SlideShare une entreprise Scribd logo
1  sur  27
Télécharger pour lire hors ligne
คุณธรรม จริยธรรม ในการบริหารสถานศึกษา
นางสาวสุภา ประสพโชค รหัส 56106930001
นางสาวสายสุนีย์ มงคลพุทธรังสี รหัส 56106930006
นำเสนอโดย
นางสาวสุกัญญา สุดารารัตน์ รหัส 56106930005
คุณธรรม จริยธรรม ในการบริหารสถานศึกษา
คือ การใช้หลักธรรมปฏิบัติในการบริหารงานทุกระดับ
ตั้งแต่ ระดับปฏิบัติการ และผู้บริหารระดับต้น ระดับกลาง หรือระดับสูง
ให้ได้ผลดี มีประสิทธิภาพสูง โดยการปกครองและบริหารที่ดี
(Good Governance) ตามหลักธรรมปฏิบัติ
ผู้บริหาร ต้องมีประมุขศิลป์
คุณลักษณะความเป็นผู้นาที่ดี เป็นคุณสมบัติที่ดี ที่สาคัญ ของหัวหน้า
ฝ่ายบริหาร ลงมาถึงหัวหน้างานทุกระดับ ให้สามารถปกครองและบริหาร
องค์กรที่ตนรับผิดชอบให้ดาเนินไปถึงความสาเร็จอย่างได้ผลดี
มีประสิทธิภาพสูงและให้ถึงความเจริญรุ่งเรือง และสันติสุขอย่างมั่นคง
คุณลักษณะความเป็นผู้นาที่ดี
เป็นทั้ง ศาสตร์ (science) และ ศิลป์ (Arts)
กล่าวคือ สามารถ ศึกษาวิเคราะห์วิจัยข้อมูลอย่างมีระบบ (Systematic study)
ประมวลขึ้นเป็นหลักหรือทฤษฎี (Theory) ตามวิถีทางวิทยาศาสตร์ (Scientific
Method) สาหรับใช้เป็นแนวทาง การปฏิบัติงานของหัวหน้าฝ่ายบริหาร ให้เกิด
ประโยชน์แก่การปกครองการบริหารที่ดี (Good Governance)
ให้บรรลุผลสาเร็จด้วยดีมีประสิทธิภาพสูงได้ เพราะเหตุนั้น ประมุขศิลป์
คือคุณลักษณะความเป็นผู้นาที่ดี จึงเชื่อว่าเป็นศาสตร์ (science)
นอกจากนี้ ยังเกิดจากการที่บุคคลได้เคยศึกษา หาความรู้ ฝึกฝน
อบรม บ่มนิสัย และเคยปฏิบัติพัฒนาสภาวะความเป็นผู้นาที่ดี มาแต่ปาง
ก่อน คืออดีตกาล จนหล่อหลอมบุคลิกภาพและสภาวะความเป็นผู้นาที่ดี
ปลูกฝัง เพิ่มพูน อยู่ในจิตยิ่งขึ้นต่อ ๆ มาจนถึงปัจจุบัน
คุณลักษณะของความเป็นผู้นาที่ดีเช่นนี้ เชื่อว่าเป็นศิลป์ (Arts) ซึ่ง
ก็คือ บุญบารมี
คุณธรรม จริยธรรม สาหรับข้าราชการ ประกอบด้วย
หลักธรรม 4 ประการ
1. หลักการครองตน
3. หลักการครองงาน
2. หลักการครองคน
4. หลักธรรมาภิบาล
1. หลักการครองตน
- พึ่งตนเอง ขยันหมั่นเพียร มีความรับผิดชอบ
- ประหยัดและเก็บออม
- จัดการระเบียบวินัยและเคารพกฎหมาย
- ปฏิบัติตามคุณธรรม
- ความจงรักภักดีต่อชาติ ศาสนา พระมหากษัตริย์
หลักการครองตน
ประกอบด้วยหลักธรรม
1. เป็นผู้มีบุคลิกภาพที่ดี คือ มีสุขภาพกาย และ สุขภาพจิตที่ดี
1.1 มีสุขภาพกายที่ดี คือ มีสุขภาพอนามัยที่ดี มีท่วงท่ากิริยา รวมทั้งการแต่งกาย ที่
สุภาพเรียบร้อย ดีงาม สะอาด และดูสง่างามสมฐานะ
1.2 มีสุขภาพจิตที่ดี คือ เป็นผู้มีอัธยาศัยใจคอที่งาม เป็นคนดี มีศีลธรรม ได้แก่
- ผู้มีศรัทธา
- ผู้มีศีล
- ผู้มีสุตะ
- ผู้มีจาคะ
- ผู้มีวิริยะ
- ผู้มีสติ
- ผู้มีสมาธิ
- ผู้มีปัญญา
2. เป็นผู้มีกัลยาณมิตตธรรม คือ ผู้มีคุณธรรมของมิตรที่ดี 7 ประการ
คือ..
1. ปิโย (เป็นผู้น่ารัก)
3. ภาวนีโย (เป็นผู้น่านับถือ น่าเจริญใจ)
4. วัตตา (เป็นผู้รู้จักพูดจาโดยมีเหตุผลและหลักการ)
2. ครุ (เป็นผู้น่าเคารพบูชา)
5. วจนักขโม (เป็นผู้อดทนต่อถ้อยคาที่ล่วงเกิน วิพากษ์ วิจารย์ ซักถาม
หรือขอปรึกษาหารือ ขอให้คาแนะนาต่างๆ ได้)
7. โน จัฏฐาเน นิโยชะเย (ไม่ชักนาในอฐานะ คือไม่ชักจูงไปในทางเสื่อม
หรือไปในทางที่เหลวไหลไร้สาระหรือให้เป็นโทษ)
6. คัมภีรัญ จะ กะถัง กัตตา (สามารถแถลงชี้แจงเรื่องที่ลึกซึ้ง หรือเรื่องที่
ยุ่งยากซับซ้อนให้เข้าใจอย่างถูกต้อง และตรงประเด็นได้)
หลักธรรม สัปุริสธรรม 7……ต้องปฏิบัติได้ !
รู้เหตุ รู้ผล รู้งาน รู้ประมาณ
รู้กาลเทศะ รู้บุคคล รู้ชุมชน
2. หลักการครองคน
- เข้าใจและประสานสัมพันธ์
- ทาการร่วมกับผู้อื่นเป็นทีม
- เสมอภาคทาสิ่งที่มีประโยชน์
- มีธรรมะต่อตนเองและผู้อื่น
- เสริมสร้างความสามัคคีในหมู่คณะ
หลักการครองคน
ประกอบด้วยหลักธรรม ต่อไปนี้
1. รู้จักหลักปฏิบัติต่อกันด้วยดี ระหว่างผู้บังคับบัญชากับลูกน้องหรือ
ผู้อยู่ใต้บังคับบัญชา ตามหลักธรรมของพระพุทธเจ้าเชื่อ “เหฎฐิมทิศ”
เหฎฐิมทิศ คือ ทิศเบื้องต่า เจ้านายหรือผู้บังคับบัญชา พึงบารุงลูกน้อง
คือผู้ใต้บังคับบัญชา ด้วยสถาน 5 คือ
1. จัดงานให้ตามกาลัง 2. การให้อาหารและบาเหน็จรางวัล
3. การรักษาพยาบาลยามเก็บไข้ 4. การมีน้าใจแบ่งปันสิ่งของ
5. ปล่อยในสมัย
ส่วนลูกน้องผู้ใต้บังคับบัญชาเมื่อเจ้านายหรือผู้บังคับบัญชา ทานุ
บารุงอย่างนี้แล้ว ก็พึงปฏิบัติอนุเคราะห์เจ้านาย ผู้บังคับบัญชา
ด้วยสถาน 5 ตอบแทนด้วยเช่นกัน คือ
1. ลุกขึ้นทางานก่อนนาย
2. เลิกการทางานทีหลังนาย
3. ถือเอาแต่ของที่นายให้
4. ทางานให้ดีขึ้น
5. นาคุณของนายไปสรรเสริญ
กล่าวโดยย่อ
ผู้บังคับบัญชา กับผู้อยู่ใต้บังคับบัญชา พึงปฏิบัติต่อกัน ดังคานักปกครอง
นักบริหารแต่โบราณกล่าวว่า
อยู่สูงให้นอนคว่า อยู่ต่าให้นอนหงาย
2. เป็นผู้มีมนุษยสัมพันธ์ (Human Relation) ที่ดี
ด้วยคุณธรรม คือ พรหมวิหารธรรม และสังคหวัตถุ
พรหมวิหารธรรม คุณธรรมเครื่องอยู่ของผู้ใหญ่ 4 ประการ
1. เมตตา ปรารถนาให้ผู้อื่นเป็นสุข
2. กรุณา ช่วยผู้อื่นพ้นทุกข์
3. มุทิตา ยินดีเมื่อผู้อื่นได้ดี
4. อุเบกขา การวางเฉยเป็นกลางปราศจากอคติ
สังคหวัตถุ 4 ประการ
1. ทาน
3. อัตถจริยา
4. สมานัตตตา
2. ปิยวาจา
รู้จักให้ปัน สิ่งของ ของตน แก่ผู้อื่นที่ควรให้ปัน
ความรัก ปรารถนาให้ผู้มีทุกข์ เดือดร้อน ให้พ้นทุกข์
รู้จักประพฤติสิ่งที่เป็นประโยชน์แก่ผู้อื่น
เป็นผู้มีตนเสมอ คือ ไม่ถือตัวเย่อหยิ่ง จองหอง อวดดี
คุณธรรม 4 ประการนี้ เป็นเครื่องยึดเหนี่ยวจิตใจของผู้อื่นไว้ได้
และยังความสามัคคี ให้เกิดขึ้นระหว่างกันและกันด้วยหรือจะ
เรียกว่า หลักธรรมมหาเสน่ห์ ก็ได้
3. หลักการครองงาน
- มีความรับผิดชอบต่อหน้าที่ขยันและเอาใจใส่
- มีความรู้ความสามารถในการปฏิบัติหน้าที่
- คิดสร้างสรรค์และพัฒนา
- กระตือรือร้น เสียสละ อดทน
- คานึงถึงผลประโยชน์ส่วนรวม
หลักการครองงาน
ประกอบด้วยหลักธรรม คือ อิทธิบาทธรรม ได้แก่
1. ฉันทะ (ความรักงาน)
3. จิตตะ (ความเป็นผู้มีจิตใจจดจ่ออยู่กับการงาน)
4. วิมังสา (ความเป็นผู้รู้จักพิจารณาเหตุสังเกตผลในการปฏิบัติงาน)
2. วิริยะ (ความเพียร)
วิมังสา กล่าวโดยความหมายอย่างกว้าง จะเห็นว่ามีข้อปฏิบัติที่จะช่วยให้การ
ปฏิบัติงานในหน้าที่รับผิดชอบ หรือในการประกอบสัมมาอาชีวะ ให้ได้ผลดีและมี
ความเจริญมั่นคงยิ่งกว่าข้ออื่นๆ อีก ที่ในวงการบริหาร ได้ศึกษาวิจัยเห็นผลดีมาแล้ว
ได้แก่
ก. เป็นผู้มีความคิดริเริ่ม (Initiatives) ด้วยความคิดสร้างสรรค์ (Creative)
ข. มีความคิดพัฒนา (Development)
ค. เป็นผู้มีสานึกในภาระหน้าที่ความรับผิดชอบ (Sence of Responsibilities) สูง
ง. มีความมั่นใจตนเอง (Self Confidence) สูง
โลกธรรม 8 เป็นธรรมที่ครอบงาสัตว์โลกที่ทุกคนจะต้องประสบเป็นธรรมดาของ
ปุถุชน ซึ่งผู้บริหารต้องเข้าใจและยึดถือเป็นสภาวะ 4 คู่ คือ
มีลาภ เสื่อมลาภ  มีทรัพย์สินเงินทองไม่ใช่จ่ายฟุ่มเฟือย ใช้จ่ายพอสมควร เงินหมดลาบาก
มียศ เสื่อมยศ  มีตาแหน่งหน้าที่การงาน ชื่อเสียง อย่ายึดมั่นถือมั่น
มีสรรเสริญ มีนินทา  ทาดีคนยกย่อง ขัดผลประโยชน์ถูตาหนินินทา
มีสุข มีทุกข์  ได้สิ่งที่ปรารถนาก็มีสุข ไม่ได้ก็ทุกข์
มีลาภ เสื่อมลาภ / มียศ เสื่อมยศ / มีสรรเสริญ มีนินทา / มีสุข มีทุกข์
4. หลักธรรมาภิบาล
หลักธรรมาภิบาล
กับ
ผู้บริหารสถานศึกษา
หลักนิติธรรม
หลักคุณธรรม
หลักการมีส่วนร่วม
หลักความโปร่งใส
หลักความรับผิดชอบ
หลักความคุ้มค่า
การสร้างหลักธรรมาภิบาล
ต้องสร้างให้
ผู้บริหารสถานศึกษา
กระทาถูกต้อง
เข้มแข็ง
ยุติธรรม
หลักธรรมาภิบาล
คือ คุณธรรมของนักปกครองนักบริหารที่ดี(Good Governance)
1. หลักนิติธรรม (Rule of Law)
การตรากฎหมาย กฎ ข้อบังคับต่างๆ ให้ทันสมัยและเป็นธรรม เป็นที่ยอมรับของ
สังคม ไม่เลือกปฏิบัติ และสังคมยินยอมพร้อมใจปฏิบัติตามกฎหมายและกฎข้อบังคับ
เหล่านั้น โดยถือว่าเป็นการปกครองภายใต้กฎหมาย มิใช่ตามอาเภอใจ หรือตามอานาจ
ของตัวบุคคล
2. หลักคุณธรรม ( Morality / Ethics) หมายถึง การยึดมั่นในความถูกต้องดีงาม
สานึกในหน้าที่ของตนเอง มีความซื่อสัตย์สุจริต จริงใจ ขยัน อดทน มีระเบียบวินัย
และเคารพในสิทธิของผู้อื่น
3. หลักความโปร่งใส (Transparency) หมายถึง การสร้างความไว้วางใจซึ่งกัน
และกัน โดยมีการให้และการรับข้อมูลที่สะดวกเป็นจริง ทันเหตุการณ์ ตรงไปตรงมา
มีที่มาที่ไปที่ชัดเจนและเท่าเทียม มีกระบวนการตรวจสอบความถูกต้องชัดเจนได้
4. หลักการมีส่วนร่วมของประชาชน (Participation) หมายถึง การเปิดโอกาสให้ประชาชนมี
ส่วนร่วมรับรู้ และร่วมคิด ร่วมเสนอความเห็นในการตัดสินใจปัญหาสาคัญของประเทศในด้านต่าง
ๆ เช่น การแจ้งความเห็น การไต่สวนสาธารณะ การประชาพิจารณ์ การแสดงประชามติ นอกจากนี้
ยังรวมไปถึงการร่วมตรวจสอบ และร่วมรับผิดชอบต่อผลของการกระทานั้น
5. หลักจิตสานึกและความรับผิดชอบ (Accountability) หมายถึง ความ
รับผิดชอบที่ตรวจสอบได้เป็นการสร้างกลไกให้มีผู้รับผิดชอบ ตระหนักในหน้าที่
ความสานึกในความรับผิดชอบต่อสังคม การใส่ใจปัญหาสาธารณะของบ้านเมือง
และกระตือรือร้นในการแก้ปัญหา ตลอดจนการเคารพในความคิดเห็นที่แตกต่าง
และความกล้าที่จะยอมรับผลจากการกระทาของตน
6. หลักความคุ้มค่า (Cost-effectiveness or Economy) หมายถึง การบริหาร
จัดการและการใช้ทรัพยากรที่มีจากัด ให้เกิดประโยชน์คุ้มค่าเพื่อให้เกิดประโยชน์
สูงสุดแก่ส่วนรวม
I AM READY
Integrity ทางานอย่างมีศักดิ์ศรี
Activeness ขยัน ตั้งใจ ทางานเชิงรุก
Morality มีศีลธรรม คุณธรรม
Relevancy รู้ทันโลก ปรับตัวทันโลก ตรงกับสังคม
Accountability รับผิดชอบต่องาน ต่อสังคม
Democracy มีประชาธิปไตย มีส่วนร่วม และโปร่งใส
Yield มีผลงาน มุ่งเน้นผลงาน
บทสรุป
 จากหลักการครองตน ครองคน ครองงาน เป็นการใช้หลักพุทธธรรมเป็นแนวทางใน
การประพฤติปฏิบัติให้ผู้บริหาร ซึ่งถือว่าเป็นผู้มีอิทธิพลต่อบุคลากรทุกคนใน
สถานศึกษา หรือในหน่วยงาน ได้ดำเนินกำรในกำรบริหำรจัดกำรทั้ง 3+1 ด้ำน คือ
ด้ำนกำรดำเนินชีวิตส่วนตัว (กำรครองตน) กำรปกครองคน (กำรครองคน) และ
กำรควบคุมดำเนินกำรบริหำรงำน (กำรครองงำน) และ กำรบริหำรที่ดีรอบด้ำน
(กำรบริหำรที่ดี) ให้เกิดความสมดุลลงตัวสอดคล้องกันตลอดจนให้เกิดการบริหาร
จัดการ และบริหารงาน คือ การบริหารตนเอง การบริหารคน และการบริหารงานตาม
หลักการบริหารงานในทางทฤษฎีทางการบริหาร กระบวนการในการบริหารงานต่าง ๆ
เข้าด้วยกันอย่างสมบูรณ์ จะมีผลทาให้เกิดความรัก ความสามัคคีในหมู่คณะ เกิดการ
พัฒนางานอย่างต่อเนื่องเป็นผลดีกับสถานศึกษา องค์กร หน่วยงาน ตลอดจน
ประเทศชาติ และผู้ที่ได้รับประโยชน์มากที่สุดคือ ประชาชนในการงาน และสังคมจะมี
ความสุขที่มีผู้นา หรือผู้บริหารที่มีคุณธรรม-จริยธรรมเป็นที่ตั้งในการบริหารงานอย่าง
แท้จริง

Contenu connexe

Tendances

ผู้นำ ลีดเดอร์ชิฟ
ผู้นำ ลีดเดอร์ชิฟผู้นำ ลีดเดอร์ชิฟ
ผู้นำ ลีดเดอร์ชิฟ
Thida Noodaeng
 
สามัคคีเภทคำฉันท์
สามัคคีเภทคำฉันท์สามัคคีเภทคำฉันท์
สามัคคีเภทคำฉันท์
Sp'z Puifai
 
[บทที่10]ภาวะผู้นำ
[บทที่10]ภาวะผู้นำ[บทที่10]ภาวะผู้นำ
[บทที่10]ภาวะผู้นำ
guest817d3d
 
ทฤษฏีการบริหาร
ทฤษฏีการบริหารทฤษฏีการบริหาร
ทฤษฏีการบริหาร
guest6b6fea3
 
หน่วยการเรียนรู้ที่ 1
หน่วยการเรียนรู้ที่ 1หน่วยการเรียนรู้ที่ 1
หน่วยการเรียนรู้ที่ 1
suchinmam
 
แฟ้มสะสมผลงานดีเด่นระดับปริญญาเอก นายกอบวิทย์ พิริยะวัฒน์
แฟ้มสะสมผลงานดีเด่นระดับปริญญาเอก นายกอบวิทย์  พิริยะวัฒน์แฟ้มสะสมผลงานดีเด่นระดับปริญญาเอก นายกอบวิทย์  พิริยะวัฒน์
แฟ้มสะสมผลงานดีเด่นระดับปริญญาเอก นายกอบวิทย์ พิริยะวัฒน์
Kobwit Piriyawat
 
1)หน่วยที่ 1 ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับเศรษฐศาสตร์ppt
1)หน่วยที่  1 ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับเศรษฐศาสตร์ppt1)หน่วยที่  1 ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับเศรษฐศาสตร์ppt
1)หน่วยที่ 1 ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับเศรษฐศาสตร์ppt
apple_clubx
 
Leadership
LeadershipLeadership
Leadership
papatsa
 
ภาวะผู้นำ
ภาวะผู้นำภาวะผู้นำ
ภาวะผู้นำ
klarharn
 
ทวีปอเมริกาเหนือ
ทวีปอเมริกาเหนือทวีปอเมริกาเหนือ
ทวีปอเมริกาเหนือ
พัน พัน
 
แผนการจัดการเรียนรุ้คุณธรรมนำความคิดเรื่องสารละลาย โดยใช้รูปแบบ 4 mat นายกอบว...
แผนการจัดการเรียนรุ้คุณธรรมนำความคิดเรื่องสารละลาย โดยใช้รูปแบบ 4 mat นายกอบว...แผนการจัดการเรียนรุ้คุณธรรมนำความคิดเรื่องสารละลาย โดยใช้รูปแบบ 4 mat นายกอบว...
แผนการจัดการเรียนรุ้คุณธรรมนำความคิดเรื่องสารละลาย โดยใช้รูปแบบ 4 mat นายกอบว...
Kobwit Piriyawat
 

Tendances (20)

ผู้นำ ลีดเดอร์ชิฟ
ผู้นำ ลีดเดอร์ชิฟผู้นำ ลีดเดอร์ชิฟ
ผู้นำ ลีดเดอร์ชิฟ
 
สามัคคีเภทคำฉันท์
สามัคคีเภทคำฉันท์สามัคคีเภทคำฉันท์
สามัคคีเภทคำฉันท์
 
[บทที่10]ภาวะผู้นำ
[บทที่10]ภาวะผู้นำ[บทที่10]ภาวะผู้นำ
[บทที่10]ภาวะผู้นำ
 
กรรมฐาน (เอกสาร ๑)
กรรมฐาน (เอกสาร ๑)กรรมฐาน (เอกสาร ๑)
กรรมฐาน (เอกสาร ๑)
 
ทฤษฏีการบริหาร
ทฤษฏีการบริหารทฤษฏีการบริหาร
ทฤษฏีการบริหาร
 
หน่วยการเรียนรู้ที่ 1
หน่วยการเรียนรู้ที่ 1หน่วยการเรียนรู้ที่ 1
หน่วยการเรียนรู้ที่ 1
 
ชุดการสอน เรื่อง ภูมิศาสตร์ทวีปอเมริกาเหนือ
ชุดการสอน เรื่อง ภูมิศาสตร์ทวีปอเมริกาเหนือชุดการสอน เรื่อง ภูมิศาสตร์ทวีปอเมริกาเหนือ
ชุดการสอน เรื่อง ภูมิศาสตร์ทวีปอเมริกาเหนือ
 
แฟ้มสะสมผลงานดีเด่นระดับปริญญาเอก นายกอบวิทย์ พิริยะวัฒน์
แฟ้มสะสมผลงานดีเด่นระดับปริญญาเอก นายกอบวิทย์  พิริยะวัฒน์แฟ้มสะสมผลงานดีเด่นระดับปริญญาเอก นายกอบวิทย์  พิริยะวัฒน์
แฟ้มสะสมผลงานดีเด่นระดับปริญญาเอก นายกอบวิทย์ พิริยะวัฒน์
 
1)หน่วยที่ 1 ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับเศรษฐศาสตร์ppt
1)หน่วยที่  1 ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับเศรษฐศาสตร์ppt1)หน่วยที่  1 ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับเศรษฐศาสตร์ppt
1)หน่วยที่ 1 ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับเศรษฐศาสตร์ppt
 
วิชาพุทธปรัชญา : ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับพระพุทธศาสนาและปรัชญา
วิชาพุทธปรัชญา : ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับพระพุทธศาสนาและปรัชญาวิชาพุทธปรัชญา : ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับพระพุทธศาสนาและปรัชญา
วิชาพุทธปรัชญา : ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับพระพุทธศาสนาและปรัชญา
 
Leadership
LeadershipLeadership
Leadership
 
ประโยคที่ซับซ้อน
ประโยคที่ซับซ้อนประโยคที่ซับซ้อน
ประโยคที่ซับซ้อน
 
ธรรมนูญสภานักเรียน ฉบับจริง
ธรรมนูญสภานักเรียน ฉบับจริงธรรมนูญสภานักเรียน ฉบับจริง
ธรรมนูญสภานักเรียน ฉบับจริง
 
สื่อการสอนวิชาทฤษฎีและหลักการบริหารการศึกษา
สื่อการสอนวิชาทฤษฎีและหลักการบริหารการศึกษาสื่อการสอนวิชาทฤษฎีและหลักการบริหารการศึกษา
สื่อการสอนวิชาทฤษฎีและหลักการบริหารการศึกษา
 
บทที่ 3 แนวคิดทฤษฎีเกี่ยวกับภาวะผู้นำ
บทที่ 3  แนวคิดทฤษฎีเกี่ยวกับภาวะผู้นำบทที่ 3  แนวคิดทฤษฎีเกี่ยวกับภาวะผู้นำ
บทที่ 3 แนวคิดทฤษฎีเกี่ยวกับภาวะผู้นำ
 
ผู้นำแห่งศตวรรษที่21 partthree
ผู้นำแห่งศตวรรษที่21 partthreeผู้นำแห่งศตวรรษที่21 partthree
ผู้นำแห่งศตวรรษที่21 partthree
 
ทฤษฎีทางการเมือง (Political theory)
ทฤษฎีทางการเมือง (Political theory)ทฤษฎีทางการเมือง (Political theory)
ทฤษฎีทางการเมือง (Political theory)
 
ภาวะผู้นำ
ภาวะผู้นำภาวะผู้นำ
ภาวะผู้นำ
 
ทวีปอเมริกาเหนือ
ทวีปอเมริกาเหนือทวีปอเมริกาเหนือ
ทวีปอเมริกาเหนือ
 
แผนการจัดการเรียนรุ้คุณธรรมนำความคิดเรื่องสารละลาย โดยใช้รูปแบบ 4 mat นายกอบว...
แผนการจัดการเรียนรุ้คุณธรรมนำความคิดเรื่องสารละลาย โดยใช้รูปแบบ 4 mat นายกอบว...แผนการจัดการเรียนรุ้คุณธรรมนำความคิดเรื่องสารละลาย โดยใช้รูปแบบ 4 mat นายกอบว...
แผนการจัดการเรียนรุ้คุณธรรมนำความคิดเรื่องสารละลาย โดยใช้รูปแบบ 4 mat นายกอบว...
 

Similaire à นำเสนอเรื่องคุณธรรมจริยธรรมสำหรับผู้บริหาร เสาร์ที่ 10 ส ค 56

The 7 habits of highly effective people all
The 7 habits of highly effective people allThe 7 habits of highly effective people all
The 7 habits of highly effective people all
KruKaiNui
 
การพัฒนาตนเพื่อความก้าวหน้าสู่อนาคต
การพัฒนาตนเพื่อความก้าวหน้าสู่อนาคตการพัฒนาตนเพื่อความก้าวหน้าสู่อนาคต
การพัฒนาตนเพื่อความก้าวหน้าสู่อนาคต
Aunchaleeporn Chompoorach
 
๑.๑๓ ผู้บริหารมืออาชีพ จักราวุธ คำทวี
๑.๑๓ ผู้บริหารมืออาชีพ จักราวุธ คำทวี๑.๑๓ ผู้บริหารมืออาชีพ จักราวุธ คำทวี
๑.๑๓ ผู้บริหารมืออาชีพ จักราวุธ คำทวี
นายจักราวุธ คำทวี
 
ศึกษาการพัฒนาภาวะผู้นำตามแนวพระพุทธศาสนา
ศึกษาการพัฒนาภาวะผู้นำตามแนวพระพุทธศาสนาศึกษาการพัฒนาภาวะผู้นำตามแนวพระพุทธศาสนา
ศึกษาการพัฒนาภาวะผู้นำตามแนวพระพุทธศาสนา
pentanino
 
มาตรฐานสพฐ 15 ข้อ
มาตรฐานสพฐ 15 ข้อมาตรฐานสพฐ 15 ข้อ
มาตรฐานสพฐ 15 ข้อ
anuban bandek
 
ใบความรู้ที่4
ใบความรู้ที่4ใบความรู้ที่4
ใบความรู้ที่4
paewwaew
 
การปฏิบัติงานของครูในโรงเรียน
การปฏิบัติงานของครูในโรงเรียนการปฏิบัติงานของครูในโรงเรียน
การปฏิบัติงานของครูในโรงเรียน
putjohn
 

Similaire à นำเสนอเรื่องคุณธรรมจริยธรรมสำหรับผู้บริหาร เสาร์ที่ 10 ส ค 56 (20)

ผู้บริหารที่ดี.......
ผู้บริหารที่ดี.......ผู้บริหารที่ดี.......
ผู้บริหารที่ดี.......
 
การนำเสนอคุณธรรมและจริยธรรมสำหรับผู้นำ3
การนำเสนอคุณธรรมและจริยธรรมสำหรับผู้นำ3การนำเสนอคุณธรรมและจริยธรรมสำหรับผู้นำ3
การนำเสนอคุณธรรมและจริยธรรมสำหรับผู้นำ3
 
The 7 habits of highly effective people all
The 7 habits of highly effective people allThe 7 habits of highly effective people all
The 7 habits of highly effective people all
 
ภาวะผู้นำสำหรับผู้บริหารสถานศึกษาในอนาคต
ภาวะผู้นำสำหรับผู้บริหารสถานศึกษาในอนาคตภาวะผู้นำสำหรับผู้บริหารสถานศึกษาในอนาคต
ภาวะผู้นำสำหรับผู้บริหารสถานศึกษาในอนาคต
 
หลักธรรม ของ นักบริหาร
หลักธรรม ของ นักบริหารหลักธรรม ของ นักบริหาร
หลักธรรม ของ นักบริหาร
 
Presentation 2013-01-11 My experience on Coaching
Presentation 2013-01-11 My experience on CoachingPresentation 2013-01-11 My experience on Coaching
Presentation 2013-01-11 My experience on Coaching
 
การพัฒนาตนเพื่อความก้าวหน้าสู่อนาคต
การพัฒนาตนเพื่อความก้าวหน้าสู่อนาคตการพัฒนาตนเพื่อความก้าวหน้าสู่อนาคต
การพัฒนาตนเพื่อความก้าวหน้าสู่อนาคต
 
คุณลักษณะของครูที่ดี
คุณลักษณะของครูที่ดีคุณลักษณะของครูที่ดี
คุณลักษณะของครูที่ดี
 
๑.๑๓ ผู้บริหารมืออาชีพ จักราวุธ คำทวี
๑.๑๓ ผู้บริหารมืออาชีพ จักราวุธ คำทวี๑.๑๓ ผู้บริหารมืออาชีพ จักราวุธ คำทวี
๑.๑๓ ผู้บริหารมืออาชีพ จักราวุธ คำทวี
 
ศีลธรรม
ศีลธรรมศีลธรรม
ศีลธรรม
 
ศศ
 
ศึกษาการพัฒนาภาวะผู้นำตามแนวพระพุทธศาสนา
ศึกษาการพัฒนาภาวะผู้นำตามแนวพระพุทธศาสนาศึกษาการพัฒนาภาวะผู้นำตามแนวพระพุทธศาสนา
ศึกษาการพัฒนาภาวะผู้นำตามแนวพระพุทธศาสนา
 
มาตรฐานสพฐ 15 ข้อ
มาตรฐานสพฐ 15 ข้อมาตรฐานสพฐ 15 ข้อ
มาตรฐานสพฐ 15 ข้อ
 
แผ่นพับ โครงงานคุณธรรม 1
แผ่นพับ โครงงานคุณธรรม 1แผ่นพับ โครงงานคุณธรรม 1
แผ่นพับ โครงงานคุณธรรม 1
 
สรุปบทความเกี่ยวกับภาวะผู้นำ 3 เรื่อง
สรุปบทความเกี่ยวกับภาวะผู้นำ 3 เรื่องสรุปบทความเกี่ยวกับภาวะผู้นำ 3 เรื่อง
สรุปบทความเกี่ยวกับภาวะผู้นำ 3 เรื่อง
 
คุณลักษณะผู้บริหารที่ดีพ.พ
คุณลักษณะผู้บริหารที่ดีพ.พคุณลักษณะผู้บริหารที่ดีพ.พ
คุณลักษณะผู้บริหารที่ดีพ.พ
 
ใบความรู้ที่4
ใบความรู้ที่4ใบความรู้ที่4
ใบความรู้ที่4
 
Aum
AumAum
Aum
 
บริหารกิจการนักเรียน
บริหารกิจการนักเรียนบริหารกิจการนักเรียน
บริหารกิจการนักเรียน
 
การปฏิบัติงานของครูในโรงเรียน
การปฏิบัติงานของครูในโรงเรียนการปฏิบัติงานของครูในโรงเรียน
การปฏิบัติงานของครูในโรงเรียน
 

นำเสนอเรื่องคุณธรรมจริยธรรมสำหรับผู้บริหาร เสาร์ที่ 10 ส ค 56

  • 1. คุณธรรม จริยธรรม ในการบริหารสถานศึกษา นางสาวสุภา ประสพโชค รหัส 56106930001 นางสาวสายสุนีย์ มงคลพุทธรังสี รหัส 56106930006 นำเสนอโดย นางสาวสุกัญญา สุดารารัตน์ รหัส 56106930005
  • 2. คุณธรรม จริยธรรม ในการบริหารสถานศึกษา คือ การใช้หลักธรรมปฏิบัติในการบริหารงานทุกระดับ ตั้งแต่ ระดับปฏิบัติการ และผู้บริหารระดับต้น ระดับกลาง หรือระดับสูง ให้ได้ผลดี มีประสิทธิภาพสูง โดยการปกครองและบริหารที่ดี (Good Governance) ตามหลักธรรมปฏิบัติ ผู้บริหาร ต้องมีประมุขศิลป์
  • 3. คุณลักษณะความเป็นผู้นาที่ดี เป็นคุณสมบัติที่ดี ที่สาคัญ ของหัวหน้า ฝ่ายบริหาร ลงมาถึงหัวหน้างานทุกระดับ ให้สามารถปกครองและบริหาร องค์กรที่ตนรับผิดชอบให้ดาเนินไปถึงความสาเร็จอย่างได้ผลดี มีประสิทธิภาพสูงและให้ถึงความเจริญรุ่งเรือง และสันติสุขอย่างมั่นคง
  • 4. คุณลักษณะความเป็นผู้นาที่ดี เป็นทั้ง ศาสตร์ (science) และ ศิลป์ (Arts) กล่าวคือ สามารถ ศึกษาวิเคราะห์วิจัยข้อมูลอย่างมีระบบ (Systematic study) ประมวลขึ้นเป็นหลักหรือทฤษฎี (Theory) ตามวิถีทางวิทยาศาสตร์ (Scientific Method) สาหรับใช้เป็นแนวทาง การปฏิบัติงานของหัวหน้าฝ่ายบริหาร ให้เกิด ประโยชน์แก่การปกครองการบริหารที่ดี (Good Governance) ให้บรรลุผลสาเร็จด้วยดีมีประสิทธิภาพสูงได้ เพราะเหตุนั้น ประมุขศิลป์ คือคุณลักษณะความเป็นผู้นาที่ดี จึงเชื่อว่าเป็นศาสตร์ (science)
  • 5. นอกจากนี้ ยังเกิดจากการที่บุคคลได้เคยศึกษา หาความรู้ ฝึกฝน อบรม บ่มนิสัย และเคยปฏิบัติพัฒนาสภาวะความเป็นผู้นาที่ดี มาแต่ปาง ก่อน คืออดีตกาล จนหล่อหลอมบุคลิกภาพและสภาวะความเป็นผู้นาที่ดี ปลูกฝัง เพิ่มพูน อยู่ในจิตยิ่งขึ้นต่อ ๆ มาจนถึงปัจจุบัน คุณลักษณะของความเป็นผู้นาที่ดีเช่นนี้ เชื่อว่าเป็นศิลป์ (Arts) ซึ่ง ก็คือ บุญบารมี
  • 6. คุณธรรม จริยธรรม สาหรับข้าราชการ ประกอบด้วย หลักธรรม 4 ประการ 1. หลักการครองตน 3. หลักการครองงาน 2. หลักการครองคน 4. หลักธรรมาภิบาล
  • 7. 1. หลักการครองตน - พึ่งตนเอง ขยันหมั่นเพียร มีความรับผิดชอบ - ประหยัดและเก็บออม - จัดการระเบียบวินัยและเคารพกฎหมาย - ปฏิบัติตามคุณธรรม - ความจงรักภักดีต่อชาติ ศาสนา พระมหากษัตริย์
  • 8. หลักการครองตน ประกอบด้วยหลักธรรม 1. เป็นผู้มีบุคลิกภาพที่ดี คือ มีสุขภาพกาย และ สุขภาพจิตที่ดี 1.1 มีสุขภาพกายที่ดี คือ มีสุขภาพอนามัยที่ดี มีท่วงท่ากิริยา รวมทั้งการแต่งกาย ที่ สุภาพเรียบร้อย ดีงาม สะอาด และดูสง่างามสมฐานะ 1.2 มีสุขภาพจิตที่ดี คือ เป็นผู้มีอัธยาศัยใจคอที่งาม เป็นคนดี มีศีลธรรม ได้แก่ - ผู้มีศรัทธา - ผู้มีศีล - ผู้มีสุตะ - ผู้มีจาคะ - ผู้มีวิริยะ - ผู้มีสติ - ผู้มีสมาธิ - ผู้มีปัญญา
  • 9. 2. เป็นผู้มีกัลยาณมิตตธรรม คือ ผู้มีคุณธรรมของมิตรที่ดี 7 ประการ คือ.. 1. ปิโย (เป็นผู้น่ารัก) 3. ภาวนีโย (เป็นผู้น่านับถือ น่าเจริญใจ) 4. วัตตา (เป็นผู้รู้จักพูดจาโดยมีเหตุผลและหลักการ) 2. ครุ (เป็นผู้น่าเคารพบูชา) 5. วจนักขโม (เป็นผู้อดทนต่อถ้อยคาที่ล่วงเกิน วิพากษ์ วิจารย์ ซักถาม หรือขอปรึกษาหารือ ขอให้คาแนะนาต่างๆ ได้) 7. โน จัฏฐาเน นิโยชะเย (ไม่ชักนาในอฐานะ คือไม่ชักจูงไปในทางเสื่อม หรือไปในทางที่เหลวไหลไร้สาระหรือให้เป็นโทษ) 6. คัมภีรัญ จะ กะถัง กัตตา (สามารถแถลงชี้แจงเรื่องที่ลึกซึ้ง หรือเรื่องที่ ยุ่งยากซับซ้อนให้เข้าใจอย่างถูกต้อง และตรงประเด็นได้)
  • 10. หลักธรรม สัปุริสธรรม 7……ต้องปฏิบัติได้ ! รู้เหตุ รู้ผล รู้งาน รู้ประมาณ รู้กาลเทศะ รู้บุคคล รู้ชุมชน
  • 11. 2. หลักการครองคน - เข้าใจและประสานสัมพันธ์ - ทาการร่วมกับผู้อื่นเป็นทีม - เสมอภาคทาสิ่งที่มีประโยชน์ - มีธรรมะต่อตนเองและผู้อื่น - เสริมสร้างความสามัคคีในหมู่คณะ
  • 12. หลักการครองคน ประกอบด้วยหลักธรรม ต่อไปนี้ 1. รู้จักหลักปฏิบัติต่อกันด้วยดี ระหว่างผู้บังคับบัญชากับลูกน้องหรือ ผู้อยู่ใต้บังคับบัญชา ตามหลักธรรมของพระพุทธเจ้าเชื่อ “เหฎฐิมทิศ” เหฎฐิมทิศ คือ ทิศเบื้องต่า เจ้านายหรือผู้บังคับบัญชา พึงบารุงลูกน้อง คือผู้ใต้บังคับบัญชา ด้วยสถาน 5 คือ 1. จัดงานให้ตามกาลัง 2. การให้อาหารและบาเหน็จรางวัล 3. การรักษาพยาบาลยามเก็บไข้ 4. การมีน้าใจแบ่งปันสิ่งของ 5. ปล่อยในสมัย
  • 13. ส่วนลูกน้องผู้ใต้บังคับบัญชาเมื่อเจ้านายหรือผู้บังคับบัญชา ทานุ บารุงอย่างนี้แล้ว ก็พึงปฏิบัติอนุเคราะห์เจ้านาย ผู้บังคับบัญชา ด้วยสถาน 5 ตอบแทนด้วยเช่นกัน คือ 1. ลุกขึ้นทางานก่อนนาย 2. เลิกการทางานทีหลังนาย 3. ถือเอาแต่ของที่นายให้ 4. ทางานให้ดีขึ้น 5. นาคุณของนายไปสรรเสริญ
  • 14. กล่าวโดยย่อ ผู้บังคับบัญชา กับผู้อยู่ใต้บังคับบัญชา พึงปฏิบัติต่อกัน ดังคานักปกครอง นักบริหารแต่โบราณกล่าวว่า อยู่สูงให้นอนคว่า อยู่ต่าให้นอนหงาย
  • 15. 2. เป็นผู้มีมนุษยสัมพันธ์ (Human Relation) ที่ดี ด้วยคุณธรรม คือ พรหมวิหารธรรม และสังคหวัตถุ พรหมวิหารธรรม คุณธรรมเครื่องอยู่ของผู้ใหญ่ 4 ประการ 1. เมตตา ปรารถนาให้ผู้อื่นเป็นสุข 2. กรุณา ช่วยผู้อื่นพ้นทุกข์ 3. มุทิตา ยินดีเมื่อผู้อื่นได้ดี 4. อุเบกขา การวางเฉยเป็นกลางปราศจากอคติ
  • 16. สังคหวัตถุ 4 ประการ 1. ทาน 3. อัตถจริยา 4. สมานัตตตา 2. ปิยวาจา รู้จักให้ปัน สิ่งของ ของตน แก่ผู้อื่นที่ควรให้ปัน ความรัก ปรารถนาให้ผู้มีทุกข์ เดือดร้อน ให้พ้นทุกข์ รู้จักประพฤติสิ่งที่เป็นประโยชน์แก่ผู้อื่น เป็นผู้มีตนเสมอ คือ ไม่ถือตัวเย่อหยิ่ง จองหอง อวดดี คุณธรรม 4 ประการนี้ เป็นเครื่องยึดเหนี่ยวจิตใจของผู้อื่นไว้ได้ และยังความสามัคคี ให้เกิดขึ้นระหว่างกันและกันด้วยหรือจะ เรียกว่า หลักธรรมมหาเสน่ห์ ก็ได้
  • 17. 3. หลักการครองงาน - มีความรับผิดชอบต่อหน้าที่ขยันและเอาใจใส่ - มีความรู้ความสามารถในการปฏิบัติหน้าที่ - คิดสร้างสรรค์และพัฒนา - กระตือรือร้น เสียสละ อดทน - คานึงถึงผลประโยชน์ส่วนรวม
  • 18. หลักการครองงาน ประกอบด้วยหลักธรรม คือ อิทธิบาทธรรม ได้แก่ 1. ฉันทะ (ความรักงาน) 3. จิตตะ (ความเป็นผู้มีจิตใจจดจ่ออยู่กับการงาน) 4. วิมังสา (ความเป็นผู้รู้จักพิจารณาเหตุสังเกตผลในการปฏิบัติงาน) 2. วิริยะ (ความเพียร)
  • 19. วิมังสา กล่าวโดยความหมายอย่างกว้าง จะเห็นว่ามีข้อปฏิบัติที่จะช่วยให้การ ปฏิบัติงานในหน้าที่รับผิดชอบ หรือในการประกอบสัมมาอาชีวะ ให้ได้ผลดีและมี ความเจริญมั่นคงยิ่งกว่าข้ออื่นๆ อีก ที่ในวงการบริหาร ได้ศึกษาวิจัยเห็นผลดีมาแล้ว ได้แก่ ก. เป็นผู้มีความคิดริเริ่ม (Initiatives) ด้วยความคิดสร้างสรรค์ (Creative) ข. มีความคิดพัฒนา (Development) ค. เป็นผู้มีสานึกในภาระหน้าที่ความรับผิดชอบ (Sence of Responsibilities) สูง ง. มีความมั่นใจตนเอง (Self Confidence) สูง
  • 20. โลกธรรม 8 เป็นธรรมที่ครอบงาสัตว์โลกที่ทุกคนจะต้องประสบเป็นธรรมดาของ ปุถุชน ซึ่งผู้บริหารต้องเข้าใจและยึดถือเป็นสภาวะ 4 คู่ คือ มีลาภ เสื่อมลาภ  มีทรัพย์สินเงินทองไม่ใช่จ่ายฟุ่มเฟือย ใช้จ่ายพอสมควร เงินหมดลาบาก มียศ เสื่อมยศ  มีตาแหน่งหน้าที่การงาน ชื่อเสียง อย่ายึดมั่นถือมั่น มีสรรเสริญ มีนินทา  ทาดีคนยกย่อง ขัดผลประโยชน์ถูตาหนินินทา มีสุข มีทุกข์  ได้สิ่งที่ปรารถนาก็มีสุข ไม่ได้ก็ทุกข์ มีลาภ เสื่อมลาภ / มียศ เสื่อมยศ / มีสรรเสริญ มีนินทา / มีสุข มีทุกข์
  • 23. หลักธรรมาภิบาล คือ คุณธรรมของนักปกครองนักบริหารที่ดี(Good Governance) 1. หลักนิติธรรม (Rule of Law) การตรากฎหมาย กฎ ข้อบังคับต่างๆ ให้ทันสมัยและเป็นธรรม เป็นที่ยอมรับของ สังคม ไม่เลือกปฏิบัติ และสังคมยินยอมพร้อมใจปฏิบัติตามกฎหมายและกฎข้อบังคับ เหล่านั้น โดยถือว่าเป็นการปกครองภายใต้กฎหมาย มิใช่ตามอาเภอใจ หรือตามอานาจ ของตัวบุคคล
  • 24. 2. หลักคุณธรรม ( Morality / Ethics) หมายถึง การยึดมั่นในความถูกต้องดีงาม สานึกในหน้าที่ของตนเอง มีความซื่อสัตย์สุจริต จริงใจ ขยัน อดทน มีระเบียบวินัย และเคารพในสิทธิของผู้อื่น 3. หลักความโปร่งใส (Transparency) หมายถึง การสร้างความไว้วางใจซึ่งกัน และกัน โดยมีการให้และการรับข้อมูลที่สะดวกเป็นจริง ทันเหตุการณ์ ตรงไปตรงมา มีที่มาที่ไปที่ชัดเจนและเท่าเทียม มีกระบวนการตรวจสอบความถูกต้องชัดเจนได้ 4. หลักการมีส่วนร่วมของประชาชน (Participation) หมายถึง การเปิดโอกาสให้ประชาชนมี ส่วนร่วมรับรู้ และร่วมคิด ร่วมเสนอความเห็นในการตัดสินใจปัญหาสาคัญของประเทศในด้านต่าง ๆ เช่น การแจ้งความเห็น การไต่สวนสาธารณะ การประชาพิจารณ์ การแสดงประชามติ นอกจากนี้ ยังรวมไปถึงการร่วมตรวจสอบ และร่วมรับผิดชอบต่อผลของการกระทานั้น
  • 25. 5. หลักจิตสานึกและความรับผิดชอบ (Accountability) หมายถึง ความ รับผิดชอบที่ตรวจสอบได้เป็นการสร้างกลไกให้มีผู้รับผิดชอบ ตระหนักในหน้าที่ ความสานึกในความรับผิดชอบต่อสังคม การใส่ใจปัญหาสาธารณะของบ้านเมือง และกระตือรือร้นในการแก้ปัญหา ตลอดจนการเคารพในความคิดเห็นที่แตกต่าง และความกล้าที่จะยอมรับผลจากการกระทาของตน 6. หลักความคุ้มค่า (Cost-effectiveness or Economy) หมายถึง การบริหาร จัดการและการใช้ทรัพยากรที่มีจากัด ให้เกิดประโยชน์คุ้มค่าเพื่อให้เกิดประโยชน์ สูงสุดแก่ส่วนรวม
  • 26. I AM READY Integrity ทางานอย่างมีศักดิ์ศรี Activeness ขยัน ตั้งใจ ทางานเชิงรุก Morality มีศีลธรรม คุณธรรม Relevancy รู้ทันโลก ปรับตัวทันโลก ตรงกับสังคม Accountability รับผิดชอบต่องาน ต่อสังคม Democracy มีประชาธิปไตย มีส่วนร่วม และโปร่งใส Yield มีผลงาน มุ่งเน้นผลงาน
  • 27. บทสรุป  จากหลักการครองตน ครองคน ครองงาน เป็นการใช้หลักพุทธธรรมเป็นแนวทางใน การประพฤติปฏิบัติให้ผู้บริหาร ซึ่งถือว่าเป็นผู้มีอิทธิพลต่อบุคลากรทุกคนใน สถานศึกษา หรือในหน่วยงาน ได้ดำเนินกำรในกำรบริหำรจัดกำรทั้ง 3+1 ด้ำน คือ ด้ำนกำรดำเนินชีวิตส่วนตัว (กำรครองตน) กำรปกครองคน (กำรครองคน) และ กำรควบคุมดำเนินกำรบริหำรงำน (กำรครองงำน) และ กำรบริหำรที่ดีรอบด้ำน (กำรบริหำรที่ดี) ให้เกิดความสมดุลลงตัวสอดคล้องกันตลอดจนให้เกิดการบริหาร จัดการ และบริหารงาน คือ การบริหารตนเอง การบริหารคน และการบริหารงานตาม หลักการบริหารงานในทางทฤษฎีทางการบริหาร กระบวนการในการบริหารงานต่าง ๆ เข้าด้วยกันอย่างสมบูรณ์ จะมีผลทาให้เกิดความรัก ความสามัคคีในหมู่คณะ เกิดการ พัฒนางานอย่างต่อเนื่องเป็นผลดีกับสถานศึกษา องค์กร หน่วยงาน ตลอดจน ประเทศชาติ และผู้ที่ได้รับประโยชน์มากที่สุดคือ ประชาชนในการงาน และสังคมจะมี ความสุขที่มีผู้นา หรือผู้บริหารที่มีคุณธรรม-จริยธรรมเป็นที่ตั้งในการบริหารงานอย่าง แท้จริง