SlideShare une entreprise Scribd logo
1  sur  22
Télécharger pour lire hors ligne
ระบบประสาทและอวัยวะรับสัมผัส
NERVOUS SYSTEM AND THE SENSE
ครูสุกัญญา เพ็ชรอินทร์
การรับรู้และการตอบสนอง
 หน้าที่หลัก 3 ประการ ดังนี้
1.รับรู้การเปลี่ยนแปลงของสิ่งแวดล้อมภายนอกและ
ภายในร่างกาย
2. ถ่ายทอดการรับรู้ไปยังหน่วยประมวลผลและสั่งการ
3. สั่งการหน่วยปฏิบัติการทาให้เกิดการตอบสนองต่อ
สิ่งเร้า
การรักษาสภาวะธารงดุลในเซลล์ เกิดจากการทางาน
ร่วมกันระหว่างระบบประสาท(nervous system) และ
ระบบต่อมไร้ท่อ (endocrine system)
ระบบประสาท (nervous system)
ฮอร์โมน (hormone)
ระบบประสานงาน
(coordinating system)
• คือระบบที่เกี่ยวกับการสั่งงาน การติดต่อเชื่อมโยง การ
ประสานงาน การรับคาสั่ง และปรับระบบต่างๆของ
ร่างกายให้เข้ากับสภาพแวดล้อมทั้งภายนอกและภายใน
โดยใช้เวลารวดเร็วและสิ้นสุดอย่างรวดเร็ว
• คือระบบที่ควบคุมการตอบสนองเป็นไปอย่างช้าๆ แต่เมื่อ
เกิดขึ้นแล้วจะมีผลต่อเนื่องเป็นเวลานาน เช่น การเจริญ
ของเซลล์ไข่ในรังไข่
แผนผังแสดงขั้นตอนของกระบวนการรับรู้ของสิ่งมีชีวิต
stimulus
ตอบสนองต่อสิ่งเร้า
อะมีบา (Amoeba) เป็นพวกโปรติสต์ไม่มีเซลล์ประสาท
มีการตอบสนองต่อสิ่งเร้าประเภทอาหาร และแสง สามารถ
เคลื่อนที่หนีแสงได้โดยไม่มีตัวตรวจรับแสง (Photodetector)
พารามีเซียมเคลื่อนที่เข้าหาหรือหนีแสงสว่างอุณหภูมิหรือสารเคมีได้
แสดงว่าสามารถตอบสนองต่อสิ่งเร้าได้
พารามีเซียมไม่มีเซลล์ประสาท แต่ใต้ผิวของเซลล์มีเส้นใยเชื่อมโยง
ระหว่างโคนซีเลีย เรียกว่าเส้นใยประสานงาน (co-ordenating
fiber)
ซิเลียรอบๆ เซลล์พารามีเซียม เส้นใยประสานงานของพารามีเซียม
 ยูกลีนา (Euglena) เป็นพวกโปรติสต์ไม่มีเซลล์ประสาท แต่ที่ตัวมี
Eyespot เป็นบริเวณรับแสง (Shield for a light sensitive
receptor)ทาให้สามารถทราบความเข้มแสงและทิศทางของแสงได้
ยูกลีนา
เปรียบเทียบระบบประสาทของสัตว์ไม่มีกระดูกสันหลัง
กับสัตว์มีกระดูกสันหลัง
การรับรู้และการตอบสนองของสัตว์ไม่มีกระดูกสันหลัง
 ฟองน้า (Spongy) เป็นสัตว์ที่ไม่มีระบบประสาท ไม่มี Nerve cell
หรือ Sensory cell การรับรู้ของฟองน้าจะขึ้นอยู่กับการทางานของ
แต่ละเซลล์ โดยมันจะตอบสนองต่อแรงกดและแรงสัมผัสได้
ฟองน้า
 เป็นสัตว์กลุ่มแรกที่มีระบบประสาท
 ระบบประสาทเป็นแบบร่างแหประสาท
(nerve net)
 เมื่อโดนกระตุ้นที่ส่วนใดส่วนหนึ่ง จะ
เกิดการตอบสนองพร้อมกันทั้งตัว
 การเคลื่อนที่ของกระแสประสาทจะช้า
กว่าสัตว์ชั้นสูงมาก และมีทิศทางที่ไม่
แน่นอน
 พบที่ผนังลาไส้ในสัตว์ชั้นสูง ควบคุม
peristalsis ที่ลาไส้ช่วยให้อาหารเคลื่อน
ผ่านไปได้
ไฮดรา
พลานาเรีย
 เริ่มมีปมประสาท(ganglion)อยู่หัวทา
หน้าที่คล้ายสมองและมีเส้นประสาท
ใหญ่ด้านท้อง (ventral nerve cord)
 เส้นประสาทใหญ่ด้านท้องแยกออก
ข้างลาตัวข้างละเส้น เรียกว่าเส้นประสาท
ทางด้านข้าง (lateral nerve cord) มี
เส้นประสาทพาดขวางเป็นระยะ เรียกว่า
เส้นประสาทตามขวาง(transverse nerve)
ทาให้มองดูคล้ายบันได(ladder type)
 มีเส้นประสาทเชื่อมโยงติดกันเส้น
ประสาทวนรอบลาตัวที่เรียกว่าวงแหวน
ประสาท (nerve ring)
 เป็นสัตว์พวกแรกสุดที่มีสมอง
พลานาเรีย
หนอนตัวกลม
 มีปมประสาทรูปวงแหวน
(nerve ring) อยู่รอบคอ
หอย(circumpharyngeal
brian)
 มีเส้นประสาททางด้านหลัง
เรียกว่า dorsal nerve
cord และเส้นประสาท
ทางด้านล่าง เรียกว่า
ventral nerve cord
ไส้เดือนดิน
ไส้เดือนดิน  ปมประสาทที่หัวจะมีขนาดใหญ่ทา
หน้าที่เป็นสมอง
 มีเส้นประสาททางด้านท้อง
(ventral nerve cord) 2 เส้นแต่
มักรวมกันเป็นเส้นเดียว และมีปม
ประสาทแต่ละปล้องและแขนง
ประสาท 3-5 คู่แยกออกไปเลี้ยง
อวัยวะต่างๆ
 ไส้เดือนมีเซลล์ที่ทาหน้าที่รับสัมผัส
แสงเรียกว่า โฟโตรีเซปเตอร์เซลล์
(photoreceptor cell) เซลล์ทา
หน้าที่รับความรู้สึก (sensory
cell) และดมกลิ่นด้วย
แมลง
 แมลงมีระบบประสาทที่ประกอบด้วย
 สมอง(brain)เกิดจากปมประสาท 2
ปม มารวมกันไปยังoptic nerve
1 คู่ และ antennary nerve 1 คู่
 ปมประสาทใต้หลอดอาหาร
(sub-esophageal ganglion)
 เส้นประสาททางด้านท้อง
(ventral nerve cord) 2 เส้น
 มีปมประสาทหนาแน่นมากทางปลาย
หัวและตลอดด้านท้อง
ดาวทะเล
มีระบบประสาทเป็นวง
(nerve ring) อยู่ตรงกลาง
และแตกแขนงไปตามแขนแต่
ละข้าง เส้นประสาทที่แตกออก
จาก nerve ring ไปตามแต่ละ
แขนเรียกว่า radial nerve
มีอวัยวะสัมผัสแสงเรียกว่า จุด
ตา(eyespot) อยู่ที่บริเวณ
ปลายสุดของทุกแฉก
เทนเทเคิล(tentacle) รับ
สัมผัสเคมี
การรับรู้และการตอบสนองของสัตว์มีกระดูกสันหลัง
 ในคนและสัตว์มีกระดูกสันหลังที่มี
ระบบประสาทพัฒนามาก
 เซลล์ประสาทเกือบทั้งหมดรวมกันอยู่
ที่หัวมีขนาดใหญ่ และเจริญมาก มีการ
พัฒนาไปเป็นสมองส่วนที่ทอดยาวตาม
ลาตัวทางด้านหลังเรียกว่า ไขสันหลัง
(spinal cord)
 สมองและไขสันหลังทาหน้าที่เป็น
ศูนย์กลางของระบบประสาท โดยมี
เส้นประสาทแยกออกมาจากสมองและ
ไขสันหลัง และมี dorsal hollow
nerve cord มาแทนที่ ventral
nerve cord
ระบบประสาทและอวัยวะรับสัมผัส
NERVOUS SYSTEM AND THE SENSE
ครูสุกัญญา เพ็ชรอินทร์

Contenu connexe

Tendances

Slชุดฝึกเฉลยแบบฝึกทักษะ
SlชุดฝึกเฉลยแบบฝึกทักษะSlชุดฝึกเฉลยแบบฝึกทักษะ
Slชุดฝึกเฉลยแบบฝึกทักษะkrupornpana55
 
ระบบประสาท - Nervous system
ระบบประสาท - Nervous systemระบบประสาท - Nervous system
ระบบประสาท - Nervous systemsupreechafkk
 
10แบบทดสอบภูมิคุ้มกันของร่างกาย (ตอนที่ 1)
10แบบทดสอบภูมิคุ้มกันของร่างกาย (ตอนที่ 1)10แบบทดสอบภูมิคุ้มกันของร่างกาย (ตอนที่ 1)
10แบบทดสอบภูมิคุ้มกันของร่างกาย (ตอนที่ 1)สำเร็จ นางสีคุณ
 
ใบความรู้เรื่องเซลล์ของสิ่งมีชีวิต1
ใบความรู้เรื่องเซลล์ของสิ่งมีชีวิต1ใบความรู้เรื่องเซลล์ของสิ่งมีชีวิต1
ใบความรู้เรื่องเซลล์ของสิ่งมีชีวิต1Sumarin Sanguanwong
 
เซลล์ประสาทและการทำงาน
เซลล์ประสาทและการทำงาน เซลล์ประสาทและการทำงาน
เซลล์ประสาทและการทำงาน Thitaree Samphao
 
11แบบทดสอบภูมิคุ้มกันของร่างกาย (ตอนที่ 2)
11แบบทดสอบภูมิคุ้มกันของร่างกาย (ตอนที่ 2)11แบบทดสอบภูมิคุ้มกันของร่างกาย (ตอนที่ 2)
11แบบทดสอบภูมิคุ้มกันของร่างกาย (ตอนที่ 2)สำเร็จ นางสีคุณ
 
บทที่ 11 เคมีอินทรีย์
บทที่ 11 เคมีอินทรีย์บทที่ 11 เคมีอินทรีย์
บทที่ 11 เคมีอินทรีย์oraneehussem
 
บทที่ 12 การสังเคราะห์แสง
บทที่ 12  การสังเคราะห์แสงบทที่ 12  การสังเคราะห์แสง
บทที่ 12 การสังเคราะห์แสงPinutchaya Nakchumroon
 
การทำงานของระบบประสาท
การทำงานของระบบประสาทการทำงานของระบบประสาท
การทำงานของระบบประสาทThitaree Samphao
 
กระบวนการสังเคราะห์ด้วยแสง (T)
กระบวนการสังเคราะห์ด้วยแสง (T)กระบวนการสังเคราะห์ด้วยแสง (T)
กระบวนการสังเคราะห์ด้วยแสง (T)Thitaree Samphao
 
การสังเคราะห์ด้วยแสงของพืช
การสังเคราะห์ด้วยแสงของพืชการสังเคราะห์ด้วยแสงของพืช
การสังเคราะห์ด้วยแสงของพืชsukanya petin
 
สมดุลเคมีในสิ่งแวดล้อม
สมดุลเคมีในสิ่งแวดล้อมสมดุลเคมีในสิ่งแวดล้อม
สมดุลเคมีในสิ่งแวดล้อมKittivut Tantivuttiki
 

Tendances (20)

Nervous system
Nervous systemNervous system
Nervous system
 
ชุดการสอนที่ 9 การรักษาดุลยภาพด้วยฮอร์โมน
ชุดการสอนที่ 9 การรักษาดุลยภาพด้วยฮอร์โมนชุดการสอนที่ 9 การรักษาดุลยภาพด้วยฮอร์โมน
ชุดการสอนที่ 9 การรักษาดุลยภาพด้วยฮอร์โมน
 
Slชุดฝึกเฉลยแบบฝึกทักษะ
SlชุดฝึกเฉลยแบบฝึกทักษะSlชุดฝึกเฉลยแบบฝึกทักษะ
Slชุดฝึกเฉลยแบบฝึกทักษะ
 
ระบบประสาท - Nervous system
ระบบประสาท - Nervous systemระบบประสาท - Nervous system
ระบบประสาท - Nervous system
 
10แบบทดสอบภูมิคุ้มกันของร่างกาย (ตอนที่ 1)
10แบบทดสอบภูมิคุ้มกันของร่างกาย (ตอนที่ 1)10แบบทดสอบภูมิคุ้มกันของร่างกาย (ตอนที่ 1)
10แบบทดสอบภูมิคุ้มกันของร่างกาย (ตอนที่ 1)
 
ใบความรู้เรื่องเซลล์ของสิ่งมีชีวิต1
ใบความรู้เรื่องเซลล์ของสิ่งมีชีวิต1ใบความรู้เรื่องเซลล์ของสิ่งมีชีวิต1
ใบความรู้เรื่องเซลล์ของสิ่งมีชีวิต1
 
stem structure
stem structurestem structure
stem structure
 
เซลล์ประสาทและการทำงาน
เซลล์ประสาทและการทำงาน เซลล์ประสาทและการทำงาน
เซลล์ประสาทและการทำงาน
 
11แบบทดสอบภูมิคุ้มกันของร่างกาย (ตอนที่ 2)
11แบบทดสอบภูมิคุ้มกันของร่างกาย (ตอนที่ 2)11แบบทดสอบภูมิคุ้มกันของร่างกาย (ตอนที่ 2)
11แบบทดสอบภูมิคุ้มกันของร่างกาย (ตอนที่ 2)
 
ืnervous system
ืnervous systemืnervous system
ืnervous system
 
บทที่ 11 เคมีอินทรีย์
บทที่ 11 เคมีอินทรีย์บทที่ 11 เคมีอินทรีย์
บทที่ 11 เคมีอินทรีย์
 
บทที่ 12 การสังเคราะห์แสง
บทที่ 12  การสังเคราะห์แสงบทที่ 12  การสังเคราะห์แสง
บทที่ 12 การสังเคราะห์แสง
 
การทำงานของระบบประสาท
การทำงานของระบบประสาทการทำงานของระบบประสาท
การทำงานของระบบประสาท
 
กระบวนการสังเคราะห์ด้วยแสง (T)
กระบวนการสังเคราะห์ด้วยแสง (T)กระบวนการสังเคราะห์ด้วยแสง (T)
กระบวนการสังเคราะห์ด้วยแสง (T)
 
ใบงานการย่อยอาหาร Version คุณครู
ใบงานการย่อยอาหาร Version คุณครูใบงานการย่อยอาหาร Version คุณครู
ใบงานการย่อยอาหาร Version คุณครู
 
ระบบไหลเวียนเลือด (Circulatory System)
ระบบไหลเวียนเลือด (Circulatory System)ระบบไหลเวียนเลือด (Circulatory System)
ระบบไหลเวียนเลือด (Circulatory System)
 
การสังเคราะห์ด้วยแสงของพืช
การสังเคราะห์ด้วยแสงของพืชการสังเคราะห์ด้วยแสงของพืช
การสังเคราะห์ด้วยแสงของพืช
 
6.ชุด 3 การแพร่
6.ชุด 3 การแพร่6.ชุด 3 การแพร่
6.ชุด 3 การแพร่
 
สมดุลเคมีในสิ่งแวดล้อม
สมดุลเคมีในสิ่งแวดล้อมสมดุลเคมีในสิ่งแวดล้อม
สมดุลเคมีในสิ่งแวดล้อม
 
การทำงานของเซลล์ประสาท
การทำงานของเซลล์ประสาทการทำงานของเซลล์ประสาท
การทำงานของเซลล์ประสาท
 

En vedette

Photosynthetic reaction
Photosynthetic reactionPhotosynthetic reaction
Photosynthetic reactionsukanya petin
 
Stem structure and function
Stem structure and functionStem structure and function
Stem structure and functionsukanya petin
 
ฟีโรโมน
ฟีโรโมนฟีโรโมน
ฟีโรโมนsukanya petin
 
Root structure and function
Root structure and functionRoot structure and function
Root structure and functionsukanya petin
 
แบบฝึกท้ายบทบท 8 ชุดที่ 1
แบบฝึกท้ายบทบท 8 ชุดที่ 1แบบฝึกท้ายบทบท 8 ชุดที่ 1
แบบฝึกท้ายบทบท 8 ชุดที่ 1sukanya petin
 
1แบบฝึกท้ายบทบทที่ 8 ชุดที่ 1
1แบบฝึกท้ายบทบทที่ 8 ชุดที่ 11แบบฝึกท้ายบทบทที่ 8 ชุดที่ 1
1แบบฝึกท้ายบทบทที่ 8 ชุดที่ 1sukanya petin
 
แบบฝึกท้ายบทบทที่ 8 ชุดที่ 2
แบบฝึกท้ายบทบทที่ 8 ชุดที่ 2แบบฝึกท้ายบทบทที่ 8 ชุดที่ 2
แบบฝึกท้ายบทบทที่ 8 ชุดที่ 2sukanya petin
 
ข้อสอบเอ็นทรานซ์ ชีววิทยา มีนาคม 2546
ข้อสอบเอ็นทรานซ์ ชีววิทยา มีนาคม 2546ข้อสอบเอ็นทรานซ์ ชีววิทยา มีนาคม 2546
ข้อสอบเอ็นทรานซ์ ชีววิทยา มีนาคม 2546Trd Wichai
 

En vedette (11)

Plant tissue
Plant tissuePlant tissue
Plant tissue
 
Photosynthetic reaction
Photosynthetic reactionPhotosynthetic reaction
Photosynthetic reaction
 
Stem structure and function
Stem structure and functionStem structure and function
Stem structure and function
 
ฟีโรโมน
ฟีโรโมนฟีโรโมน
ฟีโรโมน
 
Root structure and function
Root structure and functionRoot structure and function
Root structure and function
 
แบบฝึกท้ายบทบท 8 ชุดที่ 1
แบบฝึกท้ายบทบท 8 ชุดที่ 1แบบฝึกท้ายบทบท 8 ชุดที่ 1
แบบฝึกท้ายบทบท 8 ชุดที่ 1
 
1แบบฝึกท้ายบทบทที่ 8 ชุดที่ 1
1แบบฝึกท้ายบทบทที่ 8 ชุดที่ 11แบบฝึกท้ายบทบทที่ 8 ชุดที่ 1
1แบบฝึกท้ายบทบทที่ 8 ชุดที่ 1
 
แบบฝึกท้ายบทบทที่ 8 ชุดที่ 2
แบบฝึกท้ายบทบทที่ 8 ชุดที่ 2แบบฝึกท้ายบทบทที่ 8 ชุดที่ 2
แบบฝึกท้ายบทบทที่ 8 ชุดที่ 2
 
็Hormone
็Hormone็Hormone
็Hormone
 
Pigment
PigmentPigment
Pigment
 
ข้อสอบเอ็นทรานซ์ ชีววิทยา มีนาคม 2546
ข้อสอบเอ็นทรานซ์ ชีววิทยา มีนาคม 2546ข้อสอบเอ็นทรานซ์ ชีววิทยา มีนาคม 2546
ข้อสอบเอ็นทรานซ์ ชีววิทยา มีนาคม 2546
 

Similaire à การรับรู้และการตอบสนอง

พื้นฐานทางชีววิทยาที่เกี่ยวข้องกับ
พื้นฐานทางชีววิทยาที่เกี่ยวข้องกับพื้นฐานทางชีววิทยาที่เกี่ยวข้องกับ
พื้นฐานทางชีววิทยาที่เกี่ยวข้องกับNichakorn Sengsui
 
พื้นฐานทางชีววิทยาที่เกี่ยวข้องกับพฤติกรรมและการรับรู้
พื้นฐานทางชีววิทยาที่เกี่ยวข้องกับพฤติกรรมและการรับรู้พื้นฐานทางชีววิทยาที่เกี่ยวข้องกับพฤติกรรมและการรับรู้
พื้นฐานทางชีววิทยาที่เกี่ยวข้องกับพฤติกรรมและการรับรู้Nichakorn Sengsui
 
บทที่3 Basic Of Physiological
บทที่3  Basic Of  Physiologicalบทที่3  Basic Of  Physiological
บทที่3 Basic Of PhysiologicalTuk Diving
 
บทท 8 ระบบประสาท (1)
บทท   8 ระบบประสาท (1)บทท   8 ระบบประสาท (1)
บทท 8 ระบบประสาท (1)Natthaya Khaothong
 
พฤติกรรมสัตว์
พฤติกรรมสัตว์พฤติกรรมสัตว์
พฤติกรรมสัตว์Pattiya Lasutti
 
Ppt ระบบประสาท (nervous system) ชีววิทยา ม.5
Ppt ระบบประสาท (nervous system) ชีววิทยา ม.5Ppt ระบบประสาท (nervous system) ชีววิทยา ม.5
Ppt ระบบประสาท (nervous system) ชีววิทยา ม.5สำเร็จ นางสีคุณ
 
ระบบประสาท
ระบบประสาทระบบประสาท
ระบบประสาทPok Tanti
 
ระบบประสาทส่วนกลางและรอบนอก
ระบบประสาทส่วนกลางและรอบนอกระบบประสาทส่วนกลางและรอบนอก
ระบบประสาทส่วนกลางและรอบนอกThanyamon Chat.
 
ระบบประสาท
ระบบประสาทระบบประสาท
ระบบประสาทflimgold
 
ระบบประสาท (Nervous system)
ระบบประสาท (Nervous system)ระบบประสาท (Nervous system)
ระบบประสาท (Nervous system)พัน พัน
 
ระบบประสาท สอนพิเศษ ม.2.pptx
ระบบประสาท สอนพิเศษ ม.2.pptxระบบประสาท สอนพิเศษ ม.2.pptx
ระบบประสาท สอนพิเศษ ม.2.pptxKunchayaPitayawongro1
 
ระบบประสาท
ระบบประสาทระบบประสาท
ระบบประสาทyangclang22
 
ระบบประสาท
ระบบประสาทระบบประสาท
ระบบประสาทkruchanon2555
 
ระบบประสาท
ระบบประสาทระบบประสาท
ระบบประสาทkalita123
 
ระบบประสาท
ระบบประสาทระบบประสาท
ระบบประสาทbowpp
 
การทำงานของสมอง-และระบบประสาท.pptx
การทำงานของสมอง-และระบบประสาท.pptxการทำงานของสมอง-และระบบประสาท.pptx
การทำงานของสมอง-และระบบประสาท.pptxBewwyKh1
 

Similaire à การรับรู้และการตอบสนอง (20)

การรับรู้และการตอบสนอง
การรับรู้และการตอบสนองการรับรู้และการตอบสนอง
การรับรู้และการตอบสนอง
 
พื้นฐานทางชีววิทยาที่เกี่ยวข้องกับ
พื้นฐานทางชีววิทยาที่เกี่ยวข้องกับพื้นฐานทางชีววิทยาที่เกี่ยวข้องกับ
พื้นฐานทางชีววิทยาที่เกี่ยวข้องกับ
 
พื้นฐานทางชีววิทยาที่เกี่ยวข้องกับพฤติกรรมและการรับรู้
พื้นฐานทางชีววิทยาที่เกี่ยวข้องกับพฤติกรรมและการรับรู้พื้นฐานทางชีววิทยาที่เกี่ยวข้องกับพฤติกรรมและการรับรู้
พื้นฐานทางชีววิทยาที่เกี่ยวข้องกับพฤติกรรมและการรับรู้
 
ระบบประสาท (Nervous System)
ระบบประสาท (Nervous System)ระบบประสาท (Nervous System)
ระบบประสาท (Nervous System)
 
บทที่3 Basic Of Physiological
บทที่3  Basic Of  Physiologicalบทที่3  Basic Of  Physiological
บทที่3 Basic Of Physiological
 
บทท 8 ระบบประสาท (1)
บทท   8 ระบบประสาท (1)บทท   8 ระบบประสาท (1)
บทท 8 ระบบประสาท (1)
 
พฤติกรรมสัตว์
พฤติกรรมสัตว์พฤติกรรมสัตว์
พฤติกรรมสัตว์
 
Ppt ระบบประสาท (nervous system) ชีววิทยา ม.5
Ppt ระบบประสาท (nervous system) ชีววิทยา ม.5Ppt ระบบประสาท (nervous system) ชีววิทยา ม.5
Ppt ระบบประสาท (nervous system) ชีววิทยา ม.5
 
ระบบประสาท
ระบบประสาทระบบประสาท
ระบบประสาท
 
ระบบประสาทส่วนกลางและรอบนอก
ระบบประสาทส่วนกลางและรอบนอกระบบประสาทส่วนกลางและรอบนอก
ระบบประสาทส่วนกลางและรอบนอก
 
ระบบประสาท
ระบบประสาทระบบประสาท
ระบบประสาท
 
ระบบประสาท (Nervous system)
ระบบประสาท (Nervous system)ระบบประสาท (Nervous system)
ระบบประสาท (Nervous system)
 
ประสาท
ประสาทประสาท
ประสาท
 
ระบบประสาท สอนพิเศษ ม.2.pptx
ระบบประสาท สอนพิเศษ ม.2.pptxระบบประสาท สอนพิเศษ ม.2.pptx
ระบบประสาท สอนพิเศษ ม.2.pptx
 
การรับรู้และการตอบสนอง
การรับรู้และการตอบสนองการรับรู้และการตอบสนอง
การรับรู้และการตอบสนอง
 
ระบบประสาท
ระบบประสาทระบบประสาท
ระบบประสาท
 
ระบบประสาท
ระบบประสาทระบบประสาท
ระบบประสาท
 
ระบบประสาท
ระบบประสาทระบบประสาท
ระบบประสาท
 
ระบบประสาท
ระบบประสาทระบบประสาท
ระบบประสาท
 
การทำงานของสมอง-และระบบประสาท.pptx
การทำงานของสมอง-และระบบประสาท.pptxการทำงานของสมอง-และระบบประสาท.pptx
การทำงานของสมอง-และระบบประสาท.pptx
 

การรับรู้และการตอบสนอง