SlideShare une entreprise Scribd logo
1  sur  37
Télécharger pour lire hors ligne
C Programming
Overview of C Programming
2
1. เครื่องคอมพิวเตอร์เป็นอุปกรณ์อิเล็กทรอนิกส์อย่างหนึ่ง โดยการให้
เครื่องคอมพิวเตอร์ทางานจะต้องป้ อนคาสั่งให้กับมัน และต้องเป็นคาสั่งที่
เครื่องคอมพิวเตอร์เข้าใจ
2. การนาคาสั่งมาเรียงต่อกันให้ทางานอย่างใดอย่างหนึ่งเรียกว่า โปรแกรม
เมื่อโปรแกรมถูกป้ อนเข้าไปในเครื่องคอมพิวเตอร์ ตัวเครื่องจะทางานทีละ
คาสั่ง
3. สาหรับการใช้คาสั่งสั่งงานให้คอมพิวเตอร์ทางานนั้นจะต้องใช้ภาษาที่
คอมพิวเตอร์รหัสเลขฐานสอง เมื่อมีการป้ อนภาษานี้เข้าไปในเครื่อง
คอมพิวเตอร์ รหัสเลขฐานสองจะถูกเปลี่ยนเป็นสัญญาณทางไฟฟ้ าที่
คอมพิวเตอร์เข้าใจ
ทำไมต้องเขียนโปรแกรมคอมพิวเตอร์
3
การออกแบบตัวอักษรภาษาอังกฤษให้แทนคาสั่งรหัสเลขฐานสอง เรียกว่า
รหัสนีโมนิก
ภำษำคอมพิวเตอร์
เลขฐานสอง
ภาษาระดับสูง ได้แก่ ภาษาเบสิก ภาษาซี ภาษาปาสคาล โคบอล เป็นต้น
ภาษาระดับต่า ได้แก่ ภาษาแอสเซมบลี
ภาษาสมัยใหม่ ได้แก่ VisualBasic, Visual C, Java, PHP , Paul
4
ภำษำ
BCPL
ภำษำ
B
ภำษำ
C
บนเครื่อง
PDP-7
(UNIX)
พ.ศ. 2513
พ.ศ. 2515
โดย เดนนิช ริทชี่
Basic Combined
Programming
Language
ประวัติควำมเป็ นมำภำษำ ซี
5
ภำษำซี (C Language)
เป็นภาษาระดับสูง
ไม่ขึ้นกับระบบปฏิบัติการ (OS)
ไม่ขึ้นกับชนิดของเครื่องคอมพิวเตอร์
เป็นภาษาโครงสร ้าง (Structure Language)
คุณสมบัติ
6
โครงสร้ำงของโปรแกรมภำษำซี
1. ส่วนประมวลผลก่อน
2. ส่วนประกาศส่วนกลาง
3. ส่วนต ้นแบบฟังก์ชั่น
4. ส่วนของฟังก์ชั่น
โครงสร้ำงประกอบด้วย
ส่วนประมวลผลก่อน
ส่วนประกาศส่วนกลาง
ส่วนของฟังก์ชัน
ส่วนต ้นแบบฟังก์ชัน
7
ส่วนที่ 1 เป็นส่วนที่ระบุให้ซีคอมไพเลอร์เตรียมการทางานที่
กาหนดในส่วนนี้ไว้ โดยหน้าคาสั่งจะมีเครื่องหมาย # เช่น
เป็นการระบุให้นาไฟล์ stdio.h มารวมกับไฟล์นี้
เพื่อที่จะสามารถใช้คาสั่งที่อยู่ในไฟล์นี้มาใช้งานได้
หรือ
เป็นการกาหนดค่าคงที่ให้กับตัวแปร START
โดยให้มีค่าเป็น 0
หรือ
เป็นการกาหนดให้ตัวแปร temp มีค่าเท่ากับ 37
#include <stdio.h>
ส่วนประมวลผลก่อน
#define START 0
#define temp 37
8
ส่วนที่ 2 declaration เป็ นกำรกำหนดชนิดข้อมูลที่จะใช้ใน
โปรแกรมซึ่งตัวแปรหรือข้อมูลต่ำง ๆ นั้นจะต้องถูกประกำศ
ในส่วนนี้ก่อน จึงจะสำมำรถนำไปใช้ในโปรแกรมได้ เช่น
เป็ นกำรกำหนดว่ำตัวแปร name เป็ นข้อมูลชนิดตัวอักษร
หรือ ข้อควำม เป็ นต้น
ส่วนประกำศส่วนกลำง
char name;
9
เป็ นกำรกำหนดว่ำตัวแปร stdno เป็ นข้อมูลชนิดจำนวนเต็ม
หรือ interger ซึ่งอำจได้แก่ค่ำ 0,4,-1,-3,…. เป็ นต้น
เป็ นกำรกำหนดว่ำตัวแปร score เป็ นข้อมูลชนิดเลขมีจุด
ทศนิยม (floating point)ซึ่งอำจมีค่ำ 0.23, 1.34 เป็ นต้น
ส่วนประกำศส่วนกลำง
int stdno;
float score;
10
ส่วนที่ 3 เป็ นส่วนที่ใช้กำหนดว่ำมีฟังก์ชั่นอะไรบ้ำง และมีกำร
ประกำศพำรำมิเตอร์อย่ำงไร เช่น
เป็ นกำรประกำศฟังก์ชั่นต้นแบบสำหรับฟังก์ชั่นชื่อ main
เป็นการประกาศฟังก์ชั่นต้นแบบสาหรับพังก์ชั่นชื่อ main โดยมีค่าที่
ส่งกลับเป็นชนิด interger และไม่มีการส่งค่าเข้าไปในฟังก์ชั่นนี้
ส่วนประกำศต้นแบบฟังก์ชั่น
main ( )
int main ( void );
11
ส่วนที่ 4 เป็ นส่วนที่ใช้กำหนดรำยละเอียดของแต่ละฟังก์ชั่น
ว่ำมีลักษณะกำรทำงำนเป็ นอย่ำงไรบ้ำง รับค่ำใดเข้ำไปใน
ฟังก์ชั่นบ้ำง และส่งค่ำกลับเป็ นอะไร เช่น
เป็ นกำรประกำศฟังก์ชั่นชื่อ main ตำมฟังก์ชั่นต้นแบบ
สำหรับฟังก์ชั่น main นี้ไม่มีกำรรับค่ำเข้ำในฟังก์ชั่น แต่เมื่อ
ทำงำนเสร็จแล้วจะส่งค่ำกลับมำเป็ น 0
ส่วนประกำศฟังก์ชั่น
int main ( void )
{
printf ( “Hello World n” );
return (0);
}
12
กฎเกณฑ์ของโปรแกรมภำษำซี
ประกอบด ้วยส่วนย่อย ๆ โดยใช ้ปีกกา ({ })
เป็นตัวกาหนดขอบเขต
ฟังก์ชั่นแรกต ้องเป็น main() เสมอ
ใช ้เครื่องหมาย ; (semi colon) เป็นตัวกาหนดการ
สิ้นสุดของคาสั่ง
ใช ้อักษรตัวเล็กในการเขียนโปรแกรม
ใช ้เครื่องหมาย , (comma) เป็นตัวคั่นตัวแปรและ
พารามิเตอร์
 ใช ้เครื่องหมาย /* */ เป็นการกาหนดข ้อความ ที่ไม่
ต ้องการให ้คอมไพเลอร์ปฏิบัติงาน
กฎเกณฑ์ (Rules)
13
//Program name file.c
#include <stdio.h>
#include <stdlib.h>
type variable;
main ()
{
..............;
..............;
system(“pause”);
}
โครงสร้างโปรแกรม
14
แบบข้อมูลหรือชนิดของตัวแปรต่ำง ๆ ที่กำหนดไว้
ในภำษำซีประกอบด้วย
char ชนิดของตัวอักษรหรืออักขระ
int ชนิดจำนวนเต็มปกติ
short ชนิดจำนวนเต็มปกติ
long ชนิดจำนวนเต็มที่มีควำมยำวเป็ น
2 เท่ำ
unsigned ชนิดของเลขที่ไม่คิดเครื่องหมำย
float ชนิดเลขมีจุดทศนิยม
double ชนิดเลขที่มีจุดทศนิยมควำมยำว
เป็ น 2 เท่ำ
ชนิดและแบบของข้อมูลในภำษำซี
15
ชนิดข ้อมูล เนื้อที่สาหรับเก็บ
(ไบต์)
ค่าตัวเลขที่เก็บ
Char 1 เก็บตัวอักษร ASCII ได ้1 ตัวหรือจานวนเต็ม
ระหว่าง 0 ถึง 255
Int 2 ค่าตัวเลขระหว่าง –32768 ถึง 32767
Short 2 ค่าตัวเลขระหว่าง –32768 ถึง 32767
Long 4 ค่าตัวเลขประมาณ 
2000 ล ้าน
Unsigned Unsigned short = 2
Unsigned long = 4
ค่าตัวเลขระหว่าง 0 ถึง 65535
ค่าตัวเลขระหว่าง 0 ถึง 4000 ล ้าน
Float 4 ได ้ค่าตัวเลขยกกาลัง 10x
โดย x มีค่าระหว่าง
–37 ถึง +38
Double 8 ความถูกต ้องของตัวเลขจะมีค่าสูงขึ้น
ตำรำงแสดงเนื้อที่ในหน่วยควำมจำของชนิดข้อมูล
16
ในกำรเขียนโปรแกรม แบบข้อมูลที่ใช้จะแบ่ง
ออกเป็ น 4 กลุ่มใหญ่ ๆ ดังนี้
ข้อมูลและตัวแปรชนิดอักขระ
ข้อมูลและตัวแปรชนิดจำนวนเต็ม
ข้อมูลและตัวแปรชนิดเลขมีจุดทศนิยม
ข้อมูลและตัวแปรแบบสตริง
ชนิดและแบบของข้อมูลในภำษำซี
17
อักขระแทนด้วย char โดยอยู่ภำยในเครื่องหมำย
‘ ’ เช่น ‘a’ , ‘A’ , ‘9’
อักขระพิเศษบำงตัวไม่สำมำรถให้ค่ำได้โดยตรง แต่
จะให้ค่ำเป็ นรหัส ASCII ซึ่งจะเขียนในรูปของเลข
ฐำนแปด เช่น รหัส BELL แทนด้วย ASCII 007
เขียนแทนด้วย BELL=‘007’ หรือรหัสควบคุมกำร
ขึ้นบรรทัดใหม่ ตัวอักขระที่กำหนดให้กับรหัส
คือ n สำมำรถกำหนดเป็ น newline = ‘n’;
ชนิดข้อมูลชนิดอักขระ
18
จำนวนเต็มในภำษำซีสำมำรถใช้แทนได้ 4 รูปแบบ
คือ int, short, long และ unsigned
กำรกำหนดตัวแปรแบบ unsigned คือจำนวนเต็ม
ที่ไม่คิดเครื่องหมำย ซึ่งจะต้องใช้ควบคู่กับรูปแบบ
ข้อมูลจำนวนเต็มชนิดอื่น คือ int , short หรือ
long เช่น
ชนิดข้อมูลของเลขจำนวนเต็ม
unsigned int unsigned short
19
กำรกำหนดขนิดข้อมูลเลขจุดทศนิยมสำมำรถ
กำหนดได้ 2 แบบ คือ float , double
โดย double เก็บค่ำได้เป็ น 2 เท่ำของ float ตัวเลข
แบบนี้นิยมใช้กับงำนทำงวิทยำศำสตร์ที่ต้องกำร
ควำมละเอียดในกำรเก็บค่ำ
กำรเก็บข้อมูลในรูปแบบนี้ คือ เก็บแบบเอ็กโพเนนซ์
ดังตัวอย่ำงต่อไปนี้
ตัวเลข แสดงแบบเอ็กโพเนนซ์ แสดงแบบวิทยำศำสตร์
9,000,000,000 9.0*109 9.0e9
345,000 3.45*105 3.45e5
0.00063 6.3*10-4 6.3e-4
0.00000924 9.24*10-6 9.24e-6
ชนิดข้อมูลของเลขมีจุดทศนิยม
20
สตริงหมำยถึงกำรนำตัวอักขระหลำยตัวมำประกอบ
กันเป็ นข้อควำม
จะเรียกว่ำ array หรือแถวลำดับของตัวอักขระ
นั่นเอง
ในกำรใช้งำนชนิดข้อมูลแบบสตริงนั้นอักขระตัว
สุดท้ำยจะเก็บรหัส null คือ 0 หมำยถึงจุดจบของ
ข้อควำม เช่น
ชนิดข้อมูลแบบสตริง
H e l l o 0
1 2 3 4 5 6
21
ตัวแปร คือ กำรจองเนื้อที่ในหน่วยควำมจำและตั้งชื่อไว้
เพื่อเรียกใช้งำนในขณะปฏิบัติงำน กำรกำหนดชื่อตัว
แปร มีหลักกำรดังนี้
1. ต้องขึ้นต้นด้วยตัวอักษร
2. ห้ำมใช้เครื่องหมำยทำงคณิตศำสตร์ในชื่อ
ตัวแปร
3. สำมำรถใช้เครื่องหมำย underline ‘_’ ได้
4. ห้ำมใช้ reserved words เช่น int, float,etc.
ตัวแปรในภำษำซี
22
กำรประกำศชื่อตัวแปรในภำษำซีสำมำรถทำได้ดังนี้
กำรประกำศตัวแปรในภำษำซี
<ชนิดข้อมูล> <ชื่อตัวแปร>;
ตัวอย่ำงเช่น
char ch;
int num;
float width;
double height;
unsigned int a;
long int b;
23
กำรเขียนประโยคคำสั่งในภำษำซี แต่ละคำสั่งจะ
ประกอบด้วย ตัวระบุ (Identifier) คำสงวน ตัวแปร
ชื่อฟังก์ชั่น และตัวดำเนินกำร (operator) ต่ำง ๆ
แต่ละคำสั่งจบลงด้วยเครื่องหมำยอัฒภำค (;) เช่น
กำรเขียนประโยคคำสั่ง
printf ( “Hello” );
printf ( “ C n” );
อำจเขียนในบรรทัดเดียวกันก็ได้ เช่น
printf ( “Hello” );printf ( “ C n” );
ทั้งสองแบบให้ผลลัพธ์เหมือนกัน
24
กำรแสดงผลลัพธ์ในภำษำซีจะใช้ฟังก์ชั่น printf
โดยที่ฟังก์ชั่น printf มีรูปแบบดังนี้
o ส่วนควบคุมกำรพิมพ์ จะเป็ นข้อควำมและรูปแบบ
ของกำรพิมพ์โดยอยู่ในเครื่องหมำย “ ”
o อำร์กิวเมนต์ เป็ นส่วนที่จะนำข้อมูลมำพิมพ์
ตำมรูปแบบที่กำหนดมำในส่วนควบคุมกำรพิมพ์
กำรแสดงผลลัพธ์ในภำษำซี
printf( ส่วนควบคุมกำรพิมพ์, อำร์กิวเมนต์, …)
25
รูปแบบกำรพิมพ์สำหรับตัวเลขมีดังนี้
%d พิมพ์ข้อมูลจำนวนเต็มด้วยเลขฐำนสิบ
%o พิมพ์ข้อมูลด้วยเลขฐำนแปด
%x พิมพ์ข้อมูลด้วยเลขฐำนสิบหก
%u พิมพ์ข้อมูลด้วยเลขฐำนสิบแบบไม่คิด
เครื่องหมำย
%e พิมพ์ข้อมูลด้วยตัวเลขแบบวิทยำศำสตร์
เช่น 2.13e45
%f พิมพ์ข้อมูลด้วยตัวเลขมีจุดทศนิยม
%g พิมพ์ข้อมูลด้วยรูปแบบ %e หรือ %f
โดยเลือกแบบที่สั้นที่สุด
รูปแบบที่ใช้กำหนดกำรพิมพ์ใน printf
26
รูปแบบกำรพิมพ์สำหรับสตริงมีดังนี้
%c พิมพ์ด้วยตัวอักษรตัวเดียว
%s พิมพ์ด้วยข้อควำม
ตัวอย่ำงกำรคำสั่ง printf เช่น
รูปแบบที่ใช้กำหนดกำรพิมพ์ใน printf
printf ( “%d %f %s“ , 20 , 25.5 , “Hello” );
คู่ที่ 1
คู่ที่ 2
คู่ที่ 3
27
เครื่องหมำยสำหรับปรับเปลี่ยนรูปแบบของข้อมูล
ในกำรแสดงผล
o เครื่องหมำยลบ ให้พิมพ์ข้อมูลชิดขอบซ้ำย
(ปกติข้อมูลทั้งหมดจะพิมพ์ชิดขวำ)
o สตริงตัวเลข ระบุควำมกว้ำงของฟิลด์
o จุดทศนิยม เป็ นกำรกำหนดควำมกว้ำงของ
จุดทศนิยม
ตัวอย่ำงกำรใช้เครื่องหมำยปรับเปลี่ยนรูปแบบของ
กำรแสดงผล
เครื่องหมำยปรับเปลี่ยนรูปแบบข้อมูล
printf ( “%3d %-6.0f “ , 20 , 25.5 );
28
กำรรับข้อมูลเข้ำมำใช้งำนในภำษำซีจะใช้ฟังก์ชั่น
scanf
รูปแบบของ scanf ( )
o ส่วนควบคุมข้อมูล เป็ นกำรกำหนดรูปแบบ
ข้อมูลในเครื่องหมำย “ ”
o อำร์กิวเมนต์ เป็ นส่วนที่จะนำข้อมูลมำเก็บ
(ในตัวแปร) ซึ่งชนิดของข้อมูลต้องตรงตำม
รูปแบบที่กำหนดในส่วนควบคุมข้อมูล
กำรรับข้อมูลเข้ำในภำษำซี
scanf( ส่วนควบคุมข้อมูล, อำร์กิวเมนต์,...)
29
กำรกำหนดลักษณะอำร์กิวเมนต์มีได้ 2 แบบดังนี้
o ถ้ำข้อมูลนั้นอำจจะนำไปใช้ในกำรคำนวณ
จะใส่เครื่องหมำย & หน้ำตัวแปร
o ถ้ำข้อมูลนั้นเป็ นข้อควำมที่จะนำไปเก็บไว้ในตัว
แปรเลยไม่จำเป็ นต้องใส่เครื่องหมำย & หน้ำ
ตัวแปร
ตัวอย่ำงกำรใช้ฟังก์ชั่น scanf
กำรรับข้อมูลเข้ำในภำษำซี
scanf ( “%d “,&num);
scanf ( “%s “,str);
30
เครื่องหมำยที่ใช้คำนวณในภำษำซีเรียกว่ำ
ตัวดำเนินกำร (Operator) มีดังนี้
เครื่องหมำยที่ใช้คำนวณในภำษำซี
ตัวดาเนินการ ความหมาย ตัวอย่าง ผลลัพธ์
+ การบวก 6 + 8 14
- การลบ 7 – 5 2
* การคูณ 3 * 4 12
/ การหาร 8/2 4
- ลบ (ยูนารีเครื่องหมายลบ) -5 -5
% โมดูลัส
(หาเศษเหลือจากการหาร)
7 % 2 1
4 % 2 0
31
ทำได้โดยระบุชนิดที่ต้องกำรเปลี่ยนภำยใน
เครื่องหมำย ( ) แล้ววำงหน้ำตัวแปรหรือข้อมูล
ที่ต้องกำรเปลี่ยนแปลงชนิด
ตัวอย่ำง ถ้ำในโปรแกรมภำษำซีมีกำรประกำศ
ตัวแปรเป็ น
ต้องกำรเปลี่ยนตัวแปร float ไปเป็ น integer
ทำได้ดังนี้
กำรเปลี่ยนชนิดของข้อมูล
float money;
(int) money;
32
นิพจน์กำหนดค่ำ (Assignment expression)
เครื่องหมำยที่ใช้กำหนดค่ำคือ = โดยเป็ นกำร
กำหนดค่ำทำงขวำของเครื่องหมำย ให้กับตัวแปร
ที่อยู่ทำงซ้ำย เช่น
นิพจน์กำหนดค่ำ
j = 7+2;
k = k + 4;
หรือ
33
นิพจน์กาหนดค่า
สัญลักษณ์ ควำมหมำย
> มำกกว่ำ
< น้อยกว่ำ
>= มำกกว่ำหรือเท่ำกับ
<= น้อยกว่ำหรือเท่ำกับ
== เท่ำกับ
!= ไม่เท่ำกับ
34
ควำมแตกต่ำงของเครื่องหมำย = และ ==
o เครื่องหมำย = เป็ นตัวกำหนดค่ำ
o เครื่องหมำย == เป็ นเครื่องหมำยเปรียบเทียบ
ตัวอย่ำงเช่น
หมำยถึง เป็ นกำรกำหนดค่ำให้กับตัวแปร point
ให้มีค่ำเท่ำกับ 44
หมำยถึง เป็ นกำรตรวจสอบว่ำค่ำ point มีค่ำ
เท่ำกับ 44 หรือไม่
นิพจน์กำหนดค่ำ
point = 44;
point == 44;
35
เครื่องหมำยและนิพจน์เปรียบเทียบแบบ
ตรรกศำสตร์
&& หมำยถึง และ (and)
| | หมำยถึง หรือ (or)
! หมำยถึง ไม่ (not)
ตัวอย่ำงเช่น
จะได้ค่ำควำมจริงเป็ นจริงก็ต่อเมื่อ a และ
b เป็ นจริงทั้งคู่
จะได้ค่ำควำมจริงเป็ นเท็จก็ต่อเมื่อ a และ
b เป็ นเท็จทั้งคู่
เครื่องหมำยและนิพจน์แบบตรรกศำสตร์
a && b
a || b
36
สำมำรถใช้เครื่องหมำยต่อไปนี้แทนกำรเพิ่มหรือ
ลดค่ำของตัวแปร
++ เป็ นกำรเพิ่มค่ำให้กับตัวแปรทีละ 1
-- เป็ นกำรลดค่ำตัวแปรทีละ 1
ตัวอย่ำงเช่น
++n เป็ นกำรเพิ่มค่ำ n อีก 1
--n เป็ นกำรลดค่ำ n ลง 1
ควำมแตกต่ำงระหว่ำง n++ และ ++n เช่น
n = 5;
x = n++; จะได้ค่ำ x เท่ำกับ 5
แล้วค่ำ n เท่ำกับ 6
แต่ถ้ำ x = ++n; จะได้ค่ำ x เท่ำกับ 6
กำรเพิ่มค่ำและลดค่ำตัวแปร
END
Department of Computer Science

Contenu connexe

Tendances

ใบความรู้ที่ 5
ใบความรู้ที่  5ใบความรู้ที่  5
ใบความรู้ที่ 5
SubLt Masu
 
งานนำเสนอ1
งานนำเสนอ1งานนำเสนอ1
งานนำเสนอ1
Thank Chiro
 
การประกาศตัวแปรในภาษาซี
การประกาศตัวแปรในภาษาซีการประกาศตัวแปรในภาษาซี
การประกาศตัวแปรในภาษาซี
mycomc55
 
การเขียนคำสั่งควบคุม
การเขียนคำสั่งควบคุมการเขียนคำสั่งควบคุม
การเขียนคำสั่งควบคุม
Kashima Seto
 

Tendances (20)

บทที่ 2 ตัวแปร
บทที่ 2 ตัวแปรบทที่ 2 ตัวแปร
บทที่ 2 ตัวแปร
 
12
1212
12
 
การเขียนโปรแกรม Dev c++
การเขียนโปรแกรม Dev c++การเขียนโปรแกรม Dev c++
การเขียนโปรแกรม Dev c++
 
งาน อ.ทรงศักดิ์
งาน อ.ทรงศักดิ์งาน อ.ทรงศักดิ์
งาน อ.ทรงศักดิ์
 
ใบความรู้ที่ 5
ใบความรู้ที่  5ใบความรู้ที่  5
ใบความรู้ที่ 5
 
การเขียนคำสั่งข้อมูลขั้นพื้นฐาน
การเขียนคำสั่งข้อมูลขั้นพื้นฐานการเขียนคำสั่งข้อมูลขั้นพื้นฐาน
การเขียนคำสั่งข้อมูลขั้นพื้นฐาน
 
งานนำเสนอ1
งานนำเสนอ1งานนำเสนอ1
งานนำเสนอ1
 
Know1 3
Know1 3Know1 3
Know1 3
 
3.5 การแสดงผลและการรับข้อมูล
3.5 การแสดงผลและการรับข้อมูล3.5 การแสดงผลและการรับข้อมูล
3.5 การแสดงผลและการรับข้อมูล
 
การประกาศตัวแปรในภาษาซี
การประกาศตัวแปรในภาษาซีการประกาศตัวแปรในภาษาซี
การประกาศตัวแปรในภาษาซี
 
3.2 ตัวแปรและคำสงวน
3.2 ตัวแปรและคำสงวน3.2 ตัวแปรและคำสงวน
3.2 ตัวแปรและคำสงวน
 
การเขียนคำสั่งควบคุม
การเขียนคำสั่งควบคุมการเขียนคำสั่งควบคุม
การเขียนคำสั่งควบคุม
 
การเขียนคำสั่งควบคุม
การเขียนคำสั่งควบคุมการเขียนคำสั่งควบคุม
การเขียนคำสั่งควบคุม
 
ตัวแปรกับชนิดของข้อมูล
ตัวแปรกับชนิดของข้อมูลตัวแปรกับชนิดของข้อมูล
ตัวแปรกับชนิดของข้อมูล
 
บทที่ 2
บทที่  2  บทที่  2
บทที่ 2
 
Ch2
Ch2Ch2
Ch2
 
ภาษาซีเบื้องต้น
ภาษาซีเบื้องต้นภาษาซีเบื้องต้น
ภาษาซีเบื้องต้น
 
ชนิดของข้อมูล
ชนิดของข้อมูลชนิดของข้อมูล
ชนิดของข้อมูล
 
3.3 ชนิดของข้อมูล
3.3 ชนิดของข้อมูล3.3 ชนิดของข้อมูล
3.3 ชนิดของข้อมูล
 
การเขียนคำสั่งควบคุม
การเขียนคำสั่งควบคุมการเขียนคำสั่งควบคุม
การเขียนคำสั่งควบคุม
 

Similaire à 7 1 dev c++

โปรแกรมคอมพิวเตอร์
โปรแกรมคอมพิวเตอร์โปรแกรมคอมพิวเตอร์
โปรแกรมคอมพิวเตอร์
Sarocha Makranit
 
2. โครงสร้างภาษาซี
2. โครงสร้างภาษาซี2. โครงสร้างภาษาซี
2. โครงสร้างภาษาซี
mansuang1978
 
Algorithm flow chart
Algorithm flow chartAlgorithm flow chart
Algorithm flow chart
bbgunner47
 
การเขียนคำสังควบคุมขั้นพื้นฐาน 2
การเขียนคำสังควบคุมขั้นพื้นฐาน 2การเขียนคำสังควบคุมขั้นพื้นฐาน 2
การเขียนคำสังควบคุมขั้นพื้นฐาน 2
Tay Atcharawan
 

Similaire à 7 1 dev c++ (20)

ภาษา C
ภาษา Cภาษา C
ภาษา C
 
Introduction toc
Introduction tocIntroduction toc
Introduction toc
 
โครงสร้างภาษาซี
โครงสร้างภาษาซีโครงสร้างภาษาซี
โครงสร้างภาษาซี
 
โปรแกรมคอมพิวเตอร์
โปรแกรมคอมพิวเตอร์โปรแกรมคอมพิวเตอร์
โปรแกรมคอมพิวเตอร์
 
2. โครงสร้างภาษาซี
2. โครงสร้างภาษาซี2. โครงสร้างภาษาซี
2. โครงสร้างภาษาซี
 
Algorithm flow chart
Algorithm flow chartAlgorithm flow chart
Algorithm flow chart
 
การติดต่อสื่อสารทางอินเทอร์เน็ต
การติดต่อสื่อสารทางอินเทอร์เน็ตการติดต่อสื่อสารทางอินเทอร์เน็ต
การติดต่อสื่อสารทางอินเทอร์เน็ต
 
การสื่อสารข้อมูล
การสื่อสารข้อมูลการสื่อสารข้อมูล
การสื่อสารข้อมูล
 
Chapter 02 Flowchart
Chapter 02 FlowchartChapter 02 Flowchart
Chapter 02 Flowchart
 
ภาษา C#
ภาษา C#ภาษา C#
ภาษา C#
 
บทที่4 เมธอด (METHOD)
บทที่4 เมธอด (METHOD)บทที่4 เมธอด (METHOD)
บทที่4 เมธอด (METHOD)
 
พื้นฐานภาษาจาวา
พื้นฐานภาษาจาวาพื้นฐานภาษาจาวา
พื้นฐานภาษาจาวา
 
งานจารทรงศักดิ์
งานจารทรงศักดิ์งานจารทรงศักดิ์
งานจารทรงศักดิ์
 
การเขียนคำสังควบคุมขั้นพื้นฐาน 2
การเขียนคำสังควบคุมขั้นพื้นฐาน 2การเขียนคำสังควบคุมขั้นพื้นฐาน 2
การเขียนคำสังควบคุมขั้นพื้นฐาน 2
 
โครงสร้างของโปรแกรมภาษาซี
โครงสร้างของโปรแกรมภาษาซีโครงสร้างของโปรแกรมภาษาซี
โครงสร้างของโปรแกรมภาษาซี
 
บทที่ 3 พื้นฐานภาษา Java
บทที่ 3 พื้นฐานภาษา Javaบทที่ 3 พื้นฐานภาษา Java
บทที่ 3 พื้นฐานภาษา Java
 
บทที่ 3 พื้นฐานภาษา Java
บทที่ 3 พื้นฐานภาษา Javaบทที่ 3 พื้นฐานภาษา Java
บทที่ 3 พื้นฐานภาษา Java
 
C slide
C slideC slide
C slide
 
ชนิดของข้อมูล
ชนิดของข้อมูลชนิดของข้อมูล
ชนิดของข้อมูล
 
ชนิดของข้อมูล
ชนิดของข้อมูลชนิดของข้อมูล
ชนิดของข้อมูล
 

Plus de Supaksorn Tatongjai (20)

Work30243 new58
Work30243 new58Work30243 new58
Work30243 new58
 
คำสั่งในโปรแกรมภาษาซี
คำสั่งในโปรแกรมภาษาซีคำสั่งในโปรแกรมภาษาซี
คำสั่งในโปรแกรมภาษาซี
 
7 3 condition
7 3 condition7 3 condition
7 3 condition
 
7 2โครงสร้าง
7 2โครงสร้าง7 2โครงสร้าง
7 2โครงสร้าง
 
Work20253
Work20253Work20253
Work20253
 
Week4-16
Week4-16Week4-16
Week4-16
 
Week4-1
Week4-1Week4-1
Week4-1
 
Week3-14
Week3-14Week3-14
Week3-14
 
Week3-13
Week3-13Week3-13
Week3-13
 
Week3-2
Week3-2Week3-2
Week3-2
 
Week3-1
Week3-1Week3-1
Week3-1
 
Week2-13
Week2-13Week2-13
Week2-13
 
Week2-12
Week2-12Week2-12
Week2-12
 
Week2-2
Week2-2Week2-2
Week2-2
 
Week2-1
Week2-1Week2-1
Week2-1
 
Week1-11
Week1-11Week1-11
Week1-11
 
Week1-1
Week1-1Week1-1
Week1-1
 
M1-Programs1
M1-Programs1M1-Programs1
M1-Programs1
 
Work30243
Work30243Work30243
Work30243
 
Week4-46
Week4-46Week4-46
Week4-46
 

7 1 dev c++