SlideShare une entreprise Scribd logo
1  sur  5
Télécharger pour lire hors ligne
การควบคุมการรูคิดของตนเอง
                                                              Metacognition

           สภาพสังคมในยุคปจจุบันจะกําลังกาวเขาสูยุคของคลื่นลูกที่สาม ซึ่งเปนคลื่นแหงสารสนเทศ
และการใชเทคโนโลยีชั้นสูงในการติดตอสื่อสาร ทําใหขอมูลขาวสารตางๆมีการเปลี่ยนแปลงอยาง
รวดเร็ว ความรูที่เกิดขึ้นในวันนี้ กลายเปนสิ่งที่ลาสมัยสําหรับวันรุงขึ้น องคการตางๆจึงจําเปนตอง
ปรับตัวกับสภาพการที่เปลี่ยนแปลงอยางรวดเร็วนี้ใหไดอยางทันทวงที และแนนอนสถาบันการศึกษา
ในฐานะผูพัฒนาคนของประเทศชาติ ยิ่งจําเปนตองรูเทาทันที่จะพัฒนาเด็กและเยาวชนของชาติให
สามารถเรียนรูสิ่งตางๆในยุคของคลื่นลูกที่สามนี้ใหไดอยางมีประสิทธิภาพ ซึ่งการเรียนรูอยางมี
ประสิทธิภาพนั้น ผูเรียนจะตองใชทักษะการคิดและกระบวนการคิดเปนเครื่องมือในการสรางองคความรู
ดังนั้นผูสอนหรือแมกระทั่งตัวผูเรียนเองจําเปนตองมีความเขาใจและตระหนักถึงความสําคัญของทักษะ
การคิดของมนุษย ทิศนา แขมณี และคณะ (2540) ไดศึกษาพบวา มิติของการคิดมี 6 ดาน ไดแก
มิติดานเนื้อหาหรือขอมูลที่ใชในการคิด มิติดานคุณสมบัติที่เอื้ออํานวยตอการคิด มิติดานทักษะการคิด
มิติดานลักษณะการคิด มิติดานกระบวนการคิด และสุดทาย คือ มิติดานการควบคุมและการประเมิน
การคิดของตนเอง ผูคิดจะสามารถใชกระบวนการคิดไดดีนั้น ตองมีคุณสมบัติที่เอื้ออํานวยตอการคิด
และอีกประการหนึ่งที่มีความสําคัญยิ่ง คือ ความสามารถในการควบคุมและประเมินการคิดของตนเอง
หรือที่เรียกกันวา เมตาคอกนิชัน (Meta cognition) นั่นเอง

เมตาคอกนิชนคืออะไร
                 ั
          เนื่องจากนักจิตวิทยาปญญานิยมเชื่อวา ผูเรียนเปนผูที่มีความสําคัญตอการเรียนรู เปนผูที่
ควบคุมกิจกรรมการเรียนรูดวยตนเอง (self-regulation) ฟลาแวล (Flavell,1979 อางถึงใน สุรางค
โควตระกูล, 2533) กลาววา Meta Cognitive หมายถึง ความรูสวนตัวของแตละบุคคล ตอสิ่งที่ได
เรียนรู หรือสิ่งที่ตนรู (Knowing) ตางกับ Cognitive ซึ่งหมายถึง การรูคิด หรือปญญาที่เกิดจากการ
เรียนรูอะไรก็ตามดวยความเขาใจ สวน พิมพันธ เดชะคุปต (4544) กลาววา เมตาคอกนิชัน หมายถึง
การควบคุมและการประเมินการคิดของตนเอง หรือความสามารถของบุคคลที่ไดรับการพัฒนา เพื่อ
ควบคุมกํากับกระบวนการทางปญญา หรือกระบวนการคิด มีความตระหนักในงานและสามารถใช
ยุทธวิธีในการทํางานจนสําเร็จอยางสมบูรณ
7

เมตาคอกนิชนสําคัญอยางไร
               ั
         เมตาคอกนิชน เปนองคประกอบสําคัญของการเรียนรูอยางมีประสิทธิภาพ เพราะวา เปนสิ่งที่
                    ั
ชวยใหแตละคนควบคุม กํากับกระบวนการทางปญญาของตนได ความรูในเมตาคอกนิชน มีการพัฒนา
                                                                                ั
ตั้งแตแรกเกิดโดยพัฒนาอยางชาๆ จนถึงวัยรุน ผูใหญมีแนวโนมจะมีความรูดานปญญาของตนเอง
มากกวาวัยเด็ก และมีความสามารถอธิบายในความรูนนไดดกวา (Baker,1999) การเรียนรูที่ดีสามารถ
                                                  ั้   ี
เกิดผลตอ เมตาคอกนิชนทีเ่ หมาะสม พฤติกรรมการเรียนรูที่ดีเกิดจากการสอนที่เหมาะสม
                      ั

องคประกอบของเมตาคอกนิชันมีอะไรบาง
        เบเกอร และบราวน (Baker and Brown,1984 อางใน ทิศนา แขมณี และคณะ (2540) ไดสรุปไววา
เมตาคอกนิชัน แยกไดเปน 2 องคประกอบ คือ
        1. การตระหนักรู (awareness) เปนการตระหนักรูถึง ทักษะ กลวิธี และแหลงขอมูลที่จําเปนตอ
การทํางานอยางมีประสิทธิภาพ และรูวาจะตองทําอยางไร กลาวคือ เปนเรื่องของการที่บุคคลรูถึงสิ่งที่
                                      
ตนเองคิด และความสอดคลองกับสถานการณการเรียนรู รวมไปถึงการแสดงออกในสิ่งที่รูออกมาโดย
การอธิบายใหผูอื่นฟงได สามารถสรุปใจความสําคัญของสิ่งที่เรียนรูนน หรือมีวิธการจํา การวาง
                                                                   ั้         ี
ขอบขาย การจดบันทึก และความสามารถในการสะทอนการคิดของตนออกมาในขณะที่อานเรื่องราว      
หรือในการคิดแกปญหาซึงเปนทักษะที่จะทําใหบุคคลทํางานอยางมีแผน เพราะจะทําใหรูวางานนั้น
                          ่
จะตองประกอบดวยสิ่งใดบาง ที่จะทําใหงานนั้นเกิดประสิทธิภาพ และทําใหสถานการณนั้นมี
ประสิทธิภาพยิ่งขึ้น
        2. ความสามารถในการกํากับตนเอง (self-regulation) เปนความสามารถในการกํากับตนเอง
ในขณะที่กาลังคิดแกปญหา รวมไปถึงการพิจารณาวามีความเขาใจในสิ่งนั้นหรือไม การประเมินความ
          ํ
พยายามในการทํางาน การวางแผนในขันตอนการทํางาน การทดสอบวิธีการที่ใช การตัดสินใจในการ
                                        ้
ใชเวลา การเปลี่ยนไปใชวธอื่นเพื่อแกปญหา
                            ิี

        สําหรับ ฟลาเวลล(Flavell) ไดแบงเมตาคอกนิชัน เปน 2 องคประกอบ คือ
        1. ความรูในเมตาคอกนิชัน (metacognitive knowledge) หมายถึง สวนของความรู ทั้งหมด
ที่บุคคลสะสมไวในระบบความจําระยะยาว เปนการที่บุคคลรูวาตนเองรูอะไร และจะบรรลุเปาหมายได
อยางไร ซึ่งปจจัยที่มีผลตอความรูในเมตาคอกนิชันของบุคคลนั้น ไดแก
        - ตัวแปรดานบุคคล คือ การรูถึงความสามารถทางปญญา ของบุคคล
        - ตัวแปรดานงาน คือ การรูถึงลักษณะงานที่ทํา
        - ตั ว แปรด า นยุ ท ธวิ ธี คื อ การรู ถึ ง ยุ ท ธวิ ธี ที่ เ หมาะสมที่ จ ะใช ใ นการทํ า งานนั้ น ให บ รรลุ
             เปาหมายอยางมีประสิทธิภาพ
8


        2. ประสบการณในเมตาคอกนิชัน (metacognitive experience) หมายถึง ประสบการณ
ทางการคิดที่บุคคลสามารถควบคุมได และประสบการณนี้มีความสําคัญในการกํากับตนเอง ซึ่งมี
องคประกอบ 3 ประการ คือ
        - การวางแผน (planning) เปนการรูวาตนนเองคิดจะทํางานนั้นอยางไร ตั้งแตกําหนดเปาหมาย
จนการปฏิบัติงานจนบรรลุเปาหมาย
        - การตรวจสอบ (monitoring) เปนการทบทวนความคิดเกี่ยวกับแผนที่วางไววาเปนไปได
เพียงใด ความเหมาะสมของลําดับขั้นตอนและวิธีการที่เลือกใชเปนอยางไร
        - การประเมิน (evaluating) เปนการคิดเกี่ยวกับการประเมินการวางแผน วิธีการตรวจสอบ และ
การประเมินผลสัมฤทธิ์

การพัฒนาเมตาคอกนิชันทําไดอยางไร
        การมีเมตาคอกนิชันเปนความสําคัญสําหรับผูใชทักษะการคิด กระบวนการคิด เพื่อใชในการ
กําหนดปญหา หาวิธีการแกปญหาอยางหลากหลาย จึงควรตองพัฒนาเมตาคอกนิชัน แกบุคคลตางๆ
โดยเฉพาะผูเรียน ในการพัฒนาเมตาคอกนิชันจะตอง มีการเชื่อมโยงความรูใหมกับความรูเดิมหรือ
ความรูเทาที่มีอยู เลือกยุทธวิธีการคิดอยางพิถีพิถันรอบคอบ วางแผนกํากับหรือตรวจสอบและประเมิน
กระบวนการคิด ซึ่งในการพัฒนาเมตาคอกนิชันหรือการพัฒนาพฤติกรรมการควบคุมและประเมินการ
คิดพอแบงไดเปนขั้นตอน ดังนี้
                  1. ระบุวาเรารูอะไร ไมรูอะไร โดยการฝกเขียนใหชัดเจน
                  2. อภิปรายเกี่ยวกับกระบวนการคิดของตน
                  3. บันทึกวิธีคิด ขอควรระวัง ความยากลําบาก โดยการเขียนอนุทิน
                  4. วางแผนกํากับการเรียนดวยตนเอง
                  5. สรุปกระบวนการคิดเมื่อทํากิจกรรมเสร็จ
                  6. ประเมินผลการคิดของตนเอง

           การพัฒนาเมตาคอกนิชันโดยการฝกการอาน
                   การอานเปนเรื่องของการใชทักษะและกระบวนการคิด ผูเรียนจําเปนตองอาศัยบทบาท
ของเมตาคอกนิชันเปนอยางมาก โดยผูเรียน จะตองใสใจกับการอาน มีการจัดเตรียมและวางแผนการ
อาน รวมทั้งตองมีการประเมินผลการอาน จากหลักการดังกลาวสามารถสรุปเปนขั้นตอนสําหรับฝก
ใหแกผูเรียนได ดังนี้
                   1. ฝกสรางความเขาใจเกี่ยวกับความหมายของการอาน โดยเนนใหผูเรียนอานเพื่อ
ทําความเขาใจวาผูเขียนตองการสื่ออะไร มิใชอานเพื่อออกเสียงคําตางๆ
9


                  2. ฝกตั้งจุดประสงคในการอานแตละครั้ง
                  3. ฝกตั้งคําถามเกี่ยวกับสิ่งที่ไดอานไดอานไปแลว
                  4. ฝกตั้งสมมุติฐานเกี่ยวกับสิ่งที่จะอาน
                  5. ฝกสรุปเนื้อหาที่ไดอานแลวดวยภาษาของตน
                  6. ฝกสรางจิตภาพเกี่ยวกับสิ่งที่อานไปแลว

         การพัฒนาเมตาคอกนิชันโดยการฝกแกโจทยปญหา
                 การฝกผูเรียนใหรูถึงกระบวนการคิดของตนเองตลอดจนสามารถควบคุม ตรวจสอบ
การคิดของตนเองไดในทิศทางที่ถูกตอง อาจใชเทคนิคการแกโจทยปญหา ดังนี้
                 1. ฝกใหรูจักการวางแผน โดย ฝกวิเคราะหเปาหมายของการแกโจทยปญหาหานั้น
ฝกใหเลือกใชยุทธวิธีตางๆ ในการแกปญหา เชน ยุทธวิธีการเดาและตรวจสอบ การวาดภาพ การสราง
ตาราง การสรางรายการ การใหเหตุผล การคนหาแบบแผน การทํายอนกลับ เปนตน รวมทั้งฝกให
เรียงลําดับขั้นตอนตามยุทธวิธีที่ไดเลือกไวและประมาณคําตอบที่คาดวาจะได
                 2. ฝกใหรูจักการกํากับควบคุมและตรวจสอบการคิดของตนเอง โดยการกําหนด
เปาหมายไวในใจ และกํากับวิธีการตางๆ ใหเปนไปตามขั้นตอนของยุทธวิธีการแกปญหาที่เลือกไว
                 3. ฝกใหประเมินการคิดของตนเอง โดยการ ประเมินความสําเร็จของเปาหมาย
หลังจากที่ไดปฏิบัติกิจกรรมตามขั้นตอนที่เลือกไว ซึ่งอาจทําไดโดย การฝกตรวจสอบคําตอบหรือ
ผลลัพธของงานวาถูกตองจริงหรือไม และฝกตรวจสอบขั้นตอนการปฏิบัติวาสมบูรณ หรือมีขอพกพรอง
ที่อาจนําไปปรับปรุงแกไขใหดีขึ้นตอไปไดหรือไม

        กล า วโดยสรุ ป เมตาคอกนิ ชั น เป น มิ ติ ห นึ่ ง ของการคิ ด มี คุ ณ สมบั ติ ที่ เ อื้ อ ต อ การคิ ด มี
ความสามารถในการในการควบคุมการคิดและประเมินการคิดของตนเอง หรือกลาวไดวา เปนสิ่งที่ชวย
ใหแตละคนควบคุมกํากับกระบวนการทางปญญาของตนได เมตาคอกนิชันจึงเปนองคประกอบสําคัญ
ของการเรียนรูอยางมีประสิทธิภาพ และการเรียนรูที่ดีสามารถเกิดผลที่ดีตอเมตาคอกนิชันดวย ดังนั้น
การฝ ก ให เ ด็ ก สามารถกํ า กั บ ตนเองได จะส ง ผลต อ การปรั บ พั ฒ นาการหรื อ การกระทํ า และ
เสริมสรางอัตมโนทัศน อันจะเปนผลตอความสามารถทางวิชาการของเด็กนั่นเอง จะเห็นไดวาแม
สังคมโลกจะเปลี่ยนไปกี่ยุคสมัยก็ตาม แมแตคลื่นลูกที่สามในยุคปจจุบันซึ่งเปนกระแสคลื่นยักษแหง
สารสนเทศและการใชเทคโนโลยีชั้นสูง หรือคลื่นแหงขอมูลขาวสารจะทวมทนหรือมีการเปลี่ยนแปลง
รวดเร็วอยางไร แตเมตาคอกนิชันไมเคยเปลี่ยนแปลง ยังคงเปนองคประกอบที่สําคัญของอาวุธที่ดีที่สุด
ของคนในยุคสมัยนี้ หากแตวาเราทุกคนเห็นอาวุธที่ติดตัวมานี้หรือไม ตรงกันขามหากเรารูจักใช รูจัก
10


พัฒนาอาวุธที่วิเศษสุดในตัวเราชิ้นนี้แลว ก็จะไมมีกระแสคลื่นแหงสังคมใดๆ ที่จะมีอํานาจเหนือกระแส
คลื่นแหงปญญาของเราไปได            ถึงเวลาแลวที่ผูสอน ผูเรียน และผูที่เกี่ยวของ จําเปนตองมีความ
เขาใจและตระหนักถึงความสําคัญของทักษะการคิดของมนุษย ซึ่งถือไดวาเปนปจจัยที่หก (ที่แทจริง)
แหงการดํารงชีพของมนุษยใหรูเทาทัน ไมตกเปนทาสของสิ่งตางๆทั้งปวง ทั้งในยุคสมัยนี้และยุคแหง
อนาคตขางหนา




บรรณานุกรม
เกรียงศักดิ์ เจริญวงศศักดิ์. (2537) ลายแทงนักคิด. กรุงเทพฯ : ซัคเซส มีเดีย จํากัด.
ชาติ แจมนุช. (2545) สอนอยางไรใหคิดเปน. กรุงเทพฯ : โรงพิมพเลี่ยงเชียง.
ทิศนา แขมณี และคณะ. (2544) วิทยาการดานการคิด. กรุงเทพฯ : เดอะมาสเตอรกรุป
         แมเนจเมนท จํากัด.
สมบัติ การจนารักพงค. (2545) เทคนิคการสอนใหผเรียนเกิดทักษะการคิด. กรุงเทพฯ :
                                                    ู
         21 เซ็นจูรี่ จํากัด.
สุวิทย มูลคํา. (2547) ครบเครื่องเรื่องการคิด. กรุงเทพฯ : หางหุนสวน จํากัด ภาพพิมพ.
                                                                
Baker,L. (1999). Metacognition,comprehension monitoring, and the adult leader. Educational
         Psychology Review :3-38.
Livingston, J. (No date) Teaching Meta-cognition. (Online) Available :
        http://www.gse.buffalo.edu/fas/shuell/cep564/Metacog.htm
What is Metacognition? (Online) Available :
         http://www.usask.ca/education/coursework/802papers/Adkins/SEC1.HTM

Contenu connexe

Tendances

การเรียนรู้แบบ4 mat
การเรียนรู้แบบ4 matการเรียนรู้แบบ4 mat
การเรียนรู้แบบ4 matSukanya Burana
 
วิธีการเขียนวิจัยในชั้นเรียน
วิธีการเขียนวิจัยในชั้นเรียนวิธีการเขียนวิจัยในชั้นเรียน
วิธีการเขียนวิจัยในชั้นเรียนAj Ob Panlop
 
หลักสูตร
หลักสูตรหลักสูตร
หลักสูตรPat1803
 
จิตวิทยาการสอนคณิตศาสตร์
จิตวิทยาการสอนคณิตศาสตร์จิตวิทยาการสอนคณิตศาสตร์
จิตวิทยาการสอนคณิตศาสตร์natthiida
 
บทความทางวิชาการ
บทความทางวิชาการบทความทางวิชาการ
บทความทางวิชาการขวัญ ฤทัย
 
สรุปสถานการณ์ปัญหาตามทฤษฎีพุทธิปัญญานิยม
สรุปสถานการณ์ปัญหาตามทฤษฎีพุทธิปัญญานิยมสรุปสถานการณ์ปัญหาตามทฤษฎีพุทธิปัญญานิยม
สรุปสถานการณ์ปัญหาตามทฤษฎีพุทธิปัญญานิยมjeerawan_l
 
ทฤษฎีการเรียนรู้กลุ่มพุทธิปัญญานิยมและการออกแบบการสอน
ทฤษฎีการเรียนรู้กลุ่มพุทธิปัญญานิยมและการออกแบบการสอนทฤษฎีการเรียนรู้กลุ่มพุทธิปัญญานิยมและการออกแบบการสอน
ทฤษฎีการเรียนรู้กลุ่มพุทธิปัญญานิยมและการออกแบบการสอนNisachol Poljorhor
 
ทฤษฎีการเรียนรู้เพื่อการจัดการเรียนการสอนที่เน้นผู้เรียนเป็นศูนย์กลาง
ทฤษฎีการเรียนรู้เพื่อการจัดการเรียนการสอนที่เน้นผู้เรียนเป็นศูนย์กลางทฤษฎีการเรียนรู้เพื่อการจัดการเรียนการสอนที่เน้นผู้เรียนเป็นศูนย์กลาง
ทฤษฎีการเรียนรู้เพื่อการจัดการเรียนการสอนที่เน้นผู้เรียนเป็นศูนย์กลางNampeung Kero
 
ทฤษฎีการเรียนรู้เพื่อการจัดการเรียนการ
ทฤษฎีการเรียนรู้เพื่อการจัดการเรียนการทฤษฎีการเรียนรู้เพื่อการจัดการเรียนการ
ทฤษฎีการเรียนรู้เพื่อการจัดการเรียนการkhamnueng_1
 
สถานการณ์ปัญหาพุทธิปัญญานิยม
สถานการณ์ปัญหาพุทธิปัญญานิยมสถานการณ์ปัญหาพุทธิปัญญานิยม
สถานการณ์ปัญหาพุทธิปัญญานิยมpimporn454
 
จิตวิทยาพัฒนาการ
จิตวิทยาพัฒนาการจิตวิทยาพัฒนาการ
จิตวิทยาพัฒนาการRukvicha Jitsumrawy
 
ภารกิจระดับครูผู้ช่วย
ภารกิจระดับครูผู้ช่วยภารกิจระดับครูผู้ช่วย
ภารกิจระดับครูผู้ช่วยFuangFah Tingmaha-in
 
บทที่8
บทที่8บทที่8
บทที่8Nat Thida
 

Tendances (19)

การเรียนรู้แบบ4 mat
การเรียนรู้แบบ4 matการเรียนรู้แบบ4 mat
การเรียนรู้แบบ4 mat
 
วิธีการเขียนวิจัยในชั้นเรียน
วิธีการเขียนวิจัยในชั้นเรียนวิธีการเขียนวิจัยในชั้นเรียน
วิธีการเขียนวิจัยในชั้นเรียน
 
หลักสูตร
หลักสูตรหลักสูตร
หลักสูตร
 
Pys3 pbl
Pys3 pblPys3 pbl
Pys3 pbl
 
จิตวิทยาการสอนคณิตศาสตร์
จิตวิทยาการสอนคณิตศาสตร์จิตวิทยาการสอนคณิตศาสตร์
จิตวิทยาการสอนคณิตศาสตร์
 
บทความทางวิชาการ
บทความทางวิชาการบทความทางวิชาการ
บทความทางวิชาการ
 
1ปกสอน
1ปกสอน1ปกสอน
1ปกสอน
 
สรุปสถานการณ์ปัญหาตามทฤษฎีพุทธิปัญญานิยม
สรุปสถานการณ์ปัญหาตามทฤษฎีพุทธิปัญญานิยมสรุปสถานการณ์ปัญหาตามทฤษฎีพุทธิปัญญานิยม
สรุปสถานการณ์ปัญหาตามทฤษฎีพุทธิปัญญานิยม
 
29 ใบงานที่2 8
29 ใบงานที่2 829 ใบงานที่2 8
29 ใบงานที่2 8
 
ทฤษฎีการเรียนรู้กลุ่มพุทธิปัญญานิยมและการออกแบบการสอน
ทฤษฎีการเรียนรู้กลุ่มพุทธิปัญญานิยมและการออกแบบการสอนทฤษฎีการเรียนรู้กลุ่มพุทธิปัญญานิยมและการออกแบบการสอน
ทฤษฎีการเรียนรู้กลุ่มพุทธิปัญญานิยมและการออกแบบการสอน
 
4 mat
4 mat4 mat
4 mat
 
ทฤษฎีการเรียนรู้เพื่อการจัดการเรียนการสอนที่เน้นผู้เรียนเป็นศูนย์กลาง
ทฤษฎีการเรียนรู้เพื่อการจัดการเรียนการสอนที่เน้นผู้เรียนเป็นศูนย์กลางทฤษฎีการเรียนรู้เพื่อการจัดการเรียนการสอนที่เน้นผู้เรียนเป็นศูนย์กลาง
ทฤษฎีการเรียนรู้เพื่อการจัดการเรียนการสอนที่เน้นผู้เรียนเป็นศูนย์กลาง
 
ทฤษฎีการเรียนรู้เพื่อการจัดการเรียนการ
ทฤษฎีการเรียนรู้เพื่อการจัดการเรียนการทฤษฎีการเรียนรู้เพื่อการจัดการเรียนการ
ทฤษฎีการเรียนรู้เพื่อการจัดการเรียนการ
 
09chap7
09chap709chap7
09chap7
 
บทความวิชาการ โยนิโสมนสิการ
บทความวิชาการ โยนิโสมนสิการบทความวิชาการ โยนิโสมนสิการ
บทความวิชาการ โยนิโสมนสิการ
 
สถานการณ์ปัญหาพุทธิปัญญานิยม
สถานการณ์ปัญหาพุทธิปัญญานิยมสถานการณ์ปัญหาพุทธิปัญญานิยม
สถานการณ์ปัญหาพุทธิปัญญานิยม
 
จิตวิทยาพัฒนาการ
จิตวิทยาพัฒนาการจิตวิทยาพัฒนาการ
จิตวิทยาพัฒนาการ
 
ภารกิจระดับครูผู้ช่วย
ภารกิจระดับครูผู้ช่วยภารกิจระดับครูผู้ช่วย
ภารกิจระดับครูผู้ช่วย
 
บทที่8
บทที่8บทที่8
บทที่8
 

Similaire à Metacognition

หลักสูตร Is คำอธิบายรายวิชา ม.ปลายdoc
หลักสูตร Is คำอธิบายรายวิชา ม.ปลายdocหลักสูตร Is คำอธิบายรายวิชา ม.ปลายdoc
หลักสูตร Is คำอธิบายรายวิชา ม.ปลายdockrupornpana55
 
กำหนดการจัดการเรียนรู้เพศศึกษาหน่วยที่ 1
กำหนดการจัดการเรียนรู้เพศศึกษาหน่วยที่ 1กำหนดการจัดการเรียนรู้เพศศึกษาหน่วยที่ 1
กำหนดการจัดการเรียนรู้เพศศึกษาหน่วยที่ 1tassanee chaicharoen
 
เทคนิคการสอน
เทคนิคการสอนเทคนิคการสอน
เทคนิคการสอนkittitach06709
 
งานนำเสนอ อ อ ญญปารย 333
งานนำเสนอ อ อ ญญปารย 333งานนำเสนอ อ อ ญญปารย 333
งานนำเสนอ อ อ ญญปารย 333Chirinee Deeraksa
 
การพัฒนาหลักสูตร
การพัฒนาหลักสูตรการพัฒนาหลักสูตร
การพัฒนาหลักสูตรJiraprapa Suwannajak
 
อาม1
อาม1อาม1
อาม1arm_2010
 
การสอนที่เน้นผู้เรียนเป็นสำคัญ โดย ครูศรีลักษณ์ ผลวัฒนะ ครูเชี่ยวชาญพิเศษ
การสอนที่เน้นผู้เรียนเป็นสำคัญ โดย ครูศรีลักษณ์  ผลวัฒนะ ครูเชี่ยวชาญพิเศษการสอนที่เน้นผู้เรียนเป็นสำคัญ โดย ครูศรีลักษณ์  ผลวัฒนะ ครูเชี่ยวชาญพิเศษ
การสอนที่เน้นผู้เรียนเป็นสำคัญ โดย ครูศรีลักษณ์ ผลวัฒนะ ครูเชี่ยวชาญพิเศษKobwit Piriyawat
 
แผนจัดการเรียนรู้เรื่องอนามัยเจริญพันธุ์
แผนจัดการเรียนรู้เรื่องอนามัยเจริญพันธุ์แผนจัดการเรียนรู้เรื่องอนามัยเจริญพันธุ์
แผนจัดการเรียนรู้เรื่องอนามัยเจริญพันธุ์guest5660a9a
 
Bloom’s Taxonomy for Designing Achievement Test (in Thai)
Bloom’s Taxonomy for Designing Achievement Test (in Thai)Bloom’s Taxonomy for Designing Achievement Test (in Thai)
Bloom’s Taxonomy for Designing Achievement Test (in Thai)khon Kaen University
 
เบญ2
เบญ2เบญ2
เบญ2ben_za
 
ระดับครูมือใหม่1
ระดับครูมือใหม่1ระดับครูมือใหม่1
ระดับครูมือใหม่1Kiw E D
 
นำเสนองานวิจัยประชุมวิชาการ มศว นายกอบวิทย์ พิริยะวัฒน์
นำเสนองานวิจัยประชุมวิชาการ มศว นายกอบวิทย์ พิริยะวัฒน์นำเสนองานวิจัยประชุมวิชาการ มศว นายกอบวิทย์ พิริยะวัฒน์
นำเสนองานวิจัยประชุมวิชาการ มศว นายกอบวิทย์ พิริยะวัฒน์Kobwit Piriyawat
 
ครูมือใหม่
ครูมือใหม่ครูมือใหม่
ครูมือใหม่Pitsiri Lumphaopun
 
การวิจัยแบบง่ายสู่ครูนักวิจัย
การวิจัยแบบง่ายสู่ครูนักวิจัยการวิจัยแบบง่ายสู่ครูนักวิจัย
การวิจัยแบบง่ายสู่ครูนักวิจัยsudaphud
 

Similaire à Metacognition (20)

Pys3 pbl
Pys3 pblPys3 pbl
Pys3 pbl
 
Pys3 pbl
Pys3 pblPys3 pbl
Pys3 pbl
 
หลักสูตร Is คำอธิบายรายวิชา ม.ปลายdoc
หลักสูตร Is คำอธิบายรายวิชา ม.ปลายdocหลักสูตร Is คำอธิบายรายวิชา ม.ปลายdoc
หลักสูตร Is คำอธิบายรายวิชา ม.ปลายdoc
 
กำหนดการจัดการเรียนรู้เพศศึกษาหน่วยที่ 1
กำหนดการจัดการเรียนรู้เพศศึกษาหน่วยที่ 1กำหนดการจัดการเรียนรู้เพศศึกษาหน่วยที่ 1
กำหนดการจัดการเรียนรู้เพศศึกษาหน่วยที่ 1
 
นำเสนอ
นำเสนอนำเสนอ
นำเสนอ
 
Cjpowerpoint2
Cjpowerpoint2Cjpowerpoint2
Cjpowerpoint2
 
เทคนิคการสอน
เทคนิคการสอนเทคนิคการสอน
เทคนิคการสอน
 
งานนำเสนอ อ อ ญญปารย 333
งานนำเสนอ อ อ ญญปารย 333งานนำเสนอ อ อ ญญปารย 333
งานนำเสนอ อ อ ญญปารย 333
 
การพัฒนาหลักสูตร
การพัฒนาหลักสูตรการพัฒนาหลักสูตร
การพัฒนาหลักสูตร
 
อาม1
อาม1อาม1
อาม1
 
การสอนที่เน้นผู้เรียนเป็นสำคัญ โดย ครูศรีลักษณ์ ผลวัฒนะ ครูเชี่ยวชาญพิเศษ
การสอนที่เน้นผู้เรียนเป็นสำคัญ โดย ครูศรีลักษณ์  ผลวัฒนะ ครูเชี่ยวชาญพิเศษการสอนที่เน้นผู้เรียนเป็นสำคัญ โดย ครูศรีลักษณ์  ผลวัฒนะ ครูเชี่ยวชาญพิเศษ
การสอนที่เน้นผู้เรียนเป็นสำคัญ โดย ครูศรีลักษณ์ ผลวัฒนะ ครูเชี่ยวชาญพิเศษ
 
แผนจัดการเรียนรู้เรื่องอนามัยเจริญพันธุ์
แผนจัดการเรียนรู้เรื่องอนามัยเจริญพันธุ์แผนจัดการเรียนรู้เรื่องอนามัยเจริญพันธุ์
แผนจัดการเรียนรู้เรื่องอนามัยเจริญพันธุ์
 
Bloom’s Taxonomy for Designing Achievement Test (in Thai)
Bloom’s Taxonomy for Designing Achievement Test (in Thai)Bloom’s Taxonomy for Designing Achievement Test (in Thai)
Bloom’s Taxonomy for Designing Achievement Test (in Thai)
 
ภารกิจครูมือใหม่
ภารกิจครูมือใหม่ภารกิจครูมือใหม่
ภารกิจครูมือใหม่
 
เบญ2
เบญ2เบญ2
เบญ2
 
ระดับครูมือใหม่1
ระดับครูมือใหม่1ระดับครูมือใหม่1
ระดับครูมือใหม่1
 
โครงงาน
โครงงานโครงงาน
โครงงาน
 
นำเสนองานวิจัยประชุมวิชาการ มศว นายกอบวิทย์ พิริยะวัฒน์
นำเสนองานวิจัยประชุมวิชาการ มศว นายกอบวิทย์ พิริยะวัฒน์นำเสนองานวิจัยประชุมวิชาการ มศว นายกอบวิทย์ พิริยะวัฒน์
นำเสนองานวิจัยประชุมวิชาการ มศว นายกอบวิทย์ พิริยะวัฒน์
 
ครูมือใหม่
ครูมือใหม่ครูมือใหม่
ครูมือใหม่
 
การวิจัยแบบง่ายสู่ครูนักวิจัย
การวิจัยแบบง่ายสู่ครูนักวิจัยการวิจัยแบบง่ายสู่ครูนักวิจัย
การวิจัยแบบง่ายสู่ครูนักวิจัย
 

Plus de สุรจักษ์ ชีวิตคือการเรียนรู้ (9)

คำสั่งเวร..
คำสั่งเวร..คำสั่งเวร..
คำสั่งเวร..
 
ศูนย์เรียนรู้ฯ สมเด็จพิทยาคม
ศูนย์เรียนรู้ฯ สมเด็จพิทยาคมศูนย์เรียนรู้ฯ สมเด็จพิทยาคม
ศูนย์เรียนรู้ฯ สมเด็จพิทยาคม
 
บันทึกข้อความ
บันทึกข้อความบันทึกข้อความ
บันทึกข้อความ
 
แผน3ปี
แผน3ปีแผน3ปี
แผน3ปี
 
แผน 3 ปี
แผน 3 ปีแผน 3 ปี
แผน 3 ปี
 
Chepter2
Chepter2Chepter2
Chepter2
 
Chepter1
Chepter1Chepter1
Chepter1
 
Chepter3
Chepter3Chepter3
Chepter3
 
Fujitsu map new
Fujitsu map newFujitsu map new
Fujitsu map new
 

Metacognition

  • 1. การควบคุมการรูคิดของตนเอง Metacognition สภาพสังคมในยุคปจจุบันจะกําลังกาวเขาสูยุคของคลื่นลูกที่สาม ซึ่งเปนคลื่นแหงสารสนเทศ และการใชเทคโนโลยีชั้นสูงในการติดตอสื่อสาร ทําใหขอมูลขาวสารตางๆมีการเปลี่ยนแปลงอยาง รวดเร็ว ความรูที่เกิดขึ้นในวันนี้ กลายเปนสิ่งที่ลาสมัยสําหรับวันรุงขึ้น องคการตางๆจึงจําเปนตอง ปรับตัวกับสภาพการที่เปลี่ยนแปลงอยางรวดเร็วนี้ใหไดอยางทันทวงที และแนนอนสถาบันการศึกษา ในฐานะผูพัฒนาคนของประเทศชาติ ยิ่งจําเปนตองรูเทาทันที่จะพัฒนาเด็กและเยาวชนของชาติให สามารถเรียนรูสิ่งตางๆในยุคของคลื่นลูกที่สามนี้ใหไดอยางมีประสิทธิภาพ ซึ่งการเรียนรูอยางมี ประสิทธิภาพนั้น ผูเรียนจะตองใชทักษะการคิดและกระบวนการคิดเปนเครื่องมือในการสรางองคความรู ดังนั้นผูสอนหรือแมกระทั่งตัวผูเรียนเองจําเปนตองมีความเขาใจและตระหนักถึงความสําคัญของทักษะ การคิดของมนุษย ทิศนา แขมณี และคณะ (2540) ไดศึกษาพบวา มิติของการคิดมี 6 ดาน ไดแก มิติดานเนื้อหาหรือขอมูลที่ใชในการคิด มิติดานคุณสมบัติที่เอื้ออํานวยตอการคิด มิติดานทักษะการคิด มิติดานลักษณะการคิด มิติดานกระบวนการคิด และสุดทาย คือ มิติดานการควบคุมและการประเมิน การคิดของตนเอง ผูคิดจะสามารถใชกระบวนการคิดไดดีนั้น ตองมีคุณสมบัติที่เอื้ออํานวยตอการคิด และอีกประการหนึ่งที่มีความสําคัญยิ่ง คือ ความสามารถในการควบคุมและประเมินการคิดของตนเอง หรือที่เรียกกันวา เมตาคอกนิชัน (Meta cognition) นั่นเอง เมตาคอกนิชนคืออะไร ั เนื่องจากนักจิตวิทยาปญญานิยมเชื่อวา ผูเรียนเปนผูที่มีความสําคัญตอการเรียนรู เปนผูที่ ควบคุมกิจกรรมการเรียนรูดวยตนเอง (self-regulation) ฟลาแวล (Flavell,1979 อางถึงใน สุรางค โควตระกูล, 2533) กลาววา Meta Cognitive หมายถึง ความรูสวนตัวของแตละบุคคล ตอสิ่งที่ได เรียนรู หรือสิ่งที่ตนรู (Knowing) ตางกับ Cognitive ซึ่งหมายถึง การรูคิด หรือปญญาที่เกิดจากการ เรียนรูอะไรก็ตามดวยความเขาใจ สวน พิมพันธ เดชะคุปต (4544) กลาววา เมตาคอกนิชัน หมายถึง การควบคุมและการประเมินการคิดของตนเอง หรือความสามารถของบุคคลที่ไดรับการพัฒนา เพื่อ ควบคุมกํากับกระบวนการทางปญญา หรือกระบวนการคิด มีความตระหนักในงานและสามารถใช ยุทธวิธีในการทํางานจนสําเร็จอยางสมบูรณ
  • 2. 7 เมตาคอกนิชนสําคัญอยางไร ั เมตาคอกนิชน เปนองคประกอบสําคัญของการเรียนรูอยางมีประสิทธิภาพ เพราะวา เปนสิ่งที่ ั ชวยใหแตละคนควบคุม กํากับกระบวนการทางปญญาของตนได ความรูในเมตาคอกนิชน มีการพัฒนา ั ตั้งแตแรกเกิดโดยพัฒนาอยางชาๆ จนถึงวัยรุน ผูใหญมีแนวโนมจะมีความรูดานปญญาของตนเอง มากกวาวัยเด็ก และมีความสามารถอธิบายในความรูนนไดดกวา (Baker,1999) การเรียนรูที่ดีสามารถ ั้ ี เกิดผลตอ เมตาคอกนิชนทีเ่ หมาะสม พฤติกรรมการเรียนรูที่ดีเกิดจากการสอนที่เหมาะสม ั องคประกอบของเมตาคอกนิชันมีอะไรบาง เบเกอร และบราวน (Baker and Brown,1984 อางใน ทิศนา แขมณี และคณะ (2540) ไดสรุปไววา เมตาคอกนิชัน แยกไดเปน 2 องคประกอบ คือ 1. การตระหนักรู (awareness) เปนการตระหนักรูถึง ทักษะ กลวิธี และแหลงขอมูลที่จําเปนตอ การทํางานอยางมีประสิทธิภาพ และรูวาจะตองทําอยางไร กลาวคือ เปนเรื่องของการที่บุคคลรูถึงสิ่งที่  ตนเองคิด และความสอดคลองกับสถานการณการเรียนรู รวมไปถึงการแสดงออกในสิ่งที่รูออกมาโดย การอธิบายใหผูอื่นฟงได สามารถสรุปใจความสําคัญของสิ่งที่เรียนรูนน หรือมีวิธการจํา การวาง ั้ ี ขอบขาย การจดบันทึก และความสามารถในการสะทอนการคิดของตนออกมาในขณะที่อานเรื่องราว  หรือในการคิดแกปญหาซึงเปนทักษะที่จะทําใหบุคคลทํางานอยางมีแผน เพราะจะทําใหรูวางานนั้น ่ จะตองประกอบดวยสิ่งใดบาง ที่จะทําใหงานนั้นเกิดประสิทธิภาพ และทําใหสถานการณนั้นมี ประสิทธิภาพยิ่งขึ้น 2. ความสามารถในการกํากับตนเอง (self-regulation) เปนความสามารถในการกํากับตนเอง ในขณะที่กาลังคิดแกปญหา รวมไปถึงการพิจารณาวามีความเขาใจในสิ่งนั้นหรือไม การประเมินความ ํ พยายามในการทํางาน การวางแผนในขันตอนการทํางาน การทดสอบวิธีการที่ใช การตัดสินใจในการ ้ ใชเวลา การเปลี่ยนไปใชวธอื่นเพื่อแกปญหา ิี สําหรับ ฟลาเวลล(Flavell) ไดแบงเมตาคอกนิชัน เปน 2 องคประกอบ คือ 1. ความรูในเมตาคอกนิชัน (metacognitive knowledge) หมายถึง สวนของความรู ทั้งหมด ที่บุคคลสะสมไวในระบบความจําระยะยาว เปนการที่บุคคลรูวาตนเองรูอะไร และจะบรรลุเปาหมายได อยางไร ซึ่งปจจัยที่มีผลตอความรูในเมตาคอกนิชันของบุคคลนั้น ไดแก - ตัวแปรดานบุคคล คือ การรูถึงความสามารถทางปญญา ของบุคคล - ตัวแปรดานงาน คือ การรูถึงลักษณะงานที่ทํา - ตั ว แปรด า นยุ ท ธวิ ธี คื อ การรู ถึ ง ยุ ท ธวิ ธี ที่ เ หมาะสมที่ จ ะใช ใ นการทํ า งานนั้ น ให บ รรลุ เปาหมายอยางมีประสิทธิภาพ
  • 3. 8 2. ประสบการณในเมตาคอกนิชัน (metacognitive experience) หมายถึง ประสบการณ ทางการคิดที่บุคคลสามารถควบคุมได และประสบการณนี้มีความสําคัญในการกํากับตนเอง ซึ่งมี องคประกอบ 3 ประการ คือ - การวางแผน (planning) เปนการรูวาตนนเองคิดจะทํางานนั้นอยางไร ตั้งแตกําหนดเปาหมาย จนการปฏิบัติงานจนบรรลุเปาหมาย - การตรวจสอบ (monitoring) เปนการทบทวนความคิดเกี่ยวกับแผนที่วางไววาเปนไปได เพียงใด ความเหมาะสมของลําดับขั้นตอนและวิธีการที่เลือกใชเปนอยางไร - การประเมิน (evaluating) เปนการคิดเกี่ยวกับการประเมินการวางแผน วิธีการตรวจสอบ และ การประเมินผลสัมฤทธิ์ การพัฒนาเมตาคอกนิชันทําไดอยางไร การมีเมตาคอกนิชันเปนความสําคัญสําหรับผูใชทักษะการคิด กระบวนการคิด เพื่อใชในการ กําหนดปญหา หาวิธีการแกปญหาอยางหลากหลาย จึงควรตองพัฒนาเมตาคอกนิชัน แกบุคคลตางๆ โดยเฉพาะผูเรียน ในการพัฒนาเมตาคอกนิชันจะตอง มีการเชื่อมโยงความรูใหมกับความรูเดิมหรือ ความรูเทาที่มีอยู เลือกยุทธวิธีการคิดอยางพิถีพิถันรอบคอบ วางแผนกํากับหรือตรวจสอบและประเมิน กระบวนการคิด ซึ่งในการพัฒนาเมตาคอกนิชันหรือการพัฒนาพฤติกรรมการควบคุมและประเมินการ คิดพอแบงไดเปนขั้นตอน ดังนี้ 1. ระบุวาเรารูอะไร ไมรูอะไร โดยการฝกเขียนใหชัดเจน 2. อภิปรายเกี่ยวกับกระบวนการคิดของตน 3. บันทึกวิธีคิด ขอควรระวัง ความยากลําบาก โดยการเขียนอนุทิน 4. วางแผนกํากับการเรียนดวยตนเอง 5. สรุปกระบวนการคิดเมื่อทํากิจกรรมเสร็จ 6. ประเมินผลการคิดของตนเอง การพัฒนาเมตาคอกนิชันโดยการฝกการอาน การอานเปนเรื่องของการใชทักษะและกระบวนการคิด ผูเรียนจําเปนตองอาศัยบทบาท ของเมตาคอกนิชันเปนอยางมาก โดยผูเรียน จะตองใสใจกับการอาน มีการจัดเตรียมและวางแผนการ อาน รวมทั้งตองมีการประเมินผลการอาน จากหลักการดังกลาวสามารถสรุปเปนขั้นตอนสําหรับฝก ใหแกผูเรียนได ดังนี้ 1. ฝกสรางความเขาใจเกี่ยวกับความหมายของการอาน โดยเนนใหผูเรียนอานเพื่อ ทําความเขาใจวาผูเขียนตองการสื่ออะไร มิใชอานเพื่อออกเสียงคําตางๆ
  • 4. 9 2. ฝกตั้งจุดประสงคในการอานแตละครั้ง 3. ฝกตั้งคําถามเกี่ยวกับสิ่งที่ไดอานไดอานไปแลว 4. ฝกตั้งสมมุติฐานเกี่ยวกับสิ่งที่จะอาน 5. ฝกสรุปเนื้อหาที่ไดอานแลวดวยภาษาของตน 6. ฝกสรางจิตภาพเกี่ยวกับสิ่งที่อานไปแลว การพัฒนาเมตาคอกนิชันโดยการฝกแกโจทยปญหา การฝกผูเรียนใหรูถึงกระบวนการคิดของตนเองตลอดจนสามารถควบคุม ตรวจสอบ การคิดของตนเองไดในทิศทางที่ถูกตอง อาจใชเทคนิคการแกโจทยปญหา ดังนี้ 1. ฝกใหรูจักการวางแผน โดย ฝกวิเคราะหเปาหมายของการแกโจทยปญหาหานั้น ฝกใหเลือกใชยุทธวิธีตางๆ ในการแกปญหา เชน ยุทธวิธีการเดาและตรวจสอบ การวาดภาพ การสราง ตาราง การสรางรายการ การใหเหตุผล การคนหาแบบแผน การทํายอนกลับ เปนตน รวมทั้งฝกให เรียงลําดับขั้นตอนตามยุทธวิธีที่ไดเลือกไวและประมาณคําตอบที่คาดวาจะได 2. ฝกใหรูจักการกํากับควบคุมและตรวจสอบการคิดของตนเอง โดยการกําหนด เปาหมายไวในใจ และกํากับวิธีการตางๆ ใหเปนไปตามขั้นตอนของยุทธวิธีการแกปญหาที่เลือกไว 3. ฝกใหประเมินการคิดของตนเอง โดยการ ประเมินความสําเร็จของเปาหมาย หลังจากที่ไดปฏิบัติกิจกรรมตามขั้นตอนที่เลือกไว ซึ่งอาจทําไดโดย การฝกตรวจสอบคําตอบหรือ ผลลัพธของงานวาถูกตองจริงหรือไม และฝกตรวจสอบขั้นตอนการปฏิบัติวาสมบูรณ หรือมีขอพกพรอง ที่อาจนําไปปรับปรุงแกไขใหดีขึ้นตอไปไดหรือไม กล า วโดยสรุ ป เมตาคอกนิ ชั น เป น มิ ติ ห นึ่ ง ของการคิ ด มี คุ ณ สมบั ติ ที่ เ อื้ อ ต อ การคิ ด มี ความสามารถในการในการควบคุมการคิดและประเมินการคิดของตนเอง หรือกลาวไดวา เปนสิ่งที่ชวย ใหแตละคนควบคุมกํากับกระบวนการทางปญญาของตนได เมตาคอกนิชันจึงเปนองคประกอบสําคัญ ของการเรียนรูอยางมีประสิทธิภาพ และการเรียนรูที่ดีสามารถเกิดผลที่ดีตอเมตาคอกนิชันดวย ดังนั้น การฝ ก ให เ ด็ ก สามารถกํ า กั บ ตนเองได จะส ง ผลต อ การปรั บ พั ฒ นาการหรื อ การกระทํ า และ เสริมสรางอัตมโนทัศน อันจะเปนผลตอความสามารถทางวิชาการของเด็กนั่นเอง จะเห็นไดวาแม สังคมโลกจะเปลี่ยนไปกี่ยุคสมัยก็ตาม แมแตคลื่นลูกที่สามในยุคปจจุบันซึ่งเปนกระแสคลื่นยักษแหง สารสนเทศและการใชเทคโนโลยีชั้นสูง หรือคลื่นแหงขอมูลขาวสารจะทวมทนหรือมีการเปลี่ยนแปลง รวดเร็วอยางไร แตเมตาคอกนิชันไมเคยเปลี่ยนแปลง ยังคงเปนองคประกอบที่สําคัญของอาวุธที่ดีที่สุด ของคนในยุคสมัยนี้ หากแตวาเราทุกคนเห็นอาวุธที่ติดตัวมานี้หรือไม ตรงกันขามหากเรารูจักใช รูจัก
  • 5. 10 พัฒนาอาวุธที่วิเศษสุดในตัวเราชิ้นนี้แลว ก็จะไมมีกระแสคลื่นแหงสังคมใดๆ ที่จะมีอํานาจเหนือกระแส คลื่นแหงปญญาของเราไปได ถึงเวลาแลวที่ผูสอน ผูเรียน และผูที่เกี่ยวของ จําเปนตองมีความ เขาใจและตระหนักถึงความสําคัญของทักษะการคิดของมนุษย ซึ่งถือไดวาเปนปจจัยที่หก (ที่แทจริง) แหงการดํารงชีพของมนุษยใหรูเทาทัน ไมตกเปนทาสของสิ่งตางๆทั้งปวง ทั้งในยุคสมัยนี้และยุคแหง อนาคตขางหนา บรรณานุกรม เกรียงศักดิ์ เจริญวงศศักดิ์. (2537) ลายแทงนักคิด. กรุงเทพฯ : ซัคเซส มีเดีย จํากัด. ชาติ แจมนุช. (2545) สอนอยางไรใหคิดเปน. กรุงเทพฯ : โรงพิมพเลี่ยงเชียง. ทิศนา แขมณี และคณะ. (2544) วิทยาการดานการคิด. กรุงเทพฯ : เดอะมาสเตอรกรุป แมเนจเมนท จํากัด. สมบัติ การจนารักพงค. (2545) เทคนิคการสอนใหผเรียนเกิดทักษะการคิด. กรุงเทพฯ : ู 21 เซ็นจูรี่ จํากัด. สุวิทย มูลคํา. (2547) ครบเครื่องเรื่องการคิด. กรุงเทพฯ : หางหุนสวน จํากัด ภาพพิมพ.  Baker,L. (1999). Metacognition,comprehension monitoring, and the adult leader. Educational Psychology Review :3-38. Livingston, J. (No date) Teaching Meta-cognition. (Online) Available : http://www.gse.buffalo.edu/fas/shuell/cep564/Metacog.htm What is Metacognition? (Online) Available : http://www.usask.ca/education/coursework/802papers/Adkins/SEC1.HTM