SlideShare une entreprise Scribd logo
1  sur  3
Télécharger pour lire hors ligne
หลักการพระพุทธศาสนากับหลักการวิทยาศาสตร์
หลักการของพระพุทธศาสนากับหลักการของวิทยาศาสตรมีทั้งส่วนที่
สอดคล ้อง และส่วนที่แตกต่างกัน ดังต่อไปนี้ ความสอดคล้องกันของ
หลักการของพระพุทธศาสนากับหลักการวิทยาศาสตร์
1. ในด้านความเชื่อ (Confidence) หลักการวิทยาศาสตร ถือหลักว่า จะ
เชื่ออะไรนั้นจะต ้องมีการพิสูจนให ้เห็นจริงได ้เสียก่อน วิทยาศาสตรเชื่อในเหตุผล
ไม่เชื่ออะไรลอย ๆ และต ้องมีหลักฐานมายืนยัน วิทยาศาสตรไม่อาศัยศรัทธาแต่
อาศัยเหตุผล เชื่อการทดลองว่าให ้ความจริงแก่เราได ้แต่ไม่เชื่อการดลบันดาลของ
สิ่งศักดิ์สิทธิ์ เพราะทุกอย่างดาเนินอย่างมีกฎเกณฑ มีเหตุผล และวิทยาศาสตรอาศัยปัญญาและเหตุผลเป็นตัวตัดสิน
ความจริง วิทยาศาสตรมีความเชื่อว่า สรรพสิ่งในจักรวาลล ้วนดาเนินไปอย่างมีเหตุผล มีความเป็นระเบียบและมี
กฎเกณฑที่แน่นอน
หลักการทางพระพุทธศาสนา มีหลักความเชื่อเช่นเดียวกับหลักวิทยาศาสตร ไม่ได ้สอนให ้มนุษยเชื่อและศรัทธา
อย่างงมงายในอิทธิปาฏิหาริย และอาเทศนาปาฏิหาริย แต่สอนให ้ศรัทธาในอนุสาสนีปาฏิหาริย ที่จะก่อให ้เกิดปัญญาใน
การแก ้ทุกขแก ้ปัญหาชีวิต ไม่สอนให ้เชื่อให ้ศรัทธาในสิ่งที่อยู่นอกเหนือประสาทสัมผัสเช่นเดียวกับวิทยาศาสตร สอน
ให ้มนุษยนาเอาหลักศรัทธาโยงไปหาการพิสูจนด ้วยประสบการณ ด ้วยปัญญา และด ้วยการปฏิบัติ ดังหลักของความเชื่อ
ใน “กาลามสูตร” คืออย่าเชื่อ เพียงเพราะให ้ฟังตามกันมา อย่าเชื่อ เพียงเพราะได ้เรียนตามกันมา
อย่าเชื่อ เพียงเพราะได ้ถือปฏิบัติสืบต่อกันมา
อย่าเชื่อ เพียงเพราะเสียงเล่าลือ
อย่าเชื่อ เพียงเพราะอ ้างตารา
อย่าเชื่อ เพียงเพราะตรรกะ หรือนึกคิดเอาเอง
อย่าเชื่อ เพียงเพราะอนุมานหรือคาดคะเนเอา
อย่าเชื่อ เพียงเพราะคิดตรองตามแนวเหตุผล
อย่าเชื่อ เพียงเพราะตรงกับทฤษฎีของตนหรือความเห็นของตน
อย่าเชื่อ เพียงเพราะรูปลักษณะน่าเชื่อ
อย่าเชื่อ เพียงเพราะท่านเป็นสมณะหรือเป็นครูอาจารยของเรา
ในหลักกาลามสูตรนี้ พระพุทธเจ ้ายังตรัสต่อไปว่า จะต ้องรู้เข ้าใจด ้วยว่า สิ่งเหล่านี้เป็นกุศล หรืออกุศล ถ ้ารู้ว่า
เป็นอกุศล มีโทษ ไม่เป็นประโยชน ทาให ้เกิดทุกข พึงละเสีย ถ ้ารู้ว่าเป็นกุศล มีคุณ เป็นประโยชน เป็นไปเพื่อความสุข
ก็ให ้ถือปฏิบัติ นั่นคือศรัทธาหรือความเชื่อที่ก่อให ้เกิดปัญญา
2. ในด้านความรู้ (Wisdom) ทั้งหลักการทางวิทยาศาสตรและหลักการของพระพุทธศาสนา ยอมรับความรู้ที่ได ้จาก
ประสบการณ หมายถึง การที่ตา หู จมูก ลิ้น กาย ได ้ประสบกับความรู้สึกนึกคิด เช่น รู้สึกดีใจ รู้สึกอยากได ้เป็นต ้น
วิทยาศาสตรเริ่มต ้นจากประสบการณคือ จากการที่ได ้พบเห็นสิ่งต่าง ๆ แล ้วเกิดความอยากรู้อยากเห็นก็แสวงหา
คาอธิบาย วิทยาศาสตรไม่เชื่อหรือยึดถืออะไรล่วงหน้าอย่างตายตัว แต่จะอาศัยการทดสอบด ้วยประสบการณสืบสาวไป
เรื่อย ๆ จะไม่อ ้างอิงถึงสิ่งศักดิ์สิทธิ์ใด ๆ ที่อยู่นอกเหนือประสบการณและการทดลอง วิทยาศาสตรแสวงหาความจริง
สากล (Truth) ได ้จากฐานที่เป็ นความจริงเฉพาะองคความรู้ในทางวิทยาศาสตรได ้จากประสบการณ ความรู้ใดที่อยู่นอก
ขอบเขตของประสบการณไม่ถือว่าเป็นความรู้ทางวิทยาศาสตรพระพุทธเจ ้าก็ทรง
เริ่มคิดจากประสบการณคือ ประสบการณที่ได ้เห็นความเจ็บ ความแก่ ความตาย
และที่สาคัญที่สุดคือความทุกข พระองคมีพระประสงคที่จะค ้นหาสาเหตุของทุกข
ในการค ้นหานี้ พระองคมิได ้เชื่ออะไรล่วงหน้าอย่างตายตัว ไม่ทรงเชื่อว่ามีพระผู้
เป็นเจ ้าหรือสิ่งศักดิ์สิทธิ์ใด ๆ ที่จะให ้คาตอบได ้แต่ได ้ทรงทดลองโดยอาศัย
ประสบการณของพระองคเองดังเป็นที่ทราบกันดีอยู่แล ้ว
หลักการพระพุทธศาสนาและหลักการทางวิทยาศาสตรมีส่วนที่ต่างกันใน
เรื่องนี้คือ วิทยาศาสตรเน้นความสนใจกับปัญหาที่เกิดขึ้นจากประสบการณด ้าน
ประสาทสัมผัส (ตา หู จมูก ลิ้น กาย) ส่วนพระพุทธศาสนาเน้นความสนใจกับ
ปัญหาที่เกิดทางจิตใจ หลักการทางพระพุทธศาสนามีส่วนคล ้ายคลึงกับหลักการทางวิทยาศาสตรในหลายประการ เช่น
ในขณะที่มีนักวิทยาศาสตรกลุ่มหนึ่งมุ่งแสวงหาความจริงของธรรมชาติที่เรียกว่า วิทยาศาสตรบริสุทธิ์ (Pure Science)
และมีนักวิทยาศาสตรอีกกลุ่มหนึ่งมุ่งแสวงหาความรู้ที่จะนามาก่อให ้เกิดประโยชนต่อมนุษยที่เรียกว่า วิทยาศาสตร
ประยุกต (Applied Science)
หลักการพระพุทธศาสนาก็เช่นเดียวกัน พระพุทธเจ ้าตรัสรู้พระสัทธรรมเพื่อสอนให ้มนุษยเกิดปัญญา 2 ทางคือ
ทางแรก สอนให ้เกิดความรู้ความเข ้าใจที่ถูกต ้องในธรรมชาติและในกฎธรรมชาติ เช่น สอนให ้รู้หลักอิทัปปัจจยตา หลัก
ไตรลักษณ หลักอริยสัจ หลักเบญจขันธ ทางที่สอง สอนให ้เกิดความรู้ความเข ้าใจในคุณค่าทางจริยธรรม เพื่อนาไปใช ้
ไปปฏิบัติให ้เกิดผลดีต่อตนเอง ต่อสังคม และต่อธรรมชาติที่เรียกว่า ไตรสิกขา สอนให ้ละเว ้นความชั่ว สอนให ้กระทา
ความดี และสอนให ้ทาจิตใจให ้สงบบริสุทธิ์
อย่างไรก็ตามหลักการพระพุทธศาสนาจะมีฐานะคล ้ายกับวิทยาศาสตรบริสุทธิ์ แต่จริยศาสตรแนวพุทธไม่
เหมือนกับวิทยาศาสตรประยุกต ดังท่านพระธรรมปิฎก แสดงความเห็นไว ้ในการบรรยายเรื่อง พระพุทธศาสนาในฐานะ
รากฐานของวิทยาศาสตรตอนหนึ่งว่า
“วิทยาศาสตรนาเอาความรู้จากกฎธรรมชาติ โดยสอนให ้มนุษยรู้จักใช ้เทคโนโลยี เพื่อควบคุมธรรมชาติ ส่วน
ปรัชญาพุทธสอนให ้มนุษยนาสัจธรรมมาสร้างจริยธรรมเพื่อดาเนินชีวิตให ้สอดคล ้องกับธรรมชาติ สอนให ้มนุษยใช ้
ปัญญา ในการแก ้ปัญหาชีวิตและพัฒนาคุณภาพชีวิต”
ความแตกต่างของหลักการพระพุทธศาสนากับหลักการทางวิทยาศาสตร์
1. มุ่งเข ้าใจปรากฎการณทางธรรมชาติหลักการทางวิทยาศาสตรมุ่งเข ้าใจ
ปรากฏการณต่าง ๆ ที่เกิดขึ้น ต ้องการรู้ว่าอะไรเป็นสาเหตุ อะไรเป็นผลที่ตามมา เช่น เมื่อ
เกิดฟ้าผ่า ต ้องรู้อะไรคือสาเหตุของฟ้าผ่า และผลที่ตามมาหลังจากฟ้าผ่าแล ้วจะเป็น
อย่างไร หลักการพระพุทธศาสนาก็มุ่งเข ้าใจปรากฏการณต่าง ๆ เช่นเดียวกัน แต่ต่างตรงที่
พระพุทธศาสนาเน้นเป็นพิเศษเกี่ยวกับวิถีชีวิตของมนุษยมากกว่ากฎเกี่ยวกับสิ่งที่ไร้ชีวิต
จุดหมายปลายทางของพระพุทธศาสนาคือ สอนให ้คนเป็นคนดีขึ้น พัฒนาขึ้น สมบูรณขึ้น
2. ต ้องการเรียนรู้กฎธรรมชาติ หลักการทางวิทยาศาสตรต ้องการเรียนรู้กฎธรรมชาติ
และหาทางควบคุมธรรมชาติ หรือเอาชนะธรรมชาติ พูดอีกอย่างหนึ่งก็คือ วิทยาศาสตรเน้น
การควบคุมธรรมชาติภายนอกมุ่งแก ้ปัญหาภายนอกวิทยาศาสตรถือว่าการพิสูจนทดลอง
ทางวิทยาศาสตรเป็นสิ่งที่นามาแสดงให ้สาธารณชนประจักษชัดเป็นหลักฐานยืนยันในสิ่งที่
ค ้นพบนั้นได ้จึงจะเป็นการยอมรับในวงการวิทยาศาสตร
หลักการพระพุทธศาสนาเป็นการทดสอบความรู้สึกทุกข หรือไม่เป็นทุกข ซึ่งเป็นสิ่งที่ประจักษชัดในจิตใจเฉพาะ
ตน ไม่สามารถตีแผ่ให ้สาธารณชนประจักษด ้วยสายตา แต่พิสูจนทดลองได ้ด ้วยความรู้สึกในจิตใจ และหลักการ
พระพุทธศาสนาไม่ได ้เน้นในเรื่องให ้สาธารณชนยอมรับหรือไม่ยอมรับ มุ่งให ้ศึกษาเข ้าไปในจิตใจตนเอง แต่มุ่งแสวงหา
ความจริงจากทั้งภายนอกและภายในตัวมนุษยอันเป็นเหตุที่ทาให ้เกิดปัญหา ทางด ้านจิตวิญญาณอันเป็นผลกระทบต่อ
การดารงชีวิตและต่อคุณภาพชีวิต สอนให ้คนควบคุมภายในจิตใจตัวเอง ลาพังแต่ความสามารถที่ควบคุมธรรมชาติได ้
ไม่อาจทาให ้ความสงบสุขเกิดขึ้นในโลกมนุษย มนุษยต ้องรู้จักควบคุมตนเอง ให ้มีจิตใจดีงามด ้วย สันติสุขที่แท ้จริงจึง
จะเกิดขึ้นได ้ และสอนมนุษยดารงชีวิตให ้สอดคล ้องกลมกลืนกับธรรมชาติสิ่งแวดล ้อม
3. ยอมรับโลกแห่งสสาร (Matter) สสาร หมายถึง ธรรมชาติและสรรพสิ่งทั้งหลายที่มีอยู่จริง รวมทั้งปรากฏการณและ
ความเป็นจริงตามภาวะวิสัย (ObjectiveReality) ด ้วย ซึ่งสรรพสิ่งเหล่านี้มีอยู่ต่างหากจากตัวเรา เป็นอิสระจากตัวเรา
และเป็นสิ่งที่สะท ้อนขึ้นในจิตสานึกของคนเราเมื่อได ้สัมผัสมัน อันทาให ้ได ้รับรู้ถึงความมีอยู่ของสิ่งนั้น ๆ กล่าว
โดยทั่วไปแล ้วสสารมีคุณลักษณะ 3 ประการคือ
1) เคลื่อนไหว (Moving) อยู่เสมอ
2) เปลี่ยนแปลง (Changing) อยู่เสมอ
3) การเคลื่อนไหวและการเปลี่ยนแปลง ดังกล่าวนั้น มิใช่เป็นการเคลื่อนไหวเปลี่ยนแปลงอย่างส่งเดช
แต่หากเป็นการเคลื่อนไหวเปลี่ยนแปลงอย่างมีกฎเกณฑที่เรียกกันว่า กฎแห่งธรรมชาติ (Laws of Natires)
วิทยาศาสตรยอมรับโลกแห่งสสารซึ่งเทียบได ้กับ “รูปธรรม” ในความหมายของพระพุทธศาสนา อันหมายถึงสิ่ง
ที่มีอยู่จริงทางภาววิสัย ที่อวัยวะสัมผัสของมนุษยสัมผัสได ้วิทยาศาสตรมุ่งศึกษาด ้านสสารและพลังงาน ยอมรับโลก
แห่งสสาร ที่รับรู้ด ้วยประสาทสัมผัสทั้ง 5 ว่ามีจริง โลกที่อยู่พ้นจากนั้น วิทยาศาสตรไม่ยอมรับ ส่วนแนวคิดทาง
พระพุทธศาสนานี้ ชี้ว่าสัจธรรมสูงสุด (นิพพาน) ซึ่งเป็นสภาวะที่ประสาทสัมผัสของมนุษยปุถุชนที่เต็มไปด ้วยกิเลส
ตัณหา ไม่สามารถรับรู้ได ้พระพุทธศาสนาแบ่งสิ่งที่มีอยู่จริงของสองพวกใหญ่ ๆ คือ “สังขตธรรม” (สิ่งที่ปัจจัยปรุงแต่ง)
ได ้แก่ สสารและ “อสังขตธรรม” (สิ่งที่ปัจจัยมิได ้ปรุงแต่ง) คือ นิพพาน วิทยาศาสตรยอมรับว่าสังขตธรรมมีจริง
แต่อสังขตธรรมอยู่เหนือการรับรู้ของวิทยาศาสตร
สัจธรรมในพระพุทธศาสนานั้นมีทั้งที่สามารถแสดงให ้เห็นประจักษเป็นสาธารณะได ้และไม่สามารถแสดงให ้
ประจักษเป็นสาธารณะได ้ แต่แสดงโดยการประจักษในตนเองได ้(หมายถึงมีทั้งที่สามารถรับรู้ด ้วยประสาทสัมผัส และ
รับรู้ด ้วยใจ) ความจริงระดับต ้น ๆ และระดับกลาง ๆ ใคร ๆ ก็อาจเข ้าใจและเห็นจริงได ้เช่น คนโลภมาก ๆ อิจฉามาก ๆ
ไม่มีความสงบสุขแห่งจิตใจอย่างไรบ ้าง คนที่มีเมตตา ไม่ปรารถนาร้ายต่อใคร ๆ มีความสุข ไม่มีเวร ไม่มีภัย อย่างไร
บ ้าง ความจริงเหล่านี้ ล ้วนสามารถแสดงให ้ประจักษได ้ ชี้ให ้ดูตัวอย่างได ้แต่ปรมัตถธรรม อันสูงสุดนั้นผู้ที่ได ้พบแล ้ว
ยากจะอธิบายให ้คนอื่นเข ้าใจได ้เป็นสภาวะที่ผู้รู้เอง เห็นเอง จะพึงประจักษเฉพาะตัว
4. มุ่งความจริงมาตีแผ่ วิทยาศาสตรนั้นแสวงหาความรู้จากธรรมชาติและจากกฎธรรมชาติที่มีอยู่ภายนอกตัว
มนุษย (มุ่งเน้นทางวัตถุหรือสสาร) ไม่ได ้สนใจเรื่องศีลธรรม เรื่องความดีความชั่ว สนใจเพียงค ้นคว ้าเอาความจริงมาตี
แผ่ให ้ประจักษเพียงด ้านเดียว เช่น วิทยาศาสตรพบเรื่องการระเบิด แต่ควรระเบิดอะไร ไม่ควรระเบิดอะไร ไม่อยู่ใน
ขอบข่ายของวิทยาศาสตร การค ้นพบทางวิทยาศาสตรจึงมีทั้งคุณอนันตและมีโทษมหันต กระบวนการผลิตทาง
วิทยาศาสตรก่อให ้เกิดผลกระทบต่อสิ่งแวดล ้อม คาสอนทางพระพุทธศาสนานั้น เน้นเรื่องศีลธรรม ความดีความชั่ว มุ่ง
ให ้มนุษยมีความสุข เป็นลาดับขึ้นไปเรื่อย ๆ จนถึงความสงบสุข อันสูงสุดคือนิพพาน ฉะนั้นกระบวนการปฏิบัติธรรมใน
พุทธศาสนาจึงส่งเสริมให ้มนุษยอนุรักษธรรมชาติ อนุรักษสิ่งแวดล ้อม
คาสอนทางพระพุทธศาสนานั้น เน้นเรื่องศีลธรรม ความดีความชั่ว มุ่งให ้มนุษยมีความสุข เป็นลาดับขึ้นไปเรื่อย
ๆ จนถึงความ
สงบสุข อันสูงสุดคือนิพพาน ฉะนั้นกระบวนการปฏิบัติธรรมในพุทธศาสนาจึงส่งเสริมให ้มนุษยอนุรักษธรรมชาติ อนุรักษ
สิ่งแวดล ้อม

Contenu connexe

Tendances

พุทธศาสนามหายานในไทย
พุทธศาสนามหายานในไทยพุทธศาสนามหายานในไทย
พุทธศาสนามหายานในไทยPadvee Academy
 
บทที่ ๒ กรรมฐาน และบุรพกิจของการปฏิบัติกรรมฐาน
บทที่ ๒ กรรมฐาน และบุรพกิจของการปฏิบัติกรรมฐานบทที่ ๒ กรรมฐาน และบุรพกิจของการปฏิบัติกรรมฐาน
บทที่ ๒ กรรมฐาน และบุรพกิจของการปฏิบัติกรรมฐานpop Jaturong
 
บทที่ ๑ ประวัติและวิวัฒนาการของการปฏิบัติกรรมฐาน
บทที่ ๑ ประวัติและวิวัฒนาการของการปฏิบัติกรรมฐานบทที่ ๑ ประวัติและวิวัฒนาการของการปฏิบัติกรรมฐาน
บทที่ ๑ ประวัติและวิวัฒนาการของการปฏิบัติกรรมฐานpop Jaturong
 
พุทธศาสนามหายาน ตอน นิกายมาธยมิกะ
พุทธศาสนามหายาน ตอน นิกายมาธยมิกะพุทธศาสนามหายาน ตอน นิกายมาธยมิกะ
พุทธศาสนามหายาน ตอน นิกายมาธยมิกะPadvee Academy
 
ปรัชญาเบื้องต้น บทที่ ๒ ความสัมพันธ์ระหว่างปรัชญา ศาสนา วิทยาศาสตร์
ปรัชญาเบื้องต้น บทที่ ๒ ความสัมพันธ์ระหว่างปรัชญา ศาสนา วิทยาศาสตร์ปรัชญาเบื้องต้น บทที่ ๒ ความสัมพันธ์ระหว่างปรัชญา ศาสนา วิทยาศาสตร์
ปรัชญาเบื้องต้น บทที่ ๒ ความสัมพันธ์ระหว่างปรัชญา ศาสนา วิทยาศาสตร์Padvee Academy
 
ปรัชญาเบื้องต้น บทที่ ๓ อภิปรัชญา
ปรัชญาเบื้องต้น บทที่ ๓ อภิปรัชญาปรัชญาเบื้องต้น บทที่ ๓ อภิปรัชญา
ปรัชญาเบื้องต้น บทที่ ๓ อภิปรัชญาPadvee Academy
 
วรรณกรรมทางพระพุทธศาสนาในสมัยล้านนา
วรรณกรรมทางพระพุทธศาสนาในสมัยล้านนาวรรณกรรมทางพระพุทธศาสนาในสมัยล้านนา
วรรณกรรมทางพระพุทธศาสนาในสมัยล้านนาพระอภิชัช ธมฺมโชโต
 
ปรัชญาเบื้องต้น บทที่ ๑ ความหมายและขอบเขตของปรัชญา
ปรัชญาเบื้องต้น บทที่ ๑ ความหมายและขอบเขตของปรัชญาปรัชญาเบื้องต้น บทที่ ๑ ความหมายและขอบเขตของปรัชญา
ปรัชญาเบื้องต้น บทที่ ๑ ความหมายและขอบเขตของปรัชญาPadvee Academy
 
วรรณกรรมทางพระพุทธศาสนาในสมัยสุโขทัย
วรรณกรรมทางพระพุทธศาสนาในสมัยสุโขทัยวรรณกรรมทางพระพุทธศาสนาในสมัยสุโขทัย
วรรณกรรมทางพระพุทธศาสนาในสมัยสุโขทัยพระอภิชัช ธมฺมโชโต
 
เทศกาลและพิธีกรรมทางศาสนา
เทศกาลและพิธีกรรมทางศาสนาเทศกาลและพิธีกรรมทางศาสนา
เทศกาลและพิธีกรรมทางศาสนาCC Nakhon Pathom Rajabhat University
 
พระพุทธศาสนาวัชรยาน Vajrayana Buddhism
พระพุทธศาสนาวัชรยาน Vajrayana Buddhismพระพุทธศาสนาวัชรยาน Vajrayana Buddhism
พระพุทธศาสนาวัชรยาน Vajrayana BuddhismPadvee Academy
 
โครงสร้างและเนื้อหาสาระพระไตรปิฎก
โครงสร้างและเนื้อหาสาระพระไตรปิฎกโครงสร้างและเนื้อหาสาระพระไตรปิฎก
โครงสร้างและเนื้อหาสาระพระไตรปิฎกAnchalee BuddhaBucha
 
ศาสนาพราหมณ์ ฮินดู
ศาสนาพราหมณ์ ฮินดูศาสนาพราหมณ์ ฮินดู
ศาสนาพราหมณ์ ฮินดูPadvee Academy
 
ปรัชญาเบื้องต้น บทที่ ๕ คุณวิทยา
ปรัชญาเบื้องต้น บทที่ ๕ คุณวิทยาปรัชญาเบื้องต้น บทที่ ๕ คุณวิทยา
ปรัชญาเบื้องต้น บทที่ ๕ คุณวิทยาPadvee Academy
 

Tendances (20)

พุทธศาสนามหายานในไทย
พุทธศาสนามหายานในไทยพุทธศาสนามหายานในไทย
พุทธศาสนามหายานในไทย
 
บทที่ ๒ กรรมฐาน และบุรพกิจของการปฏิบัติกรรมฐาน
บทที่ ๒ กรรมฐาน และบุรพกิจของการปฏิบัติกรรมฐานบทที่ ๒ กรรมฐาน และบุรพกิจของการปฏิบัติกรรมฐาน
บทที่ ๒ กรรมฐาน และบุรพกิจของการปฏิบัติกรรมฐาน
 
กรรมฐาน (สื่อการสอน ๒) สัปดาห์ที่ ๒
กรรมฐาน (สื่อการสอน ๒) สัปดาห์ที่ ๒กรรมฐาน (สื่อการสอน ๒) สัปดาห์ที่ ๒
กรรมฐาน (สื่อการสอน ๒) สัปดาห์ที่ ๒
 
บทที่ ๑ ประวัติและวิวัฒนาการของการปฏิบัติกรรมฐาน
บทที่ ๑ ประวัติและวิวัฒนาการของการปฏิบัติกรรมฐานบทที่ ๑ ประวัติและวิวัฒนาการของการปฏิบัติกรรมฐาน
บทที่ ๑ ประวัติและวิวัฒนาการของการปฏิบัติกรรมฐาน
 
พุทธศาสนามหายาน ตอน นิกายมาธยมิกะ
พุทธศาสนามหายาน ตอน นิกายมาธยมิกะพุทธศาสนามหายาน ตอน นิกายมาธยมิกะ
พุทธศาสนามหายาน ตอน นิกายมาธยมิกะ
 
ปรัชญาเบื้องต้น บทที่ ๒ ความสัมพันธ์ระหว่างปรัชญา ศาสนา วิทยาศาสตร์
ปรัชญาเบื้องต้น บทที่ ๒ ความสัมพันธ์ระหว่างปรัชญา ศาสนา วิทยาศาสตร์ปรัชญาเบื้องต้น บทที่ ๒ ความสัมพันธ์ระหว่างปรัชญา ศาสนา วิทยาศาสตร์
ปรัชญาเบื้องต้น บทที่ ๒ ความสัมพันธ์ระหว่างปรัชญา ศาสนา วิทยาศาสตร์
 
การปกครองคณะสงฆ์
การปกครองคณะสงฆ์การปกครองคณะสงฆ์
การปกครองคณะสงฆ์
 
พระไตรปิฎก
พระไตรปิฎกพระไตรปิฎก
พระไตรปิฎก
 
ปรัชญาเบื้องต้น บทที่ ๓ อภิปรัชญา
ปรัชญาเบื้องต้น บทที่ ๓ อภิปรัชญาปรัชญาเบื้องต้น บทที่ ๓ อภิปรัชญา
ปรัชญาเบื้องต้น บทที่ ๓ อภิปรัชญา
 
วรรณกรรมทางพระพุทธศาสนาในสมัยล้านนา
วรรณกรรมทางพระพุทธศาสนาในสมัยล้านนาวรรณกรรมทางพระพุทธศาสนาในสมัยล้านนา
วรรณกรรมทางพระพุทธศาสนาในสมัยล้านนา
 
ปรัชญาเบื้องต้น บทที่ ๑ ความหมายและขอบเขตของปรัชญา
ปรัชญาเบื้องต้น บทที่ ๑ ความหมายและขอบเขตของปรัชญาปรัชญาเบื้องต้น บทที่ ๑ ความหมายและขอบเขตของปรัชญา
ปรัชญาเบื้องต้น บทที่ ๑ ความหมายและขอบเขตของปรัชญา
 
วรรณกรรมทางพระพุทธศาสนาในสมัยสุโขทัย
วรรณกรรมทางพระพุทธศาสนาในสมัยสุโขทัยวรรณกรรมทางพระพุทธศาสนาในสมัยสุโขทัย
วรรณกรรมทางพระพุทธศาสนาในสมัยสุโขทัย
 
เทศกาลและพิธีกรรมทางศาสนา
เทศกาลและพิธีกรรมทางศาสนาเทศกาลและพิธีกรรมทางศาสนา
เทศกาลและพิธีกรรมทางศาสนา
 
พระพุทธศาสนาวัชรยาน Vajrayana Buddhism
พระพุทธศาสนาวัชรยาน Vajrayana Buddhismพระพุทธศาสนาวัชรยาน Vajrayana Buddhism
พระพุทธศาสนาวัชรยาน Vajrayana Buddhism
 
โครงสร้างและเนื้อหาสาระพระไตรปิฎก
โครงสร้างและเนื้อหาสาระพระไตรปิฎกโครงสร้างและเนื้อหาสาระพระไตรปิฎก
โครงสร้างและเนื้อหาสาระพระไตรปิฎก
 
ศาสนาพราหมณ์ ฮินดู
ศาสนาพราหมณ์ ฮินดูศาสนาพราหมณ์ ฮินดู
ศาสนาพราหมณ์ ฮินดู
 
ปรัชญาเบื้องต้น บทที่ ๕ คุณวิทยา
ปรัชญาเบื้องต้น บทที่ ๕ คุณวิทยาปรัชญาเบื้องต้น บทที่ ๕ คุณวิทยา
ปรัชญาเบื้องต้น บทที่ ๕ คุณวิทยา
 
อนุสสติ 10 สมถกัมมัฏฐาน ppt
อนุสสติ 10 สมถกัมมัฏฐาน pptอนุสสติ 10 สมถกัมมัฏฐาน ppt
อนุสสติ 10 สมถกัมมัฏฐาน ppt
 
ธรรมภาคปฏิบัติ ๕
ธรรมภาคปฏิบัติ ๕ธรรมภาคปฏิบัติ ๕
ธรรมภาคปฏิบัติ ๕
 
ปฏิจจสมุปบาท
ปฏิจจสมุปบาท ปฏิจจสมุปบาท
ปฏิจจสมุปบาท
 

En vedette

มงคลชีวิต
มงคลชีวิตมงคลชีวิต
มงคลชีวิตnative
 
โทมัส_เอดิสัน
โทมัส_เอดิสันโทมัส_เอดิสัน
โทมัส_เอดิสันnative
 
Advanced Leadership for IT 2016
Advanced Leadership for IT 2016Advanced Leadership for IT 2016
Advanced Leadership for IT 2016Stephen Dunkerley
 
ใบความรู้ เรื่องพระพุทธศาสนาเน้นการพัฒนาศรัทธาและปัญญาที่ถูกต้อง
ใบความรู้ เรื่องพระพุทธศาสนาเน้นการพัฒนาศรัทธาและปัญญาที่ถูกต้องใบความรู้ เรื่องพระพุทธศาสนาเน้นการพัฒนาศรัทธาและปัญญาที่ถูกต้อง
ใบความรู้ เรื่องพระพุทธศาสนาเน้นการพัฒนาศรัทธาและปัญญาที่ถูกต้องnative
 
รายงานวิชาพระพุทธ
รายงานวิชาพระพุทธรายงานวิชาพระพุทธ
รายงานวิชาพระพุทธnative
 
ภาษาซี
ภาษาซีภาษาซี
ภาษาซีnative
 
Approccio al cuore in ecografia ostetrica Cerekja
Approccio al cuore in ecografia ostetrica CerekjaApproccio al cuore in ecografia ostetrica Cerekja
Approccio al cuore in ecografia ostetrica CerekjaPiccolo Grande Cuore ONLUS
 
ระบบสุริยะ Solar system
ระบบสุริยะ Solar systemระบบสุริยะ Solar system
ระบบสุริยะ Solar systemnative
 
Gravidanza con feto cardiopatico giancotti e la torre
Gravidanza con feto cardiopatico giancotti e la torreGravidanza con feto cardiopatico giancotti e la torre
Gravidanza con feto cardiopatico giancotti e la torrePiccolo Grande Cuore ONLUS
 
ระบบสุริยะ
ระบบสุริยะระบบสุริยะ
ระบบสุริยะnative
 
คำศัพท์ภาษาอังกฤษที่มีการใช้มากที่สุด
คำศัพท์ภาษาอังกฤษที่มีการใช้มากที่สุดคำศัพท์ภาษาอังกฤษที่มีการใช้มากที่สุด
คำศัพท์ภาษาอังกฤษที่มีการใช้มากที่สุดnative
 

En vedette (18)

มงคลชีวิต
มงคลชีวิตมงคลชีวิต
มงคลชีวิต
 
Aritmie fetali Placidi
Aritmie fetali PlacidiAritmie fetali Placidi
Aritmie fetali Placidi
 
โทมัส_เอดิสัน
โทมัส_เอดิสันโทมัส_เอดิสัน
โทมัส_เอดิสัน
 
Advanced Leadership for IT 2016
Advanced Leadership for IT 2016Advanced Leadership for IT 2016
Advanced Leadership for IT 2016
 
ใบความรู้ เรื่องพระพุทธศาสนาเน้นการพัฒนาศรัทธาและปัญญาที่ถูกต้อง
ใบความรู้ เรื่องพระพุทธศาสนาเน้นการพัฒนาศรัทธาและปัญญาที่ถูกต้องใบความรู้ เรื่องพระพุทธศาสนาเน้นการพัฒนาศรัทธาและปัญญาที่ถูกต้อง
ใบความรู้ เรื่องพระพุทธศาสนาเน้นการพัฒนาศรัทธาและปัญญาที่ถูกต้อง
 
Studio del cuore con rm fetale Manganaro
Studio del cuore con rm fetale ManganaroStudio del cuore con rm fetale Manganaro
Studio del cuore con rm fetale Manganaro
 
รายงานวิชาพระพุทธ
รายงานวิชาพระพุทธรายงานวิชาพระพุทธ
รายงานวิชาพระพุทธ
 
Counselling ventriglia
Counselling ventrigliaCounselling ventriglia
Counselling ventriglia
 
Genetica delle cardiopatie congenite Marino
Genetica delle cardiopatie congenite MarinoGenetica delle cardiopatie congenite Marino
Genetica delle cardiopatie congenite Marino
 
Cardiopatie funzionali Brunelli
Cardiopatie funzionali BrunelliCardiopatie funzionali Brunelli
Cardiopatie funzionali Brunelli
 
ภาษาซี
ภาษาซีภาษาซี
ภาษาซี
 
Cardiopatie neonatali rinelli
Cardiopatie neonatali rinelliCardiopatie neonatali rinelli
Cardiopatie neonatali rinelli
 
Ecocardiografia di ii livello ventriglia
Ecocardiografia di ii livello ventrigliaEcocardiografia di ii livello ventriglia
Ecocardiografia di ii livello ventriglia
 
Approccio al cuore in ecografia ostetrica Cerekja
Approccio al cuore in ecografia ostetrica CerekjaApproccio al cuore in ecografia ostetrica Cerekja
Approccio al cuore in ecografia ostetrica Cerekja
 
ระบบสุริยะ Solar system
ระบบสุริยะ Solar systemระบบสุริยะ Solar system
ระบบสุริยะ Solar system
 
Gravidanza con feto cardiopatico giancotti e la torre
Gravidanza con feto cardiopatico giancotti e la torreGravidanza con feto cardiopatico giancotti e la torre
Gravidanza con feto cardiopatico giancotti e la torre
 
ระบบสุริยะ
ระบบสุริยะระบบสุริยะ
ระบบสุริยะ
 
คำศัพท์ภาษาอังกฤษที่มีการใช้มากที่สุด
คำศัพท์ภาษาอังกฤษที่มีการใช้มากที่สุดคำศัพท์ภาษาอังกฤษที่มีการใช้มากที่สุด
คำศัพท์ภาษาอังกฤษที่มีการใช้มากที่สุด
 

Similaire à พุทธศาสนากับวิทยาศาสตร์

พุทธศาสนากับโหราศาสตร์
พุทธศาสนากับโหราศาสตร์พุทธศาสนากับโหราศาสตร์
พุทธศาสนากับโหราศาสตร์PhusitSudhammo
 
สาระสำคัญของศาสนา
สาระสำคัญของศาสนา สาระสำคัญของศาสนา
สาระสำคัญของศาสนา Min Kannita
 
9789740335146
97897403351469789740335146
9789740335146CUPress
 
บทที่ 3 ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับพระพุทธศาสนาและปรัชญา
บทที่ 3 ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับพระพุทธศาสนาและปรัชญาบทที่ 3 ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับพระพุทธศาสนาและปรัชญา
บทที่ 3 ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับพระพุทธศาสนาและปรัชญาเตชะชิน เก้าเดือนยี่
 
ชีวิตตามแนวคิดทางวิทยาศาสตร์
ชีวิตตามแนวคิดทางวิทยาศาสตร์ชีวิตตามแนวคิดทางวิทยาศาสตร์
ชีวิตตามแนวคิดทางวิทยาศาสตร์ppompuy pantham
 
จริยศาสตร์ประเมินบทที่555 3-ปี
จริยศาสตร์ประเมินบทที่555 3-ปีจริยศาสตร์ประเมินบทที่555 3-ปี
จริยศาสตร์ประเมินบทที่555 3-ปีPa'rig Prig
 
แนวคิดเรื่องกรรมและความจริงสูงสุดของศาสนาเชน
แนวคิดเรื่องกรรมและความจริงสูงสุดของศาสนาเชนแนวคิดเรื่องกรรมและความจริงสูงสุดของศาสนาเชน
แนวคิดเรื่องกรรมและความจริงสูงสุดของศาสนาเชนTongsamut vorasan
 
แนวคิดเรื่องกรรมและความจริงสูงสุดของศาสนาเชน
แนวคิดเรื่องกรรมและความจริงสูงสุดของศาสนาเชนแนวคิดเรื่องกรรมและความจริงสูงสุดของศาสนาเชน
แนวคิดเรื่องกรรมและความจริงสูงสุดของศาสนาเชนTongsamut vorasan
 
ปรัชญาและปรัชญาการศึกษา 29 ต.ค.52
ปรัชญาและปรัชญาการศึกษา 29 ต.ค.52ปรัชญาและปรัชญาการศึกษา 29 ต.ค.52
ปรัชญาและปรัชญาการศึกษา 29 ต.ค.52juriporn chuchanakij
 
จริยศาสตร์ประเมินบทที่333 3-ปี
จริยศาสตร์ประเมินบทที่333 3-ปีจริยศาสตร์ประเมินบทที่333 3-ปี
จริยศาสตร์ประเมินบทที่333 3-ปีPa'rig Prig
 
PICO : ค้นข้อมูลอย่างไรให้ตรงประเด็นการรักษา
PICO : ค้นข้อมูลอย่างไรให้ตรงประเด็นการรักษาPICO : ค้นข้อมูลอย่างไรให้ตรงประเด็นการรักษา
PICO : ค้นข้อมูลอย่างไรให้ตรงประเด็นการรักษาsongsri
 
33 พระมหามาติณ ถีนิติ 1
33 พระมหามาติณ ถีนิติ 133 พระมหามาติณ ถีนิติ 1
33 พระมหามาติณ ถีนิติ 1Martin Trinity
 
ส งคมศ กษา
ส งคมศ กษาส งคมศ กษา
ส งคมศ กษาAoy Amm Mee
 
พระวินัย ปรัชญาวินัย 0
พระวินัย ปรัชญาวินัย 0พระวินัย ปรัชญาวินัย 0
พระวินัย ปรัชญาวินัย 0Yota Bhikkhu
 
9789740330592
97897403305929789740330592
9789740330592CUPress
 
ศึกษาเปรียบเทียบหลักจริยศาสตร์ของโสคราตีสกับพุทธปรัชญาเถรวาท
ศึกษาเปรียบเทียบหลักจริยศาสตร์ของโสคราตีสกับพุทธปรัชญาเถรวาทศึกษาเปรียบเทียบหลักจริยศาสตร์ของโสคราตีสกับพุทธปรัชญาเถรวาท
ศึกษาเปรียบเทียบหลักจริยศาสตร์ของโสคราตีสกับพุทธปรัชญาเถรวาทpentanino
 

Similaire à พุทธศาสนากับวิทยาศาสตร์ (20)

Intro sciproject
Intro sciprojectIntro sciproject
Intro sciproject
 
พุทธศาสนากับโหราศาสตร์
พุทธศาสนากับโหราศาสตร์พุทธศาสนากับโหราศาสตร์
พุทธศาสนากับโหราศาสตร์
 
สาระสำคัญของศาสนา
สาระสำคัญของศาสนา สาระสำคัญของศาสนา
สาระสำคัญของศาสนา
 
9789740335146
97897403351469789740335146
9789740335146
 
บทที่ 3 ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับพระพุทธศาสนาและปรัชญา
บทที่ 3 ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับพระพุทธศาสนาและปรัชญาบทที่ 3 ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับพระพุทธศาสนาและปรัชญา
บทที่ 3 ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับพระพุทธศาสนาและปรัชญา
 
ชีวิตตามแนวคิดทางวิทยาศาสตร์
ชีวิตตามแนวคิดทางวิทยาศาสตร์ชีวิตตามแนวคิดทางวิทยาศาสตร์
ชีวิตตามแนวคิดทางวิทยาศาสตร์
 
จริยศาสตร์ประเมินบทที่555 3-ปี
จริยศาสตร์ประเมินบทที่555 3-ปีจริยศาสตร์ประเมินบทที่555 3-ปี
จริยศาสตร์ประเมินบทที่555 3-ปี
 
แนวคิดเรื่องกรรมและความจริงสูงสุดของศาสนาเชน
แนวคิดเรื่องกรรมและความจริงสูงสุดของศาสนาเชนแนวคิดเรื่องกรรมและความจริงสูงสุดของศาสนาเชน
แนวคิดเรื่องกรรมและความจริงสูงสุดของศาสนาเชน
 
590802 บทที่-1-แก้ไขแล้ว
590802 บทที่-1-แก้ไขแล้ว590802 บทที่-1-แก้ไขแล้ว
590802 บทที่-1-แก้ไขแล้ว
 
แนวคิดเรื่องกรรมและความจริงสูงสุดของศาสนาเชน
แนวคิดเรื่องกรรมและความจริงสูงสุดของศาสนาเชนแนวคิดเรื่องกรรมและความจริงสูงสุดของศาสนาเชน
แนวคิดเรื่องกรรมและความจริงสูงสุดของศาสนาเชน
 
ปรัชญาและปรัชญาการศึกษา 29 ต.ค.52
ปรัชญาและปรัชญาการศึกษา 29 ต.ค.52ปรัชญาและปรัชญาการศึกษา 29 ต.ค.52
ปรัชญาและปรัชญาการศึกษา 29 ต.ค.52
 
จริยศาสตร์ประเมินบทที่333 3-ปี
จริยศาสตร์ประเมินบทที่333 3-ปีจริยศาสตร์ประเมินบทที่333 3-ปี
จริยศาสตร์ประเมินบทที่333 3-ปี
 
PICO : ค้นข้อมูลอย่างไรให้ตรงประเด็นการรักษา
PICO : ค้นข้อมูลอย่างไรให้ตรงประเด็นการรักษาPICO : ค้นข้อมูลอย่างไรให้ตรงประเด็นการรักษา
PICO : ค้นข้อมูลอย่างไรให้ตรงประเด็นการรักษา
 
33 พระมหามาติณ ถีนิติ 1
33 พระมหามาติณ ถีนิติ 133 พระมหามาติณ ถีนิติ 1
33 พระมหามาติณ ถีนิติ 1
 
ส งคมศ กษา
ส งคมศ กษาส งคมศ กษา
ส งคมศ กษา
 
พระวินัย ปรัชญาวินัย 0
พระวินัย ปรัชญาวินัย 0พระวินัย ปรัชญาวินัย 0
พระวินัย ปรัชญาวินัย 0
 
9789740330592
97897403305929789740330592
9789740330592
 
เราจะศึกษาวิทยาศาสตร์กันอย่างไร พื้นฐาน
เราจะศึกษาวิทยาศาสตร์กันอย่างไร พื้นฐานเราจะศึกษาวิทยาศาสตร์กันอย่างไร พื้นฐาน
เราจะศึกษาวิทยาศาสตร์กันอย่างไร พื้นฐาน
 
05 ethics
05 ethics05 ethics
05 ethics
 
ศึกษาเปรียบเทียบหลักจริยศาสตร์ของโสคราตีสกับพุทธปรัชญาเถรวาท
ศึกษาเปรียบเทียบหลักจริยศาสตร์ของโสคราตีสกับพุทธปรัชญาเถรวาทศึกษาเปรียบเทียบหลักจริยศาสตร์ของโสคราตีสกับพุทธปรัชญาเถรวาท
ศึกษาเปรียบเทียบหลักจริยศาสตร์ของโสคราตีสกับพุทธปรัชญาเถรวาท
 

Plus de native

โปรแกรมเมอร์
โปรแกรมเมอร์โปรแกรมเมอร์
โปรแกรมเมอร์native
 
แผ่นพับ โรคกระเพาะ
แผ่นพับ โรคกระเพาะแผ่นพับ โรคกระเพาะ
แผ่นพับ โรคกระเพาะnative
 
แผ่นพับ โรคมือเท้าปาก
แผ่นพับ โรคมือเท้าปากแผ่นพับ โรคมือเท้าปาก
แผ่นพับ โรคมือเท้าปากnative
 
แผ่นพับ โรคไข้หวัด
แผ่นพับ โรคไข้หวัดแผ่นพับ โรคไข้หวัด
แผ่นพับ โรคไข้หวัดnative
 
แผ่นพับ โรคตาแดง
แผ่นพับ โรคตาแดงแผ่นพับ โรคตาแดง
แผ่นพับ โรคตาแดงnative
 
ใบความรู้ โอเปร่า เรื่อง ขลุ่ยวิเศษ
ใบความรู้ โอเปร่า เรื่อง ขลุ่ยวิเศษใบความรู้ โอเปร่า เรื่อง ขลุ่ยวิเศษ
ใบความรู้ โอเปร่า เรื่อง ขลุ่ยวิเศษnative
 
โอโซน
โอโซนโอโซน
โอโซนnative
 
บันทึกเหตุการณ์(วิชา ลิขิตภาษา)
บันทึกเหตุการณ์(วิชา ลิขิตภาษา)บันทึกเหตุการณ์(วิชา ลิขิตภาษา)
บันทึกเหตุการณ์(วิชา ลิขิตภาษา)native
 
ภาวะโลกร้อน
ภาวะโลกร้อนภาวะโลกร้อน
ภาวะโลกร้อนnative
 
ไวรัสกับไวรอยด์แตกต่างกันอย่างไร
ไวรัสกับไวรอยด์แตกต่างกันอย่างไรไวรัสกับไวรอยด์แตกต่างกันอย่างไร
ไวรัสกับไวรอยด์แตกต่างกันอย่างไรnative
 
กลุ่มดาว88กลุ่ม
กลุ่มดาว88กลุ่มกลุ่มดาว88กลุ่ม
กลุ่มดาว88กลุ่มnative
 
ดวงอาทิตย์ The sun
ดวงอาทิตย์  The sunดวงอาทิตย์  The sun
ดวงอาทิตย์ The sunnative
 
ใบความรู้ เรื่องตรีโกณมิติ
ใบความรู้ เรื่องตรีโกณมิติใบความรู้ เรื่องตรีโกณมิติ
ใบความรู้ เรื่องตรีโกณมิติnative
 

Plus de native (13)

โปรแกรมเมอร์
โปรแกรมเมอร์โปรแกรมเมอร์
โปรแกรมเมอร์
 
แผ่นพับ โรคกระเพาะ
แผ่นพับ โรคกระเพาะแผ่นพับ โรคกระเพาะ
แผ่นพับ โรคกระเพาะ
 
แผ่นพับ โรคมือเท้าปาก
แผ่นพับ โรคมือเท้าปากแผ่นพับ โรคมือเท้าปาก
แผ่นพับ โรคมือเท้าปาก
 
แผ่นพับ โรคไข้หวัด
แผ่นพับ โรคไข้หวัดแผ่นพับ โรคไข้หวัด
แผ่นพับ โรคไข้หวัด
 
แผ่นพับ โรคตาแดง
แผ่นพับ โรคตาแดงแผ่นพับ โรคตาแดง
แผ่นพับ โรคตาแดง
 
ใบความรู้ โอเปร่า เรื่อง ขลุ่ยวิเศษ
ใบความรู้ โอเปร่า เรื่อง ขลุ่ยวิเศษใบความรู้ โอเปร่า เรื่อง ขลุ่ยวิเศษ
ใบความรู้ โอเปร่า เรื่อง ขลุ่ยวิเศษ
 
โอโซน
โอโซนโอโซน
โอโซน
 
บันทึกเหตุการณ์(วิชา ลิขิตภาษา)
บันทึกเหตุการณ์(วิชา ลิขิตภาษา)บันทึกเหตุการณ์(วิชา ลิขิตภาษา)
บันทึกเหตุการณ์(วิชา ลิขิตภาษา)
 
ภาวะโลกร้อน
ภาวะโลกร้อนภาวะโลกร้อน
ภาวะโลกร้อน
 
ไวรัสกับไวรอยด์แตกต่างกันอย่างไร
ไวรัสกับไวรอยด์แตกต่างกันอย่างไรไวรัสกับไวรอยด์แตกต่างกันอย่างไร
ไวรัสกับไวรอยด์แตกต่างกันอย่างไร
 
กลุ่มดาว88กลุ่ม
กลุ่มดาว88กลุ่มกลุ่มดาว88กลุ่ม
กลุ่มดาว88กลุ่ม
 
ดวงอาทิตย์ The sun
ดวงอาทิตย์  The sunดวงอาทิตย์  The sun
ดวงอาทิตย์ The sun
 
ใบความรู้ เรื่องตรีโกณมิติ
ใบความรู้ เรื่องตรีโกณมิติใบความรู้ เรื่องตรีโกณมิติ
ใบความรู้ เรื่องตรีโกณมิติ
 

พุทธศาสนากับวิทยาศาสตร์

  • 1. หลักการพระพุทธศาสนากับหลักการวิทยาศาสตร์ หลักการของพระพุทธศาสนากับหลักการของวิทยาศาสตรมีทั้งส่วนที่ สอดคล ้อง และส่วนที่แตกต่างกัน ดังต่อไปนี้ ความสอดคล้องกันของ หลักการของพระพุทธศาสนากับหลักการวิทยาศาสตร์ 1. ในด้านความเชื่อ (Confidence) หลักการวิทยาศาสตร ถือหลักว่า จะ เชื่ออะไรนั้นจะต ้องมีการพิสูจนให ้เห็นจริงได ้เสียก่อน วิทยาศาสตรเชื่อในเหตุผล ไม่เชื่ออะไรลอย ๆ และต ้องมีหลักฐานมายืนยัน วิทยาศาสตรไม่อาศัยศรัทธาแต่ อาศัยเหตุผล เชื่อการทดลองว่าให ้ความจริงแก่เราได ้แต่ไม่เชื่อการดลบันดาลของ สิ่งศักดิ์สิทธิ์ เพราะทุกอย่างดาเนินอย่างมีกฎเกณฑ มีเหตุผล และวิทยาศาสตรอาศัยปัญญาและเหตุผลเป็นตัวตัดสิน ความจริง วิทยาศาสตรมีความเชื่อว่า สรรพสิ่งในจักรวาลล ้วนดาเนินไปอย่างมีเหตุผล มีความเป็นระเบียบและมี กฎเกณฑที่แน่นอน หลักการทางพระพุทธศาสนา มีหลักความเชื่อเช่นเดียวกับหลักวิทยาศาสตร ไม่ได ้สอนให ้มนุษยเชื่อและศรัทธา อย่างงมงายในอิทธิปาฏิหาริย และอาเทศนาปาฏิหาริย แต่สอนให ้ศรัทธาในอนุสาสนีปาฏิหาริย ที่จะก่อให ้เกิดปัญญาใน การแก ้ทุกขแก ้ปัญหาชีวิต ไม่สอนให ้เชื่อให ้ศรัทธาในสิ่งที่อยู่นอกเหนือประสาทสัมผัสเช่นเดียวกับวิทยาศาสตร สอน ให ้มนุษยนาเอาหลักศรัทธาโยงไปหาการพิสูจนด ้วยประสบการณ ด ้วยปัญญา และด ้วยการปฏิบัติ ดังหลักของความเชื่อ ใน “กาลามสูตร” คืออย่าเชื่อ เพียงเพราะให ้ฟังตามกันมา อย่าเชื่อ เพียงเพราะได ้เรียนตามกันมา อย่าเชื่อ เพียงเพราะได ้ถือปฏิบัติสืบต่อกันมา อย่าเชื่อ เพียงเพราะเสียงเล่าลือ อย่าเชื่อ เพียงเพราะอ ้างตารา อย่าเชื่อ เพียงเพราะตรรกะ หรือนึกคิดเอาเอง อย่าเชื่อ เพียงเพราะอนุมานหรือคาดคะเนเอา อย่าเชื่อ เพียงเพราะคิดตรองตามแนวเหตุผล อย่าเชื่อ เพียงเพราะตรงกับทฤษฎีของตนหรือความเห็นของตน อย่าเชื่อ เพียงเพราะรูปลักษณะน่าเชื่อ อย่าเชื่อ เพียงเพราะท่านเป็นสมณะหรือเป็นครูอาจารยของเรา ในหลักกาลามสูตรนี้ พระพุทธเจ ้ายังตรัสต่อไปว่า จะต ้องรู้เข ้าใจด ้วยว่า สิ่งเหล่านี้เป็นกุศล หรืออกุศล ถ ้ารู้ว่า เป็นอกุศล มีโทษ ไม่เป็นประโยชน ทาให ้เกิดทุกข พึงละเสีย ถ ้ารู้ว่าเป็นกุศล มีคุณ เป็นประโยชน เป็นไปเพื่อความสุข ก็ให ้ถือปฏิบัติ นั่นคือศรัทธาหรือความเชื่อที่ก่อให ้เกิดปัญญา 2. ในด้านความรู้ (Wisdom) ทั้งหลักการทางวิทยาศาสตรและหลักการของพระพุทธศาสนา ยอมรับความรู้ที่ได ้จาก ประสบการณ หมายถึง การที่ตา หู จมูก ลิ้น กาย ได ้ประสบกับความรู้สึกนึกคิด เช่น รู้สึกดีใจ รู้สึกอยากได ้เป็นต ้น วิทยาศาสตรเริ่มต ้นจากประสบการณคือ จากการที่ได ้พบเห็นสิ่งต่าง ๆ แล ้วเกิดความอยากรู้อยากเห็นก็แสวงหา คาอธิบาย วิทยาศาสตรไม่เชื่อหรือยึดถืออะไรล่วงหน้าอย่างตายตัว แต่จะอาศัยการทดสอบด ้วยประสบการณสืบสาวไป เรื่อย ๆ จะไม่อ ้างอิงถึงสิ่งศักดิ์สิทธิ์ใด ๆ ที่อยู่นอกเหนือประสบการณและการทดลอง วิทยาศาสตรแสวงหาความจริง สากล (Truth) ได ้จากฐานที่เป็ นความจริงเฉพาะองคความรู้ในทางวิทยาศาสตรได ้จากประสบการณ ความรู้ใดที่อยู่นอก ขอบเขตของประสบการณไม่ถือว่าเป็นความรู้ทางวิทยาศาสตรพระพุทธเจ ้าก็ทรง เริ่มคิดจากประสบการณคือ ประสบการณที่ได ้เห็นความเจ็บ ความแก่ ความตาย และที่สาคัญที่สุดคือความทุกข พระองคมีพระประสงคที่จะค ้นหาสาเหตุของทุกข ในการค ้นหานี้ พระองคมิได ้เชื่ออะไรล่วงหน้าอย่างตายตัว ไม่ทรงเชื่อว่ามีพระผู้ เป็นเจ ้าหรือสิ่งศักดิ์สิทธิ์ใด ๆ ที่จะให ้คาตอบได ้แต่ได ้ทรงทดลองโดยอาศัย ประสบการณของพระองคเองดังเป็นที่ทราบกันดีอยู่แล ้ว หลักการพระพุทธศาสนาและหลักการทางวิทยาศาสตรมีส่วนที่ต่างกันใน เรื่องนี้คือ วิทยาศาสตรเน้นความสนใจกับปัญหาที่เกิดขึ้นจากประสบการณด ้าน ประสาทสัมผัส (ตา หู จมูก ลิ้น กาย) ส่วนพระพุทธศาสนาเน้นความสนใจกับ
  • 2. ปัญหาที่เกิดทางจิตใจ หลักการทางพระพุทธศาสนามีส่วนคล ้ายคลึงกับหลักการทางวิทยาศาสตรในหลายประการ เช่น ในขณะที่มีนักวิทยาศาสตรกลุ่มหนึ่งมุ่งแสวงหาความจริงของธรรมชาติที่เรียกว่า วิทยาศาสตรบริสุทธิ์ (Pure Science) และมีนักวิทยาศาสตรอีกกลุ่มหนึ่งมุ่งแสวงหาความรู้ที่จะนามาก่อให ้เกิดประโยชนต่อมนุษยที่เรียกว่า วิทยาศาสตร ประยุกต (Applied Science) หลักการพระพุทธศาสนาก็เช่นเดียวกัน พระพุทธเจ ้าตรัสรู้พระสัทธรรมเพื่อสอนให ้มนุษยเกิดปัญญา 2 ทางคือ ทางแรก สอนให ้เกิดความรู้ความเข ้าใจที่ถูกต ้องในธรรมชาติและในกฎธรรมชาติ เช่น สอนให ้รู้หลักอิทัปปัจจยตา หลัก ไตรลักษณ หลักอริยสัจ หลักเบญจขันธ ทางที่สอง สอนให ้เกิดความรู้ความเข ้าใจในคุณค่าทางจริยธรรม เพื่อนาไปใช ้ ไปปฏิบัติให ้เกิดผลดีต่อตนเอง ต่อสังคม และต่อธรรมชาติที่เรียกว่า ไตรสิกขา สอนให ้ละเว ้นความชั่ว สอนให ้กระทา ความดี และสอนให ้ทาจิตใจให ้สงบบริสุทธิ์ อย่างไรก็ตามหลักการพระพุทธศาสนาจะมีฐานะคล ้ายกับวิทยาศาสตรบริสุทธิ์ แต่จริยศาสตรแนวพุทธไม่ เหมือนกับวิทยาศาสตรประยุกต ดังท่านพระธรรมปิฎก แสดงความเห็นไว ้ในการบรรยายเรื่อง พระพุทธศาสนาในฐานะ รากฐานของวิทยาศาสตรตอนหนึ่งว่า “วิทยาศาสตรนาเอาความรู้จากกฎธรรมชาติ โดยสอนให ้มนุษยรู้จักใช ้เทคโนโลยี เพื่อควบคุมธรรมชาติ ส่วน ปรัชญาพุทธสอนให ้มนุษยนาสัจธรรมมาสร้างจริยธรรมเพื่อดาเนินชีวิตให ้สอดคล ้องกับธรรมชาติ สอนให ้มนุษยใช ้ ปัญญา ในการแก ้ปัญหาชีวิตและพัฒนาคุณภาพชีวิต” ความแตกต่างของหลักการพระพุทธศาสนากับหลักการทางวิทยาศาสตร์ 1. มุ่งเข ้าใจปรากฎการณทางธรรมชาติหลักการทางวิทยาศาสตรมุ่งเข ้าใจ ปรากฏการณต่าง ๆ ที่เกิดขึ้น ต ้องการรู้ว่าอะไรเป็นสาเหตุ อะไรเป็นผลที่ตามมา เช่น เมื่อ เกิดฟ้าผ่า ต ้องรู้อะไรคือสาเหตุของฟ้าผ่า และผลที่ตามมาหลังจากฟ้าผ่าแล ้วจะเป็น อย่างไร หลักการพระพุทธศาสนาก็มุ่งเข ้าใจปรากฏการณต่าง ๆ เช่นเดียวกัน แต่ต่างตรงที่ พระพุทธศาสนาเน้นเป็นพิเศษเกี่ยวกับวิถีชีวิตของมนุษยมากกว่ากฎเกี่ยวกับสิ่งที่ไร้ชีวิต จุดหมายปลายทางของพระพุทธศาสนาคือ สอนให ้คนเป็นคนดีขึ้น พัฒนาขึ้น สมบูรณขึ้น 2. ต ้องการเรียนรู้กฎธรรมชาติ หลักการทางวิทยาศาสตรต ้องการเรียนรู้กฎธรรมชาติ และหาทางควบคุมธรรมชาติ หรือเอาชนะธรรมชาติ พูดอีกอย่างหนึ่งก็คือ วิทยาศาสตรเน้น การควบคุมธรรมชาติภายนอกมุ่งแก ้ปัญหาภายนอกวิทยาศาสตรถือว่าการพิสูจนทดลอง ทางวิทยาศาสตรเป็นสิ่งที่นามาแสดงให ้สาธารณชนประจักษชัดเป็นหลักฐานยืนยันในสิ่งที่ ค ้นพบนั้นได ้จึงจะเป็นการยอมรับในวงการวิทยาศาสตร หลักการพระพุทธศาสนาเป็นการทดสอบความรู้สึกทุกข หรือไม่เป็นทุกข ซึ่งเป็นสิ่งที่ประจักษชัดในจิตใจเฉพาะ ตน ไม่สามารถตีแผ่ให ้สาธารณชนประจักษด ้วยสายตา แต่พิสูจนทดลองได ้ด ้วยความรู้สึกในจิตใจ และหลักการ พระพุทธศาสนาไม่ได ้เน้นในเรื่องให ้สาธารณชนยอมรับหรือไม่ยอมรับ มุ่งให ้ศึกษาเข ้าไปในจิตใจตนเอง แต่มุ่งแสวงหา ความจริงจากทั้งภายนอกและภายในตัวมนุษยอันเป็นเหตุที่ทาให ้เกิดปัญหา ทางด ้านจิตวิญญาณอันเป็นผลกระทบต่อ การดารงชีวิตและต่อคุณภาพชีวิต สอนให ้คนควบคุมภายในจิตใจตัวเอง ลาพังแต่ความสามารถที่ควบคุมธรรมชาติได ้ ไม่อาจทาให ้ความสงบสุขเกิดขึ้นในโลกมนุษย มนุษยต ้องรู้จักควบคุมตนเอง ให ้มีจิตใจดีงามด ้วย สันติสุขที่แท ้จริงจึง จะเกิดขึ้นได ้ และสอนมนุษยดารงชีวิตให ้สอดคล ้องกลมกลืนกับธรรมชาติสิ่งแวดล ้อม 3. ยอมรับโลกแห่งสสาร (Matter) สสาร หมายถึง ธรรมชาติและสรรพสิ่งทั้งหลายที่มีอยู่จริง รวมทั้งปรากฏการณและ ความเป็นจริงตามภาวะวิสัย (ObjectiveReality) ด ้วย ซึ่งสรรพสิ่งเหล่านี้มีอยู่ต่างหากจากตัวเรา เป็นอิสระจากตัวเรา และเป็นสิ่งที่สะท ้อนขึ้นในจิตสานึกของคนเราเมื่อได ้สัมผัสมัน อันทาให ้ได ้รับรู้ถึงความมีอยู่ของสิ่งนั้น ๆ กล่าว โดยทั่วไปแล ้วสสารมีคุณลักษณะ 3 ประการคือ 1) เคลื่อนไหว (Moving) อยู่เสมอ 2) เปลี่ยนแปลง (Changing) อยู่เสมอ 3) การเคลื่อนไหวและการเปลี่ยนแปลง ดังกล่าวนั้น มิใช่เป็นการเคลื่อนไหวเปลี่ยนแปลงอย่างส่งเดช แต่หากเป็นการเคลื่อนไหวเปลี่ยนแปลงอย่างมีกฎเกณฑที่เรียกกันว่า กฎแห่งธรรมชาติ (Laws of Natires)
  • 3. วิทยาศาสตรยอมรับโลกแห่งสสารซึ่งเทียบได ้กับ “รูปธรรม” ในความหมายของพระพุทธศาสนา อันหมายถึงสิ่ง ที่มีอยู่จริงทางภาววิสัย ที่อวัยวะสัมผัสของมนุษยสัมผัสได ้วิทยาศาสตรมุ่งศึกษาด ้านสสารและพลังงาน ยอมรับโลก แห่งสสาร ที่รับรู้ด ้วยประสาทสัมผัสทั้ง 5 ว่ามีจริง โลกที่อยู่พ้นจากนั้น วิทยาศาสตรไม่ยอมรับ ส่วนแนวคิดทาง พระพุทธศาสนานี้ ชี้ว่าสัจธรรมสูงสุด (นิพพาน) ซึ่งเป็นสภาวะที่ประสาทสัมผัสของมนุษยปุถุชนที่เต็มไปด ้วยกิเลส ตัณหา ไม่สามารถรับรู้ได ้พระพุทธศาสนาแบ่งสิ่งที่มีอยู่จริงของสองพวกใหญ่ ๆ คือ “สังขตธรรม” (สิ่งที่ปัจจัยปรุงแต่ง) ได ้แก่ สสารและ “อสังขตธรรม” (สิ่งที่ปัจจัยมิได ้ปรุงแต่ง) คือ นิพพาน วิทยาศาสตรยอมรับว่าสังขตธรรมมีจริง แต่อสังขตธรรมอยู่เหนือการรับรู้ของวิทยาศาสตร สัจธรรมในพระพุทธศาสนานั้นมีทั้งที่สามารถแสดงให ้เห็นประจักษเป็นสาธารณะได ้และไม่สามารถแสดงให ้ ประจักษเป็นสาธารณะได ้ แต่แสดงโดยการประจักษในตนเองได ้(หมายถึงมีทั้งที่สามารถรับรู้ด ้วยประสาทสัมผัส และ รับรู้ด ้วยใจ) ความจริงระดับต ้น ๆ และระดับกลาง ๆ ใคร ๆ ก็อาจเข ้าใจและเห็นจริงได ้เช่น คนโลภมาก ๆ อิจฉามาก ๆ ไม่มีความสงบสุขแห่งจิตใจอย่างไรบ ้าง คนที่มีเมตตา ไม่ปรารถนาร้ายต่อใคร ๆ มีความสุข ไม่มีเวร ไม่มีภัย อย่างไร บ ้าง ความจริงเหล่านี้ ล ้วนสามารถแสดงให ้ประจักษได ้ ชี้ให ้ดูตัวอย่างได ้แต่ปรมัตถธรรม อันสูงสุดนั้นผู้ที่ได ้พบแล ้ว ยากจะอธิบายให ้คนอื่นเข ้าใจได ้เป็นสภาวะที่ผู้รู้เอง เห็นเอง จะพึงประจักษเฉพาะตัว 4. มุ่งความจริงมาตีแผ่ วิทยาศาสตรนั้นแสวงหาความรู้จากธรรมชาติและจากกฎธรรมชาติที่มีอยู่ภายนอกตัว มนุษย (มุ่งเน้นทางวัตถุหรือสสาร) ไม่ได ้สนใจเรื่องศีลธรรม เรื่องความดีความชั่ว สนใจเพียงค ้นคว ้าเอาความจริงมาตี แผ่ให ้ประจักษเพียงด ้านเดียว เช่น วิทยาศาสตรพบเรื่องการระเบิด แต่ควรระเบิดอะไร ไม่ควรระเบิดอะไร ไม่อยู่ใน ขอบข่ายของวิทยาศาสตร การค ้นพบทางวิทยาศาสตรจึงมีทั้งคุณอนันตและมีโทษมหันต กระบวนการผลิตทาง วิทยาศาสตรก่อให ้เกิดผลกระทบต่อสิ่งแวดล ้อม คาสอนทางพระพุทธศาสนานั้น เน้นเรื่องศีลธรรม ความดีความชั่ว มุ่ง ให ้มนุษยมีความสุข เป็นลาดับขึ้นไปเรื่อย ๆ จนถึงความสงบสุข อันสูงสุดคือนิพพาน ฉะนั้นกระบวนการปฏิบัติธรรมใน พุทธศาสนาจึงส่งเสริมให ้มนุษยอนุรักษธรรมชาติ อนุรักษสิ่งแวดล ้อม คาสอนทางพระพุทธศาสนานั้น เน้นเรื่องศีลธรรม ความดีความชั่ว มุ่งให ้มนุษยมีความสุข เป็นลาดับขึ้นไปเรื่อย ๆ จนถึงความ สงบสุข อันสูงสุดคือนิพพาน ฉะนั้นกระบวนการปฏิบัติธรรมในพุทธศาสนาจึงส่งเสริมให ้มนุษยอนุรักษธรรมชาติ อนุรักษ สิ่งแวดล ้อม