24. ๒๔ ๓. ยาวชีวิก รับประเคนกับ สัตตาหกาลิก ควร ๗ วัน ล่วง ๗ วันไปไม่ควร กาลิกใดๆ มีรสไม่ระคนปนกัน กาลิกนั้นๆ แม้รับประเคนด้วยกันจะบริสุทธิ์อย่างใด ล้างหรือปอกเสียอย่างนั้นแล้ว และบริโภคตามกาลแห่งกาลิกนั้นๆ ก็ควร ถ้ามีรสอันเจือระคนกัน ไซร้ ไม่ควรบริโภค ยาวกาลิก กั บ ยามกาลิ ก ๒ นี้ เก็ บไว้ใ นอกัป ปิยะกุ ฎี แม้ เป็นของสงฆ์ ชื่อ ว่า อั น โตวุฏฐะ แปลว่า อยู่ในภายใน หุงต้มให้สุกในอกัปปิยะกุฎี ชื่อว่า อันโตปักกะ แปลว่า สุกใน ภายใน ภิกษุหุงต้มให้สุกเอง ชื่อว่า สามะปักกะ แปลว่า ให้สุกเอง ทั้ง ๓ กระบวนการนี้ เป็นวัตถุ แห่งทุกกฎ ห้ามไม่ให้ฉัน ยาวกาลิก ที่เก็บไว้ในกัปปิยะกุฎีไม่เป็นอันโตวุฏฐะ หุงต้มในนั้นไม่เป็นอันโตปักกะ แต่ ทาเองในนั้นคงเป็นสามะปักกะท่านห้าม แต่จะอุ่นของที่คนอื่นทาสุกแล้วท่านอนุญาต ห้ามไม่ให้ภิกษุฉันเนื้อ ๑๐ อย่าง ๑. เนื้อมนุษย์ ๖. เนื้อราชสีห์ ๒. เนื้อช้าง ๗. เนื้อหมี ๓. เนื้อม้า ๘. เนื้อเสือโคร่ง ๔. เนื้อสุนัข ๙. เนื้อเสือดาว ๕. เนื้องู ๑๐. เนื้อเสือเหลือง เนื้อมนุษย์ เป็นของห้ามโดยกวดขันเป็นวัตถุแห่งถุลลัจจัย เลือดก็สงเคราะห์เข้าในเนื้อ ด้วยเหมือนกัน เนื้ออีก ๙ ชนิดนั้นเป็นวัตถุแห่งทุกกฏ เนื้อนอกจากที่ระบุชื่อไว้เป็นของไม่ห้าม โดยกาเนิด แต่ห้ามโดยความเป็นของดิบ ยังไม่ได้ทาให้สุกด้วยไฟ และต้องเป็นเนื้อที่บริสุทธิ์ โดยส่วน ๓ คือ ภิกษุไม่ได้เห็น ไม่ได้ยิน ไม่ได้สงสัย ว่าเขาฆ่ามาเฉพาะตนเช่นนี้ ฉันไม่มีโทษ คือต้องอาบัติ
  • 25. ๒๕ มหาปเทส ๔ คือหลักการตัดสินพระธรรมวินัย ว่าควรหรือไม่ควร ๑. สิ่งใดไม่ได้ทรงห้ามไว้ว่าไม่ควร แต่เข้ากันกับสิ่งที่เป็นอกัปปิยะ ขัดกันกับสิ่งที่เป็น กัปปิยะ สิ่งนั้นไม่ควร. ๒. สิ่งใดไม่ได้ทรงห้ามไว้ว่าไม่ควร แต่เข้ากันกับสิ่งที่เป็นกัปปิยะ ขัดกันกับสิ่งที่เป็น อกัปปิยะ สิ่งนั้นควร. ๓. สิ่งใดไม่ได้ทรงอนุญาตไว้ว่าควร แต่เข้ากันกับสิ่งที่เป็นอกัปปิยะ ขัดกันกับสิ่งที่ เป็นกัปปิยะ สิ่งนั้นไม่ควร. ๔. สิ่งใดไม่ได้ทรงอนุญาตไว้ว่า ควร แต่เข้ากันกับสิ่งที่เป็นกัปปิยะ ขัดกันกับสิ่งที่ เป็นอกัปปิยะ สิ่งนั้นควร. เทศนาบัติพิธี พระภิกษุที่ต้องลหุกาบัติ คืออาบัติเบาที่สามารถแสดงความบริสุทธิ์กับภิกษุด้วยกันได้ ได้แก่ อาบัติถุลลัจจัย ปาจิตตีย์ ทุกกฎ และทุพภาษิต หรือเรียกอีกอย่างหนึ่งว่า เทสนาบัติ คือจะพ้น จากอาบัติได้ด้วยการแสดง ทั้งนี้การแสดงอาบัติมิใช่วิธีการที่จะทาให้ภิกษุผู้ต้องพ้นจากกรรมไป ได้ เป็นแต่เพียงการผูกใจว่าต่อไปจะไม่กระทาผิดอีก ดังนั้น เมื่อภิกษุรู้ดังนี้แล้ว พึงห่มผ้าเฉวียงบ่าเข้าไปหาภิกษุที่มีความสามารถบอกและ วิ ธี ก ารได้ เช่ น ครู บ าอาจารย์ สหธรรมิ ก อาจจะมี พ รรษามากกว่ า หรื อ น้ อ ยกว่ า ก็ ไ ด้ ที่ มี ความสามารถแสดงอาบัติได้ ทั้งนี้ ผู้ที่มีพรรษาอ่อนกว่าพึงน้อมตัวลงต่ากว่าภิกษุผู้มีพรรษาแก่ กว่า โดยนั่งคุกเข่าห่างกัน ๑ หัตถบาท [๑ ศอก] พร้อมกับกล่าวว่า
  • 26. ๒๖ สาหรับภันเต ภิกษุ [ผู้มีพรรษามาก] อาบัติถุลลัจจัย ผู้แสดง : อะหัง อาวุโส สัมพะหุลา นานาวัตถุกาโย, ถุลลัจจะยาโย อาปัตติโย อาปันโนตา ปะฏิเทเสมิ. ผู้รับ : ปัสสะถะ ภันเต. ผู้แสดง : อามะ อาวุโส ปัสสามิ. ผู้รับ : อายะติง ภันเต สังวะเรยยาถะ. ผู้แสดง : สาธุ สุฏฐุ อาวุโส สังวะริสสามิ. [ว่า ๓ ครั้ง] อาบัติปาจิตตีย์ ผู้แสดง : อะหัง อาวุโส สัมพะหุลา นานาวัตถุกาโย, ปาจิตติยาโย อาปัตติโย อาปันโนตา ปะฏิเทเสมิ. ผู้รับ : ปัสสะถะ ภันเต. ผู้แสดง : อามะ อาวุโส ปัสสามิ. ผู้รับ : อายะติง ภันเต สังวะเรยยาถะ. ผู้แสดง : สาธุ สุฏฐุ อาวุโส สังวะริสสามิ. [ว่า ๓ ครั้ง] อาบัติทุกกฎ ผู้แสดง : อะหัง อาวุโส สัมพะหุลา นานาวัตถุกาโย, ทุกกะฏาโย อาปัตติโย อาปันโนตา ปะฏิเทเสมิ. ผู้รับ : ปัสสะถะ ภันเต. ผู้แสดง : อามะ อาวุโส ปัสสามิ. ผู้รับ : อายะติง ภันเต สังวะเรยยาถะ. ผู้แสดง : สาธุ สุฏฐุ อาวุโส สังวะริสสามิ. [ว่า ๓ ครั้ง]
  • 27. ๒๗ อาบัติทุพภาสิต ผู้แสดง : อะหัง อาวุโส สัมพะหุลา ทุพภาสิตาโย, อาปัตติโย อาปันโนตา ปะฏิเทเสมิ. ผู้รับ : ปัสสะถะ ภันเต. ผู้แสดง : อามะ อาวุโส ปัสสามิ. ผู้รับ : อายะติง ภันเต สังวะเรยยาถะ. ผู้แสดง : สาธุ สุฏฐุ อาวุโส สังวะริสสามิ. [ว่า ๓ ครั้ง] สาหรับอาวุโสภิกษุ [ผู้มีพรรษาอ่อนกว่า] อาบัติถุลลัจจัย ผู้แสดง : อะหัง ภันเต สัมพะหุลา นานาวัตถุกาโย, ถุลลัจจะยาโย อาปัตติโย อาปันโนตา ปะฏิเทเสมิ. ผู้รับ : ปัสสะสิ๊ อาวุโส. ผู้แสดง : อามะ ภันเต ปัสสามิ. ผู้รับ : อายะติง อาวุโส สังวะเรยยาสิ. ผู้แสดง : สาธุ สุฏฐุ ภันเต สังวะริสสามิ. [ว่า ๓ ครั้ง] อาบัติปาจิตตีย์ ผู้แสดง : อะหัง ภันเต สัมพะหุลา นานาวัตถุกาโย, ปาจิตติยาโย อาปัตติโย อาปันโนตา ปะฏิเทเสมิ. ผู้รับ : ปัสสะสิ๊ อาวุโส. ผู้แสดง : อามะ ภันเต ปัสสามิ. ผู้รับ : อายะติง อาวุโส สังวะเรยยาสิ. ผู้แสดง : สาธุ สุฏฐุ ภันเต สังวะริสสามิ. [ว่า ๓ ครั้ง]
  • 28. ๒๘ อาบัติทุกกฎ ผู้แสดง : อะหัง ภันเต สัมพะหุลา นานาวัตถุกาโย, ทุกกะฏาโย อาปัตติโย อาปันโนตา ปะฏิเทเสมิ. ผู้รับ : ปัสสะสิ๊ อาวุโส. ผู้แสดง : อามะ ภันเต ปัสสามิ. ผู้รับ : อายะติง อาวุโส สังวะเรยยาสิ. ผู้แสดง : สาธุ สุฏฐุ ภันเต สังวะริสสามิ. [ว่า ๓ ครั้ง] อาบัติทุพภาสิต ผู้แสดง : อะหัง ภันเต สัมพะหุลา ทุพภาสิตาโย, อาปัตติโย อาปันโนตา ปะฏิเทเสมิ. ผู้รับ : ปัสสะสิ๊ อาวุโส. ผู้แสดง : อามะ ภันเต ปัสสามิ. ผู้รับ: อายะติง อาวุโส สังวะเรยยาสิ. ผู้แสดง : สาธุ สุฏฐุ ภันเต สังวะริสสามิ. [ว่า ๓ ครั้ง]