SlideShare une entreprise Scribd logo
1  sur  10
Télécharger pour lire hors ligne
โรงเรียนมหิดลวิทยานุสรณ์ (องค์การมหาชน) สาขาวิชาชีววิทยา
เอกสารประกอบการสอนวิชาชีววิทยา 4 (ว 40144) ปีการศึกษา 2549 โครงสร้างและหน้าที่ของลาต้น
23
โครงสร้างและหน้าที่ของลาต้น
1. ลักษณะทั่วไปของลาต้น
ลาต้น(stem) เป็นอวัยวะของพืชซึ่งส่วนใหญ่จะเจริญขึ้นมาเหนือดินแต่ก็มีพืชบางชนิดที่ลาต้นอยู่ใต้
ดิน ลาต้นประกอบด้วยส่วนสาคัญ 2 ส่วนคือ
1. ข้อ(node) เป็นส่วนของลาต้นที่มีตา(bud)ซึ่งจะเจริญไปเป็นกิ่ง ดอก หรือใบ
2. ปล้อง(internode) เป็นส่วนของลาต้นที่อยู่ระหว่างข้อ
พืชใบเลี้ยงเดี่ยวจะสังเกตส่วนของข้อปล้องได้อย่างชัดเจนตลอดชีวิต เช่น ต้นไผ่ ต้นอ้อย
ข้าวโพด เป็นต้น ส่วนพืชใบเลี้ยงคู่นั้นส่วนใหญ่แล้วข้อปล้องจะสังเกตได้ไม่ชัดเจนทั้งนี้เพราะเมื่อ
เจริญเติบโตเต็มที่แล้วมักจะมีเนื้อเยื่อชั้นคอร์ก(cork) มาหุ้มโดยรอบเอาไว้ การจะสังเกตอาจจะสังเกตใน
ขณะที่พืชยังอ่อนอยู่ แต่ก็ยังมีพืชใบเลี้ยงคู่บางชนิดที่สามารถสังเกตเห็นข้อปล้องได้อย่างชัดเจนตลอดชีวิต
เหมือนพืชใบเลี้ยงเดี่ยว ได้แก่พวกไม้ล้มลุกต่างๆ เช่น ต้นตาลึง ฟักทอง และผักบุ้ง เป็นต้น
2.โครงสร้างภายในของลาต้น
2.1 โครงสร้างภายในของปลายยอดพืช
บริเวณปลายยอดพืชสามารถแบ่งออกเป็นบริเวณ(region/zone) ได้ทั้งหมด 3 บริเวณด้วยกันคือ
2.1.1 บริเวณเซลล์แบ่งตัว(region of cell division)
2.1.2 บริเวณเซลล์ยืดตัว(region of cell elongation)
2.1.3 บริเวณเซลล์เจริญเต็มที่ (region of maturation)
รูปที่ 31 ปลายยอดพืช
(ที่มา http://www.bio.miami.edu/dana/160/stemtip.jpg)
โรงเรียนมหิดลวิทยานุสรณ์ (องค์การมหาชน) สาขาวิชาชีววิทยา
เอกสารประกอบการสอนวิชาชีววิทยา 4 (ว 40144) ปีการศึกษา 2549 โครงสร้างและหน้าที่ของลาต้น
24
2.2 โครงสร้างภายในของลาต้นที่ตัดตามขวาง
เมื่อนาปลายยอดของพืชมาตัดตามขวางบริเวณเซลล์เจริญเต็มที่จะพบว่าโครงสร้างภายใน
ประกอบด้วยเนื้อเยื่อชนิดต่างๆตามแต่ชนิดของพืชโดยแบ่งได้ดังนี้
2.2.1 โครงสร้างภายในของลาต้นพืชใบเลี้ยงคู่
1. epidermis
เป็นเนื้อเยื่อที่อยู่ชั้นนอกสุด ทาหน้าที่ป้องกันอันตรายให้แก่เนื้อเยื่อภายในของลาต้น ส่วนใหญ่
เซลล์เรียงตัวเพียงชั้นเดียว พืชบางชนิด epidermis มีการเปลี่ยนแปลงไปเป็นส่วนของ trichome / hair และ
guard cell
ในต้นพืชที่อายุมากส่วนใหญ่แล้วส่วนของ epidermis จะหลุดหายไปเพราะถูกแทนที่ด้วยส่วนของ
คอร์ก
2. cortex (คอร์เทกซ์)
คอร์เทกซ์เป็นชั้นของลาต้นที่มีอาณาเขตตั้งแต่ใต้ epidermis เข้ามาจนถึงเนื้อเยื่อเอนโดเดอมิส
(endodermis) ดังนั้นในชั้นคอร์เทกซ์จึงประกอบด้วยเนื้อเยื่อชนิดต่างๆได้แก่
2.1 parenchyma
เป็นเนื้อเยื่อส่วนใหญ่ที่พบภายในลาต้น
2.2 chlorenchyma
ทาหน้าที่ช่วยในกระบวนการสังเคราะห์ด้วยแสง
2.3 aerenchyma
ทาหน้าที่เกี่ยวข้องกับการสะสมอากาศ โดยเฉพาะพืชน้า
2.4 collenchyma
เพิ่มความแข็งแรงให้แก่ลาต้น
2.5 sclerenchyma(fiber)
ให้ความแข็งแรงแก่ลาต้น
3. stele (สตีล)
สตีลเป็นชั้นที่ถัดเข้ามาจากชั้นคอร์เทกซ์ โดยมีอาณาเขตตั้งแต่ใต้ endodermis เข้ามาจนถึงใจกลาง
ของลาต้น แต่เนื่องจากในลาต้นเนื้อเยื่อ endodermis ส่วนใหญ่เห็นได้ไม่ชัดเจนหรือหนังสือบางเล่มก็กล่าว
ว่าในลาต้นจะไม่มีเนื้อเยื่อ endodermis ทาให้ชั้นสตีลในลาต้นแบ่งแยกออกจากชั้นคอร์เทกซ์ได้ไม่ชัดเจน
เหมือนในส่วนของรากพืช ภายในชั้นสตีลจะประกอบด้วยเนื้อเยื่อที่สาคัญคือ
3.1 vascular bundle หมายถึงกลุ่มของเนื้อเยื่อที่ทาหน้าที่เกี่ยวข้องกับการลาเลียง
ภายในเนื้อเยื่อ vascular bundle ของพืชใบเลี้ยงคู่ประกอบด้วย กลุ่มเนื้อเยื่อลาเลียงอาหาร(phloem)เรียงตัวอยู่
ทางด้านนอกและกลุ่มเนื้อเยื่อลาเลียงน้า(xylem)เรียงตัวอยู่ทางด้านในหรือด้านที่ติดกับ pith ระหว่าง xylem
โรงเรียนมหิดลวิทยานุสรณ์ (องค์การมหาชน) สาขาวิชาชีววิทยา
เอกสารประกอบการสอนวิชาชีววิทยา 4 (ว 40144) ปีการศึกษา 2549 โครงสร้างและหน้าที่ของลาต้น
25
กับ phloem จะมีเนื้อเยื่อเจริญที่เรียกว่า vascular cambium คั่นกลางอยู่ทาหน้าที่แบ่งเซลล์เพื่อให้กาเนิด
xylem และ phloem
3.2 pith เป็นเนื้อเยื่อที่อยู่ส่วนกลางของลาต้น ส่วนใหญ่เป็นเนื้อเยื่อประเภท
parenchyma จึงทาหน้าที่ในการสะสมสารต่างๆ ลาต้นของพืชใบเลี้ยงคู่บางชนิดเนื้อเยื่อในส่วนนี้อาจสลาย
ไปกลายเป็นช่องกลวงกลางลาต้น เรียกช่องนี้ว่า pith cavity
รูปที่ 32 ลาต้นพืชใบเลี้ยงคู่ตัดตามขวาง
(ที่มา http://pck.bio.ncue.edu.tw/pckweb/database/data2/pkdata/newpic/dicot%20stem2.jpg)
รูปที่ 33 ลาต้นพืชใบเลี้ยงคู่แสดงส่วนของท่อลาเลียง
( ที่มา http://fig.cox.miami.edu/~tkoop/spring00/DicotStem.gif)
โรงเรียนมหิดลวิทยานุสรณ์ (องค์การมหาชน) สาขาวิชาชีววิทยา
เอกสารประกอบการสอนวิชาชีววิทยา 4 (ว 40144) ปีการศึกษา 2549 โครงสร้างและหน้าที่ของลาต้น
26
2.2.2 โครงสร้างภายในของลาต้นพืชใบเลี้ยงเดี่ยว
1. epidermis
เป็นเนื้อเยื่อที่อยู่ชั้นนอกสุด ทาหน้าที่ป้องกันอันตรายให้แก่เนื้อเยื่อภาย
ในของลาต้น ส่วนใหญ่เซลล์เรียงตัวเพียงชั้นเดียวและมีอยู่ตลอดไป ยกเว้นใน ต้นพืชตระกูลปาล์มจะมี
เฉพาะในปีแรกเท่านั้นเพราะต่อมาจะมีเนื้อเยื่อคอร์ก (cork) มาแทน
2. cortex
มีเนื้อเยื่อบางๆ1-2 ชั้น ส่วนใหญ่เป็นเนื้อเยื่อชนิด parenchyma และส่วนใหญ่ไม่พบ endodermis ทา
ให้อาณาเขตแบ่งได้ไม่ชัดเจน
3. stele
3.1 vascular bundle
กลุ่มของเนื้อเยื่อลาเลียงของพืชใบเลี้ยงเดี่ยว ส่วนของ xylem, phloem จะเรียงตัวกันมองคล้ายๆ
ใบหน้าคน มีส่วนของ vessel อยู่บริเวณคล้ายดวงตา ส่วน phloem อยู่บริเวณคล้ายหน้าผาก xylem และ
phloem จะถูกล้อมรอบด้วยเนื้อเยื่อ parenchyma หรืออาจเป็น sclerenchyma และเรียกเซลล์ที่มาล้อมรอบนี้
ว่า bundle sheath
vascular bundle ของพืชใบเลี้ยงเดี่ยวส่วนใหญ่ไม่พบเนื้อเยื่อเจริญ vascular cambium ยกเว้นหมาก
ผู้หมากเมีย และพืชตระกูลปาล์ม
3.2 pith
เป็นเนื้อเยื่อที่อยู่ส่วนกลางของลาต้น ส่วนใหญ่เป็นเนื้อเยื่อประเภท parenchyma พืชใบเลี้ยงเดี่ยว
บางชนิด เช่น ข้าวโพด ในเนื้อเยื่อของ pith นี้จะพบ vascular bundle กระจายอยู่เต็ม นอกจากนี้พืชบางชนิด
เนื้อเยื่อในส่วนนี้อาจสลายไปกลายเป็นช่องกลวงกลางลาต้น เรียกว่า pith cavity เช่นต้นไผ่ ต้นข้าวเป็นต้น
รูปที่ 34 ลาต้นพืชใบเลี้ยงเดี่ยวแสดงส่วนของท่อลาเลียง
( ที่มา http://www.science.smith.edu/~mmarcotr/Hortwebpage-fall/Images/overheads/monocotstemxs.jpg)
โรงเรียนมหิดลวิทยานุสรณ์ (องค์การมหาชน) สาขาวิชาชีววิทยา
เอกสารประกอบการสอนวิชาชีววิทยา 4 (ว 40144) ปีการศึกษา 2549 โครงสร้างและหน้าที่ของลาต้น
27
1.3 ชนิดของลาต้น
โดยทั่วไปสามารถจาแนกลาต้นออกเป็น 2 ชนิดใหญ่ๆด้วยกันคือ
1. ลาต้นเหนือดิน(aerial stem/terrestrial stem)
1.1 creeping stem
คือลาต้นที่ทอดหรือเลื้อยขนานไปตามผิวดินหรือผิวน้า เช่น ผักบุ้ง ผักกระเฉด ฟักทอง สตรอเบอรี่
และหญ้า เป็นต้น
รูปที่ 35 creeping stem(1)
( ที่มา http://www.turf.uiuc.edu/weed_web/groundivy/groundivy_runner1.jpg)
รูปที่ 36 creeping stem(2)
( ที่มา http://www.vcbio.sci.kun.nl/public/Final-Images/PL_Final685z_301-
350/PL0340_685zRanunculusreptansHabitus.jpg)
โรงเรียนมหิดลวิทยานุสรณ์ (องค์การมหาชน) สาขาวิชาชีววิทยา
เอกสารประกอบการสอนวิชาชีววิทยา 4 (ว 40144) ปีการศึกษา 2549 โครงสร้างและหน้าที่ของลาต้น
28
1.2 climbing stem
คือลาต้นที่ไต่ขึ้นที่สูงโดยวิธีใดวิธีหนึ่ง ถ้ามีหลักหรือต้นไม้ที่ลาต้นตั้งตรงอยู่ใกล้ๆจะถูกใช้ไต่ขึ้นไป
แบ่งออกเป็น
1.2.1 twining stem ลาต้นไต่ขึ้นที่สูงโดยใช้ลาต้นพันกับหลักเป็นเกลียว เช่น เถาวัลย์ ต้นถั่ว
บอระเพ็ด ฝอยทอง เป็นต้น
1.2.2 stem tendril ลาต้นไต่ขึ้นที่สูงโดยใช้ส่วนของลาต้นดัดแปลงไปเป็นมือเกาะ(tendril) เพื่อ
พันหรือไต่ขึ้นที่สูง ส่วนของ tendril จะบิดเป็นเกลียวคล้ายสปริงเพื่อให้ยืดหยุ่น เช่น ต้น
องุ่น บวบ แตงกวา กระทกรก โคกกระออม พวงชมพู เป็นต้น
1.2.3 root climber ลาต้นไต่ขึ้นที่สูงโดยใช้รากซึ่งออกมาตามข้อ ยึดหลักหรือต้นไม้ เช่น ต้น
พริกไทย พลู และพลูด่าง เป็นต้น
1.2.4 stem spine / stem thorn ลาต้นที่ดัดแปลงไปเป็นหนามหรือขอเกี่ยว (hook) เพื่อไต่ขึ้นที่
สูง เช่น ต้นเฟื้องฟ้า ไผ่ ไมยราบ และพืชตระกูลส้ม เป็นต้น
รูปที่ 37 twining stem และ tendril ในพืช
(ที่มา http://www.missouriplants.com/Bluealt/Pueraria_lobata_stem.jpg
http://www.pharm.chula.ac.th/vichien/morpho45/stemclim.htm )
โรงเรียนมหิดลวิทยานุสรณ์ (องค์การมหาชน) สาขาวิชาชีววิทยา
เอกสารประกอบการสอนวิชาชีววิทยา 4 (ว 40144) ปีการศึกษา 2549 โครงสร้างและหน้าที่ของลาต้น
29
รูปที่ 38 ลาต้นไต่ขึ้นที่สูงโดยใช้ราก (root climber)
(ที่มา http://www.pharm.chula.ac.th/vichien/morpho45/stemclim.htm )
รูปที่ 39 ลาต้นไต่ขึ้นที่สูงโดยใช้ขอเกี่ยว(hook)
(ที่มา http://www.pharm.chula.ac.th/vichien/morpho45/stemclim.htm )
1.3 cladophyll / phylloclade / cladode
คือลาต้นที่เปลี่ยนแปลงไปมีลักษณะหรือหน้าที่คล้ายใบ เช่น ลาต้นแป็นแผ่นแบน หรือมีสีเขียว
ของคลอโรฟีลล์ ได้แก่ กระบองเพชร พญาไร้ใบ หน่อไม้ฝรั่ง โปร่งฟ้า เป็นต้น
รูปที่ 40 ลาต้นที่สังเคราะห์ด้วยแสงคล้ายใบ(cladophyll)
(ที่มา http://botany.cs.tamu.edu/FLORA/dcs420/mi06/mi06096.jpg)
โรงเรียนมหิดลวิทยานุสรณ์ (องค์การมหาชน) สาขาวิชาชีววิทยา
เอกสารประกอบการสอนวิชาชีววิทยา 4 (ว 40144) ปีการศึกษา 2549 โครงสร้างและหน้าที่ของลาต้น
30
1.4 bulbil / crown / slip
คือลาต้นที่เป็นตาหรือหน่อเล็กๆ สั้นๆ ที่ประกอบด้วยยอดอ่อนและใบเล็กๆ 2-3 ใบ แตกออก
ระหว่างซอกใบกับลาต้น หรือแตกออกจากยอดของลาต้นแทนดอก เมื่อมันหลุดร่วงลงดินก็
สามารถเจริญเป็นต้นใหม่ได้ เช่น หอม กระเทียม สับปะรด เป็นต้น
(อ่านความรู้เพิ่มเติมเรื่องการขยายพันธุ์สับปะรดที่หน้า 32)
รูปที่ 41 ลาต้นสับปะรด
(ที่มา http://www.learning.cmri.ac.th/courseware/tree/picture/subparod1.jpg)
2. ลาต้นใต้ดิน (underground stem)
2.1 rhizome
ลาต้นใต้ดินที่เรียกกันว่า แง่ง หรือเหง้า ส่วนใหญ่ขนานกับพื้นดิน มีข้อปล้องเห็นได้ชัดเจน ตามข้อมี
ใบที่เป็นแปลงเป็นสีน้าตาล ได้แก่ ขิง ข่า ขมิ้น บางชนิดอาจตั้งตรง เช่น กล้วย พุทธรักษา เป็นต้น
รูปที่ 42 ลาต้นข่าและขิง
(ที่มา http://www.herblpg.com/images/kar_100m.jpg และ www.phuketjettour.com/herbs/images/king.jpg)
โรงเรียนมหิดลวิทยานุสรณ์ (องค์การมหาชน) สาขาวิชาชีววิทยา
เอกสารประกอบการสอนวิชาชีววิทยา 4 (ว 40144) ปีการศึกษา 2549 โครงสร้างและหน้าที่ของลาต้น
31
2.2 tuber
ลาต้นใต้ดินที่สะสมอาหาร ทาให้อวบอ้วน แต่บริเวณที่เป็นตาจะไม่อ้วนออกมาด้วยทาให้เห็นเป็นรอย
บุ๋ม ได้แก่ มันฝรั่ง เป็นต้น
รูปที่ 43 มันฝรั่ง
(ที่มา http://www.wegmans.com/kitchen/ingredients/produce/vegetables/images/potato.jpg)
2.3 bulb
ลาต้นใต้ดินที่ลาต้นเล็กมีปล้องสั้นมาก ตามปล้องมีใบเกล็ดซ้อนกันหลายๆชั้น ห่อหุ้มลาต้นเอาไว้และ
สะสมอาหาร เช่น หอม กระเทียม เป็นต้น
รูปที่ 44 หัวหอม
(ที่มาhttp://mall.curiocity.com/curioshop/shop/00752/onion.jpg,www.eslkidstuff.com/images/onion.gif)
2.4 corm
เป็นลาต้นใต้ดินที่ตั้งตรงเช่นเดียวกับ bulb มีลักษณะคล้ายกันแต่เก็บสะสมอาหารไว้ในลาต้นจนทาให้
เห็นลาต้นอวบอ้วน ตามข้อมีใบเกล็ดบางๆหุ้ม มีตางอกตามข้อ เช่น เผือก แห้วจีน เป็นต้น
รูปที่ 45 เผือก
(ที่มา http://www.mju.ac.th/fac-agr/hort/vegetable/veg_image/taro.jpg)
โรงเรียนมหิดลวิทยานุสรณ์ (องค์การมหาชน) สาขาวิชาชีววิทยา
เอกสารประกอบการสอนวิชาชีววิทยา 4 (ว 40144) ปีการศึกษา 2549 โครงสร้างและหน้าที่ของลาต้น
32
ความรู้เพิ่มเติมเรื่องการขยายพันธุ์สับปะรด
ส่วนต่าง ๆ ที่ใช้ในการขยายพันธุ์สับปะรด มีดังนี้
1. หน่อดิน เกิดจากตาที่อยู่ในบริเวณลาต้นใต้ดิน ซึ่งจะเริ่มแทงขึ้นมาพ้นผิวดินหลังจากเกิดการสร้างดอก
แล้ว มีจานวนน้อย รูปทรงเล็กเรียว ใบยาวกว่าหน่อข้าง
2. หน่อข้าง เกิดจากตาที่พักตัวอยู่บนลาต้นในบริเวณโคนใบ หน่อข้างเหล่านี้จะมีน้าหนักต่างกันไปตั้งแต่
0.5-1 กิโลกรัม ให้ผลเมื่อมีอายุ 14-18 เดือน ใช้ขยายพันธุ์ได้ดี
3. ตะเกียง เกิดจากตาบนก้านผลที่อยู่ในบริเวณโคนผล ตะเกียงมีน้าหนักเฉลี่ยทั่วไปอยู่ระหว่าง 0.3-0.5
กิโลกรัม ให้ผลเมื่อมีอายุ 18-20 เดือน
4. จุก เติบโตขึ้นเหนือผลสับปะรดหลังจากดอกโรยไปแล้วจุกจะมีน้าหนักทั่วไปตั้งแต่ 0.075-0.2 กิโลกรัม
ให้ผลตามธรรมชาติเมื่ออายุ 22-24 เดือน
เมื่อเก็บผลสับปะรดก็จะปลิดจุกออกจากผล และหลังจากเก็บเกี่ยวผลไปแล้วประมาณ 6 สัปดาห์ ก็จะปลิด
หน่อออกจากต้น หน่อที่มีขนาดเหมาะแก่การขยายพันธุ์คือ มีความยาวประมาณ 50-75 เซนติเมตรหลังจาก
เก็บหน่อ, ตะเกียงหรือจุกมาแล้ว ให้นามาผึ่งแดดโดยคว่ายอดลงสู่พื้นดิน ให้โคนแผลได้รับแสงแดดจนรอย
แผลแห้งรัดตัวเป็นการฆ่าเชื้อโรคด้วย แล้วนามามัดรวมกันเป็นกองเพื่อรอการปลูกหรือนาไปขายต่อไป
ก่อนปลูกต้องลอกกาบใบล่างออก 3-4 ชั้น เพื่อให้รากแทงออกมาได้สะดวกและเร็วขึ้น
(ที่มา http://web.ku.ac.th/agri/pineapple/pine05.htm )
เอกสารอ้างอิง
เกษม ศรีพงษ์. คู่มือเตรียมสอบ ชีววิทยา ม.5 เล่ม 3 ว 049. สานักพิมพ์ภูมิบัณฑิต.
กรุงเทพมหานคร.
เชาวน์ ชิโนรักษ์ และพรรณี ชิโนรักษ์. 2541. ชีววิทยา 3. สานักพิมพ์ศิลปาบรรณาคาร.
กรุงเทพมหานคร.
ปรีชา สุวรรณพินิจและนงลักษณ์ สุวรรณพินิจ. คู่มือเตรียมสอบ ชีววิทยา 3 ว 049 . บริษัทไฮเอ็ด
พลับลิชชิ่ง จากัด. กรุงเทพมหานคร.
ประสงค์ หลาสะอาด และจิตเกษม หลาสะอาด. ชีววิทยา ม. 5 ว 049. สานักพิมพ์ พ.ศ. พัฒนา
จากัด. กรุงเทพมหานคร.
พัชรี พิพัฒวรรณกุล. 2542. หนังสือเสริมประสบการณ์ ชีววิทยา 3 ชั้น ม. 5 (ว 049). สานักพิมพ์
ฟิสิกส์เซ็นเตอร์. กรุงเทพมหานคร.

Contenu connexe

Tendances

ข้อสอบโครงงาน ม 2
ข้อสอบโครงงาน ม 2ข้อสอบโครงงาน ม 2
ข้อสอบโครงงาน ม 2Weerachat Martluplao
 
ใบงานที่ 13 การแบ่งเซลล์แบบไมโทซิส
ใบงานที่ 13 การแบ่งเซลล์แบบไมโทซิสใบงานที่ 13 การแบ่งเซลล์แบบไมโทซิส
ใบงานที่ 13 การแบ่งเซลล์แบบไมโทซิสAomiko Wipaporn
 
กระบวนการสังเคราะห์ด้วยแสง (T)
กระบวนการสังเคราะห์ด้วยแสง (T)กระบวนการสังเคราะห์ด้วยแสง (T)
กระบวนการสังเคราะห์ด้วยแสง (T)Thitaree Samphao
 
การสืบพันธุ์ของพืชดอกโครงสร้างดอก
การสืบพันธุ์ของพืชดอกโครงสร้างดอกการสืบพันธุ์ของพืชดอกโครงสร้างดอก
การสืบพันธุ์ของพืชดอกโครงสร้างดอกThanyamon Chat.
 
การสืบพันธุ์ของพืชดอก (T)
การสืบพันธุ์ของพืชดอก (T)การสืบพันธุ์ของพืชดอก (T)
การสืบพันธุ์ของพืชดอก (T)Thitaree Samphao
 
เอกสาร เรื่อง ยีนและโครโมโซม
เอกสาร เรื่อง ยีนและโครโมโซมเอกสาร เรื่อง ยีนและโครโมโซม
เอกสาร เรื่อง ยีนและโครโมโซมอังสนา แสนเยีย
 
บท2สืบพันธุ์พืชดอก
บท2สืบพันธุ์พืชดอกบท2สืบพันธุ์พืชดอก
บท2สืบพันธุ์พืชดอกWichai Likitponrak
 
สอบปลายภาคชีวะ51 2
สอบปลายภาคชีวะ51 2สอบปลายภาคชีวะ51 2
สอบปลายภาคชีวะ51 2Wichai Likitponrak
 
ใบงานการย่อยอาหาร Version นักเรียนค่ะ
ใบงานการย่อยอาหาร Version นักเรียนค่ะใบงานการย่อยอาหาร Version นักเรียนค่ะ
ใบงานการย่อยอาหาร Version นักเรียนค่ะกมลรัตน์ ฉิมพาลี
 
การลำเลียงน้ำของพืช
การลำเลียงน้ำของพืชการลำเลียงน้ำของพืช
การลำเลียงน้ำของพืชAnana Anana
 
การหายใจระดับเซลล์ Cellular respiration
การหายใจระดับเซลล์ Cellular respirationการหายใจระดับเซลล์ Cellular respiration
การหายใจระดับเซลล์ Cellular respirationPat Pataranutaporn
 
ใบงานที่ 14สารพันธุกรรม
ใบงานที่ 14สารพันธุกรรมใบงานที่ 14สารพันธุกรรม
ใบงานที่ 14สารพันธุกรรมAomiko Wipaporn
 
วิทยาศาสตร์โลกทั้งระบบ : Earth system science (basic)
วิทยาศาสตร์โลกทั้งระบบ : Earth system science (basic)วิทยาศาสตร์โลกทั้งระบบ : Earth system science (basic)
วิทยาศาสตร์โลกทั้งระบบ : Earth system science (basic)Chinnawat Charoennit
 
การถ่ายละอองเรณู (T)
การถ่ายละอองเรณู (T)การถ่ายละอองเรณู (T)
การถ่ายละอองเรณู (T)Thitaree Samphao
 
บท1พันธุกรรมเพิ่ม
บท1พันธุกรรมเพิ่มบท1พันธุกรรมเพิ่ม
บท1พันธุกรรมเพิ่มWichai Likitponrak
 

Tendances (20)

translocation in plant
translocation in planttranslocation in plant
translocation in plant
 
ข้อสอบโครงงาน ม 2
ข้อสอบโครงงาน ม 2ข้อสอบโครงงาน ม 2
ข้อสอบโครงงาน ม 2
 
ใบงานที่ 13 การแบ่งเซลล์แบบไมโทซิส
ใบงานที่ 13 การแบ่งเซลล์แบบไมโทซิสใบงานที่ 13 การแบ่งเซลล์แบบไมโทซิส
ใบงานที่ 13 การแบ่งเซลล์แบบไมโทซิส
 
กระบวนการสังเคราะห์ด้วยแสง (T)
กระบวนการสังเคราะห์ด้วยแสง (T)กระบวนการสังเคราะห์ด้วยแสง (T)
กระบวนการสังเคราะห์ด้วยแสง (T)
 
ราก (T)
ราก (T)ราก (T)
ราก (T)
 
การสืบพันธุ์ของพืชดอกโครงสร้างดอก
การสืบพันธุ์ของพืชดอกโครงสร้างดอกการสืบพันธุ์ของพืชดอกโครงสร้างดอก
การสืบพันธุ์ของพืชดอกโครงสร้างดอก
 
การสืบพันธุ์ของพืชดอก (T)
การสืบพันธุ์ของพืชดอก (T)การสืบพันธุ์ของพืชดอก (T)
การสืบพันธุ์ของพืชดอก (T)
 
เอกสาร เรื่อง ยีนและโครโมโซม
เอกสาร เรื่อง ยีนและโครโมโซมเอกสาร เรื่อง ยีนและโครโมโซม
เอกสาร เรื่อง ยีนและโครโมโซม
 
บท2สืบพันธุ์พืชดอก
บท2สืบพันธุ์พืชดอกบท2สืบพันธุ์พืชดอก
บท2สืบพันธุ์พืชดอก
 
สอบปลายภาคชีวะ51 2
สอบปลายภาคชีวะ51 2สอบปลายภาคชีวะ51 2
สอบปลายภาคชีวะ51 2
 
โครงสร้างเซลล์ (Cell Structure)
โครงสร้างเซลล์ (Cell Structure)โครงสร้างเซลล์ (Cell Structure)
โครงสร้างเซลล์ (Cell Structure)
 
ใบงานการย่อยอาหาร Version นักเรียนค่ะ
ใบงานการย่อยอาหาร Version นักเรียนค่ะใบงานการย่อยอาหาร Version นักเรียนค่ะ
ใบงานการย่อยอาหาร Version นักเรียนค่ะ
 
Diver plantae
Diver plantaeDiver plantae
Diver plantae
 
Kingdom plantae
Kingdom plantaeKingdom plantae
Kingdom plantae
 
การลำเลียงน้ำของพืช
การลำเลียงน้ำของพืชการลำเลียงน้ำของพืช
การลำเลียงน้ำของพืช
 
การหายใจระดับเซลล์ Cellular respiration
การหายใจระดับเซลล์ Cellular respirationการหายใจระดับเซลล์ Cellular respiration
การหายใจระดับเซลล์ Cellular respiration
 
ใบงานที่ 14สารพันธุกรรม
ใบงานที่ 14สารพันธุกรรมใบงานที่ 14สารพันธุกรรม
ใบงานที่ 14สารพันธุกรรม
 
วิทยาศาสตร์โลกทั้งระบบ : Earth system science (basic)
วิทยาศาสตร์โลกทั้งระบบ : Earth system science (basic)วิทยาศาสตร์โลกทั้งระบบ : Earth system science (basic)
วิทยาศาสตร์โลกทั้งระบบ : Earth system science (basic)
 
การถ่ายละอองเรณู (T)
การถ่ายละอองเรณู (T)การถ่ายละอองเรณู (T)
การถ่ายละอองเรณู (T)
 
บท1พันธุกรรมเพิ่ม
บท1พันธุกรรมเพิ่มบท1พันธุกรรมเพิ่ม
บท1พันธุกรรมเพิ่ม
 

En vedette

การรับรู้และการตอบสนอง
การรับรู้และการตอบสนองการรับรู้และการตอบสนอง
การรับรู้และการตอบสนองsukanya petin
 
แบบฝึกท้ายบทบทที่ 8 ชุดที่ 2
แบบฝึกท้ายบทบทที่ 8 ชุดที่ 2แบบฝึกท้ายบทบทที่ 8 ชุดที่ 2
แบบฝึกท้ายบทบทที่ 8 ชุดที่ 2sukanya petin
 
1แบบฝึกท้ายบทบทที่ 8 ชุดที่ 1
1แบบฝึกท้ายบทบทที่ 8 ชุดที่ 11แบบฝึกท้ายบทบทที่ 8 ชุดที่ 1
1แบบฝึกท้ายบทบทที่ 8 ชุดที่ 1sukanya petin
 
แบบฝึกท้ายบทบท 8 ชุดที่ 1
แบบฝึกท้ายบทบท 8 ชุดที่ 1แบบฝึกท้ายบทบท 8 ชุดที่ 1
แบบฝึกท้ายบทบท 8 ชุดที่ 1sukanya petin
 
ฟีโรโมน
ฟีโรโมนฟีโรโมน
ฟีโรโมนsukanya petin
 
การรักษาดุลยภาพของร่างกายด้วยฮอร์โมน
การรักษาดุลยภาพของร่างกายด้วยฮอร์โมนการรักษาดุลยภาพของร่างกายด้วยฮอร์โมน
การรักษาดุลยภาพของร่างกายด้วยฮอร์โมนsukanya petin
 
Photosynthetic reaction
Photosynthetic reactionPhotosynthetic reaction
Photosynthetic reactionsukanya petin
 
ข้อสอบเอ็นทรานซ์ ชีววิทยา มีนาคม 2546
ข้อสอบเอ็นทรานซ์ ชีววิทยา มีนาคม 2546ข้อสอบเอ็นทรานซ์ ชีววิทยา มีนาคม 2546
ข้อสอบเอ็นทรานซ์ ชีววิทยา มีนาคม 2546Trd Wichai
 

En vedette (10)

การรับรู้และการตอบสนอง
การรับรู้และการตอบสนองการรับรู้และการตอบสนอง
การรับรู้และการตอบสนอง
 
แบบฝึกท้ายบทบทที่ 8 ชุดที่ 2
แบบฝึกท้ายบทบทที่ 8 ชุดที่ 2แบบฝึกท้ายบทบทที่ 8 ชุดที่ 2
แบบฝึกท้ายบทบทที่ 8 ชุดที่ 2
 
1แบบฝึกท้ายบทบทที่ 8 ชุดที่ 1
1แบบฝึกท้ายบทบทที่ 8 ชุดที่ 11แบบฝึกท้ายบทบทที่ 8 ชุดที่ 1
1แบบฝึกท้ายบทบทที่ 8 ชุดที่ 1
 
็Hormone
็Hormone็Hormone
็Hormone
 
แบบฝึกท้ายบทบท 8 ชุดที่ 1
แบบฝึกท้ายบทบท 8 ชุดที่ 1แบบฝึกท้ายบทบท 8 ชุดที่ 1
แบบฝึกท้ายบทบท 8 ชุดที่ 1
 
ฟีโรโมน
ฟีโรโมนฟีโรโมน
ฟีโรโมน
 
การรักษาดุลยภาพของร่างกายด้วยฮอร์โมน
การรักษาดุลยภาพของร่างกายด้วยฮอร์โมนการรักษาดุลยภาพของร่างกายด้วยฮอร์โมน
การรักษาดุลยภาพของร่างกายด้วยฮอร์โมน
 
Photosynthetic reaction
Photosynthetic reactionPhotosynthetic reaction
Photosynthetic reaction
 
Pigment
PigmentPigment
Pigment
 
ข้อสอบเอ็นทรานซ์ ชีววิทยา มีนาคม 2546
ข้อสอบเอ็นทรานซ์ ชีววิทยา มีนาคม 2546ข้อสอบเอ็นทรานซ์ ชีววิทยา มีนาคม 2546
ข้อสอบเอ็นทรานซ์ ชีววิทยา มีนาคม 2546
 

Similaire à Stem structure and function

Biomapcontest2014 กะหล่ำปุ้ง
Biomapcontest2014 กะหล่ำปุ้งBiomapcontest2014 กะหล่ำปุ้ง
Biomapcontest2014 กะหล่ำปุ้งWichai Likitponrak
 
พืชรอบตัวเรา
พืชรอบตัวเราพืชรอบตัวเรา
พืชรอบตัวเราsujitrapa
 
หนังสือเล่มเล็กประกอบการศึกษาเรียนรู้ด้านโครงสร้างอวัยวะสืบพันธุ์ ของพืชตัวอย...
หนังสือเล่มเล็กประกอบการศึกษาเรียนรู้ด้านโครงสร้างอวัยวะสืบพันธุ์ ของพืชตัวอย...หนังสือเล่มเล็กประกอบการศึกษาเรียนรู้ด้านโครงสร้างอวัยวะสืบพันธุ์ ของพืชตัวอย...
หนังสือเล่มเล็กประกอบการศึกษาเรียนรู้ด้านโครงสร้างอวัยวะสืบพันธุ์ ของพืชตัวอย...BhuritNantajeewarawa
 
การศึกษาโครงสร้างดอกเข็ม มะลิ ชวนชม
การศึกษาโครงสร้างดอกเข็ม มะลิ ชวนชมการศึกษาโครงสร้างดอกเข็ม มะลิ ชวนชม
การศึกษาโครงสร้างดอกเข็ม มะลิ ชวนชมNarubordinPremsri
 
พืชรอบตัวเรา
พืชรอบตัวเราพืชรอบตัวเรา
พืชรอบตัวเราsujitrapa
 
พืชรอบตัวเรา
พืชรอบตัวเราพืชรอบตัวเรา
พืชรอบตัวเราsujitrapa
 
พืชรอบตัวเรา
พืชรอบตัวเราพืชรอบตัวเรา
พืชรอบตัวเราsujitrapa
 
พืชรอบตัวเรา
พืชรอบตัวเราพืชรอบตัวเรา
พืชรอบตัวเราsujitrapa
 
Hibiscus, frangipani ,and white champaka group2 m.5/834
Hibiscus, frangipani ,and white champaka group2 m.5/834Hibiscus, frangipani ,and white champaka group2 m.5/834
Hibiscus, frangipani ,and white champaka group2 m.5/834Z-class Puttichon
 

Similaire à Stem structure and function (20)

Plant 2 62_kruwichai
Plant 2 62_kruwichaiPlant 2 62_kruwichai
Plant 2 62_kruwichai
 
932 tu80 group 4
932 tu80 group 4932 tu80 group 4
932 tu80 group 4
 
Biomapcontest2014 กะหล่ำปุ้ง
Biomapcontest2014 กะหล่ำปุ้งBiomapcontest2014 กะหล่ำปุ้ง
Biomapcontest2014 กะหล่ำปุ้ง
 
ลำต้น54
ลำต้น54ลำต้น54
ลำต้น54
 
2 plantstruc 2
2 plantstruc 22 plantstruc 2
2 plantstruc 2
 
พืชรอบตัวเรา
พืชรอบตัวเราพืชรอบตัวเรา
พืชรอบตัวเรา
 
หนังสือเล่มเล็กประกอบการศึกษาเรียนรู้ด้านโครงสร้างอวัยวะสืบพันธุ์ ของพืชตัวอย...
หนังสือเล่มเล็กประกอบการศึกษาเรียนรู้ด้านโครงสร้างอวัยวะสืบพันธุ์ ของพืชตัวอย...หนังสือเล่มเล็กประกอบการศึกษาเรียนรู้ด้านโครงสร้างอวัยวะสืบพันธุ์ ของพืชตัวอย...
หนังสือเล่มเล็กประกอบการศึกษาเรียนรู้ด้านโครงสร้างอวัยวะสืบพันธุ์ ของพืชตัวอย...
 
Bio 656 group4
Bio 656 group4Bio 656 group4
Bio 656 group4
 
การศึกษาโครงสร้างดอกเข็ม มะลิ ชวนชม
การศึกษาโครงสร้างดอกเข็ม มะลิ ชวนชมการศึกษาโครงสร้างดอกเข็ม มะลิ ชวนชม
การศึกษาโครงสร้างดอกเข็ม มะลิ ชวนชม
 
พืชรอบตัวเรา
พืชรอบตัวเราพืชรอบตัวเรา
พืชรอบตัวเรา
 
พืชรอบตัวเรา
พืชรอบตัวเราพืชรอบตัวเรา
พืชรอบตัวเรา
 
พืชรอบตัวเรา
พืชรอบตัวเราพืชรอบตัวเรา
พืชรอบตัวเรา
 
Minibook 931 2
Minibook 931 2Minibook 931 2
Minibook 931 2
 
พืชรอบตัวเรา
พืชรอบตัวเราพืชรอบตัวเรา
พืชรอบตัวเรา
 
Minibook bio 834 group 5
Minibook bio 834 group 5Minibook bio 834 group 5
Minibook bio 834 group 5
 
Root oui
Root ouiRoot oui
Root oui
 
Mini5
Mini5Mini5
Mini5
 
Bio project m.5 group10
Bio project m.5 group10Bio project m.5 group10
Bio project m.5 group10
 
Hibiscus, frangipani ,and white champaka group2 m.5/834
Hibiscus, frangipani ,and white champaka group2 m.5/834Hibiscus, frangipani ,and white champaka group2 m.5/834
Hibiscus, frangipani ,and white champaka group2 m.5/834
 
001 3
001 3001 3
001 3
 

Stem structure and function

  • 1. โรงเรียนมหิดลวิทยานุสรณ์ (องค์การมหาชน) สาขาวิชาชีววิทยา เอกสารประกอบการสอนวิชาชีววิทยา 4 (ว 40144) ปีการศึกษา 2549 โครงสร้างและหน้าที่ของลาต้น 23 โครงสร้างและหน้าที่ของลาต้น 1. ลักษณะทั่วไปของลาต้น ลาต้น(stem) เป็นอวัยวะของพืชซึ่งส่วนใหญ่จะเจริญขึ้นมาเหนือดินแต่ก็มีพืชบางชนิดที่ลาต้นอยู่ใต้ ดิน ลาต้นประกอบด้วยส่วนสาคัญ 2 ส่วนคือ 1. ข้อ(node) เป็นส่วนของลาต้นที่มีตา(bud)ซึ่งจะเจริญไปเป็นกิ่ง ดอก หรือใบ 2. ปล้อง(internode) เป็นส่วนของลาต้นที่อยู่ระหว่างข้อ พืชใบเลี้ยงเดี่ยวจะสังเกตส่วนของข้อปล้องได้อย่างชัดเจนตลอดชีวิต เช่น ต้นไผ่ ต้นอ้อย ข้าวโพด เป็นต้น ส่วนพืชใบเลี้ยงคู่นั้นส่วนใหญ่แล้วข้อปล้องจะสังเกตได้ไม่ชัดเจนทั้งนี้เพราะเมื่อ เจริญเติบโตเต็มที่แล้วมักจะมีเนื้อเยื่อชั้นคอร์ก(cork) มาหุ้มโดยรอบเอาไว้ การจะสังเกตอาจจะสังเกตใน ขณะที่พืชยังอ่อนอยู่ แต่ก็ยังมีพืชใบเลี้ยงคู่บางชนิดที่สามารถสังเกตเห็นข้อปล้องได้อย่างชัดเจนตลอดชีวิต เหมือนพืชใบเลี้ยงเดี่ยว ได้แก่พวกไม้ล้มลุกต่างๆ เช่น ต้นตาลึง ฟักทอง และผักบุ้ง เป็นต้น 2.โครงสร้างภายในของลาต้น 2.1 โครงสร้างภายในของปลายยอดพืช บริเวณปลายยอดพืชสามารถแบ่งออกเป็นบริเวณ(region/zone) ได้ทั้งหมด 3 บริเวณด้วยกันคือ 2.1.1 บริเวณเซลล์แบ่งตัว(region of cell division) 2.1.2 บริเวณเซลล์ยืดตัว(region of cell elongation) 2.1.3 บริเวณเซลล์เจริญเต็มที่ (region of maturation) รูปที่ 31 ปลายยอดพืช (ที่มา http://www.bio.miami.edu/dana/160/stemtip.jpg)
  • 2. โรงเรียนมหิดลวิทยานุสรณ์ (องค์การมหาชน) สาขาวิชาชีววิทยา เอกสารประกอบการสอนวิชาชีววิทยา 4 (ว 40144) ปีการศึกษา 2549 โครงสร้างและหน้าที่ของลาต้น 24 2.2 โครงสร้างภายในของลาต้นที่ตัดตามขวาง เมื่อนาปลายยอดของพืชมาตัดตามขวางบริเวณเซลล์เจริญเต็มที่จะพบว่าโครงสร้างภายใน ประกอบด้วยเนื้อเยื่อชนิดต่างๆตามแต่ชนิดของพืชโดยแบ่งได้ดังนี้ 2.2.1 โครงสร้างภายในของลาต้นพืชใบเลี้ยงคู่ 1. epidermis เป็นเนื้อเยื่อที่อยู่ชั้นนอกสุด ทาหน้าที่ป้องกันอันตรายให้แก่เนื้อเยื่อภายในของลาต้น ส่วนใหญ่ เซลล์เรียงตัวเพียงชั้นเดียว พืชบางชนิด epidermis มีการเปลี่ยนแปลงไปเป็นส่วนของ trichome / hair และ guard cell ในต้นพืชที่อายุมากส่วนใหญ่แล้วส่วนของ epidermis จะหลุดหายไปเพราะถูกแทนที่ด้วยส่วนของ คอร์ก 2. cortex (คอร์เทกซ์) คอร์เทกซ์เป็นชั้นของลาต้นที่มีอาณาเขตตั้งแต่ใต้ epidermis เข้ามาจนถึงเนื้อเยื่อเอนโดเดอมิส (endodermis) ดังนั้นในชั้นคอร์เทกซ์จึงประกอบด้วยเนื้อเยื่อชนิดต่างๆได้แก่ 2.1 parenchyma เป็นเนื้อเยื่อส่วนใหญ่ที่พบภายในลาต้น 2.2 chlorenchyma ทาหน้าที่ช่วยในกระบวนการสังเคราะห์ด้วยแสง 2.3 aerenchyma ทาหน้าที่เกี่ยวข้องกับการสะสมอากาศ โดยเฉพาะพืชน้า 2.4 collenchyma เพิ่มความแข็งแรงให้แก่ลาต้น 2.5 sclerenchyma(fiber) ให้ความแข็งแรงแก่ลาต้น 3. stele (สตีล) สตีลเป็นชั้นที่ถัดเข้ามาจากชั้นคอร์เทกซ์ โดยมีอาณาเขตตั้งแต่ใต้ endodermis เข้ามาจนถึงใจกลาง ของลาต้น แต่เนื่องจากในลาต้นเนื้อเยื่อ endodermis ส่วนใหญ่เห็นได้ไม่ชัดเจนหรือหนังสือบางเล่มก็กล่าว ว่าในลาต้นจะไม่มีเนื้อเยื่อ endodermis ทาให้ชั้นสตีลในลาต้นแบ่งแยกออกจากชั้นคอร์เทกซ์ได้ไม่ชัดเจน เหมือนในส่วนของรากพืช ภายในชั้นสตีลจะประกอบด้วยเนื้อเยื่อที่สาคัญคือ 3.1 vascular bundle หมายถึงกลุ่มของเนื้อเยื่อที่ทาหน้าที่เกี่ยวข้องกับการลาเลียง ภายในเนื้อเยื่อ vascular bundle ของพืชใบเลี้ยงคู่ประกอบด้วย กลุ่มเนื้อเยื่อลาเลียงอาหาร(phloem)เรียงตัวอยู่ ทางด้านนอกและกลุ่มเนื้อเยื่อลาเลียงน้า(xylem)เรียงตัวอยู่ทางด้านในหรือด้านที่ติดกับ pith ระหว่าง xylem
  • 3. โรงเรียนมหิดลวิทยานุสรณ์ (องค์การมหาชน) สาขาวิชาชีววิทยา เอกสารประกอบการสอนวิชาชีววิทยา 4 (ว 40144) ปีการศึกษา 2549 โครงสร้างและหน้าที่ของลาต้น 25 กับ phloem จะมีเนื้อเยื่อเจริญที่เรียกว่า vascular cambium คั่นกลางอยู่ทาหน้าที่แบ่งเซลล์เพื่อให้กาเนิด xylem และ phloem 3.2 pith เป็นเนื้อเยื่อที่อยู่ส่วนกลางของลาต้น ส่วนใหญ่เป็นเนื้อเยื่อประเภท parenchyma จึงทาหน้าที่ในการสะสมสารต่างๆ ลาต้นของพืชใบเลี้ยงคู่บางชนิดเนื้อเยื่อในส่วนนี้อาจสลาย ไปกลายเป็นช่องกลวงกลางลาต้น เรียกช่องนี้ว่า pith cavity รูปที่ 32 ลาต้นพืชใบเลี้ยงคู่ตัดตามขวาง (ที่มา http://pck.bio.ncue.edu.tw/pckweb/database/data2/pkdata/newpic/dicot%20stem2.jpg) รูปที่ 33 ลาต้นพืชใบเลี้ยงคู่แสดงส่วนของท่อลาเลียง ( ที่มา http://fig.cox.miami.edu/~tkoop/spring00/DicotStem.gif)
  • 4. โรงเรียนมหิดลวิทยานุสรณ์ (องค์การมหาชน) สาขาวิชาชีววิทยา เอกสารประกอบการสอนวิชาชีววิทยา 4 (ว 40144) ปีการศึกษา 2549 โครงสร้างและหน้าที่ของลาต้น 26 2.2.2 โครงสร้างภายในของลาต้นพืชใบเลี้ยงเดี่ยว 1. epidermis เป็นเนื้อเยื่อที่อยู่ชั้นนอกสุด ทาหน้าที่ป้องกันอันตรายให้แก่เนื้อเยื่อภาย ในของลาต้น ส่วนใหญ่เซลล์เรียงตัวเพียงชั้นเดียวและมีอยู่ตลอดไป ยกเว้นใน ต้นพืชตระกูลปาล์มจะมี เฉพาะในปีแรกเท่านั้นเพราะต่อมาจะมีเนื้อเยื่อคอร์ก (cork) มาแทน 2. cortex มีเนื้อเยื่อบางๆ1-2 ชั้น ส่วนใหญ่เป็นเนื้อเยื่อชนิด parenchyma และส่วนใหญ่ไม่พบ endodermis ทา ให้อาณาเขตแบ่งได้ไม่ชัดเจน 3. stele 3.1 vascular bundle กลุ่มของเนื้อเยื่อลาเลียงของพืชใบเลี้ยงเดี่ยว ส่วนของ xylem, phloem จะเรียงตัวกันมองคล้ายๆ ใบหน้าคน มีส่วนของ vessel อยู่บริเวณคล้ายดวงตา ส่วน phloem อยู่บริเวณคล้ายหน้าผาก xylem และ phloem จะถูกล้อมรอบด้วยเนื้อเยื่อ parenchyma หรืออาจเป็น sclerenchyma และเรียกเซลล์ที่มาล้อมรอบนี้ ว่า bundle sheath vascular bundle ของพืชใบเลี้ยงเดี่ยวส่วนใหญ่ไม่พบเนื้อเยื่อเจริญ vascular cambium ยกเว้นหมาก ผู้หมากเมีย และพืชตระกูลปาล์ม 3.2 pith เป็นเนื้อเยื่อที่อยู่ส่วนกลางของลาต้น ส่วนใหญ่เป็นเนื้อเยื่อประเภท parenchyma พืชใบเลี้ยงเดี่ยว บางชนิด เช่น ข้าวโพด ในเนื้อเยื่อของ pith นี้จะพบ vascular bundle กระจายอยู่เต็ม นอกจากนี้พืชบางชนิด เนื้อเยื่อในส่วนนี้อาจสลายไปกลายเป็นช่องกลวงกลางลาต้น เรียกว่า pith cavity เช่นต้นไผ่ ต้นข้าวเป็นต้น รูปที่ 34 ลาต้นพืชใบเลี้ยงเดี่ยวแสดงส่วนของท่อลาเลียง ( ที่มา http://www.science.smith.edu/~mmarcotr/Hortwebpage-fall/Images/overheads/monocotstemxs.jpg)
  • 5. โรงเรียนมหิดลวิทยานุสรณ์ (องค์การมหาชน) สาขาวิชาชีววิทยา เอกสารประกอบการสอนวิชาชีววิทยา 4 (ว 40144) ปีการศึกษา 2549 โครงสร้างและหน้าที่ของลาต้น 27 1.3 ชนิดของลาต้น โดยทั่วไปสามารถจาแนกลาต้นออกเป็น 2 ชนิดใหญ่ๆด้วยกันคือ 1. ลาต้นเหนือดิน(aerial stem/terrestrial stem) 1.1 creeping stem คือลาต้นที่ทอดหรือเลื้อยขนานไปตามผิวดินหรือผิวน้า เช่น ผักบุ้ง ผักกระเฉด ฟักทอง สตรอเบอรี่ และหญ้า เป็นต้น รูปที่ 35 creeping stem(1) ( ที่มา http://www.turf.uiuc.edu/weed_web/groundivy/groundivy_runner1.jpg) รูปที่ 36 creeping stem(2) ( ที่มา http://www.vcbio.sci.kun.nl/public/Final-Images/PL_Final685z_301- 350/PL0340_685zRanunculusreptansHabitus.jpg)
  • 6. โรงเรียนมหิดลวิทยานุสรณ์ (องค์การมหาชน) สาขาวิชาชีววิทยา เอกสารประกอบการสอนวิชาชีววิทยา 4 (ว 40144) ปีการศึกษา 2549 โครงสร้างและหน้าที่ของลาต้น 28 1.2 climbing stem คือลาต้นที่ไต่ขึ้นที่สูงโดยวิธีใดวิธีหนึ่ง ถ้ามีหลักหรือต้นไม้ที่ลาต้นตั้งตรงอยู่ใกล้ๆจะถูกใช้ไต่ขึ้นไป แบ่งออกเป็น 1.2.1 twining stem ลาต้นไต่ขึ้นที่สูงโดยใช้ลาต้นพันกับหลักเป็นเกลียว เช่น เถาวัลย์ ต้นถั่ว บอระเพ็ด ฝอยทอง เป็นต้น 1.2.2 stem tendril ลาต้นไต่ขึ้นที่สูงโดยใช้ส่วนของลาต้นดัดแปลงไปเป็นมือเกาะ(tendril) เพื่อ พันหรือไต่ขึ้นที่สูง ส่วนของ tendril จะบิดเป็นเกลียวคล้ายสปริงเพื่อให้ยืดหยุ่น เช่น ต้น องุ่น บวบ แตงกวา กระทกรก โคกกระออม พวงชมพู เป็นต้น 1.2.3 root climber ลาต้นไต่ขึ้นที่สูงโดยใช้รากซึ่งออกมาตามข้อ ยึดหลักหรือต้นไม้ เช่น ต้น พริกไทย พลู และพลูด่าง เป็นต้น 1.2.4 stem spine / stem thorn ลาต้นที่ดัดแปลงไปเป็นหนามหรือขอเกี่ยว (hook) เพื่อไต่ขึ้นที่ สูง เช่น ต้นเฟื้องฟ้า ไผ่ ไมยราบ และพืชตระกูลส้ม เป็นต้น รูปที่ 37 twining stem และ tendril ในพืช (ที่มา http://www.missouriplants.com/Bluealt/Pueraria_lobata_stem.jpg http://www.pharm.chula.ac.th/vichien/morpho45/stemclim.htm )
  • 7. โรงเรียนมหิดลวิทยานุสรณ์ (องค์การมหาชน) สาขาวิชาชีววิทยา เอกสารประกอบการสอนวิชาชีววิทยา 4 (ว 40144) ปีการศึกษา 2549 โครงสร้างและหน้าที่ของลาต้น 29 รูปที่ 38 ลาต้นไต่ขึ้นที่สูงโดยใช้ราก (root climber) (ที่มา http://www.pharm.chula.ac.th/vichien/morpho45/stemclim.htm ) รูปที่ 39 ลาต้นไต่ขึ้นที่สูงโดยใช้ขอเกี่ยว(hook) (ที่มา http://www.pharm.chula.ac.th/vichien/morpho45/stemclim.htm ) 1.3 cladophyll / phylloclade / cladode คือลาต้นที่เปลี่ยนแปลงไปมีลักษณะหรือหน้าที่คล้ายใบ เช่น ลาต้นแป็นแผ่นแบน หรือมีสีเขียว ของคลอโรฟีลล์ ได้แก่ กระบองเพชร พญาไร้ใบ หน่อไม้ฝรั่ง โปร่งฟ้า เป็นต้น รูปที่ 40 ลาต้นที่สังเคราะห์ด้วยแสงคล้ายใบ(cladophyll) (ที่มา http://botany.cs.tamu.edu/FLORA/dcs420/mi06/mi06096.jpg)
  • 8. โรงเรียนมหิดลวิทยานุสรณ์ (องค์การมหาชน) สาขาวิชาชีววิทยา เอกสารประกอบการสอนวิชาชีววิทยา 4 (ว 40144) ปีการศึกษา 2549 โครงสร้างและหน้าที่ของลาต้น 30 1.4 bulbil / crown / slip คือลาต้นที่เป็นตาหรือหน่อเล็กๆ สั้นๆ ที่ประกอบด้วยยอดอ่อนและใบเล็กๆ 2-3 ใบ แตกออก ระหว่างซอกใบกับลาต้น หรือแตกออกจากยอดของลาต้นแทนดอก เมื่อมันหลุดร่วงลงดินก็ สามารถเจริญเป็นต้นใหม่ได้ เช่น หอม กระเทียม สับปะรด เป็นต้น (อ่านความรู้เพิ่มเติมเรื่องการขยายพันธุ์สับปะรดที่หน้า 32) รูปที่ 41 ลาต้นสับปะรด (ที่มา http://www.learning.cmri.ac.th/courseware/tree/picture/subparod1.jpg) 2. ลาต้นใต้ดิน (underground stem) 2.1 rhizome ลาต้นใต้ดินที่เรียกกันว่า แง่ง หรือเหง้า ส่วนใหญ่ขนานกับพื้นดิน มีข้อปล้องเห็นได้ชัดเจน ตามข้อมี ใบที่เป็นแปลงเป็นสีน้าตาล ได้แก่ ขิง ข่า ขมิ้น บางชนิดอาจตั้งตรง เช่น กล้วย พุทธรักษา เป็นต้น รูปที่ 42 ลาต้นข่าและขิง (ที่มา http://www.herblpg.com/images/kar_100m.jpg และ www.phuketjettour.com/herbs/images/king.jpg)
  • 9. โรงเรียนมหิดลวิทยานุสรณ์ (องค์การมหาชน) สาขาวิชาชีววิทยา เอกสารประกอบการสอนวิชาชีววิทยา 4 (ว 40144) ปีการศึกษา 2549 โครงสร้างและหน้าที่ของลาต้น 31 2.2 tuber ลาต้นใต้ดินที่สะสมอาหาร ทาให้อวบอ้วน แต่บริเวณที่เป็นตาจะไม่อ้วนออกมาด้วยทาให้เห็นเป็นรอย บุ๋ม ได้แก่ มันฝรั่ง เป็นต้น รูปที่ 43 มันฝรั่ง (ที่มา http://www.wegmans.com/kitchen/ingredients/produce/vegetables/images/potato.jpg) 2.3 bulb ลาต้นใต้ดินที่ลาต้นเล็กมีปล้องสั้นมาก ตามปล้องมีใบเกล็ดซ้อนกันหลายๆชั้น ห่อหุ้มลาต้นเอาไว้และ สะสมอาหาร เช่น หอม กระเทียม เป็นต้น รูปที่ 44 หัวหอม (ที่มาhttp://mall.curiocity.com/curioshop/shop/00752/onion.jpg,www.eslkidstuff.com/images/onion.gif) 2.4 corm เป็นลาต้นใต้ดินที่ตั้งตรงเช่นเดียวกับ bulb มีลักษณะคล้ายกันแต่เก็บสะสมอาหารไว้ในลาต้นจนทาให้ เห็นลาต้นอวบอ้วน ตามข้อมีใบเกล็ดบางๆหุ้ม มีตางอกตามข้อ เช่น เผือก แห้วจีน เป็นต้น รูปที่ 45 เผือก (ที่มา http://www.mju.ac.th/fac-agr/hort/vegetable/veg_image/taro.jpg)
  • 10. โรงเรียนมหิดลวิทยานุสรณ์ (องค์การมหาชน) สาขาวิชาชีววิทยา เอกสารประกอบการสอนวิชาชีววิทยา 4 (ว 40144) ปีการศึกษา 2549 โครงสร้างและหน้าที่ของลาต้น 32 ความรู้เพิ่มเติมเรื่องการขยายพันธุ์สับปะรด ส่วนต่าง ๆ ที่ใช้ในการขยายพันธุ์สับปะรด มีดังนี้ 1. หน่อดิน เกิดจากตาที่อยู่ในบริเวณลาต้นใต้ดิน ซึ่งจะเริ่มแทงขึ้นมาพ้นผิวดินหลังจากเกิดการสร้างดอก แล้ว มีจานวนน้อย รูปทรงเล็กเรียว ใบยาวกว่าหน่อข้าง 2. หน่อข้าง เกิดจากตาที่พักตัวอยู่บนลาต้นในบริเวณโคนใบ หน่อข้างเหล่านี้จะมีน้าหนักต่างกันไปตั้งแต่ 0.5-1 กิโลกรัม ให้ผลเมื่อมีอายุ 14-18 เดือน ใช้ขยายพันธุ์ได้ดี 3. ตะเกียง เกิดจากตาบนก้านผลที่อยู่ในบริเวณโคนผล ตะเกียงมีน้าหนักเฉลี่ยทั่วไปอยู่ระหว่าง 0.3-0.5 กิโลกรัม ให้ผลเมื่อมีอายุ 18-20 เดือน 4. จุก เติบโตขึ้นเหนือผลสับปะรดหลังจากดอกโรยไปแล้วจุกจะมีน้าหนักทั่วไปตั้งแต่ 0.075-0.2 กิโลกรัม ให้ผลตามธรรมชาติเมื่ออายุ 22-24 เดือน เมื่อเก็บผลสับปะรดก็จะปลิดจุกออกจากผล และหลังจากเก็บเกี่ยวผลไปแล้วประมาณ 6 สัปดาห์ ก็จะปลิด หน่อออกจากต้น หน่อที่มีขนาดเหมาะแก่การขยายพันธุ์คือ มีความยาวประมาณ 50-75 เซนติเมตรหลังจาก เก็บหน่อ, ตะเกียงหรือจุกมาแล้ว ให้นามาผึ่งแดดโดยคว่ายอดลงสู่พื้นดิน ให้โคนแผลได้รับแสงแดดจนรอย แผลแห้งรัดตัวเป็นการฆ่าเชื้อโรคด้วย แล้วนามามัดรวมกันเป็นกองเพื่อรอการปลูกหรือนาไปขายต่อไป ก่อนปลูกต้องลอกกาบใบล่างออก 3-4 ชั้น เพื่อให้รากแทงออกมาได้สะดวกและเร็วขึ้น (ที่มา http://web.ku.ac.th/agri/pineapple/pine05.htm ) เอกสารอ้างอิง เกษม ศรีพงษ์. คู่มือเตรียมสอบ ชีววิทยา ม.5 เล่ม 3 ว 049. สานักพิมพ์ภูมิบัณฑิต. กรุงเทพมหานคร. เชาวน์ ชิโนรักษ์ และพรรณี ชิโนรักษ์. 2541. ชีววิทยา 3. สานักพิมพ์ศิลปาบรรณาคาร. กรุงเทพมหานคร. ปรีชา สุวรรณพินิจและนงลักษณ์ สุวรรณพินิจ. คู่มือเตรียมสอบ ชีววิทยา 3 ว 049 . บริษัทไฮเอ็ด พลับลิชชิ่ง จากัด. กรุงเทพมหานคร. ประสงค์ หลาสะอาด และจิตเกษม หลาสะอาด. ชีววิทยา ม. 5 ว 049. สานักพิมพ์ พ.ศ. พัฒนา จากัด. กรุงเทพมหานคร. พัชรี พิพัฒวรรณกุล. 2542. หนังสือเสริมประสบการณ์ ชีววิทยา 3 ชั้น ม. 5 (ว 049). สานักพิมพ์ ฟิสิกส์เซ็นเตอร์. กรุงเทพมหานคร.