SlideShare une entreprise Scribd logo
1  sur  51
Télécharger pour lire hors ligne
1
Page1
1. มนุษย โลก จักรวาล : การเรียนรู
เอกสารประกอบการสอนวิชา Human Body & Health
รศ. สุรพล ศรีบุญทรง
1.1. การกอกําเนิดของจักรวาล
ผูรูและนักวิทยาศาสตรมีความพยายามคาดคะเนอายุไขของโลกกันมาโดยตลอด อาทิ
 ในป 1654 เจมส อัสเชอร (James Ussher) อารกบิชอปแหงอารมาก (Archbishop of Armagh) ซึ่งเปนประมุข
นักบวชคริสตในไอรแลนดทั้งหมดและเปนอธิการบดีของ Trinity College ในกรุงดับลิน ไดประมาณอายุของโลก
จากเนื้อหาในคัมภีรไบเบิ้ล ไดขอสรุปเบื้องตนวาพระเจาเริ่มสรางโลกในวันที่ 23 ตุลาคม 4004 ปคอน ค.ศ.
 เซอรเอ็ดมัน ฮัลเลย เชื่อวาหากเราสามารถหาปริมาณเกลือแกง (NaCl) ที่ละลายอยูในมหาสมุทรได เราก็จะ
สามารถคํานวนกลับไปเปนอายุโลกได
 จอรจส หลุยส เลคเลอรค คอมท เดอ
บูฟอง (Georges LouisLeclerc
Comte de Buffon) เชื่อวาการเย็น
ตัวของมวลสารนั้นสัมพันธกับเวลาที่
ใชไป จึงใชวิธีเผาลูกปนใหญเหล็กที่
ทราบขนาดแนนอน แลวปลอยให
เย็นลงเพื่อคํานวนเทียบกับมวลสาร
ขนาดโลก วาจะตองใชเวลานาน
เทาใดจึงมีระดับอุณหภูมิเทาอุณหภูมิ
ผิวโลกตามที่เปนอยูในชวงที่
ดําเนินการทดลอง คํานวนไดวาโลกมี
อายุระหวาง 75,000 ป ถึง 168,000
ป
 เจมส ฮัตตัน (James Hutton) และวิลเลียม สมิท (William Smith) พยายามคํานวณอายุโลกจากอายุของหินที่
เกาแกที่สุดจากชั้นหินบนภูเขา คํานวนอัตราการทับถมตามชั้นความหนาของหินแตละชั้น แลวประมาณการ
ออกมาไดวาโลกตองมีอายุหลายพันลานปแตไมสามารถเจาะจงชวงเวลาที่ชัดเจน
 ตอมาเมื่อมีการคนพบสารกัมมันตรังสี ก็มีความพยายามหาคาอายุโลกจากครึ่งอายุของธาตุ ซึ่งก็หาขอสรุปได
ยาก เนื่องจากธาตุแตละชนิดมีครึ่งอายุที่แตกตางกันไปเปนอยางมาก เชน ยูเรเนียม 238 มีครึ่งอายุสี่พันหารอย
ลานปโปแตสเซียม 40 มีอายุพันสามรอยลานป ฯลฯ แตก็พอจะประมาณการไดวาธาตุที่เกาแกที่สุดนาจะมีอายุ
http://1.bp.blogspot.com/-
kvnyF0A3UKE/T1daOa26usI/AAAAAAAAAxk/ZypsLLhvkxs/s1600/Evolution+of+Earth+a
nd+Life+4.jpg
2
Page2
ประมาณเทาใด เมื่อผนวกกับการคนพบใหมๆ ทางดาราศาสตร ก็ทําใหประมาณการกันวาโลกนาจะมีอายุ
ประมาณ 4.56 พันลานป
ปจจุบัน นักวิทยาศาสตรสวนใหญตางใหการยอมรับในทฤษฎีการระเบิดครั้งใหญ (Big Bang)วานาจะใหคําอธิบายถึง
ที่มาของโลก ดวงอาทิตย และจักรวาลไดดีที่สุด โดยที่มาของทฤษฎีดังกลาวนั้นเริ่มขึ้นในป ค.ศ. 1972 โดยนักบวช George
Lemaître ผูซึ่งสนใจศึกษาดาราศาสตรผานกลองดูดาว ไดตั้งขอสังเกตุวาจักรวาลนาจะกําลังขยายตัวออกไปเรื่อยๆ โดยขอ
สังเกตุนี้ไดรับการปฏิเสธในระยะแรก แตเมื่อมีการพัฒนาเทคโนโลยีสมัยใหมและมีการคนพบทางดาราศาสตรใหมๆ เพิ่มขึ้น
อยางการตรวจพบรังสีคอสมิก และการสงกลองโทรทรรศนขนาดใหญในรูปยานอวกาศฮับเบิ้ลออกไปโคจรรอบโลกเพื่อสํารวจ
ภาพถายของจักรวาล ฯลฯ ก็ทําใหทฤษฎีBig Bangไดรับการรับรองและยอมรับมากขึ้นเรื่อยๆ จนถือเปนคําอธิบายกําเนิดของ
จักรวาลที่ไดรับความเชื่อถือจากแวดวงวิทยาศาตรมากที่สุด (นอกแวดวงวิทยาศาสตร มนุษยจํานวนมากยังคงมีความเชื่อในทาง
ศาสนาวาจักรวาลถูกสรางขึ้นโดยเทพเจา หรือพระเจา)
ทฤษฎี Big Bang ระบุวากอนที่จะมีจักรวาล(Universe) นั้น ไมมีสสาร ไมมีเวลา ไมมีสรรพสิ่งใดๆ อยูเลย ณ จุด
กําเนิดที่เล็กมากๆ ซึ่งผูรูบางทานระบุวาเล็กกวาเม็ดถั่วเขียว (บางทานวาเล็กเสียยิ่งกวาอะตอม) ไดมีพลังงานอันมหาศาลระเบิด
ตนเองออกมา เกิดเปนอนุภาคชนิดแรกๆ ที่มีชนาดเล็กเสียยิ่งกวาอิเล็กตรอน เรียกวา Subatomic particle (การพยายาม
คนหาอนุภาค Higgs boson ที่กําลังดําเนินอยูที่ CERN เปนความพยายามจําลองสภาพการระเบิด Big Bang แบบยอมๆ เพื่อ
คนหาบรรดาอนุภาค Subatomic particle เหลานี้) โดยอาศัยอัตราการขยายตัวของจักรวาลที่นักดาราศาสตรไดเฝาสังเกตุมา
นานหลายสิบป ไดขอสรุปรวมกันวา Big Bangนั้นนาจะเกิดขึ้นเมื่อ 13.7 พันลานปที่แลว(หรือในการคํานวนแบบละเอียดก็
ประมาณวา 13.798 ± 0.037 พันลานป)
เมื่อเกิดการระเบิดครั้งใหญขึ้นจะมีการปลดปลอยพลังงานอันมหาศาลออกมา โดยในเศษเสี้ยววินาที (10-37 วินาที) ก็
เริ่มนับเวลาตั้งตนของจักรวาล (ณ 0 วินาที ของจักรวาล) แตเพียงชั่วขณะหนึ่ง (10-6 วินาที) หลังจากนั้นอุณหภูมิในบริเวณ
ดังกลาวจะลดลงกอใหเกิดอนุภาคยอยเรียกวา ควารก และกลูกออน ซึ่งจะรวมตัวกันกอใหเกิดอนุภาคโปรตรอน นิวตรอน
และอิเล็กตรอนขึ้น หลังจากนั้นอีก1 นาทีอุณหภูมิจะลดลงเหลือระดับลานลานองศาเซลเซียส พรอมกับจักรวาลมีการขยาย
ขอบเขตออกไปในระดับ 6 ลานลานกิโลเมตร อนุภาคพื้นฐานของอะตอมไดจัดระเบียบและรวมตัวกันเปนไฮโดรเจนซึ่งเปน
ธาตุ (element) แรกขึ้นในจักรวาล ตอจากนั้นไฮโดรเจนบางสวนก็จะรวมตัวกันเกิดเปนฮีเลียม อนุภาคเหลานี้นาจะมี
ลักษณะเหมือนกลุมเมฆอนุภาคที่รอนจัดกระจายตัวอยูรอบจุดกําเนิดของการระเบิดครั้งใหญในขณะที่จักรวาลก็แผขยายตัวเอง
ออกไปเรื่อยๆ ในระดับความเร็วที่มากกวาแสง
ตอมาอีกนับพันลานปเมื่อจักรวาลขยายตัวออกไปพรอมกับที่อุณหภูมิลดลง ไฮโดรเจนและฮีเลียมจํานวนหนึ่งก็
เคลื่อนเขาใกลกันจนกระตุนใหเกิดปฏิกิริยานิวเคลียรติดตามมากลายเปนกลุมกอนของลูกบอลไฟขนาดใหญที่ซึ่งเปน
จุดเริ่มตนของดวงดาว (star) หลายๆ ดวงดาวก็กลายเปนแกแล็กซี่ (ดวยเทคโนโลยีทางดาราศาสตรในปจจุบันไดมีการ
สํารวจพบแกแล็กซี่จํานวนกวาแสนลานแกแล็กซี่อยูในจักรวาลอันเวิ้งวางนอกโลก บางแกแล็กซี่มีรูปรางเหมือนเกลียวหมุน
“Spirals” บางแกแล็กซี่มีรูปรางเปนวงรี “Ellipse” บางแกแล็กซี่เปนกลุมกอนไรรูปทรงชัดเจน “Blob” โดยแกแล็กซี่ที่ไดรับ
3
Page3
ความสนใจมากที่สุดคือแกแล็กซี่ทางชางเผือก “Milky Way” อันมีขนาดใหญโตมโหฬาร มีดวงดาวอยูในทางชางเผือกกวาแสน
ลานดวง กินระยะทางกวางขนาดที่หากสามารถเคลื่อนที่ดวยความเร็วแสง1 ก็ยังตองใชเวลานานถึงแสนปในการเดินทางผาน
ทางชางเผือก หนึ่งในดวงดาวในหมูแกแล็กซี่ทางชางเผือกที่มีความสําคัญมากตอมนุษยชาติคือ ดวงอาทิตย (Sun) ซึ่งไดแตกตัว
ใหกําเนิดเปนดาวเคราะห และมวลสารอีกจํานวนมากออกมาโคจรรอบตัวมันเกิดเปนระบบสุริยะจักรวาล (Solar System) โดย
มีหนึ่งในดาวเคราะหที่โคจรรอบดวงอาทิตย คือ โลก มีสภาวะอันเหมาะสมสําหรับการหลอมรวมตัวกันของมวลธาตุตั้งตน2
เกิดเปนน้ํา (H2O) ซึ่งเปนองคประกอบสําคัญในการกอกําเนิดซึ่งสารอินทรีย และสรรพชีวิตติดตามมาในชวงหลายรอยลาน
ปตอมา
Visual Dictionary, Dorling Kindersley Book, DK London 2011, ISBN 978 14053 63907
1ความเร็วแสงคือ แสนกิโลเมตรต่อ วินาที หรือ * เมตร/วินาที
2โลกมีธาตุตังต้นอยู่ ชนิด ทีได้มาจากดวงอาทิตย์
4
Page4
1.2 โลกและมนุษยชาติ
โลกในชวงหลายพันลานปแรก มีการเปลี่ยนแปลงของมวลสารตางๆ มากมาย ความรอนบริเวณผิวเริ่มเย็นตัวลงจน
กอใหเกิดเปนผิวเปลือกโลก แตผิวโลกดังกลาวก็ยังมีการเปลี่ยนแปลงติดตามมา มีการเคลื่อนยายพื้นแผนดินและพื้นน้ําไปมา3
จากนั้นกระบวนการวิวัฒนาการก็คอยๆ หลอหลอมใหเกิดสิ่งมีชีวิตประเภทตางๆ ติดตามมาอยางมากมายและหลากหลาย แตก็
มีสิ่งมีชีวิตจํานวนมากไดสูญสิ้นเผาพันธุลงไปจนปรากฏใหรับรูไดจากซากฟอสซิลเทานั้น หากซากสิ่งมีชีวิตใดมิไดถูกกักเก็บลงสู
ใตผืนดินก็จะวนเวียนเปลี่ยนสถานะไปเปนธาตุตั้งตนของสิ่งใหมอยูเรื่อยๆ ไป อาทิ อะตอมของธาตุที่เปนองคประกอบของ
อากาศนั้นลวนผานกาลเวลามานานนับพันลานปแลว หรือหากจะคิดเลยไปวารางกายของมนุษยแตละคนก็ไดจากการหลอม
รวมธาตุองคประกอบพื้นฐานเหลานี้เขาไวดวยกัน ก็อาจพูดไดวา “มนุษย(ในสวนของธาตุองคประกอบ)ทุกคนไดผานการเวียน
วายตายเกิดในกันมานานนับพันลานป”
มีการศึกษาจากซากฟอสซิล และการคํานวนอายุโดยนักวิทยาศาสตร ทําใหไดขอสรุปเกี่ยวกับโลกวาใน
กระบวนการวิวัฒนาการของสัตวโลกนั้น ไดปรากฏสิ่งมีชีวิตที่มีพัฒนาการอันโดดเดนเหนือกวาสัตวอื่นๆ ขึ้นมานั่นคือ มนุษย
แตมนุษยจะวิวัฒนมาเปนสัตวที่มีลักษณะรูปรางอยางที่เราคุนเคยกันอยูในปจจุบันเลยก็หาไม ตองคอยๆ วิวัฒนตนเองขึ้นมา
เชนกัน การศึกษาจากซากทางประวัติศาสตร ทางโบราณคดี ทางพันธุกรรม และตามทฤษฎีทางวิวัฒนาการ ฯลฯ ไดขอสรุป
วากวาจะวิวัฒนมาเปนมนุษย Homo Sapien Sapien อยางที่เปนอยูในปจจุบันนั้น มนุษยเคยมีการเชื่อมโยงทางสาย
วิวัฒนาการกับพวกลิงที่ยืนตัวตรง Australopitecus และมีสารพันธุกรรมที่สืบยอนไปยังมนุษยสายพันธุอื่นที่ไดสูญพันธุไปแลว
อยางพวก Neanderthrral เชนกัน
มีขอสรุปเกี่ยวกับโลกและวิวัฒนาการของมนุษยดังนี้
4.56 พันลานปที่แลว ดาวโลกอุบัติขึ้น
3 พันลานปที่แลว ชีวิตบนโลกเริ่มกอกําเนิดโดยสิ่งมีชีวิตกลุมแรกๆเกิดขึ้นในน้ํา เปนพวกสาหรายเซลลเดียวสีเขียว
250 ลานปที่แลว สิ่งมีชีวิตในน้ําเริ่มวิวัฒนใหสามารถปรับตัวจากการอาศัยอยูแตในน้ํา เปลี่ยนมาเปนการอาศัยอยูบนบกที่มีอาหาร
การกินสมบูรณได
65 ลานปที่แลว ไดโนเสารที่เคยครองโลกก็สูญพันธลง เปดโอกาสใหสัตวเลี้ยงโลกดวยนมซึ่งมีโครงสรางรางกายออนแอ แตมี
ขนาดสมองใหญกวาสัตวอื่นไดเจริญเติบโตมีวิวัฒนาการอันหลากหลายมากขึ้น
4 ลานปที่แลว ลิงเดินสองขา Australopithecus (แปลวา Southern Apeหรือลิงตอนใต) ที่เชื่อวานาจะเปนตนกําเนิดของ
การวิวัฒนมาเปนมนุษย เริ่มมีปรากฏในบริเวณทวีปแอฟฟริกา การเดินสองขาไดทําใหเกิดการเคลื่อนยายที่อาศัยลง
มาจากตนไม
2.5 – 1.5 ลานปที่
แลว
มนุษย Homo Habilus (แปลวา Handy Man หรือคนใชมือเกง) เริ่มปรากฏในทวีปแอฟริกา เริ่มมีการ
ประดิษฐเครื่องมืออํานวยความสะดวกในการใชชีวิต
3ในปีค.ศ. อัลเฟรด เวเกเนอร์ สังเกตุว่าซากฟอสซิลของสิงมีชีวิตประเภทเดียวกันมีการกระจัดกระจายข้ามทวีป และเมือลองนําเอารูปแผ่นทีทวีปมาต่อ
เข้าด้วยกันก็สามารถเชือมต่อกันได้พอดี จึงเสนอความคิดว่า ทวีปอเมริกาและยุโรปนันแท้จริงแล้วเคยเป็นแผ่นดินเดียวกันมาก่อน (Plate Tectonic
Theory) ในขณะทีเขาสูงของโลกจํานวนมากก็เคยอยู่ตําใต้ท้องทะเล แต่ด้วยการเคลือนทีของเปลือกโลกได้ดันให้รอยต่อแผ่นดินสูงขึนไปสู่ท้องฟ้ าใน
ระยะเวลาต่อมา
5
Page5
2 ลานปที่แลว ชวงเวลา2 ลานปที่แลวไปจนถึงชวง 24,000 ปที่แลว เรียกยุคน้ําแข็ง ในขณะเดียวกันก็ เรียกการวิวัฒนาการ
ของสิ่งมีชิวิตที่เรียกวามนุษย วายุคหินเกา (Paleolithic)จากการที่การสํารวจซากฟอสซิลพบแตเครื่องมือที่ทําจาก
หินในลักษณะงายๆ ไมไดมีการดัดแปลงรูปลักษณไปจากกอนหินสักเทาใด
1.5 ลานที่แลว Homo Erectus (แปลวา Upright Man หรือ คนยืนตัวตรง) เริ่มปรากฏในทวีปแอฟริกา กอนที่จะ
แพรกระจายอพยพออกไปในทวีปตางๆมนุษยดึกดําบรรพเริ่มเรียนรูวิธีการกอไฟ ไฟทําใหการพัฒนาของมนุษย
เปนไปอยางรวดเร็ว ใชสรางความอบอุน ใชไลสัตวราย ใชเปนแสงสวางเพื่อการดําเนินกิจกรรมในยามที่พระอาทิตย
ลับขอบฟาไปแลว อาหารที่ทําใหสุกแลวทําใหยอยงายไดพลังงานไปเลี้ยงอวัยวะสําคัญๆ อยางสมองไดมากขึ้น ฯลฯ
120,000 ปที่แลว Neanderthal มนุษยอีกแขนงหนึ่งของสายการวิวัฒนาการจาก มนุษย Homo Sapiens (แปลวา Wise Man
หรือ มนุษยฉลาด) เริ่มปรากฏในทวีปแอฟริกา เอเชีย และยุโรป จากซากที่พบในถ้ําที่อาศัย พบวามีการทําพิธี
ฝงศพดวย
40,000 ปที่แลว มนุษยเริ่มบันทึกในรูปการเขียนภาพบนผนังหิน ภาพเกาแกที่สุดพบที่ทวีปออสเตรเลีย
35,000 ปที่แลว Homon Sapiens Sapiens (หรือ Modern Man แปลวา มนุษยยุคใหม) เริ่มปรากฏอยูทั่วไปบนผืนพิภพ
รวมทั้งในในทวีปออสเตรเลีย
30,000 ปที่แลว มนุษย Neanderthal สูญพันธุไปจากโลก ในขณะที่มนุษย Homon Sapiens Sapiens เริ่มปรากฏใหเห็นได
โดยทั่วไปในทวีปยุโรป และเอเชีย
29,000 ปที่แลว พบหุนปนดินเหนียวรูปคนในถ้ําของนักลาแมมมอธ
24,000 ปที่แลว ฃวงสุดทายชองยุคน้ําแข็ง น้ําแข็งปกคลุมโลกลดลงเหลือเพียง 1/3 ของผิวโลก น้ําแข็งที่ละลายออกมาทําให
ระดับน้ําผิวโลกลดลงถึง 100 เมตร
ในชวงเดียวกันนี้ มนุษยถ้ําในประเทศออสเตรียมีการแกะสลักรูปที่ตอมาไดรับการตั้งชื่อวา Venus of
Willendorf
22,000 ปที่แลว มนุษยที่อาศัยอยูทางขั้วโลกฝงเอเฃียกลุมหนึ่งเดินทางขามชองแคบเบอรริ่งเขาสูทวีปอเมริกา
17,000 – 12,000ปที่
แลว
ภาพเขียนฝาผนังที่ปจจุบันไดรับการกลาวขวัญถึงเปนอยางมาก ไดถูกจารึกไวที่ผนังถ้ํา Lascaux ประเทศ
ฝรั่งเศส
http://www.kontra20.ru/wp- content/uploads/2012/09/183416_original.jpg
6
Page6
1.3 มนุษยเปนสัตวสังคม
หลังจากพัฒนาการในระดับชุมชนกลุมยอย มนุษยเริ่มมีการพัฒนารูปแบบการใชชีวิตเปนสังคมเมือง ปรากฏเปน
หลักฐานทางประวัติศาสตรในระยะเวลาตอมา
15,000 ปกอน ค.ศ. สิ้นสุดยุคหินเกา มนุษยเริ่มวิวัฒนเขาสูยุคหินกลาง (Mesolithic)มีการดัดแปลงเครืองมือหินใหมีความหลากหลาย
มากขึ้น
12,000 ปกอน ค.ศ. เขาสูยุคหินใหม (Neolithic)เครื่องมือหินมีความซับซอนและพลิกแพลงมากขึ้น พบเคียว และอุปกรณพรวนดินที่ทํา
จากหิน แสดงวามนุษยเริ่มรูจักการเพาะปลูกธัญพืชและการเก็บเกี่ยว สะสมเมล็ดพันธุ และสะสมอาหาร ทําใหเกิด
เปนกลุมการดํารงชีวิตที่แตกตางกัน ระหวางผูลาสัตว และผูเพาะปลูก มีการแลกเปลี่ยนผลผลิตสวนเกินระหวางกัน
10,500 ปกอน ค.ศ. มีการปนหมอดินที่เชื่อปจจุบันเชื่อวาเกาแกที่สุด ในบริเวณประเทศญี่ปุน
8,000 ปกอน ค.ศ. เริ่มมีการกอตั้งชุมชนเมืองในแถบตะวันออกกลาง เชน เมือง Jericho ในประเทศจอรแดน และ เมือง Ҫatal
Hὕyὕkประเทศตุรกี
8,000 ปกอน ค.ศ. มีการเพาะปลูกแบบที่ตองมีการชลประทานในตะวันออกกลาง เอเชียตะวันออกเฉียงใต และการเลี้ยงแกะแบบปศุ
สัตวในประเทศอิรัก
7,000 ปกอน ค.ศ. มีการเก็บพืชพันธุธัญญาหาร และสํารองน้ําไวใชดวยภาชนะดินเผาในตะวันออกกลางและแอฟฟริกา
7,000 ปกอน ค.ศ. เขาสูยุคทองแดง (Copper Age)มีการคนพบซากอุปกรณที่ทําดวยทองแดงในแถบตะวันออกกลาง
6,500 ปกอน ค.ศ. เริ่มมีการทอผาใชในแถบชุมชน Ҫatal Hὕyὕkประเทศตุรกี
6,000 ปกอน ค.ศ. มีการหมักเบียรในแถบตะวันออกกกลาง
5,500 ปกอน ค.ศ. เขาสูยุคสัมฤทธิ์ (Bronze Age)มนุษยในตะวันออกกกลางเริ่มรูจักหลอมโลหะสัมฤทธิ์ขึ้นใชงาน ในขณะที่มนุษยใน
ยุคโรปเริ่มรูจักกับการใชทองแดง
5,000 ปกอน ค.ศ. การชลประทานที่มีประสิทธิภาพทําใหเกิดอารยธรรมเมือง และอาณาจักรตางๆ ขึ้นในแหลงอารยธรรมสําคัญ ๆ
แถบลุมแมน้ํา
4,400 ปกอน ค.ศ. การฝกสัตวเพื่อใชงานเริ่มแพรหลาย มีการเพาะเลี้ยงมาในแถบยุโรปตะวันออก ใชสัตวตางเพื่อการขนสง และ
การเกษตร
4,004 ปกอน ค.ศ. อารคบิชอบ เจมส อัสเชอร (James Ussher) ประมาณอายุของโลกจากเนื้อหาในคัมภีรไบเบิ้ล ไดขอสรุปเบื้องตนวา
อายุโลกเริ่ม ณ วันที่ 23 ตุลาคม 4004 ปคอน ค.ศ.
3,000 ปกอน ค.ศ. มนุษยในยุโรปเขาสูยุคเหล็ก (Iron Age) ในขณะที่ในแอฟฟริกา และตะวันออกกลางเริ่มมีเหล็กใชเพียงเมื่อ 700 ปที่
แลว
https://encrypted-tbn0.gstatic.com/images?q=tbn:ANd9GcS0FWBj1cQHYko6b_5jt86h7wUztEpSpy95rw52hYTOsS8KmS-TYw
7
Page7
1.4 อารยธรรมของมนุษย
มนุษยไดพัฒนาการอยูรวมกันในสังคม มีการกอกําเนิดขึ้นของแหลงอารยธรรม
(Civilization) ตางๆ ในบริเวณลุมแมน้ําซึ่งเหมาะสมกับการดํารงชีวิตของชุมชนไดอยาง
สะดวกสบาย เชน อารยธรรมลุมแมน้ําไทกริส-ยูเฟรติส อารยธรรมลุมแมน้ําไนล อารยธรรมลุม
แมน้ําฮวงโห อารยธรรมลุมแมน้ําสินธุ อารยธรรมลุมแมน้ําโขง อารยธรรมลุมแมน้ําอเมซอน ฯลฯ
อยางไรก็ตามแหลงของอารยธรรมที่มีความเคลื่อนไหวและเปลี่ยนแปลงอยางรวดเร็วคือแหลงอารย
ธรรมที่อยูรอบทะเลเมดิเตอรเรเนียน เพราะมีการตอสูแกงแยง แยงชิงทรัพยากรกันอยูตลอดเวลา
การปะทะและแลกเปลี่ยนอารยธรรมเกิดขึ้นอยางรวดเร็วและรุนแรงเกิดขึ้นเมื่อมีสงครามขึ้น
ระหวางมนุษย การพยายามเอาชนะฝายตรงขามนั้นแมจะนํามาซึ่งความเศราโศกสูญเสีย การสูญ
สิ้นของคุณคา หลักการและความรูบางอยาง แตก็มักจะตามมาดวยความพยายามพัฒนาเทคโนโลยี
ใหทันคูตอสู การแลกเปลี่ยนเรียนรูระหวางกัน
1.4.1 แหลงอารยธรรมโบราณ
การศึกษาแหลงอารยธรรมโบราณ พบวามีแหลงอารยธรรมที่นาสนใจดังตอไปนี้
5,000 ป – 2,000 ป
กอน ค.ศ.
อาณาจักรสุเมเรียน แถบลุมแมน้ําไทกริส ยูเฟรติส หรือเรียกวา เมโสโปเตเมียใต โดดเดนดวยการพัฒนาอักษรลิ่ม
(Cuniform) การสรางกระทอมจากไมและการสรางศาสนสถานขนาดใหญจากหิน
5,000 ป – 330 ปกอน
ค.ศ.
อาณาจักรอียิปตลุมแมน้ําไนล โดดเดนดวยอักษรภาพแบบเฮียโรกลิฟฟก ความเชื่อในแทพเจาจํานวนมาก (เดนสุด
คือเทพแหงดวงอาทิตย) เชื่อเรื่องชีวิตหลังความตายจนนําไปสูการทํามัมมี่ การสรางศาสนสถานอยางปรามิด สฟงก
และการรูเรื่องเวลา ระดับน้ํา การฃลประทานเพื่อการเพาะปลูก ถึงคราวเสื่อมสลายลงเมื่อพระเจาเอล็กซานเดอรม
หาราชยกทัพมาพิชิตอียิปต
6,000 ป – 1,450 ป
กอน ค.ศ.
อาณาจักรมิโนอัน เกาแกสุดในยุโรป โดดเดนดวยการกอสรางปราสาทที่มีจํานวนหองหับมากมาย แตถูกทําลายลง
ไปเพราะภูเขาไฟระเบิด เรื่องราวที่ถูกเลาขานตอกันมา เปนตํานานผสมผสานกับความเชื่อ เชน เรื่องเขาวงกตที่ถูก
เฝาไวโดยมิโนทอร สัตวที่มีตัวเปนคนมีหัวเปนกระทิง
2,750 ป – 332 ปกอน
ค.ศ.
อาณาจักรโฟนีเซีย โดดเดนดวยการพัฒนาตัวอักษร 22 ตัว ในชวง 1,000 ปกอน ค.ศ. ที่กลายมาเปนรากฐานใหแก
อักษรยุโรป มีความสามารถในการรบและการเดินเรือ แตดวยเหตุผลนานาประการทําใหมีการเคลื่อนยายที่ตั้งของ
เมืองไปมาในพื้นที่รอบๆ ทะเลเมดิเตอรเรเนียน อาทิ เมืองไทร เกาะไซปรัส เมืองอูติกา และเมืองคารเธจ ทวีป
แอฟริกาเหนือ จนสุดทายอาณาจักรไดลมสลายลงหลังจากพายสงครามแกกรีก
3,372 ป – ค.ศ. 1517 ดินแดนทวีปอเมริกากอนถูกรุกรานจากเจาอาณานิคมสเปนนั้นเคยมีอารยธรรมทองถิ่นที่รุงเรืองมาแตเดิม เชน เมื่อ
3,372 ปกอน ค.ศ. นั้นไดเคยมีการจัดทําปฏิทินมายาไวเปนหลักฐานปรากฏมาจนถึงปจจุบัน แตในระหวางนั้นกลับ
มีหลักฐานทางอารยธรรมอยูคอนขางนอยเมื่อเทียบกับพื้นที่บริเวณอื่นๆ ของโลก มีเพียงหลักฐานไมมากนักระบุถึง
อาณาจักรโอลเม็กในแถบชายฝงเม็กซิโก ระหวาง 1,200 – 300 ปกอน ค.ศ. ซึ่งมีการกอสรางศาสนสถานขนาด
ใหญในรูปปรามิดซึ่งมีความสูงถึง 34 เมตร อาณาจักรชาวินที่ครอบครองพื้นที่แถบเทือกเขาแอนเดรสในประเทศเปรู
ระหวาง 1,200 – 200 ปกอน ค.ศ. แตวัฒนธรรมที่ยิ่งใหญและมีบทบาทในภูมิภาคนี้มากที่สุดคืออารยธรรมมายา
และแอสเท็ก ซึ่งมีสิ่งปลูกสรางกระจัดกระจายอยูทั่วไป มีการสรางปรามิดขนาดใหญไวเปนจํานวนมาก แตเริ่ม
https://s-media-cache-
ak0.pinimg.com/236x/b8/
8b/05/b88b054439370fc7
bb405f6774887b5e.jpg
8
Page8
ออนแอลงเมื่อมีความแตกแยกในหมูชาวมายากันเอง การกดขี่ขมเหงระหวางชนชั้นทําใหเกิดการลุกขึ้นตอตาน
ผูปกครองในป ค.ศ. 1440 และเมื่อคริสโตเฟอร โคลัมบัส นําเรือสเปนเขามาสํารวจในป ค.ศ. 1492 อาณาจักร
มายาที่เคยยิ่งใหญก็เริ่มตนสูญสลายลงไปดวยการบุกรุกทําลายของกองทัพสเปนที่มีจํานวนทหารอันนอยนิด (การ
ตายของชาวมายาจํานวนมากเกิดจากโรคระบาดที่ชาวยุโรปนําเขามาสูอเมริกา)
1,600 ป – 468 ปกอน
ค.ศ.
อาณาจักรไมซีเนียน เกาแกในบริเวณประเทศกรีซ มีเรื่องราวที่ถูกเลาขานตอกันมา เปนตํานานผสมผสานกับความ
เชื่อเชนเดียวกับอาณาจักรมิโนอัน เชนเรื่องมาไมเมืองทรอย เรื่องราวความเชื่อแบบเทพนิยายกรีก
1,850 ป – 63 ปกอน
ค.ศ.
อาณาจักรฮีบรูว หรือบรรพบุรุษของชาวยิว เดิมอยูในบริเวณที่เรียกวาคานาอาน (หรือรูจักกันในชื่อปาเลสไตนใน
ปจจุบัน) นับถือศาสนาจูดาย ตํานานเลาวาอับราฮัมนําพาชนเผาของตนอพยพจากเมโสโปเตเมียมาตั้งรกรากใน
บริเวณคานาอาน ตอมาโมเสสไดนําพาชาวยิวที่อยูในอียิปตอพยพตามมาในชวง 1,200 ปกอน ค.ศ. มีการกอตั้ง
อาณาจักร และมีกษัตริยผูยิ่งใหญอยางเดวิด และโซโลมอน กอนที่จะถูกบุกเขาทําลายโดยกองทัพอัสซีเรียในชวง
722 ปกอน ค.ศ. หลังจากนั้นดินแดนดังกลาวก็ถูกผลัดเปลี่ยนเวียนกันเขาปกครองโดยหลายจักรวรรดิ อาทิ บาร
บิโลเนีย เปอรเซีย กรีก (ยุคอเล็กซานเดอร) โรมัน จนกระทั่งชาวยิวไดแตกกระซานซานเซ็นไปทั่วยุโรป และถูก
รังเกียจเดียดฉันทวาฉลาด เจาเลห เพราะมักยึดครองธุรกิจดานทุนและการเงิน เมื่อเกิดสงครามโลกครั้งที่สอง นาซี
ไดสงชาวยิวเขาสูคายกักกันจนสงผลใหมีคนตายมากกวา 6 ลานคน หลังสงคราม สหประชาชาติพยายามแกปญหา
ชาวยิวไรที่อยูหลังสงคราม ดวยการมีโครงการจัดตั้งประเทศอิสราเอลขึ้นในดินแดนพันธสัญญาเดิม แตเนื่องจากพื้นที่
ดังกลาวไดถูกครอบครองโดยชาวปาเลสไตนและลอมรอบดวยชนชาวอาหรับ และมุสลิม ทําใหเกิดกรณีพิพาท
ตอเนื่องมานับแตนั้น
2,000 ป – 539 ปกอน
ค.ศ.
อาณาจักรอัสซีเรีย ฮิทไทต และบารบิโลเนีย เกิดขึ้นในบริเวณที่ซอนทับกันอยู มีกษัตริยจากชนเผาตางๆ ผลัด
เวียนกันขึ้นครองอํานาจและแผขยายอิทธิพลไปยังอาณาบริเวณตางๆ รอบทะเลเมดิเตอรเนียน เชน กษัตริยฮัมมูราบี
ผูยิ่งใหญแหงบารบิโลน (1,792 – 1,750 ปกอน ค.ศ.) ผูเปนตนกําเนิดของการปกครองดวยกฎหมายลายลักษณ
อักษร กษัตริยเนบูซัดเนสเซอร (1,126 – 1,105 ปกอน ค.ศ.) ผูสรางสวนลอยแหงบารบิโลน ซึ่งถูกจัดใหเปนหนึ่งใน
สิ่งมหัศจรรยของโลก แมจะไมปรากฏซากสิ่งปลูกสรางหลงเหลือใหเห็นแลว อาณาจักรบาบิโลนอันยิ่งใหญไดลม
สลายลงไปหลังจากพายสงครามแกกองทัพเปอรเชีย
900 ป – 323 ปกอน
ค.ศ.
อาณาจักรกรีกนั้นแมจะมีชวงของความเจริญรุงเรืองเพียงไมกี่รอยป แตอารยธรรมกรีกกลับไดรับการยกยองและ
ยอมรับจากนักวิชาการตะวันตกมากมาย สิ่งกอสราง หลักการปกครอง ปรัชญาการศึกษา และงานศิลปะของกรีก
ยังคงถูกใชเปนตนแบบของการศึกษาในโลกตะวันตก และถูกสงตอมาถึงระบบการศึกษาของไทยในปจจุบัน ทําให
เรื่องราวของความกลาหาญและประสิทธิภาพของการจัดกองทัพของนักรบสปารตายังคงถูกเลาขานตอมาจนถึง
ปจจุบัน เรื่องของระบบการปกครองแบบประชาธิปไตยของเอเธนส งานละคร กีฬาโอลิมปก ตํานานเทพนิยายกรีก
เหลานักรบในวรรณกรรมโอดิสซี และอิลเลียด งานศิลปะแบบมนุษยนิยม รูปปน อาคารสิ่งปลูกสราง ซึ่งสงผลตอการ
สรางพระพุทธรูปและรูปบูชาในเอเชีย อีกทั้งยังกลับไปมีอิทธิพลตออารยธรรมแบบยุคฟนฟูศิลปวัฒนธรรม
(Renaissance) อีกครั้งในยุโรปหลังจากอาณาจักรกรีกไดลมสลายไปเกือบพันปแลว ระบบการศึกษาสมัยใหมยังคง
อางอิงถึงแนวคิด หลักการ และปรัชญาการศึกษาของเหลาเมธีสําคัญของกรีก ไมวาจะเปน โสเครตีส (469 – 399 ป
กอน ค.ศ.) เพลโต (427 - 347 ปกอน ค.ศ.) หรืออริสโตเติ้ล (384 - 322 ปกอนค.ศ.) นาเสียดายวาแมจะ
เจริญรุงเรืองทางปญญาความรูอยางมากมายแต ดวยการแตกความสามัคคีมีการบพุงกันเองอยูบอยๆ สุดทาย
อาณาจักรกรีกก็ตองลมสลายไปหลังจากการพายศึกตอมาซีโดเนีย
549 -331 ปกอน ค.ศ. อาณาจักรเปอรเซีย ตั้งอยูในบริเวณประเทศอิหรานในปจจุบัน แมวาชนชาวเปอรเซียจะมีมาแตเกากอนนับพันป
แตความรุงเรืองระดับอาณาจักรเพิ่งจะกอเกิดขึ้นในยุคของกษัตริยไซรัส สามารถรบชนะบารบิโลเนียและอียิปต มา
ยิ่งใหญที่สุดในยุคของกษัตริยดาริอุสซึ่งครอบครองอาณาจักรอันกวางใหญดวยกําลังรบอันมหาศาลและชื่อเสียงใน
ความเหี้ยมโหดไดเคยนํากองทัพมหึมาบุกเขาสูอาณาจักรกรีกจนเปนตํานานเรื่องราวเกี่ยวกับมาราธอน และความกลา
9
Page9
หาญในการรบของชนเผาสปารตา ปรากฏเปนบันทึกประวัติศาสตรโดย ฮีโรโดตัส (Herodotus) ในชวง 500 ปกอน
ค.ศ. อยางไรก็ตาม สุดทายอาณาจักรเปอรเชียที่ยิ่งใหญก็ตองพายแพและถูกผนวกเปนสวนหนึ่งของกษัตริยอเล็กซาน
เดอรแหงกรีก
753 ปกอน ค.ศ. – ค.ศ.
476
โรมันกอกําเนิดขึ้นเปนเมืองบริเวณกรุงโรม ประเทศอิตาลี โดยมีตํานานเกี่ยวกับการสรางเมืองวาสรางโดย โรมุลุส
(Romulus) และ เรมุส (Remus) ฝาแฝดของรีอา ซิลเวีย กับมารส กอนที่จะพัฒนาสาธารณรัฐและอาณาจักรโรมัน
หลังจากรบชนะอาณาจักรใหญนอยในละแวกใกลเคียงไดในระยะเวลาตอมา ดวยความสามารถในเชิงการวาง
แผนการรบและระบบวิศวกรรม ทําใหอาณาจักรของโรมันสามารถแผขยายไปไดทั่วยุโรป รวมถึงขามไปยังเกาะ
อังกฤษ มีการกอสรางถนนคอนกรีตสําหรับใหรถมาวิ่งไปไดทั่วยุโรป มีการกอสรางอาคารสถานที่ดวยคอนกรีต
มากมายรวมทั้งระบบทอสงน้ําเพื่อการประปา มีระบบการปกครองที่มีชั้นการบังคับบัญชาชัดเจน โดยในระยะแรก
นั้นไดรับเอาแนวคิดเรื่องเทพเจาและความเชื่อทางศาสนาแบบกรีกมาใชในสังคม แตตอมาไดหันมารับรองศาสนา
คริสตและกลายสถานภาพเปนศาสนจักรอันยิ่งใหญ คือ โรมันคาทอลิค อาณาจักรโรมันเขาสูยุครุงเรืองแลวก็เสื่อม
ถอยไปดวยความหลงระเริงดวยความสุขทางมังสานิยม กระทั่งตองพายแพแกชนเผาที่มีเจริญกาวหนาทางอารยธรรม
ที่ต่ํากวา ไมวาจะเปนพวกแฟรงก กอล วิสิทก็อท ฮั่น เมื่อโรมถูกเผาเยอรมันบุกเขาโจมตีในป ค.ศ. 476 จักรพรรดิ
คอนสแตนตีนตัดสินพระทัยยายเมืองมายังอาณาจักรคริสตฟากยุโรปตะวันออก ที่เมืองไบแซนติอุม และเปลี่ยนชื่อ
เมืองเปนคอนสแตนติโนเปล และเรียกอาณาจักรโรมันในยุคนี้วาไบแซนไทน สืบเนื่องความยิ่งใหญตอเนื่องมาไดอีก
หลายรอยปผานยุคของจักรพรรดิจัสตีเนียนที่เปนตนรางของปฏิทินสากลสมัยใหมที่นิยมใชไปทั่วโลก แตตอมาก็กลับ
รวงโรยลงหลังจากการสิ้นพระชนมของจักรพรรดิจัสตีเนียน อาณาจักรโรมันไบแซนไทนถูกบั่นทอนลงดวยสงครามอีก
หลายครั้งจนกระทั่งตกเปนของอาณาจักรเติรกมุสลิมในป ค.ศ.1453
ค.ศ. 802 – ค.ศ.1431 อาณาจักรขอม เริ่มจากอารยธรรมของชนเผาสองกลุมในลุมน้ําโขงคืออาณาจักรฟูนัน และอาณาจักรเจนละ ซึ่งถูก
หลอมรวมเขาดวยกันโดยกษัตริยชัยวรมันที่หนึ่ง ความยิ่งใหญของขอมนั้นมีบทบาทสําคัญในเชิงศิลปวัฒนธรรมในหมู
ชนเผาทั้งหลายในแถบสุวรรณภูมิ แตแลววันหนึ่งอาณาจักรที่ยิ่งใหญดังกลาวกลับสูญสลายไปในชวงเวลาเพียง 700
ป หลังจากนั้น เมืองและศาสนสถานโบราณเหลานี้ก็ถูกซอนไวในปาลึกอยางยาวนานจนกระทั่งมาถูกสํารวจพบโดย
นักสํารวจฝรั่งเศส อเล็กซองดร อองรี มูโอต (Alexandre Henri Mouhot, 1826-1861) ซึ่งทํางานภายใตการ
สนับสนุนของระบอบการลาอาณานิคมของฝรั่งเศส
1,766 ปกอน ค.ศ. ถึง
ปจจุบัน
อาณาจักรลุมแมน้ําฮวงโห นั้นเชื่อกันวาเกาแกยาวนานกวา 5 พันปกอน ค.ศ. มีบันทึกตัวอักษรที่พัฒนาจากอักษร
ภาพที่เกาแกมาก เชนอักษรเสี่ยงทายบนกระดองเตา แตการบันทึกประวัติศาสตรอยางจริงจังมักจะนับเริ่มจาก
ราชวงศ Shang ในชวง 1,766 ปกอน ค.ศ. แมจะยังเปนอาณาจักรที่ไมใหญโตมากเชนพื้นที่ของประเทศจีนใน
ปจจุบัน ความยิ่งใหญในเชิงความเชื่อ ปรัชญา หลักการปกครอง เกิดขึ้นในชวง 600 ปกอน ค.ศ. เมื่อมีปรัชญาเมธี
จํานวนมากอุบัติขึ้น เชน ซุนวู (600 ปกอน ค.ศ. ) ผูขียนตําราพิชัยสงคราม ขงจื้อ (551 - 479 ปกอน ค.ศ.) เลาจื้อ
(400 ปกอน ค.ศ.) เมงจื้อ (372 - 289 ปกอน ค.ศ.) ฯลฯ แต ความยิ่งใหญในเชิงพื้นที่และอิทธิพลตอชนเผารอบ
ขางเริ่มขึ้นในชวง 221 ปกอน ค.ศ. เมื่อจักรพรรดิจิ๋นซีไดรบชนะแควนตางๆ แลวรวบรวมอํานาจไวภายใตกฎเหล็กที่
โหดรายแตมีประสิทธิภาพ เชน ฆาลางเผาพันธุที่มีความเห็นตางขัดแยง เผาตําราที่มีมาแตเดิม ยกเลิกภาษาเขียน
แลวกําหนดใหทุกชนเผาตองใชอักษรเดียวกันในการสื่อสาร ... จีนมีอาณาจักรที่ยิ่งใหญแลวก็แตกสลาย ถูกชนเผา
นอกกําแพงที่มีอารยธรรมต่ํากวาอยางราชวงศหยวน ราชวงศชิง เขายึดครองแตแลวก็กลับถูกหลอมเขาดวย
วัฒนธรรมเดิมจนกลายมาเปนจีนใหม ออนแอจนถูกรุกรานจากมหาอํานาจชาติตะวันตกที่แสวงหาแหลงทรัพยากร
เพื่อปอนใหแกอุตสาหกรรมของตนในยุคลาอาณานิคม แพสงครามฝนแกอังกฤษในชวง ค.ศ.1839 -1842 ซึ่งไม
เพียงแตจะสูญเสียไพรพลและเกิดความเสียอยางหนัก แตยังตองชดใชคาปฏิกรณสงครามจํานวนมหาศาลถูกบังคับ
ใหตองยอมยกสิทธิสภาพนอกอาณาเขตจํานวนมากใหแกอังกฤษ และยังสงผลใหบรรดาชาติตะวันตกจํานวนมากถือ
โอกาสเขายึดครองฉกฉวยประโยชนจากประเทศจีนซึ่งถูกเรียกวา “คนปวยแหงเอเชีย” กันขนานใหญ กระทั่งสิ้นสุด
10
Page10
ยุคราชวงศ (จักรพรรดิปูยี สละราชบัลลังกในป ค.ศ. 1912) เขาสูยุคสาธารณรัฐ (เริ่ม ค.ศ. 1911) และยุค
คอมมิวนิสต (เริ่ม ค.ศ. 1949) จีนนับเปนประเทศที่มีประชากรมากที่สุด (ประชาการ 1,366.5 ลานคนโดยประมาณ
สํารวจในป ค.ศ.2014 โดยไมนับรวมคนจีนในเขตเศรษฐกิจพิเศษ ในไตหวัน และบรรดาคนจีนโพนทะเลทั้งหลาย)
5,000 ปกอน ค.ศ. ถึง
ปจจุบัน
อาณาจักรลุมแมน้ําสินธุ เริ่มจากแองอารยธรรมโมเฮนโจ-ดาโร ที่โดดเดนเรื่องการสรางเมืองแบบแนวตารางมีการ
ผันน้ํามาเพื่อการประกอบพิธีกรรมทางศาสนาและใชบริโภคในเมือง แตแลวในชวง 1,500 ปกอน ค.ศ. อาณาจักร
ของโมเฮนโจ-ดาโรก็ตองลมสลายไปเมื่อถูกรุรานจากชนเผาอารยัน (เชื้อสายอินโดยูโรเปยน) ที่มีขนาดรางกายใหญโต
และมีความสามารถในการรบมากกวาซึ่งเคลื่อนยายมาจากฝงตะวันตก หลังจากนั้นชนเผาที่เขามาใหมก็ไดจัดสราง
ระบบการปกครองที่มีการแบงชั้นวรรณะของผูคน เปนกษัตริย พราหมณ แพศย ศูทร และจัณฑาล โดยผนวกเรื่อง
ชนชั้น การดํารงชีพ และการปกครองเขากับความเชื่อทางศาสนา (เดิมเรียกวาศาสนาพราหณ แตตอมาเปลี่ยนไป
เรียกวาศาสนาฮินดู) อาณาจักรลุมแมน้ําสินธุ มีการเปลี่ยนแปลงครั้งใหญเมื่อมีมหาบุรุษนาม สิทธัตถะ (623 –
543 ปกอน ค.ศ.)กอกําเนิดขึ้นในราชวงศศากยะ ไดตรัสรูและเผยแพรธรรมใหแกประชาชนทั่วไปจนไดรับความ
เลื่อมใสศรัทธาบวชเขาสูรมกาสาวพัตรเปนจํานวนมาก จึงไดทรงจัดตั้งคณะสงฆและกําหนดธรรมวินัยขึ้นเปนหลัก
ความรูและปฏิบัติในหมูสาวก มีการตั้งองคกรที่ประกอบดวยพุทธบริษัทสี่ ที่ยังคงยั่งยืนมาไดจนถึงปจจุบัน ศาสนา
พุทธเจริญถึงจุดสูงสุดในยุคของพระเจาอโศกมหาราช (269 – 232 ปกอน ค.ศ.) แหงราชวงศเมาริยะ เมื่อพระเจา
อโศกไดเปลี่ยนจากศาสนาพราหมณมานับถือพุทธศาสนา และสงเสริมใหเกิดความเจริญแพรหลายของศาสนาไปทั่ว
ทวีปเอเฃีย มีการกอตั้งมหาวิทยาลัยนาลันธาขึ้นมาเพื่อเปนแหลงศึกษาเรียนรูแกพุทธศาสนิกชนทั้งหลาย นา
เสียดายวา พุทธศาสนาเจริญงอกงามอยูในชมพูทวีปไดเพียงกึ่งศตวรรษก็ตองสูญความนิยมลงไป แตกลับไปเจริญงอก
งามอยูในดินแดนที่หางไกลออกไปอยาง ศรีลังกา ไทย ประเทศแถบอินโดจีน เอเชียตะวีนออกเฉียงใต จีน ญี่ปุน และ
เกาหลี แทน ดินแดนชมพูทวีปกลับไปสูภาวะที่มีเจาครองรัฐยอยๆ อีกครั้งหลังจากราชวงศเมาริยะไดสิ้นสุดลง
ในชวง 185 ปกอน ค.ศ. กระทั่งในป ค.ศ.320 ประชาชนในลุมน้ําสินธุไดเปลี่ยนกลับไปนับถือศาสนาพราหมณ
ภายใตชื่อใหมวาศาสนาฮินดู ภายใตการอุปถัมปของกษัตริยในราชวงศคุปตะอีกนานหลายรอยป กอนจะถูกโจมตี
จากชนเผาฮั่นทางฟากตะวันตก ทําใหอาณาจักรของราชวงศคุปตะลมสลายกลายเปนเมืองยอยๆ จํานวนมากของมหา
ราชา ในป ค.ศ.500 ดินแดนนี้กลับมามีอาณาจักรขนาดใหญอีกครั้งภายใตการปกครองของราชวงศโมกุลซึ่งนับถือ
ศาสนามุสลิม (ค.ศ. 1526 – 1720 ) มีการกอสรางศาสนสถานสําคัญของมุสลิมขึ้นมากมายในยุคนี้ ที่สําคัญและเปน
ที่รูจักมากคือราชวังทัชมาฮาล พื้นที่ชมพูทวีปเขาสูจุดต่ําสุดเมื่อถูกอังกฤษเขายึดครองในป ค.ศ.1763 เพื่อใชเปน
แหลงทรัพยากรปอนใหแกอุตสาหกรรมภายในอาณาจักรอังกฤษ เปนระยะเวลานานถึง 184 ป (ไดรับอิสรภาพในป
ค.ศ.1947) ปจจุบัน อินเดียไดชื่อวาเปนประเทศประชาธิปไตยที่มีขนาดใหญที่สุด มีประชาการ 1,244.8 ลานคน
โดยประมาณ (สํารวจในป คศ.2014)
ค.ศ.570 ถึงปจจุบัน อาณาจักรอิสลาม จุดกําเนิดของอาณาจักรอิสลามนับยอนไปไดถึงการกําเนิดของมหาศาสดามูฮัมมัด ในป ค.ศ. 570
ซึ่งกอนจะมีการเผยแพรศาสนานั้นประกอบอาชีพเปนพอคาในเมืองเมกกะ ดินแดนอารเบีย กอนหนาการประกาศ
ศาสนา ชนชาวอารเบียมีการนับถือเทพเจา และความเชื่อแตกตางกันไปตามสภาพชนเผา ชนเผาจํานวนมากดํารงชีพ
ดวยการเดินทางเคลื่อนยายที่อยูไปมาในดินแดนทะเลทราย แตเมื่อถึง ค.ศ.610 ศาสดามูฮัมมัดในวัย 40 ป ไดพบ
กับพระเจา (พระอัลเลาะห) และเริ่มเผยแผศาสนาใหมในชื่ออิสลาม ซึ่งเปนคําภาษาอาหรับ ‫اﻹﺳﻼم‬ แปลวา การ
สวามิภักดิ์ ซึ่งหมายถึงการสมัครใจทําตามพระประสงคของ อัลลอฮฺ พระผูเปนเจา อยางบริบูรณ โดยคําวา อิสลาม
นั้นมีรากศัพทมาจากคําวา อัส-สิลมฺ หมายถึง สันติ การเผยแผศาสนาในชวงแรกไดรับการตอตานจากผูคนในเมือง
เมกกะ ทําใหศาสดามูฮัมมัดตองเดินทางจากเมกกะไปยังเมืองยาดทริบ (หรือที่รูจักกันในชื่อเมดินาในปจจุบัน) ในป
ค.ศ.622 ซึ่งสาวกใหความสําคัญตอปดังกลาวมากไดกําหนดใหเปนปฮิจเราะห เมื่ออยูเมืองเมดินาศาสดามูฮัมมัดได
เผยแพรศาสนาอยางกวางขวางมีผูศรัทธามากมาย มีการกอสรางสุเหราแหงแรกขึ้น กอนที่จะยกทัพกลับมายึดเมือง
เมกกะในป ค.ศ.630 หลังจากนั้นก็ไดเผยแผศาสนาออกไปจนทั่วดินแดนอารเบีย ศาสดามูฮัมมัดเสียชีวิตลงในป
11
Page11
ค.ศ. 632 หลังจากนั้น อบูบักร พอตาของทานไดสืบทอดศาสนกิจตอในฐานะของกาลิฟะห (Caliph หรือ ผูสืบทอด)
ทําใหตอมาไดมีศาสนามุสลิมสองนิกายใหญ คือนิกายชิอะห (Shiites) ซึ่งยอมรับผูสืบทอดจากสายตระกูลฝงฟาติ
มะหบุตรสาวของศาสดามูฮัมมัด กับนิกายสุหนี่ห (Sunnis) ซึ่งยอมรับการสืบทอดนอกสายตระกูลฝงฟาติมะห
ศาสนามุสลิมไดถูกเผยแผออกจากอารเบียเขาสูเขตเมดิเตอรเนีย ทําใหเกิดการปะทะกันระหวางศาสนาคริสตเกิดเปน
สงครามศาสนาชื่อวา สงครามครูเสดที่กินระยะเวลายาวนานถึงเกือบสองรอยป (ค.ศ. 1096 – ค.ศ.1291) มีการรบ
พุงกันถึงสามระลอก หลังจากสงครามครูเสดแลว ศาสนาอิสลามไดเผยแผไปทั่วโลก โดยเฉพาะพื้นที่ตะวันออก
กลาง เอเชียกลาง แอฟริกา เอเชียตะวันออกเฉียงใต เปนศาสนาใหญอันดับตนๆ ของโลกในปจจุบัน
1.4.2 ยุโรปเขาสูยุคกลาง
เมื่ออาณาจักรโรมันลมสลายลงในป ค.ศ. 476 สภาพของอาณาจักรโรมันที่แตกสลายลงก็ถูกแบงออกไปตามพื้นที่ซึ่ง
ชนเผาตางๆเคยอาศัยอยูกอนที่จะถูกกองทัพโรมันโจมตีและผนวกเขาสูอาณาจักรของตน นักประวัติศาสตรมักเรียกชวงเวลา
ยาวนานเกือน 1 พันปนี้วา ยุคกลาง (Mediaval period หรือ Middle Age) หรือเรียกวายุคมืด (Dark Age) เนื่องจากเต็มไป
ดวยการตอสูแยงชิงดินแดนระหวางกัน ภายในดินแดนก็แบงแยกระดับชนชั้นเปนพระ ขุนนาง และสามัญชน และถึงแมวายุโรป
จะมีความเชื่อในทางศาสนาอยางเขมขน แตก็ยังมีความแตกตางทางความเชื่อจนนําการฆาฟนกันดวยสาเหตุทางความเชื่อทาง
ศาสนา และไมเพียงแตฆาฟนกันเองในหมูคริสเตียน แตไดมีการเกณฑรี้พลเดินทางขามทวีปไปรบกับพวกมุสลิที่เยรูซาเลม เพื่อ
ทวงคืนดินแดนแหงพันธสัญญา ประชาชนพลเมืองสามัญมีชีวิตอยูดวยความยากลําบากประหนึ่งวาจะทนทุกขเพื่อไปรอคํา
พิพากษาหลังความตาย เหตุการณสําคัญๆ ในชวง 1 พันปนี้ไดแก
https://orsigiacomo.files.wordpress.com/2015/08/218ac_mappa_del_mar_mediterraneo.png
12
Page12
ค.ศ.476 จักรวรรดิโรมันลมสลายหลังจากเสื่อมโทรมมานาน การบุกเขาโจมตีของชนเผาเยอรมันประหนึ่งฟางเสนสุดทาย
ค.ศ.732 ชารล มาแตล ผูนําชาวแฟรงกมีอิทธิพลเหนือพื้นที่ฝรั่งเศส ยกกองทัพเขาปะทะกับกองทัพอาหรับที่เมืองปวตีเย
ค.ศ.800 ชารล เลอมาญ ปราบดาภิเษกขึ้นปกครองแผนดินฝรั่งเศส โดยไดรับรองจากสันตะปาปา ณ กรุงโรม ผูนําชาวแฟรงกมี
อิทธิพลเหนือพื้นที่ฝรั่งเศส ยกกองทัพเขาปะทะกับกองทัพอาหรับที่เมืองปวตีเย
ค.ศ.840 ชนเผาไวกิ้งที่โหดรายจากทางเหนือ มักตระเวณเรือออกปลนสะดมตามเมืองตางๆ ในยุโรปเสมอ
ค.ศ.1066 พระเจาวิลเลียมที่ 1 ยกพลขามชองแคบอังกฤษไปสถาปนาตนเปนกษัตริยอังกฤษ
คริสตศตวรรษที่
12
มีการสรางโบสถขนาดใหญหลายแหง แตละแหงตองใชเวลากอสรางนานหลายป ตลอดจนตองเกณฑแรงงานและเงินทอง
มหาศาล มาเพื่อการทางศาสนา
ค.ศ.1096-
1270
จากการที่มุสลิมเติรกเขายึดครองเยรูซาเลม สันตะปาปาเออรบันที่ 2 (Urban II) ไดขอรองใหชาวคริสตรวมตัวกันเดินทาง
ไปรบเพื่อปลดปลอยดินแดนแหงพันธสัญญา และกลายเปนสงครามที่กินเวลายาวนานเกือบ 200 ป
ค.ศ.1271 -
1291
มารโค โปโล เดินทางไปยังประเทศจีน และนําเอาสินคา และผลิตภัณตแปลกๆ ใหม อยาง ชา ผาใหม เครื่องเทศ
กระเบื้องเคลือบ กลับมาสรางความตื่นตาตื่นใจใหกับผูคนในยุโรป และไดทําใหเสนทางสายไหมกลายมาเปนเสนทางสําคัญ
ที่เชื่อมโยงระหวางยุโรปกับเอเชีย
ค.ศ.1337 -
1453
ความขัดแยงแยงชิงบัลลังกกันระหวางระหวางราชวงศแพลนแทเจเนต ผูปกครองราชอาณาจักรอังกฤษ กับราชวงศวาลัว
เพื่อแยงการควบคุมราชอาณาจักรฝรั่งเศส ตางฝายดังพันธมิตรมากมายเขาสูสงคราม นําไปสูสงครามที่มีชื่อเรียกวา
“สงครามรอยป”
ค.ศ.1429 โจน ออฟ อารค หญิงสาวสามัญชนคนหนึ่งที่มีความเชื่อทางศาสนาอยางแรงกลา ไดนําทัพฝรั่งเศสเขารุกไลกองทัพอังกฤษ
หลายครั้ง การรบครั้งสําคัญเกิดที่เมืองออรเลออง แตสุดทายเธอไดถูกจับและตัดสินวาเปนแมมด จนตองถูกเผาทั้งเปน
1.4.3 ยุคฟนฟูศิลปวิทยาการและการพัฒนาอยางรวดเร็วของโลกตะวันตกหลังจากนั้น
ความรูที่เคยไดรับการศึกษาคนควาในยุคกรีกโบราณไดกลับฟนคืนมาสูความสนใจของชาวยุโรป โดยเฉพาะบรรดา
เมืองที่มีความร่ํารวยจากการคาทางทะเลทั้งหลาย นักประวัติศาสตรเรียกยุคนี้วา ยุคฟนฟูศิลปวิทยาการ (Renaissance) เปน
ยุคสําคัญที่สงผลใหยุโรปกลายมาเปนจุดศูนยกลางของโลกในระยะเวลาตอมา มีเหตุการณอันนาสนใจดังตอไปนี้
ค.ศ.1455 การประดิษฐเครื่องพิมพของกูเตนเบิรก ทําใหความรูในรูปหนังสือมีราคาถูกลงจนกระทั่งสามัญชนทั่วไปสามารถเขาถึง
ความรูสําคัญๆ ไดมีความเจริญกาวหนาในวิทยาการแทบจะทุกสาขา มีการคนพบทฤษฎี และสรางสรรสิ่งประดิษฐตางๆ
มากมาย
ค.ศ.1500-
1520
เมืองสําคัญๆ อยางฟลอเรนซ มิลาน เวนิส โรม เปนแหลงรวมของเหลาสถาปนิก จิตกร วิศวกร นักปรัชญา และ
นักวิทยาศาสตร มีสถาปตยกรรมและชิ้นงานจิตรกรรมสําคัญๆ เกิดขึ้นมากมาย เชน ผลงานของ มิเคลันเจโร ลีโอนาโด
ดาวินชี ซานโดร บอตติเซลลี ฟลิปโป บรูโนเลสกี ฯลฯ
ค.ศ.1490 -
1520
เจาเมือง พอคา และนักการธนาคารใหญ อาทิ ลอเรนโซ เดอ เมดิซี ตางแขงขันกันสรางอิทธิพลดวยการเขาหานักบวช
สําคัญๆ และสันตปาปา ในขณะเดียวกันก็นิยมอุปถัมปชางฝมือ ใหสรางชิ้นงานสําคัญ หรือปลูกสรางโบสถอันงดงาม
ค.ศ.1643 –
1715
พระเจาหลุยสที่ 14 สรางความยิ่งใหญใหแกราชอาณาจักรฝรั่งเศส มีการสงเสริมศิลปะ งานแสดง งานสถาปตยกรรม
(สรางพระราชวังแวรซาย และสิ่งปลูกสรางหรูหราราคาแพงจํานวนมาก) มีความร่ํารวยจากการคาทางทะเลมาก และมี
อิทธิพลไปทั่วโลก (เคยพยายามขยายอิทธิพลมาถึงเอเชียตะวันออกเฉียงใต มีการชวนใหพระนารายณมหาราชเปลี่ยนไป
นับถือศาสนาคริสต) แตดวยความฟุมเฟอย เก็บภาษีมาก และเขาสูสงครามอันไมจําเปนเพื่อความยิ่งใหญของพระองค
ก็สรางความทุกขยากแกประชาชนพลเมือง และประเทศเพื่อนบานมากมาย ทําใหถูกตอตานเปนอยางมากในชวงปลายรัช
13
Page13
สมัย
ศตวรรษที่ 18 โลกเริ่มเขาสูยุคปฏิวัติอุตสาหกรรม ผลจากความรูที่เผยแพรไปทั่ว นําไปสูการสรางเครื่องจักรน้ํา โดยเจมส วัตต ในป
ค.ศ. 1769 (แตการประดิษฐที่เกิดขึ้นมากจริงๆ กลับเปนชวงศตวรรษที่ 19)
ค.ศ.1781 อเมริกาประกาศตนเปนอิสระจากอังกฤษ ในการรบเพื่อประกาศอิสรภาพนั้น กองทัพฝรั่งเศสภายใตการนําของนายพล
มารกีส เดอ ลาฟาแยตต ไดใหการสนับสนุนฝายกลุมผูตั้งรกรากในอาณานิคม
ค.ศ.1789 -
1799
ผลจากการฟุมเฟอยของราชวงศบูรบง ทําใหเกิดการปฏิวัติฝรั่งเศส ประชาชนฝรั่งเศสลุกฮือขึ้นตอตานกษัตริย มีการ
จับกุมขัง และตัดสินประหารชีวิต พระเจาหลุยสที่16 และพระนางมารีอังตัวเน็ต ดวยเครื่องกิโยติน หลังจากนั้นฝรั่งเศสก็
เขาสูความวุนวายสับสนจนแมกระทั่งผูนําการปฏิวัติเองก็ยังถูกลงโทษดวยกิโยตีน กวาจะสงบลงไดก็ดวยการทํารัฐประหาร
ของ นายพล โบนาปาต ซึ่งสถาปนาตนเองขึ้นเปนจักรพรรดินโปเลียนในป ค.ศ. 1804
ศตวรรษที่ 18 โลกเขาสูยุคอุตสาหกรรมเต็มตัว มีการสรางเรือกลไฟ เดินรถไฟ สราง/นําไฟฟามาใช ประดิษฐโทรศัพท รถยนต
เครื่องยนต กลองถายภาพ เครื่องถายภาพยนต) ผลจากการเพิ่มกําลังการผลิตดวยเครื่องจักรทําใหเกิดชุมชนเมืองซึ่ง
ประกอบไปดวยสลัมที่แหลงแรงงานอาศัยอยู และความตองการทรัพยากรและวัตถุดิบที่ใชในงานอุตสาหกรรมทําให
นําไปสูการแสวงหาอาณานิคมเพื่อเปนหลักประกันดานวัตถุดิบ ความร่ํารวยจากการพัฒนาอุตสาหกรรม ทําใหสมเด็จ
พระราชินีวิคตอเรียแหงสหราชอาณาจักรอังกฤษ (ค.ศ. 1819 – 1901) เปนกษัตริยองคแรกที่มีอํานาจปกครองพื้นที่ 1
ใน 4 ของโลกเปนระยะเวลายาวนาน 64 ป ในขณะเดียวกันแหลงวัตถุดิบที่ยังคงตองใชแรงงานมนุษยจํานวนมาก ก็นําไปสู
กระบวนการไลลาจับเพื่อนมนุษยมาเปนทาส ที่สําคัญ การแยงชิงทรัพยากรของโลกยังนําไปสูสงครามที่โลกครั้งที่ 1
(1914 – 1918) ที่มีผูบาดเจ็บและเสียชีวิตกวา 10 ลานคน และยังสงผลตกคางที่นําไปสูการเขาสูอํานาจของอดอลฟ ฮิต
เลอร ในปค.ศ. 1933 และโลกก็ตองเผชิญหนากับมหันตภัยอันเกิดจากน้ํามือของมนุษยดวยกันเองอีกครั้งในชื่อ
สงครามโลกครั้งที่ 2 (ค.ศ. 1939 – 1945) คราวนี้มีคนเสียชีวิตมากถึง 52 ลานคน
1.4.4 โลกยุคหลังสงครามโลก
โลกยุคหลังสงครามโลก ก็เขาสูยุคสงครามเย็นที่มหาอํานาจสําคัญอยาง สหรัฐอเมริกา และ สหภาพโซเวียต ตางก็มุง
สะสมสมรรถนะกําลัง สรางเครือขายประเทศพันธมิตร และเรงศึกษาคนควาเพื่อเพิ่มศักยภาพในทางเทคโนโลยีเพื่อใหมั่นใจวา
จะมีศักยภาพเพียงพอตอการตอบโตฝายตรงกันขามได ในขณะที่ความกาวหนาตางๆที่สั่งสมมาตั้งแตยุคฟนฟูศิลปวัฒนธรรม ยุค
ปฏิวัติอุตสาหกรรม และชวงสงครามก็ยิ่งสงผลใหมนุษยมีความสามารถสรางสมความรูเพิ่มขึ้นอยางมากมาย ความรู การคนพบ
และสิ่งประดิษฐตางๆ ถูกพัฒนาขึ้นในอัตราที่กาวกระโดด ดวยความเร็วที่โลกไมเคยเผชิญมากอน เชนความรูเรื่องอวกาศ เรื่อง
คอมพิวเตอร เรื่องนาโนเทคโนโลยี เทคโนโลยีการผลิต การสื่อสาร และอินเทอรเน็ต ฯลฯ
เหตุการณสําคัญๆ ในชวงหลังสงครามโลกนั้นไดแก
ค.ศ.1947 ประเทศอาณานิคมทั้งหลายทยอยประกาศตัวเปนอิสระ การประกาศอิสรภาพซึ่งมนุษยชาติจดจําไดมากที่สุด คือ การ
เรียกรองอิสรภาพของประเทศอินเดียภายใตการนําของมหาตมะ คานธี
ค.ศ.1948 สภาแหงชาติยิว ประกาศอิสรภาพแหงอิสราเอล และเปนการเริ่มตนของความขัดแยง อิสราเอล-อาหรับ ที่ตอเนื่องยาวนาน
ค.ศ.1949 กองทัพปฏิวัติภายใตการนําของเหมาเจอตงสามารถเขายึดกรุงปกกิ่งได และเปนการเปลี่ยนแปลงประเทศจีนไปสูระบอบการ
ปกครองคอมมิวนิสตนับแตนั้นเปนตนมา
ค.ศ.1961 สหภาพโซเวียตรัสเซียแซงหนาโครงการอวกาศของสหรัฐอเมริกา ดวยการสงยูริ กาการิน ขึ้นสูอวกาศเปนคนแรก ทําใหทาง
สหรัฐฯตองเรงพัฒนาโครงการอวกาศนาซาของตนเพื่อสงใมนุษยขึ้นไปเหยียบดวงจันทรดวยยานอพอลโล 11 ในป ค.ศ. 1969
ค.ศ.1973 ความขัดแยง อิสราเอล-อาหรับทําใหกลุมประเทศอาหรับตัดสินใจขึ้นราคาน้ํามัน ทําใหเกิดวิกฤติเศรษฐกิจครั้งใหญของโลก
1ก่อกำเนิดมนุษย์
1ก่อกำเนิดมนุษย์
1ก่อกำเนิดมนุษย์
1ก่อกำเนิดมนุษย์
1ก่อกำเนิดมนุษย์
1ก่อกำเนิดมนุษย์
1ก่อกำเนิดมนุษย์
1ก่อกำเนิดมนุษย์
1ก่อกำเนิดมนุษย์
1ก่อกำเนิดมนุษย์
1ก่อกำเนิดมนุษย์
1ก่อกำเนิดมนุษย์
1ก่อกำเนิดมนุษย์
1ก่อกำเนิดมนุษย์
1ก่อกำเนิดมนุษย์
1ก่อกำเนิดมนุษย์
1ก่อกำเนิดมนุษย์
1ก่อกำเนิดมนุษย์
1ก่อกำเนิดมนุษย์
1ก่อกำเนิดมนุษย์
1ก่อกำเนิดมนุษย์
1ก่อกำเนิดมนุษย์
1ก่อกำเนิดมนุษย์
1ก่อกำเนิดมนุษย์
1ก่อกำเนิดมนุษย์
1ก่อกำเนิดมนุษย์
1ก่อกำเนิดมนุษย์
1ก่อกำเนิดมนุษย์
1ก่อกำเนิดมนุษย์
1ก่อกำเนิดมนุษย์
1ก่อกำเนิดมนุษย์
1ก่อกำเนิดมนุษย์
1ก่อกำเนิดมนุษย์
1ก่อกำเนิดมนุษย์
1ก่อกำเนิดมนุษย์
1ก่อกำเนิดมนุษย์
1ก่อกำเนิดมนุษย์
1ก่อกำเนิดมนุษย์

Contenu connexe

Tendances

ระบบน้ำเหลืองและระบบภูมิคุ้มกัน
ระบบน้ำเหลืองและระบบภูมิคุ้มกัน ระบบน้ำเหลืองและระบบภูมิคุ้มกัน
ระบบน้ำเหลืองและระบบภูมิคุ้มกัน Thitaree Samphao
 
แบบทดสอบระบบประสาท
แบบทดสอบระบบประสาทแบบทดสอบระบบประสาท
แบบทดสอบระบบประสาทWichai Likitponrak
 
กลุ่มดาวจักรราศี
กลุ่มดาวจักรราศีกลุ่มดาวจักรราศี
กลุ่มดาวจักรราศีnetissfs
 
ดาราศาสตร์ ม.3 ระบบสุริยะจักรวาล
ดาราศาสตร์ ม.3 ระบบสุริยะจักรวาลดาราศาสตร์ ม.3 ระบบสุริยะจักรวาล
ดาราศาสตร์ ม.3 ระบบสุริยะจักรวาลGwang Mydear
 
บทที่ 6 ดาวฤกษ์ (star)
บทที่ 6   ดาวฤกษ์ (star)บทที่ 6   ดาวฤกษ์ (star)
บทที่ 6 ดาวฤกษ์ (star)Pinutchaya Nakchumroon
 
ภัยพิบัติ
ภัยพิบัติภัยพิบัติ
ภัยพิบัติnaleesaetor
 
7.ปฏิสัมพันธ์สุริยะgs ดวงจันทร์ดาวเคาระห์
7.ปฏิสัมพันธ์สุริยะgs ดวงจันทร์ดาวเคาระห์7.ปฏิสัมพันธ์สุริยะgs ดวงจันทร์ดาวเคาระห์
7.ปฏิสัมพันธ์สุริยะgs ดวงจันทร์ดาวเคาระห์Wichai Likitponrak
 
ลมฟ้าอากาศ บรรยากาศ
ลมฟ้าอากาศ บรรยากาศลมฟ้าอากาศ บรรยากาศ
ลมฟ้าอากาศ บรรยากาศSupaluk Juntap
 
บทที่ 8 เทคโนโลยีอวกาศ
บทที่ 8 เทคโนโลยีอวกาศบทที่ 8 เทคโนโลยีอวกาศ
บทที่ 8 เทคโนโลยีอวกาศPinutchaya Nakchumroon
 
Astronomy VII
Astronomy VIIAstronomy VII
Astronomy VIIChay Kung
 
สรุป วิชาโลก ดาราศาสตร์ และอวกาศ
สรุป วิชาโลก ดาราศาสตร์ และอวกาศสรุป วิชาโลก ดาราศาสตร์ และอวกาศ
สรุป วิชาโลก ดาราศาสตร์ และอวกาศสิปป์แสง สุขผล
 
บทที่4โลกของเราม 2
บทที่4โลกของเราม 2บทที่4โลกของเราม 2
บทที่4โลกของเราม 2Wichai Likitponrak
 
การถ่ายทอดทางพันธุกรรม
การถ่ายทอดทางพันธุกรรมการถ่ายทอดทางพันธุกรรม
การถ่ายทอดทางพันธุกรรมBiobiome
 
ทรงกลมฟ้า
ทรงกลมฟ้า ทรงกลมฟ้า
ทรงกลมฟ้า Faris Singhasena
 
แบบบันทึกกิจกรรมระบบนิเวศ
แบบบันทึกกิจกรรมระบบนิเวศแบบบันทึกกิจกรรมระบบนิเวศ
แบบบันทึกกิจกรรมระบบนิเวศgchom
 
ใบงานที่ 2 การแก้ไขความขัดแย้งในครอบครัว
ใบงานที่ 2 การแก้ไขความขัดแย้งในครอบครัวใบงานที่ 2 การแก้ไขความขัดแย้งในครอบครัว
ใบงานที่ 2 การแก้ไขความขัดแย้งในครอบครัวtassanee chaicharoen
 

Tendances (20)

ระบบน้ำเหลืองและระบบภูมิคุ้มกัน
ระบบน้ำเหลืองและระบบภูมิคุ้มกัน ระบบน้ำเหลืองและระบบภูมิคุ้มกัน
ระบบน้ำเหลืองและระบบภูมิคุ้มกัน
 
แบบทดสอบระบบประสาท
แบบทดสอบระบบประสาทแบบทดสอบระบบประสาท
แบบทดสอบระบบประสาท
 
กลุ่มดาวจักรราศี
กลุ่มดาวจักรราศีกลุ่มดาวจักรราศี
กลุ่มดาวจักรราศี
 
บทที่ 5 เอกภพ
บทที่ 5  เอกภพบทที่ 5  เอกภพ
บทที่ 5 เอกภพ
 
ดาราศาสตร์ ม.3 ระบบสุริยะจักรวาล
ดาราศาสตร์ ม.3 ระบบสุริยะจักรวาลดาราศาสตร์ ม.3 ระบบสุริยะจักรวาล
ดาราศาสตร์ ม.3 ระบบสุริยะจักรวาล
 
บทที่ 6 ดาวฤกษ์ (star)
บทที่ 6   ดาวฤกษ์ (star)บทที่ 6   ดาวฤกษ์ (star)
บทที่ 6 ดาวฤกษ์ (star)
 
Lesson4 animalrepro2561
Lesson4 animalrepro2561Lesson4 animalrepro2561
Lesson4 animalrepro2561
 
รักษาดุลม.5
รักษาดุลม.5รักษาดุลม.5
รักษาดุลม.5
 
ภัยพิบัติ
ภัยพิบัติภัยพิบัติ
ภัยพิบัติ
 
7.ปฏิสัมพันธ์สุริยะgs ดวงจันทร์ดาวเคาระห์
7.ปฏิสัมพันธ์สุริยะgs ดวงจันทร์ดาวเคาระห์7.ปฏิสัมพันธ์สุริยะgs ดวงจันทร์ดาวเคาระห์
7.ปฏิสัมพันธ์สุริยะgs ดวงจันทร์ดาวเคาระห์
 
ลมฟ้าอากาศ บรรยากาศ
ลมฟ้าอากาศ บรรยากาศลมฟ้าอากาศ บรรยากาศ
ลมฟ้าอากาศ บรรยากาศ
 
บทที่ 8 เทคโนโลยีอวกาศ
บทที่ 8 เทคโนโลยีอวกาศบทที่ 8 เทคโนโลยีอวกาศ
บทที่ 8 เทคโนโลยีอวกาศ
 
Astronomy VII
Astronomy VIIAstronomy VII
Astronomy VII
 
สรุป วิชาโลก ดาราศาสตร์ และอวกาศ
สรุป วิชาโลก ดาราศาสตร์ และอวกาศสรุป วิชาโลก ดาราศาสตร์ และอวกาศ
สรุป วิชาโลก ดาราศาสตร์ และอวกาศ
 
บทที่4โลกของเราม 2
บทที่4โลกของเราม 2บทที่4โลกของเราม 2
บทที่4โลกของเราม 2
 
การถ่ายทอดทางพันธุกรรม
การถ่ายทอดทางพันธุกรรมการถ่ายทอดทางพันธุกรรม
การถ่ายทอดทางพันธุกรรม
 
แสงและการมองเห็น
แสงและการมองเห็นแสงและการมองเห็น
แสงและการมองเห็น
 
ทรงกลมฟ้า
ทรงกลมฟ้า ทรงกลมฟ้า
ทรงกลมฟ้า
 
แบบบันทึกกิจกรรมระบบนิเวศ
แบบบันทึกกิจกรรมระบบนิเวศแบบบันทึกกิจกรรมระบบนิเวศ
แบบบันทึกกิจกรรมระบบนิเวศ
 
ใบงานที่ 2 การแก้ไขความขัดแย้งในครอบครัว
ใบงานที่ 2 การแก้ไขความขัดแย้งในครอบครัวใบงานที่ 2 การแก้ไขความขัดแย้งในครอบครัว
ใบงานที่ 2 การแก้ไขความขัดแย้งในครอบครัว
 

Similaire à 1ก่อกำเนิดมนุษย์

ระบบสุริยะ
ระบบสุริยะระบบสุริยะ
ระบบสุริยะkalita123
 
ระบบสุริยะ2
ระบบสุริยะ2ระบบสุริยะ2
ระบบสุริยะ2kominoni09092518
 
ระบบสุริยะ
ระบบสุริยะระบบสุริยะ
ระบบสุริยะratchaneeseangkla
 
กำเนิดสุริยะ ม.3
กำเนิดสุริยะ ม.3กำเนิดสุริยะ ม.3
กำเนิดสุริยะ ม.3Sukumal Ekayodhin
 
กำเนิดจักรวาล
กำเนิดจักรวาลกำเนิดจักรวาล
กำเนิดจักรวาลniralai
 
บทที่ 3 เอกภพ
บทที่ 3 เอกภพบทที่ 3 เอกภพ
บทที่ 3 เอกภพSakchai Sodsejan
 
ระบบสุริยะ
ระบบสุริยะระบบสุริยะ
ระบบสุริยะnative
 
ไอน์สไตน์ได้กล่าวถึงพระพุทธศาสนา
ไอน์สไตน์ได้กล่าวถึงพระพุทธศาสนาไอน์สไตน์ได้กล่าวถึงพระพุทธศาสนา
ไอน์สไตน์ได้กล่าวถึงพระพุทธศาสนาmocxx
 
Universe
UniverseUniverse
Universeyokyoi
 
ปัจจัยที่ทำให้เกิดรัฐชาติ
ปัจจัยที่ทำให้เกิดรัฐชาติปัจจัยที่ทำให้เกิดรัฐชาติ
ปัจจัยที่ทำให้เกิดรัฐชาติPatt Thank
 

Similaire à 1ก่อกำเนิดมนุษย์ (20)

Contentastrounit4
Contentastrounit4Contentastrounit4
Contentastrounit4
 
Contentastrounit1
Contentastrounit1Contentastrounit1
Contentastrounit1
 
ระบบสุริยะ
ระบบสุริยะระบบสุริยะ
ระบบสุริยะ
 
ระบบสุริยะ
ระบบสุริยะระบบสุริยะ
ระบบสุริยะ
 
ระบบสุริยะ2
ระบบสุริยะ2ระบบสุริยะ2
ระบบสุริยะ2
 
ระบบสุริยะ
ระบบสุริยะระบบสุริยะ
ระบบสุริยะ
 
Pim
PimPim
Pim
 
Pim
PimPim
Pim
 
ระบบสุริยะ
ระบบสุริยะระบบสุริยะ
ระบบสุริยะ
 
42101 3
42101 342101 3
42101 3
 
กำเนิดสุริยะ ม.3
กำเนิดสุริยะ ม.3กำเนิดสุริยะ ม.3
กำเนิดสุริยะ ม.3
 
กำเนิดจักรวาล
กำเนิดจักรวาลกำเนิดจักรวาล
กำเนิดจักรวาล
 
บทที่ 3 เอกภพ
บทที่ 3 เอกภพบทที่ 3 เอกภพ
บทที่ 3 เอกภพ
 
ระบบสุริยะ
ระบบสุริยะระบบสุริยะ
ระบบสุริยะ
 
ไอน์สไตน์ได้กล่าวถึงพระพุทธศาสนา
ไอน์สไตน์ได้กล่าวถึงพระพุทธศาสนาไอน์สไตน์ได้กล่าวถึงพระพุทธศาสนา
ไอน์สไตน์ได้กล่าวถึงพระพุทธศาสนา
 
Universe
UniverseUniverse
Universe
 
Univers1
Univers1Univers1
Univers1
 
ดาราศาสตร์
ดาราศาสตร์ดาราศาสตร์
ดาราศาสตร์
 
ปัจจัยที่ทำให้เกิดรัฐชาติ
ปัจจัยที่ทำให้เกิดรัฐชาติปัจจัยที่ทำให้เกิดรัฐชาติ
ปัจจัยที่ทำให้เกิดรัฐชาติ
 
ปฏิสัมพันธ์ในระบบสุริยะ
ปฏิสัมพันธ์ในระบบสุริยะปฏิสัมพันธ์ในระบบสุริยะ
ปฏิสัมพันธ์ในระบบสุริยะ
 

Plus de Surapol Imi

ตำแหน่งทางวิชาการกับคุณภาพอุดมศึกษา
ตำแหน่งทางวิชาการกับคุณภาพอุดมศึกษาตำแหน่งทางวิชาการกับคุณภาพอุดมศึกษา
ตำแหน่งทางวิชาการกับคุณภาพอุดมศึกษาSurapol Imi
 
แนวทางสำหรับผู้ต้องการลดฝุ่นในห้องสะอาด
แนวทางสำหรับผู้ต้องการลดฝุ่นในห้องสะอาดแนวทางสำหรับผู้ต้องการลดฝุ่นในห้องสะอาด
แนวทางสำหรับผู้ต้องการลดฝุ่นในห้องสะอาดSurapol Imi
 
การประมาณราคาก่อสร้างและดูแลห้องสะอาด
การประมาณราคาก่อสร้างและดูแลห้องสะอาดการประมาณราคาก่อสร้างและดูแลห้องสะอาด
การประมาณราคาก่อสร้างและดูแลห้องสะอาดSurapol Imi
 
การเปลี่ยนแปลงหลังการตาย
การเปลี่ยนแปลงหลังการตายการเปลี่ยนแปลงหลังการตาย
การเปลี่ยนแปลงหลังการตายSurapol Imi
 
เคล็ดลับวินโดวส์ ตอน เก็บเบี้ยใต้ถุนร้าน
เคล็ดลับวินโดวส์ ตอน เก็บเบี้ยใต้ถุนร้านเคล็ดลับวินโดวส์ ตอน เก็บเบี้ยใต้ถุนร้าน
เคล็ดลับวินโดวส์ ตอน เก็บเบี้ยใต้ถุนร้านSurapol Imi
 
เคล็ดลับวินโดวส์ ไอทีซอฟต์ ปีที่ 7 ฉบับที่ 81 ธ.ค. 2541 87-102
เคล็ดลับวินโดวส์  ไอทีซอฟต์   ปีที่ 7 ฉบับที่ 81 ธ.ค. 2541 87-102 เคล็ดลับวินโดวส์  ไอทีซอฟต์   ปีที่ 7 ฉบับที่ 81 ธ.ค. 2541 87-102
เคล็ดลับวินโดวส์ ไอทีซอฟต์ ปีที่ 7 ฉบับที่ 81 ธ.ค. 2541 87-102 Surapol Imi
 
เมื่อต้องใช้เครื่องแมคอินทอชรันวินโดวส์
เมื่อต้องใช้เครื่องแมคอินทอชรันวินโดวส์เมื่อต้องใช้เครื่องแมคอินทอชรันวินโดวส์
เมื่อต้องใช้เครื่องแมคอินทอชรันวินโดวส์Surapol Imi
 
แนะวิธีเปิดร้านบนอินเทอร์เน็ต
แนะวิธีเปิดร้านบนอินเทอร์เน็ตแนะวิธีเปิดร้านบนอินเทอร์เน็ต
แนะวิธีเปิดร้านบนอินเทอร์เน็ตSurapol Imi
 
ระบบสั่งงานคอมพิวเตอร์ด้วยเสียง
ระบบสั่งงานคอมพิวเตอร์ด้วยเสียงระบบสั่งงานคอมพิวเตอร์ด้วยเสียง
ระบบสั่งงานคอมพิวเตอร์ด้วยเสียงSurapol Imi
 
Personal videoconference system
Personal videoconference systemPersonal videoconference system
Personal videoconference systemSurapol Imi
 
ปกิณกะคดีในแวดวงพีซีปี1998
ปกิณกะคดีในแวดวงพีซีปี1998ปกิณกะคดีในแวดวงพีซีปี1998
ปกิณกะคดีในแวดวงพีซีปี1998Surapol Imi
 
Van หนึ่งในธุรกิจมาแรงของสหรัฐ
Van  หนึ่งในธุรกิจมาแรงของสหรัฐVan  หนึ่งในธุรกิจมาแรงของสหรัฐ
Van หนึ่งในธุรกิจมาแรงของสหรัฐSurapol Imi
 
ศึกหลายด้านของไมโครซอฟท์
ศึกหลายด้านของไมโครซอฟท์ศึกหลายด้านของไมโครซอฟท์
ศึกหลายด้านของไมโครซอฟท์Surapol Imi
 
Telecommuting เมื่อออฟฟิซเป็นฝ่ายวิ่งมาหาคน
Telecommuting เมื่อออฟฟิซเป็นฝ่ายวิ่งมาหาคนTelecommuting เมื่อออฟฟิซเป็นฝ่ายวิ่งมาหาคน
Telecommuting เมื่อออฟฟิซเป็นฝ่ายวิ่งมาหาคนSurapol Imi
 
Realtime computing
Realtime computingRealtime computing
Realtime computingSurapol Imi
 
Psion vs win ce
Psion vs  win ce Psion vs  win ce
Psion vs win ce Surapol Imi
 
สุดยอดประดิษฐกรรมและการค้นพบแห่งปี 96
สุดยอดประดิษฐกรรมและการค้นพบแห่งปี 96สุดยอดประดิษฐกรรมและการค้นพบแห่งปี 96
สุดยอดประดิษฐกรรมและการค้นพบแห่งปี 96Surapol Imi
 
อุปกรณ์ลูกผสมPctv
อุปกรณ์ลูกผสมPctvอุปกรณ์ลูกผสมPctv
อุปกรณ์ลูกผสมPctvSurapol Imi
 
คอมพิวเตอร์ปี 2000
คอมพิวเตอร์ปี 2000คอมพิวเตอร์ปี 2000
คอมพิวเตอร์ปี 2000Surapol Imi
 

Plus de Surapol Imi (20)

ตำแหน่งทางวิชาการกับคุณภาพอุดมศึกษา
ตำแหน่งทางวิชาการกับคุณภาพอุดมศึกษาตำแหน่งทางวิชาการกับคุณภาพอุดมศึกษา
ตำแหน่งทางวิชาการกับคุณภาพอุดมศึกษา
 
แนวทางสำหรับผู้ต้องการลดฝุ่นในห้องสะอาด
แนวทางสำหรับผู้ต้องการลดฝุ่นในห้องสะอาดแนวทางสำหรับผู้ต้องการลดฝุ่นในห้องสะอาด
แนวทางสำหรับผู้ต้องการลดฝุ่นในห้องสะอาด
 
การประมาณราคาก่อสร้างและดูแลห้องสะอาด
การประมาณราคาก่อสร้างและดูแลห้องสะอาดการประมาณราคาก่อสร้างและดูแลห้องสะอาด
การประมาณราคาก่อสร้างและดูแลห้องสะอาด
 
การเปลี่ยนแปลงหลังการตาย
การเปลี่ยนแปลงหลังการตายการเปลี่ยนแปลงหลังการตาย
การเปลี่ยนแปลงหลังการตาย
 
เคล็ดลับวินโดวส์ ตอน เก็บเบี้ยใต้ถุนร้าน
เคล็ดลับวินโดวส์ ตอน เก็บเบี้ยใต้ถุนร้านเคล็ดลับวินโดวส์ ตอน เก็บเบี้ยใต้ถุนร้าน
เคล็ดลับวินโดวส์ ตอน เก็บเบี้ยใต้ถุนร้าน
 
เคล็ดลับวินโดวส์ ไอทีซอฟต์ ปีที่ 7 ฉบับที่ 81 ธ.ค. 2541 87-102
เคล็ดลับวินโดวส์  ไอทีซอฟต์   ปีที่ 7 ฉบับที่ 81 ธ.ค. 2541 87-102 เคล็ดลับวินโดวส์  ไอทีซอฟต์   ปีที่ 7 ฉบับที่ 81 ธ.ค. 2541 87-102
เคล็ดลับวินโดวส์ ไอทีซอฟต์ ปีที่ 7 ฉบับที่ 81 ธ.ค. 2541 87-102
 
เมื่อต้องใช้เครื่องแมคอินทอชรันวินโดวส์
เมื่อต้องใช้เครื่องแมคอินทอชรันวินโดวส์เมื่อต้องใช้เครื่องแมคอินทอชรันวินโดวส์
เมื่อต้องใช้เครื่องแมคอินทอชรันวินโดวส์
 
แนะวิธีเปิดร้านบนอินเทอร์เน็ต
แนะวิธีเปิดร้านบนอินเทอร์เน็ตแนะวิธีเปิดร้านบนอินเทอร์เน็ต
แนะวิธีเปิดร้านบนอินเทอร์เน็ต
 
ระบบสั่งงานคอมพิวเตอร์ด้วยเสียง
ระบบสั่งงานคอมพิวเตอร์ด้วยเสียงระบบสั่งงานคอมพิวเตอร์ด้วยเสียง
ระบบสั่งงานคอมพิวเตอร์ด้วยเสียง
 
Personal videoconference system
Personal videoconference systemPersonal videoconference system
Personal videoconference system
 
ปกิณกะคดีในแวดวงพีซีปี1998
ปกิณกะคดีในแวดวงพีซีปี1998ปกิณกะคดีในแวดวงพีซีปี1998
ปกิณกะคดีในแวดวงพีซีปี1998
 
Van หนึ่งในธุรกิจมาแรงของสหรัฐ
Van  หนึ่งในธุรกิจมาแรงของสหรัฐVan  หนึ่งในธุรกิจมาแรงของสหรัฐ
Van หนึ่งในธุรกิจมาแรงของสหรัฐ
 
ศึกหลายด้านของไมโครซอฟท์
ศึกหลายด้านของไมโครซอฟท์ศึกหลายด้านของไมโครซอฟท์
ศึกหลายด้านของไมโครซอฟท์
 
Telecommuting เมื่อออฟฟิซเป็นฝ่ายวิ่งมาหาคน
Telecommuting เมื่อออฟฟิซเป็นฝ่ายวิ่งมาหาคนTelecommuting เมื่อออฟฟิซเป็นฝ่ายวิ่งมาหาคน
Telecommuting เมื่อออฟฟิซเป็นฝ่ายวิ่งมาหาคน
 
Realtime computing
Realtime computingRealtime computing
Realtime computing
 
Psion vs win ce
Psion vs  win ce Psion vs  win ce
Psion vs win ce
 
สุดยอดประดิษฐกรรมและการค้นพบแห่งปี 96
สุดยอดประดิษฐกรรมและการค้นพบแห่งปี 96สุดยอดประดิษฐกรรมและการค้นพบแห่งปี 96
สุดยอดประดิษฐกรรมและการค้นพบแห่งปี 96
 
อุปกรณ์ลูกผสมPctv
อุปกรณ์ลูกผสมPctvอุปกรณ์ลูกผสมPctv
อุปกรณ์ลูกผสมPctv
 
PCI local bus
PCI  local busPCI  local bus
PCI local bus
 
คอมพิวเตอร์ปี 2000
คอมพิวเตอร์ปี 2000คอมพิวเตอร์ปี 2000
คอมพิวเตอร์ปี 2000
 

1ก่อกำเนิดมนุษย์

  • 1. 1 Page1 1. มนุษย โลก จักรวาล : การเรียนรู เอกสารประกอบการสอนวิชา Human Body & Health รศ. สุรพล ศรีบุญทรง 1.1. การกอกําเนิดของจักรวาล ผูรูและนักวิทยาศาสตรมีความพยายามคาดคะเนอายุไขของโลกกันมาโดยตลอด อาทิ  ในป 1654 เจมส อัสเชอร (James Ussher) อารกบิชอปแหงอารมาก (Archbishop of Armagh) ซึ่งเปนประมุข นักบวชคริสตในไอรแลนดทั้งหมดและเปนอธิการบดีของ Trinity College ในกรุงดับลิน ไดประมาณอายุของโลก จากเนื้อหาในคัมภีรไบเบิ้ล ไดขอสรุปเบื้องตนวาพระเจาเริ่มสรางโลกในวันที่ 23 ตุลาคม 4004 ปคอน ค.ศ.  เซอรเอ็ดมัน ฮัลเลย เชื่อวาหากเราสามารถหาปริมาณเกลือแกง (NaCl) ที่ละลายอยูในมหาสมุทรได เราก็จะ สามารถคํานวนกลับไปเปนอายุโลกได  จอรจส หลุยส เลคเลอรค คอมท เดอ บูฟอง (Georges LouisLeclerc Comte de Buffon) เชื่อวาการเย็น ตัวของมวลสารนั้นสัมพันธกับเวลาที่ ใชไป จึงใชวิธีเผาลูกปนใหญเหล็กที่ ทราบขนาดแนนอน แลวปลอยให เย็นลงเพื่อคํานวนเทียบกับมวลสาร ขนาดโลก วาจะตองใชเวลานาน เทาใดจึงมีระดับอุณหภูมิเทาอุณหภูมิ ผิวโลกตามที่เปนอยูในชวงที่ ดําเนินการทดลอง คํานวนไดวาโลกมี อายุระหวาง 75,000 ป ถึง 168,000 ป  เจมส ฮัตตัน (James Hutton) และวิลเลียม สมิท (William Smith) พยายามคํานวณอายุโลกจากอายุของหินที่ เกาแกที่สุดจากชั้นหินบนภูเขา คํานวนอัตราการทับถมตามชั้นความหนาของหินแตละชั้น แลวประมาณการ ออกมาไดวาโลกตองมีอายุหลายพันลานปแตไมสามารถเจาะจงชวงเวลาที่ชัดเจน  ตอมาเมื่อมีการคนพบสารกัมมันตรังสี ก็มีความพยายามหาคาอายุโลกจากครึ่งอายุของธาตุ ซึ่งก็หาขอสรุปได ยาก เนื่องจากธาตุแตละชนิดมีครึ่งอายุที่แตกตางกันไปเปนอยางมาก เชน ยูเรเนียม 238 มีครึ่งอายุสี่พันหารอย ลานปโปแตสเซียม 40 มีอายุพันสามรอยลานป ฯลฯ แตก็พอจะประมาณการไดวาธาตุที่เกาแกที่สุดนาจะมีอายุ http://1.bp.blogspot.com/- kvnyF0A3UKE/T1daOa26usI/AAAAAAAAAxk/ZypsLLhvkxs/s1600/Evolution+of+Earth+a nd+Life+4.jpg
  • 2. 2 Page2 ประมาณเทาใด เมื่อผนวกกับการคนพบใหมๆ ทางดาราศาสตร ก็ทําใหประมาณการกันวาโลกนาจะมีอายุ ประมาณ 4.56 พันลานป ปจจุบัน นักวิทยาศาสตรสวนใหญตางใหการยอมรับในทฤษฎีการระเบิดครั้งใหญ (Big Bang)วานาจะใหคําอธิบายถึง ที่มาของโลก ดวงอาทิตย และจักรวาลไดดีที่สุด โดยที่มาของทฤษฎีดังกลาวนั้นเริ่มขึ้นในป ค.ศ. 1972 โดยนักบวช George Lemaître ผูซึ่งสนใจศึกษาดาราศาสตรผานกลองดูดาว ไดตั้งขอสังเกตุวาจักรวาลนาจะกําลังขยายตัวออกไปเรื่อยๆ โดยขอ สังเกตุนี้ไดรับการปฏิเสธในระยะแรก แตเมื่อมีการพัฒนาเทคโนโลยีสมัยใหมและมีการคนพบทางดาราศาสตรใหมๆ เพิ่มขึ้น อยางการตรวจพบรังสีคอสมิก และการสงกลองโทรทรรศนขนาดใหญในรูปยานอวกาศฮับเบิ้ลออกไปโคจรรอบโลกเพื่อสํารวจ ภาพถายของจักรวาล ฯลฯ ก็ทําใหทฤษฎีBig Bangไดรับการรับรองและยอมรับมากขึ้นเรื่อยๆ จนถือเปนคําอธิบายกําเนิดของ จักรวาลที่ไดรับความเชื่อถือจากแวดวงวิทยาศาตรมากที่สุด (นอกแวดวงวิทยาศาสตร มนุษยจํานวนมากยังคงมีความเชื่อในทาง ศาสนาวาจักรวาลถูกสรางขึ้นโดยเทพเจา หรือพระเจา) ทฤษฎี Big Bang ระบุวากอนที่จะมีจักรวาล(Universe) นั้น ไมมีสสาร ไมมีเวลา ไมมีสรรพสิ่งใดๆ อยูเลย ณ จุด กําเนิดที่เล็กมากๆ ซึ่งผูรูบางทานระบุวาเล็กกวาเม็ดถั่วเขียว (บางทานวาเล็กเสียยิ่งกวาอะตอม) ไดมีพลังงานอันมหาศาลระเบิด ตนเองออกมา เกิดเปนอนุภาคชนิดแรกๆ ที่มีชนาดเล็กเสียยิ่งกวาอิเล็กตรอน เรียกวา Subatomic particle (การพยายาม คนหาอนุภาค Higgs boson ที่กําลังดําเนินอยูที่ CERN เปนความพยายามจําลองสภาพการระเบิด Big Bang แบบยอมๆ เพื่อ คนหาบรรดาอนุภาค Subatomic particle เหลานี้) โดยอาศัยอัตราการขยายตัวของจักรวาลที่นักดาราศาสตรไดเฝาสังเกตุมา นานหลายสิบป ไดขอสรุปรวมกันวา Big Bangนั้นนาจะเกิดขึ้นเมื่อ 13.7 พันลานปที่แลว(หรือในการคํานวนแบบละเอียดก็ ประมาณวา 13.798 ± 0.037 พันลานป) เมื่อเกิดการระเบิดครั้งใหญขึ้นจะมีการปลดปลอยพลังงานอันมหาศาลออกมา โดยในเศษเสี้ยววินาที (10-37 วินาที) ก็ เริ่มนับเวลาตั้งตนของจักรวาล (ณ 0 วินาที ของจักรวาล) แตเพียงชั่วขณะหนึ่ง (10-6 วินาที) หลังจากนั้นอุณหภูมิในบริเวณ ดังกลาวจะลดลงกอใหเกิดอนุภาคยอยเรียกวา ควารก และกลูกออน ซึ่งจะรวมตัวกันกอใหเกิดอนุภาคโปรตรอน นิวตรอน และอิเล็กตรอนขึ้น หลังจากนั้นอีก1 นาทีอุณหภูมิจะลดลงเหลือระดับลานลานองศาเซลเซียส พรอมกับจักรวาลมีการขยาย ขอบเขตออกไปในระดับ 6 ลานลานกิโลเมตร อนุภาคพื้นฐานของอะตอมไดจัดระเบียบและรวมตัวกันเปนไฮโดรเจนซึ่งเปน ธาตุ (element) แรกขึ้นในจักรวาล ตอจากนั้นไฮโดรเจนบางสวนก็จะรวมตัวกันเกิดเปนฮีเลียม อนุภาคเหลานี้นาจะมี ลักษณะเหมือนกลุมเมฆอนุภาคที่รอนจัดกระจายตัวอยูรอบจุดกําเนิดของการระเบิดครั้งใหญในขณะที่จักรวาลก็แผขยายตัวเอง ออกไปเรื่อยๆ ในระดับความเร็วที่มากกวาแสง ตอมาอีกนับพันลานปเมื่อจักรวาลขยายตัวออกไปพรอมกับที่อุณหภูมิลดลง ไฮโดรเจนและฮีเลียมจํานวนหนึ่งก็ เคลื่อนเขาใกลกันจนกระตุนใหเกิดปฏิกิริยานิวเคลียรติดตามมากลายเปนกลุมกอนของลูกบอลไฟขนาดใหญที่ซึ่งเปน จุดเริ่มตนของดวงดาว (star) หลายๆ ดวงดาวก็กลายเปนแกแล็กซี่ (ดวยเทคโนโลยีทางดาราศาสตรในปจจุบันไดมีการ สํารวจพบแกแล็กซี่จํานวนกวาแสนลานแกแล็กซี่อยูในจักรวาลอันเวิ้งวางนอกโลก บางแกแล็กซี่มีรูปรางเหมือนเกลียวหมุน “Spirals” บางแกแล็กซี่มีรูปรางเปนวงรี “Ellipse” บางแกแล็กซี่เปนกลุมกอนไรรูปทรงชัดเจน “Blob” โดยแกแล็กซี่ที่ไดรับ
  • 3. 3 Page3 ความสนใจมากที่สุดคือแกแล็กซี่ทางชางเผือก “Milky Way” อันมีขนาดใหญโตมโหฬาร มีดวงดาวอยูในทางชางเผือกกวาแสน ลานดวง กินระยะทางกวางขนาดที่หากสามารถเคลื่อนที่ดวยความเร็วแสง1 ก็ยังตองใชเวลานานถึงแสนปในการเดินทางผาน ทางชางเผือก หนึ่งในดวงดาวในหมูแกแล็กซี่ทางชางเผือกที่มีความสําคัญมากตอมนุษยชาติคือ ดวงอาทิตย (Sun) ซึ่งไดแตกตัว ใหกําเนิดเปนดาวเคราะห และมวลสารอีกจํานวนมากออกมาโคจรรอบตัวมันเกิดเปนระบบสุริยะจักรวาล (Solar System) โดย มีหนึ่งในดาวเคราะหที่โคจรรอบดวงอาทิตย คือ โลก มีสภาวะอันเหมาะสมสําหรับการหลอมรวมตัวกันของมวลธาตุตั้งตน2 เกิดเปนน้ํา (H2O) ซึ่งเปนองคประกอบสําคัญในการกอกําเนิดซึ่งสารอินทรีย และสรรพชีวิตติดตามมาในชวงหลายรอยลาน ปตอมา Visual Dictionary, Dorling Kindersley Book, DK London 2011, ISBN 978 14053 63907 1ความเร็วแสงคือ แสนกิโลเมตรต่อ วินาที หรือ * เมตร/วินาที 2โลกมีธาตุตังต้นอยู่ ชนิด ทีได้มาจากดวงอาทิตย์
  • 4. 4 Page4 1.2 โลกและมนุษยชาติ โลกในชวงหลายพันลานปแรก มีการเปลี่ยนแปลงของมวลสารตางๆ มากมาย ความรอนบริเวณผิวเริ่มเย็นตัวลงจน กอใหเกิดเปนผิวเปลือกโลก แตผิวโลกดังกลาวก็ยังมีการเปลี่ยนแปลงติดตามมา มีการเคลื่อนยายพื้นแผนดินและพื้นน้ําไปมา3 จากนั้นกระบวนการวิวัฒนาการก็คอยๆ หลอหลอมใหเกิดสิ่งมีชีวิตประเภทตางๆ ติดตามมาอยางมากมายและหลากหลาย แตก็ มีสิ่งมีชีวิตจํานวนมากไดสูญสิ้นเผาพันธุลงไปจนปรากฏใหรับรูไดจากซากฟอสซิลเทานั้น หากซากสิ่งมีชีวิตใดมิไดถูกกักเก็บลงสู ใตผืนดินก็จะวนเวียนเปลี่ยนสถานะไปเปนธาตุตั้งตนของสิ่งใหมอยูเรื่อยๆ ไป อาทิ อะตอมของธาตุที่เปนองคประกอบของ อากาศนั้นลวนผานกาลเวลามานานนับพันลานปแลว หรือหากจะคิดเลยไปวารางกายของมนุษยแตละคนก็ไดจากการหลอม รวมธาตุองคประกอบพื้นฐานเหลานี้เขาไวดวยกัน ก็อาจพูดไดวา “มนุษย(ในสวนของธาตุองคประกอบ)ทุกคนไดผานการเวียน วายตายเกิดในกันมานานนับพันลานป” มีการศึกษาจากซากฟอสซิล และการคํานวนอายุโดยนักวิทยาศาสตร ทําใหไดขอสรุปเกี่ยวกับโลกวาใน กระบวนการวิวัฒนาการของสัตวโลกนั้น ไดปรากฏสิ่งมีชีวิตที่มีพัฒนาการอันโดดเดนเหนือกวาสัตวอื่นๆ ขึ้นมานั่นคือ มนุษย แตมนุษยจะวิวัฒนมาเปนสัตวที่มีลักษณะรูปรางอยางที่เราคุนเคยกันอยูในปจจุบันเลยก็หาไม ตองคอยๆ วิวัฒนตนเองขึ้นมา เชนกัน การศึกษาจากซากทางประวัติศาสตร ทางโบราณคดี ทางพันธุกรรม และตามทฤษฎีทางวิวัฒนาการ ฯลฯ ไดขอสรุป วากวาจะวิวัฒนมาเปนมนุษย Homo Sapien Sapien อยางที่เปนอยูในปจจุบันนั้น มนุษยเคยมีการเชื่อมโยงทางสาย วิวัฒนาการกับพวกลิงที่ยืนตัวตรง Australopitecus และมีสารพันธุกรรมที่สืบยอนไปยังมนุษยสายพันธุอื่นที่ไดสูญพันธุไปแลว อยางพวก Neanderthrral เชนกัน มีขอสรุปเกี่ยวกับโลกและวิวัฒนาการของมนุษยดังนี้ 4.56 พันลานปที่แลว ดาวโลกอุบัติขึ้น 3 พันลานปที่แลว ชีวิตบนโลกเริ่มกอกําเนิดโดยสิ่งมีชีวิตกลุมแรกๆเกิดขึ้นในน้ํา เปนพวกสาหรายเซลลเดียวสีเขียว 250 ลานปที่แลว สิ่งมีชีวิตในน้ําเริ่มวิวัฒนใหสามารถปรับตัวจากการอาศัยอยูแตในน้ํา เปลี่ยนมาเปนการอาศัยอยูบนบกที่มีอาหาร การกินสมบูรณได 65 ลานปที่แลว ไดโนเสารที่เคยครองโลกก็สูญพันธลง เปดโอกาสใหสัตวเลี้ยงโลกดวยนมซึ่งมีโครงสรางรางกายออนแอ แตมี ขนาดสมองใหญกวาสัตวอื่นไดเจริญเติบโตมีวิวัฒนาการอันหลากหลายมากขึ้น 4 ลานปที่แลว ลิงเดินสองขา Australopithecus (แปลวา Southern Apeหรือลิงตอนใต) ที่เชื่อวานาจะเปนตนกําเนิดของ การวิวัฒนมาเปนมนุษย เริ่มมีปรากฏในบริเวณทวีปแอฟฟริกา การเดินสองขาไดทําใหเกิดการเคลื่อนยายที่อาศัยลง มาจากตนไม 2.5 – 1.5 ลานปที่ แลว มนุษย Homo Habilus (แปลวา Handy Man หรือคนใชมือเกง) เริ่มปรากฏในทวีปแอฟริกา เริ่มมีการ ประดิษฐเครื่องมืออํานวยความสะดวกในการใชชีวิต 3ในปีค.ศ. อัลเฟรด เวเกเนอร์ สังเกตุว่าซากฟอสซิลของสิงมีชีวิตประเภทเดียวกันมีการกระจัดกระจายข้ามทวีป และเมือลองนําเอารูปแผ่นทีทวีปมาต่อ เข้าด้วยกันก็สามารถเชือมต่อกันได้พอดี จึงเสนอความคิดว่า ทวีปอเมริกาและยุโรปนันแท้จริงแล้วเคยเป็นแผ่นดินเดียวกันมาก่อน (Plate Tectonic Theory) ในขณะทีเขาสูงของโลกจํานวนมากก็เคยอยู่ตําใต้ท้องทะเล แต่ด้วยการเคลือนทีของเปลือกโลกได้ดันให้รอยต่อแผ่นดินสูงขึนไปสู่ท้องฟ้ าใน ระยะเวลาต่อมา
  • 5. 5 Page5 2 ลานปที่แลว ชวงเวลา2 ลานปที่แลวไปจนถึงชวง 24,000 ปที่แลว เรียกยุคน้ําแข็ง ในขณะเดียวกันก็ เรียกการวิวัฒนาการ ของสิ่งมีชิวิตที่เรียกวามนุษย วายุคหินเกา (Paleolithic)จากการที่การสํารวจซากฟอสซิลพบแตเครื่องมือที่ทําจาก หินในลักษณะงายๆ ไมไดมีการดัดแปลงรูปลักษณไปจากกอนหินสักเทาใด 1.5 ลานที่แลว Homo Erectus (แปลวา Upright Man หรือ คนยืนตัวตรง) เริ่มปรากฏในทวีปแอฟริกา กอนที่จะ แพรกระจายอพยพออกไปในทวีปตางๆมนุษยดึกดําบรรพเริ่มเรียนรูวิธีการกอไฟ ไฟทําใหการพัฒนาของมนุษย เปนไปอยางรวดเร็ว ใชสรางความอบอุน ใชไลสัตวราย ใชเปนแสงสวางเพื่อการดําเนินกิจกรรมในยามที่พระอาทิตย ลับขอบฟาไปแลว อาหารที่ทําใหสุกแลวทําใหยอยงายไดพลังงานไปเลี้ยงอวัยวะสําคัญๆ อยางสมองไดมากขึ้น ฯลฯ 120,000 ปที่แลว Neanderthal มนุษยอีกแขนงหนึ่งของสายการวิวัฒนาการจาก มนุษย Homo Sapiens (แปลวา Wise Man หรือ มนุษยฉลาด) เริ่มปรากฏในทวีปแอฟริกา เอเชีย และยุโรป จากซากที่พบในถ้ําที่อาศัย พบวามีการทําพิธี ฝงศพดวย 40,000 ปที่แลว มนุษยเริ่มบันทึกในรูปการเขียนภาพบนผนังหิน ภาพเกาแกที่สุดพบที่ทวีปออสเตรเลีย 35,000 ปที่แลว Homon Sapiens Sapiens (หรือ Modern Man แปลวา มนุษยยุคใหม) เริ่มปรากฏอยูทั่วไปบนผืนพิภพ รวมทั้งในในทวีปออสเตรเลีย 30,000 ปที่แลว มนุษย Neanderthal สูญพันธุไปจากโลก ในขณะที่มนุษย Homon Sapiens Sapiens เริ่มปรากฏใหเห็นได โดยทั่วไปในทวีปยุโรป และเอเชีย 29,000 ปที่แลว พบหุนปนดินเหนียวรูปคนในถ้ําของนักลาแมมมอธ 24,000 ปที่แลว ฃวงสุดทายชองยุคน้ําแข็ง น้ําแข็งปกคลุมโลกลดลงเหลือเพียง 1/3 ของผิวโลก น้ําแข็งที่ละลายออกมาทําให ระดับน้ําผิวโลกลดลงถึง 100 เมตร ในชวงเดียวกันนี้ มนุษยถ้ําในประเทศออสเตรียมีการแกะสลักรูปที่ตอมาไดรับการตั้งชื่อวา Venus of Willendorf 22,000 ปที่แลว มนุษยที่อาศัยอยูทางขั้วโลกฝงเอเฃียกลุมหนึ่งเดินทางขามชองแคบเบอรริ่งเขาสูทวีปอเมริกา 17,000 – 12,000ปที่ แลว ภาพเขียนฝาผนังที่ปจจุบันไดรับการกลาวขวัญถึงเปนอยางมาก ไดถูกจารึกไวที่ผนังถ้ํา Lascaux ประเทศ ฝรั่งเศส http://www.kontra20.ru/wp- content/uploads/2012/09/183416_original.jpg
  • 6. 6 Page6 1.3 มนุษยเปนสัตวสังคม หลังจากพัฒนาการในระดับชุมชนกลุมยอย มนุษยเริ่มมีการพัฒนารูปแบบการใชชีวิตเปนสังคมเมือง ปรากฏเปน หลักฐานทางประวัติศาสตรในระยะเวลาตอมา 15,000 ปกอน ค.ศ. สิ้นสุดยุคหินเกา มนุษยเริ่มวิวัฒนเขาสูยุคหินกลาง (Mesolithic)มีการดัดแปลงเครืองมือหินใหมีความหลากหลาย มากขึ้น 12,000 ปกอน ค.ศ. เขาสูยุคหินใหม (Neolithic)เครื่องมือหินมีความซับซอนและพลิกแพลงมากขึ้น พบเคียว และอุปกรณพรวนดินที่ทํา จากหิน แสดงวามนุษยเริ่มรูจักการเพาะปลูกธัญพืชและการเก็บเกี่ยว สะสมเมล็ดพันธุ และสะสมอาหาร ทําใหเกิด เปนกลุมการดํารงชีวิตที่แตกตางกัน ระหวางผูลาสัตว และผูเพาะปลูก มีการแลกเปลี่ยนผลผลิตสวนเกินระหวางกัน 10,500 ปกอน ค.ศ. มีการปนหมอดินที่เชื่อปจจุบันเชื่อวาเกาแกที่สุด ในบริเวณประเทศญี่ปุน 8,000 ปกอน ค.ศ. เริ่มมีการกอตั้งชุมชนเมืองในแถบตะวันออกกลาง เชน เมือง Jericho ในประเทศจอรแดน และ เมือง Ҫatal Hὕyὕkประเทศตุรกี 8,000 ปกอน ค.ศ. มีการเพาะปลูกแบบที่ตองมีการชลประทานในตะวันออกกลาง เอเชียตะวันออกเฉียงใต และการเลี้ยงแกะแบบปศุ สัตวในประเทศอิรัก 7,000 ปกอน ค.ศ. มีการเก็บพืชพันธุธัญญาหาร และสํารองน้ําไวใชดวยภาชนะดินเผาในตะวันออกกลางและแอฟฟริกา 7,000 ปกอน ค.ศ. เขาสูยุคทองแดง (Copper Age)มีการคนพบซากอุปกรณที่ทําดวยทองแดงในแถบตะวันออกกลาง 6,500 ปกอน ค.ศ. เริ่มมีการทอผาใชในแถบชุมชน Ҫatal Hὕyὕkประเทศตุรกี 6,000 ปกอน ค.ศ. มีการหมักเบียรในแถบตะวันออกกกลาง 5,500 ปกอน ค.ศ. เขาสูยุคสัมฤทธิ์ (Bronze Age)มนุษยในตะวันออกกกลางเริ่มรูจักหลอมโลหะสัมฤทธิ์ขึ้นใชงาน ในขณะที่มนุษยใน ยุคโรปเริ่มรูจักกับการใชทองแดง 5,000 ปกอน ค.ศ. การชลประทานที่มีประสิทธิภาพทําใหเกิดอารยธรรมเมือง และอาณาจักรตางๆ ขึ้นในแหลงอารยธรรมสําคัญ ๆ แถบลุมแมน้ํา 4,400 ปกอน ค.ศ. การฝกสัตวเพื่อใชงานเริ่มแพรหลาย มีการเพาะเลี้ยงมาในแถบยุโรปตะวันออก ใชสัตวตางเพื่อการขนสง และ การเกษตร 4,004 ปกอน ค.ศ. อารคบิชอบ เจมส อัสเชอร (James Ussher) ประมาณอายุของโลกจากเนื้อหาในคัมภีรไบเบิ้ล ไดขอสรุปเบื้องตนวา อายุโลกเริ่ม ณ วันที่ 23 ตุลาคม 4004 ปคอน ค.ศ. 3,000 ปกอน ค.ศ. มนุษยในยุโรปเขาสูยุคเหล็ก (Iron Age) ในขณะที่ในแอฟฟริกา และตะวันออกกลางเริ่มมีเหล็กใชเพียงเมื่อ 700 ปที่ แลว https://encrypted-tbn0.gstatic.com/images?q=tbn:ANd9GcS0FWBj1cQHYko6b_5jt86h7wUztEpSpy95rw52hYTOsS8KmS-TYw
  • 7. 7 Page7 1.4 อารยธรรมของมนุษย มนุษยไดพัฒนาการอยูรวมกันในสังคม มีการกอกําเนิดขึ้นของแหลงอารยธรรม (Civilization) ตางๆ ในบริเวณลุมแมน้ําซึ่งเหมาะสมกับการดํารงชีวิตของชุมชนไดอยาง สะดวกสบาย เชน อารยธรรมลุมแมน้ําไทกริส-ยูเฟรติส อารยธรรมลุมแมน้ําไนล อารยธรรมลุม แมน้ําฮวงโห อารยธรรมลุมแมน้ําสินธุ อารยธรรมลุมแมน้ําโขง อารยธรรมลุมแมน้ําอเมซอน ฯลฯ อยางไรก็ตามแหลงของอารยธรรมที่มีความเคลื่อนไหวและเปลี่ยนแปลงอยางรวดเร็วคือแหลงอารย ธรรมที่อยูรอบทะเลเมดิเตอรเรเนียน เพราะมีการตอสูแกงแยง แยงชิงทรัพยากรกันอยูตลอดเวลา การปะทะและแลกเปลี่ยนอารยธรรมเกิดขึ้นอยางรวดเร็วและรุนแรงเกิดขึ้นเมื่อมีสงครามขึ้น ระหวางมนุษย การพยายามเอาชนะฝายตรงขามนั้นแมจะนํามาซึ่งความเศราโศกสูญเสีย การสูญ สิ้นของคุณคา หลักการและความรูบางอยาง แตก็มักจะตามมาดวยความพยายามพัฒนาเทคโนโลยี ใหทันคูตอสู การแลกเปลี่ยนเรียนรูระหวางกัน 1.4.1 แหลงอารยธรรมโบราณ การศึกษาแหลงอารยธรรมโบราณ พบวามีแหลงอารยธรรมที่นาสนใจดังตอไปนี้ 5,000 ป – 2,000 ป กอน ค.ศ. อาณาจักรสุเมเรียน แถบลุมแมน้ําไทกริส ยูเฟรติส หรือเรียกวา เมโสโปเตเมียใต โดดเดนดวยการพัฒนาอักษรลิ่ม (Cuniform) การสรางกระทอมจากไมและการสรางศาสนสถานขนาดใหญจากหิน 5,000 ป – 330 ปกอน ค.ศ. อาณาจักรอียิปตลุมแมน้ําไนล โดดเดนดวยอักษรภาพแบบเฮียโรกลิฟฟก ความเชื่อในแทพเจาจํานวนมาก (เดนสุด คือเทพแหงดวงอาทิตย) เชื่อเรื่องชีวิตหลังความตายจนนําไปสูการทํามัมมี่ การสรางศาสนสถานอยางปรามิด สฟงก และการรูเรื่องเวลา ระดับน้ํา การฃลประทานเพื่อการเพาะปลูก ถึงคราวเสื่อมสลายลงเมื่อพระเจาเอล็กซานเดอรม หาราชยกทัพมาพิชิตอียิปต 6,000 ป – 1,450 ป กอน ค.ศ. อาณาจักรมิโนอัน เกาแกสุดในยุโรป โดดเดนดวยการกอสรางปราสาทที่มีจํานวนหองหับมากมาย แตถูกทําลายลง ไปเพราะภูเขาไฟระเบิด เรื่องราวที่ถูกเลาขานตอกันมา เปนตํานานผสมผสานกับความเชื่อ เชน เรื่องเขาวงกตที่ถูก เฝาไวโดยมิโนทอร สัตวที่มีตัวเปนคนมีหัวเปนกระทิง 2,750 ป – 332 ปกอน ค.ศ. อาณาจักรโฟนีเซีย โดดเดนดวยการพัฒนาตัวอักษร 22 ตัว ในชวง 1,000 ปกอน ค.ศ. ที่กลายมาเปนรากฐานใหแก อักษรยุโรป มีความสามารถในการรบและการเดินเรือ แตดวยเหตุผลนานาประการทําใหมีการเคลื่อนยายที่ตั้งของ เมืองไปมาในพื้นที่รอบๆ ทะเลเมดิเตอรเรเนียน อาทิ เมืองไทร เกาะไซปรัส เมืองอูติกา และเมืองคารเธจ ทวีป แอฟริกาเหนือ จนสุดทายอาณาจักรไดลมสลายลงหลังจากพายสงครามแกกรีก 3,372 ป – ค.ศ. 1517 ดินแดนทวีปอเมริกากอนถูกรุกรานจากเจาอาณานิคมสเปนนั้นเคยมีอารยธรรมทองถิ่นที่รุงเรืองมาแตเดิม เชน เมื่อ 3,372 ปกอน ค.ศ. นั้นไดเคยมีการจัดทําปฏิทินมายาไวเปนหลักฐานปรากฏมาจนถึงปจจุบัน แตในระหวางนั้นกลับ มีหลักฐานทางอารยธรรมอยูคอนขางนอยเมื่อเทียบกับพื้นที่บริเวณอื่นๆ ของโลก มีเพียงหลักฐานไมมากนักระบุถึง อาณาจักรโอลเม็กในแถบชายฝงเม็กซิโก ระหวาง 1,200 – 300 ปกอน ค.ศ. ซึ่งมีการกอสรางศาสนสถานขนาด ใหญในรูปปรามิดซึ่งมีความสูงถึง 34 เมตร อาณาจักรชาวินที่ครอบครองพื้นที่แถบเทือกเขาแอนเดรสในประเทศเปรู ระหวาง 1,200 – 200 ปกอน ค.ศ. แตวัฒนธรรมที่ยิ่งใหญและมีบทบาทในภูมิภาคนี้มากที่สุดคืออารยธรรมมายา และแอสเท็ก ซึ่งมีสิ่งปลูกสรางกระจัดกระจายอยูทั่วไป มีการสรางปรามิดขนาดใหญไวเปนจํานวนมาก แตเริ่ม https://s-media-cache- ak0.pinimg.com/236x/b8/ 8b/05/b88b054439370fc7 bb405f6774887b5e.jpg
  • 8. 8 Page8 ออนแอลงเมื่อมีความแตกแยกในหมูชาวมายากันเอง การกดขี่ขมเหงระหวางชนชั้นทําใหเกิดการลุกขึ้นตอตาน ผูปกครองในป ค.ศ. 1440 และเมื่อคริสโตเฟอร โคลัมบัส นําเรือสเปนเขามาสํารวจในป ค.ศ. 1492 อาณาจักร มายาที่เคยยิ่งใหญก็เริ่มตนสูญสลายลงไปดวยการบุกรุกทําลายของกองทัพสเปนที่มีจํานวนทหารอันนอยนิด (การ ตายของชาวมายาจํานวนมากเกิดจากโรคระบาดที่ชาวยุโรปนําเขามาสูอเมริกา) 1,600 ป – 468 ปกอน ค.ศ. อาณาจักรไมซีเนียน เกาแกในบริเวณประเทศกรีซ มีเรื่องราวที่ถูกเลาขานตอกันมา เปนตํานานผสมผสานกับความ เชื่อเชนเดียวกับอาณาจักรมิโนอัน เชนเรื่องมาไมเมืองทรอย เรื่องราวความเชื่อแบบเทพนิยายกรีก 1,850 ป – 63 ปกอน ค.ศ. อาณาจักรฮีบรูว หรือบรรพบุรุษของชาวยิว เดิมอยูในบริเวณที่เรียกวาคานาอาน (หรือรูจักกันในชื่อปาเลสไตนใน ปจจุบัน) นับถือศาสนาจูดาย ตํานานเลาวาอับราฮัมนําพาชนเผาของตนอพยพจากเมโสโปเตเมียมาตั้งรกรากใน บริเวณคานาอาน ตอมาโมเสสไดนําพาชาวยิวที่อยูในอียิปตอพยพตามมาในชวง 1,200 ปกอน ค.ศ. มีการกอตั้ง อาณาจักร และมีกษัตริยผูยิ่งใหญอยางเดวิด และโซโลมอน กอนที่จะถูกบุกเขาทําลายโดยกองทัพอัสซีเรียในชวง 722 ปกอน ค.ศ. หลังจากนั้นดินแดนดังกลาวก็ถูกผลัดเปลี่ยนเวียนกันเขาปกครองโดยหลายจักรวรรดิ อาทิ บาร บิโลเนีย เปอรเซีย กรีก (ยุคอเล็กซานเดอร) โรมัน จนกระทั่งชาวยิวไดแตกกระซานซานเซ็นไปทั่วยุโรป และถูก รังเกียจเดียดฉันทวาฉลาด เจาเลห เพราะมักยึดครองธุรกิจดานทุนและการเงิน เมื่อเกิดสงครามโลกครั้งที่สอง นาซี ไดสงชาวยิวเขาสูคายกักกันจนสงผลใหมีคนตายมากกวา 6 ลานคน หลังสงคราม สหประชาชาติพยายามแกปญหา ชาวยิวไรที่อยูหลังสงคราม ดวยการมีโครงการจัดตั้งประเทศอิสราเอลขึ้นในดินแดนพันธสัญญาเดิม แตเนื่องจากพื้นที่ ดังกลาวไดถูกครอบครองโดยชาวปาเลสไตนและลอมรอบดวยชนชาวอาหรับ และมุสลิม ทําใหเกิดกรณีพิพาท ตอเนื่องมานับแตนั้น 2,000 ป – 539 ปกอน ค.ศ. อาณาจักรอัสซีเรีย ฮิทไทต และบารบิโลเนีย เกิดขึ้นในบริเวณที่ซอนทับกันอยู มีกษัตริยจากชนเผาตางๆ ผลัด เวียนกันขึ้นครองอํานาจและแผขยายอิทธิพลไปยังอาณาบริเวณตางๆ รอบทะเลเมดิเตอรเนียน เชน กษัตริยฮัมมูราบี ผูยิ่งใหญแหงบารบิโลน (1,792 – 1,750 ปกอน ค.ศ.) ผูเปนตนกําเนิดของการปกครองดวยกฎหมายลายลักษณ อักษร กษัตริยเนบูซัดเนสเซอร (1,126 – 1,105 ปกอน ค.ศ.) ผูสรางสวนลอยแหงบารบิโลน ซึ่งถูกจัดใหเปนหนึ่งใน สิ่งมหัศจรรยของโลก แมจะไมปรากฏซากสิ่งปลูกสรางหลงเหลือใหเห็นแลว อาณาจักรบาบิโลนอันยิ่งใหญไดลม สลายลงไปหลังจากพายสงครามแกกองทัพเปอรเชีย 900 ป – 323 ปกอน ค.ศ. อาณาจักรกรีกนั้นแมจะมีชวงของความเจริญรุงเรืองเพียงไมกี่รอยป แตอารยธรรมกรีกกลับไดรับการยกยองและ ยอมรับจากนักวิชาการตะวันตกมากมาย สิ่งกอสราง หลักการปกครอง ปรัชญาการศึกษา และงานศิลปะของกรีก ยังคงถูกใชเปนตนแบบของการศึกษาในโลกตะวันตก และถูกสงตอมาถึงระบบการศึกษาของไทยในปจจุบัน ทําให เรื่องราวของความกลาหาญและประสิทธิภาพของการจัดกองทัพของนักรบสปารตายังคงถูกเลาขานตอมาจนถึง ปจจุบัน เรื่องของระบบการปกครองแบบประชาธิปไตยของเอเธนส งานละคร กีฬาโอลิมปก ตํานานเทพนิยายกรีก เหลานักรบในวรรณกรรมโอดิสซี และอิลเลียด งานศิลปะแบบมนุษยนิยม รูปปน อาคารสิ่งปลูกสราง ซึ่งสงผลตอการ สรางพระพุทธรูปและรูปบูชาในเอเชีย อีกทั้งยังกลับไปมีอิทธิพลตออารยธรรมแบบยุคฟนฟูศิลปวัฒนธรรม (Renaissance) อีกครั้งในยุโรปหลังจากอาณาจักรกรีกไดลมสลายไปเกือบพันปแลว ระบบการศึกษาสมัยใหมยังคง อางอิงถึงแนวคิด หลักการ และปรัชญาการศึกษาของเหลาเมธีสําคัญของกรีก ไมวาจะเปน โสเครตีส (469 – 399 ป กอน ค.ศ.) เพลโต (427 - 347 ปกอน ค.ศ.) หรืออริสโตเติ้ล (384 - 322 ปกอนค.ศ.) นาเสียดายวาแมจะ เจริญรุงเรืองทางปญญาความรูอยางมากมายแต ดวยการแตกความสามัคคีมีการบพุงกันเองอยูบอยๆ สุดทาย อาณาจักรกรีกก็ตองลมสลายไปหลังจากการพายศึกตอมาซีโดเนีย 549 -331 ปกอน ค.ศ. อาณาจักรเปอรเซีย ตั้งอยูในบริเวณประเทศอิหรานในปจจุบัน แมวาชนชาวเปอรเซียจะมีมาแตเกากอนนับพันป แตความรุงเรืองระดับอาณาจักรเพิ่งจะกอเกิดขึ้นในยุคของกษัตริยไซรัส สามารถรบชนะบารบิโลเนียและอียิปต มา ยิ่งใหญที่สุดในยุคของกษัตริยดาริอุสซึ่งครอบครองอาณาจักรอันกวางใหญดวยกําลังรบอันมหาศาลและชื่อเสียงใน ความเหี้ยมโหดไดเคยนํากองทัพมหึมาบุกเขาสูอาณาจักรกรีกจนเปนตํานานเรื่องราวเกี่ยวกับมาราธอน และความกลา
  • 9. 9 Page9 หาญในการรบของชนเผาสปารตา ปรากฏเปนบันทึกประวัติศาสตรโดย ฮีโรโดตัส (Herodotus) ในชวง 500 ปกอน ค.ศ. อยางไรก็ตาม สุดทายอาณาจักรเปอรเชียที่ยิ่งใหญก็ตองพายแพและถูกผนวกเปนสวนหนึ่งของกษัตริยอเล็กซาน เดอรแหงกรีก 753 ปกอน ค.ศ. – ค.ศ. 476 โรมันกอกําเนิดขึ้นเปนเมืองบริเวณกรุงโรม ประเทศอิตาลี โดยมีตํานานเกี่ยวกับการสรางเมืองวาสรางโดย โรมุลุส (Romulus) และ เรมุส (Remus) ฝาแฝดของรีอา ซิลเวีย กับมารส กอนที่จะพัฒนาสาธารณรัฐและอาณาจักรโรมัน หลังจากรบชนะอาณาจักรใหญนอยในละแวกใกลเคียงไดในระยะเวลาตอมา ดวยความสามารถในเชิงการวาง แผนการรบและระบบวิศวกรรม ทําใหอาณาจักรของโรมันสามารถแผขยายไปไดทั่วยุโรป รวมถึงขามไปยังเกาะ อังกฤษ มีการกอสรางถนนคอนกรีตสําหรับใหรถมาวิ่งไปไดทั่วยุโรป มีการกอสรางอาคารสถานที่ดวยคอนกรีต มากมายรวมทั้งระบบทอสงน้ําเพื่อการประปา มีระบบการปกครองที่มีชั้นการบังคับบัญชาชัดเจน โดยในระยะแรก นั้นไดรับเอาแนวคิดเรื่องเทพเจาและความเชื่อทางศาสนาแบบกรีกมาใชในสังคม แตตอมาไดหันมารับรองศาสนา คริสตและกลายสถานภาพเปนศาสนจักรอันยิ่งใหญ คือ โรมันคาทอลิค อาณาจักรโรมันเขาสูยุครุงเรืองแลวก็เสื่อม ถอยไปดวยความหลงระเริงดวยความสุขทางมังสานิยม กระทั่งตองพายแพแกชนเผาที่มีเจริญกาวหนาทางอารยธรรม ที่ต่ํากวา ไมวาจะเปนพวกแฟรงก กอล วิสิทก็อท ฮั่น เมื่อโรมถูกเผาเยอรมันบุกเขาโจมตีในป ค.ศ. 476 จักรพรรดิ คอนสแตนตีนตัดสินพระทัยยายเมืองมายังอาณาจักรคริสตฟากยุโรปตะวันออก ที่เมืองไบแซนติอุม และเปลี่ยนชื่อ เมืองเปนคอนสแตนติโนเปล และเรียกอาณาจักรโรมันในยุคนี้วาไบแซนไทน สืบเนื่องความยิ่งใหญตอเนื่องมาไดอีก หลายรอยปผานยุคของจักรพรรดิจัสตีเนียนที่เปนตนรางของปฏิทินสากลสมัยใหมที่นิยมใชไปทั่วโลก แตตอมาก็กลับ รวงโรยลงหลังจากการสิ้นพระชนมของจักรพรรดิจัสตีเนียน อาณาจักรโรมันไบแซนไทนถูกบั่นทอนลงดวยสงครามอีก หลายครั้งจนกระทั่งตกเปนของอาณาจักรเติรกมุสลิมในป ค.ศ.1453 ค.ศ. 802 – ค.ศ.1431 อาณาจักรขอม เริ่มจากอารยธรรมของชนเผาสองกลุมในลุมน้ําโขงคืออาณาจักรฟูนัน และอาณาจักรเจนละ ซึ่งถูก หลอมรวมเขาดวยกันโดยกษัตริยชัยวรมันที่หนึ่ง ความยิ่งใหญของขอมนั้นมีบทบาทสําคัญในเชิงศิลปวัฒนธรรมในหมู ชนเผาทั้งหลายในแถบสุวรรณภูมิ แตแลววันหนึ่งอาณาจักรที่ยิ่งใหญดังกลาวกลับสูญสลายไปในชวงเวลาเพียง 700 ป หลังจากนั้น เมืองและศาสนสถานโบราณเหลานี้ก็ถูกซอนไวในปาลึกอยางยาวนานจนกระทั่งมาถูกสํารวจพบโดย นักสํารวจฝรั่งเศส อเล็กซองดร อองรี มูโอต (Alexandre Henri Mouhot, 1826-1861) ซึ่งทํางานภายใตการ สนับสนุนของระบอบการลาอาณานิคมของฝรั่งเศส 1,766 ปกอน ค.ศ. ถึง ปจจุบัน อาณาจักรลุมแมน้ําฮวงโห นั้นเชื่อกันวาเกาแกยาวนานกวา 5 พันปกอน ค.ศ. มีบันทึกตัวอักษรที่พัฒนาจากอักษร ภาพที่เกาแกมาก เชนอักษรเสี่ยงทายบนกระดองเตา แตการบันทึกประวัติศาสตรอยางจริงจังมักจะนับเริ่มจาก ราชวงศ Shang ในชวง 1,766 ปกอน ค.ศ. แมจะยังเปนอาณาจักรที่ไมใหญโตมากเชนพื้นที่ของประเทศจีนใน ปจจุบัน ความยิ่งใหญในเชิงความเชื่อ ปรัชญา หลักการปกครอง เกิดขึ้นในชวง 600 ปกอน ค.ศ. เมื่อมีปรัชญาเมธี จํานวนมากอุบัติขึ้น เชน ซุนวู (600 ปกอน ค.ศ. ) ผูขียนตําราพิชัยสงคราม ขงจื้อ (551 - 479 ปกอน ค.ศ.) เลาจื้อ (400 ปกอน ค.ศ.) เมงจื้อ (372 - 289 ปกอน ค.ศ.) ฯลฯ แต ความยิ่งใหญในเชิงพื้นที่และอิทธิพลตอชนเผารอบ ขางเริ่มขึ้นในชวง 221 ปกอน ค.ศ. เมื่อจักรพรรดิจิ๋นซีไดรบชนะแควนตางๆ แลวรวบรวมอํานาจไวภายใตกฎเหล็กที่ โหดรายแตมีประสิทธิภาพ เชน ฆาลางเผาพันธุที่มีความเห็นตางขัดแยง เผาตําราที่มีมาแตเดิม ยกเลิกภาษาเขียน แลวกําหนดใหทุกชนเผาตองใชอักษรเดียวกันในการสื่อสาร ... จีนมีอาณาจักรที่ยิ่งใหญแลวก็แตกสลาย ถูกชนเผา นอกกําแพงที่มีอารยธรรมต่ํากวาอยางราชวงศหยวน ราชวงศชิง เขายึดครองแตแลวก็กลับถูกหลอมเขาดวย วัฒนธรรมเดิมจนกลายมาเปนจีนใหม ออนแอจนถูกรุกรานจากมหาอํานาจชาติตะวันตกที่แสวงหาแหลงทรัพยากร เพื่อปอนใหแกอุตสาหกรรมของตนในยุคลาอาณานิคม แพสงครามฝนแกอังกฤษในชวง ค.ศ.1839 -1842 ซึ่งไม เพียงแตจะสูญเสียไพรพลและเกิดความเสียอยางหนัก แตยังตองชดใชคาปฏิกรณสงครามจํานวนมหาศาลถูกบังคับ ใหตองยอมยกสิทธิสภาพนอกอาณาเขตจํานวนมากใหแกอังกฤษ และยังสงผลใหบรรดาชาติตะวันตกจํานวนมากถือ โอกาสเขายึดครองฉกฉวยประโยชนจากประเทศจีนซึ่งถูกเรียกวา “คนปวยแหงเอเชีย” กันขนานใหญ กระทั่งสิ้นสุด
  • 10. 10 Page10 ยุคราชวงศ (จักรพรรดิปูยี สละราชบัลลังกในป ค.ศ. 1912) เขาสูยุคสาธารณรัฐ (เริ่ม ค.ศ. 1911) และยุค คอมมิวนิสต (เริ่ม ค.ศ. 1949) จีนนับเปนประเทศที่มีประชากรมากที่สุด (ประชาการ 1,366.5 ลานคนโดยประมาณ สํารวจในป ค.ศ.2014 โดยไมนับรวมคนจีนในเขตเศรษฐกิจพิเศษ ในไตหวัน และบรรดาคนจีนโพนทะเลทั้งหลาย) 5,000 ปกอน ค.ศ. ถึง ปจจุบัน อาณาจักรลุมแมน้ําสินธุ เริ่มจากแองอารยธรรมโมเฮนโจ-ดาโร ที่โดดเดนเรื่องการสรางเมืองแบบแนวตารางมีการ ผันน้ํามาเพื่อการประกอบพิธีกรรมทางศาสนาและใชบริโภคในเมือง แตแลวในชวง 1,500 ปกอน ค.ศ. อาณาจักร ของโมเฮนโจ-ดาโรก็ตองลมสลายไปเมื่อถูกรุรานจากชนเผาอารยัน (เชื้อสายอินโดยูโรเปยน) ที่มีขนาดรางกายใหญโต และมีความสามารถในการรบมากกวาซึ่งเคลื่อนยายมาจากฝงตะวันตก หลังจากนั้นชนเผาที่เขามาใหมก็ไดจัดสราง ระบบการปกครองที่มีการแบงชั้นวรรณะของผูคน เปนกษัตริย พราหมณ แพศย ศูทร และจัณฑาล โดยผนวกเรื่อง ชนชั้น การดํารงชีพ และการปกครองเขากับความเชื่อทางศาสนา (เดิมเรียกวาศาสนาพราหณ แตตอมาเปลี่ยนไป เรียกวาศาสนาฮินดู) อาณาจักรลุมแมน้ําสินธุ มีการเปลี่ยนแปลงครั้งใหญเมื่อมีมหาบุรุษนาม สิทธัตถะ (623 – 543 ปกอน ค.ศ.)กอกําเนิดขึ้นในราชวงศศากยะ ไดตรัสรูและเผยแพรธรรมใหแกประชาชนทั่วไปจนไดรับความ เลื่อมใสศรัทธาบวชเขาสูรมกาสาวพัตรเปนจํานวนมาก จึงไดทรงจัดตั้งคณะสงฆและกําหนดธรรมวินัยขึ้นเปนหลัก ความรูและปฏิบัติในหมูสาวก มีการตั้งองคกรที่ประกอบดวยพุทธบริษัทสี่ ที่ยังคงยั่งยืนมาไดจนถึงปจจุบัน ศาสนา พุทธเจริญถึงจุดสูงสุดในยุคของพระเจาอโศกมหาราช (269 – 232 ปกอน ค.ศ.) แหงราชวงศเมาริยะ เมื่อพระเจา อโศกไดเปลี่ยนจากศาสนาพราหมณมานับถือพุทธศาสนา และสงเสริมใหเกิดความเจริญแพรหลายของศาสนาไปทั่ว ทวีปเอเฃีย มีการกอตั้งมหาวิทยาลัยนาลันธาขึ้นมาเพื่อเปนแหลงศึกษาเรียนรูแกพุทธศาสนิกชนทั้งหลาย นา เสียดายวา พุทธศาสนาเจริญงอกงามอยูในชมพูทวีปไดเพียงกึ่งศตวรรษก็ตองสูญความนิยมลงไป แตกลับไปเจริญงอก งามอยูในดินแดนที่หางไกลออกไปอยาง ศรีลังกา ไทย ประเทศแถบอินโดจีน เอเชียตะวีนออกเฉียงใต จีน ญี่ปุน และ เกาหลี แทน ดินแดนชมพูทวีปกลับไปสูภาวะที่มีเจาครองรัฐยอยๆ อีกครั้งหลังจากราชวงศเมาริยะไดสิ้นสุดลง ในชวง 185 ปกอน ค.ศ. กระทั่งในป ค.ศ.320 ประชาชนในลุมน้ําสินธุไดเปลี่ยนกลับไปนับถือศาสนาพราหมณ ภายใตชื่อใหมวาศาสนาฮินดู ภายใตการอุปถัมปของกษัตริยในราชวงศคุปตะอีกนานหลายรอยป กอนจะถูกโจมตี จากชนเผาฮั่นทางฟากตะวันตก ทําใหอาณาจักรของราชวงศคุปตะลมสลายกลายเปนเมืองยอยๆ จํานวนมากของมหา ราชา ในป ค.ศ.500 ดินแดนนี้กลับมามีอาณาจักรขนาดใหญอีกครั้งภายใตการปกครองของราชวงศโมกุลซึ่งนับถือ ศาสนามุสลิม (ค.ศ. 1526 – 1720 ) มีการกอสรางศาสนสถานสําคัญของมุสลิมขึ้นมากมายในยุคนี้ ที่สําคัญและเปน ที่รูจักมากคือราชวังทัชมาฮาล พื้นที่ชมพูทวีปเขาสูจุดต่ําสุดเมื่อถูกอังกฤษเขายึดครองในป ค.ศ.1763 เพื่อใชเปน แหลงทรัพยากรปอนใหแกอุตสาหกรรมภายในอาณาจักรอังกฤษ เปนระยะเวลานานถึง 184 ป (ไดรับอิสรภาพในป ค.ศ.1947) ปจจุบัน อินเดียไดชื่อวาเปนประเทศประชาธิปไตยที่มีขนาดใหญที่สุด มีประชาการ 1,244.8 ลานคน โดยประมาณ (สํารวจในป คศ.2014) ค.ศ.570 ถึงปจจุบัน อาณาจักรอิสลาม จุดกําเนิดของอาณาจักรอิสลามนับยอนไปไดถึงการกําเนิดของมหาศาสดามูฮัมมัด ในป ค.ศ. 570 ซึ่งกอนจะมีการเผยแพรศาสนานั้นประกอบอาชีพเปนพอคาในเมืองเมกกะ ดินแดนอารเบีย กอนหนาการประกาศ ศาสนา ชนชาวอารเบียมีการนับถือเทพเจา และความเชื่อแตกตางกันไปตามสภาพชนเผา ชนเผาจํานวนมากดํารงชีพ ดวยการเดินทางเคลื่อนยายที่อยูไปมาในดินแดนทะเลทราย แตเมื่อถึง ค.ศ.610 ศาสดามูฮัมมัดในวัย 40 ป ไดพบ กับพระเจา (พระอัลเลาะห) และเริ่มเผยแผศาสนาใหมในชื่ออิสลาม ซึ่งเปนคําภาษาอาหรับ ‫اﻹﺳﻼم‬ แปลวา การ สวามิภักดิ์ ซึ่งหมายถึงการสมัครใจทําตามพระประสงคของ อัลลอฮฺ พระผูเปนเจา อยางบริบูรณ โดยคําวา อิสลาม นั้นมีรากศัพทมาจากคําวา อัส-สิลมฺ หมายถึง สันติ การเผยแผศาสนาในชวงแรกไดรับการตอตานจากผูคนในเมือง เมกกะ ทําใหศาสดามูฮัมมัดตองเดินทางจากเมกกะไปยังเมืองยาดทริบ (หรือที่รูจักกันในชื่อเมดินาในปจจุบัน) ในป ค.ศ.622 ซึ่งสาวกใหความสําคัญตอปดังกลาวมากไดกําหนดใหเปนปฮิจเราะห เมื่ออยูเมืองเมดินาศาสดามูฮัมมัดได เผยแพรศาสนาอยางกวางขวางมีผูศรัทธามากมาย มีการกอสรางสุเหราแหงแรกขึ้น กอนที่จะยกทัพกลับมายึดเมือง เมกกะในป ค.ศ.630 หลังจากนั้นก็ไดเผยแผศาสนาออกไปจนทั่วดินแดนอารเบีย ศาสดามูฮัมมัดเสียชีวิตลงในป
  • 11. 11 Page11 ค.ศ. 632 หลังจากนั้น อบูบักร พอตาของทานไดสืบทอดศาสนกิจตอในฐานะของกาลิฟะห (Caliph หรือ ผูสืบทอด) ทําใหตอมาไดมีศาสนามุสลิมสองนิกายใหญ คือนิกายชิอะห (Shiites) ซึ่งยอมรับผูสืบทอดจากสายตระกูลฝงฟาติ มะหบุตรสาวของศาสดามูฮัมมัด กับนิกายสุหนี่ห (Sunnis) ซึ่งยอมรับการสืบทอดนอกสายตระกูลฝงฟาติมะห ศาสนามุสลิมไดถูกเผยแผออกจากอารเบียเขาสูเขตเมดิเตอรเนีย ทําใหเกิดการปะทะกันระหวางศาสนาคริสตเกิดเปน สงครามศาสนาชื่อวา สงครามครูเสดที่กินระยะเวลายาวนานถึงเกือบสองรอยป (ค.ศ. 1096 – ค.ศ.1291) มีการรบ พุงกันถึงสามระลอก หลังจากสงครามครูเสดแลว ศาสนาอิสลามไดเผยแผไปทั่วโลก โดยเฉพาะพื้นที่ตะวันออก กลาง เอเชียกลาง แอฟริกา เอเชียตะวันออกเฉียงใต เปนศาสนาใหญอันดับตนๆ ของโลกในปจจุบัน 1.4.2 ยุโรปเขาสูยุคกลาง เมื่ออาณาจักรโรมันลมสลายลงในป ค.ศ. 476 สภาพของอาณาจักรโรมันที่แตกสลายลงก็ถูกแบงออกไปตามพื้นที่ซึ่ง ชนเผาตางๆเคยอาศัยอยูกอนที่จะถูกกองทัพโรมันโจมตีและผนวกเขาสูอาณาจักรของตน นักประวัติศาสตรมักเรียกชวงเวลา ยาวนานเกือน 1 พันปนี้วา ยุคกลาง (Mediaval period หรือ Middle Age) หรือเรียกวายุคมืด (Dark Age) เนื่องจากเต็มไป ดวยการตอสูแยงชิงดินแดนระหวางกัน ภายในดินแดนก็แบงแยกระดับชนชั้นเปนพระ ขุนนาง และสามัญชน และถึงแมวายุโรป จะมีความเชื่อในทางศาสนาอยางเขมขน แตก็ยังมีความแตกตางทางความเชื่อจนนําการฆาฟนกันดวยสาเหตุทางความเชื่อทาง ศาสนา และไมเพียงแตฆาฟนกันเองในหมูคริสเตียน แตไดมีการเกณฑรี้พลเดินทางขามทวีปไปรบกับพวกมุสลิที่เยรูซาเลม เพื่อ ทวงคืนดินแดนแหงพันธสัญญา ประชาชนพลเมืองสามัญมีชีวิตอยูดวยความยากลําบากประหนึ่งวาจะทนทุกขเพื่อไปรอคํา พิพากษาหลังความตาย เหตุการณสําคัญๆ ในชวง 1 พันปนี้ไดแก https://orsigiacomo.files.wordpress.com/2015/08/218ac_mappa_del_mar_mediterraneo.png
  • 12. 12 Page12 ค.ศ.476 จักรวรรดิโรมันลมสลายหลังจากเสื่อมโทรมมานาน การบุกเขาโจมตีของชนเผาเยอรมันประหนึ่งฟางเสนสุดทาย ค.ศ.732 ชารล มาแตล ผูนําชาวแฟรงกมีอิทธิพลเหนือพื้นที่ฝรั่งเศส ยกกองทัพเขาปะทะกับกองทัพอาหรับที่เมืองปวตีเย ค.ศ.800 ชารล เลอมาญ ปราบดาภิเษกขึ้นปกครองแผนดินฝรั่งเศส โดยไดรับรองจากสันตะปาปา ณ กรุงโรม ผูนําชาวแฟรงกมี อิทธิพลเหนือพื้นที่ฝรั่งเศส ยกกองทัพเขาปะทะกับกองทัพอาหรับที่เมืองปวตีเย ค.ศ.840 ชนเผาไวกิ้งที่โหดรายจากทางเหนือ มักตระเวณเรือออกปลนสะดมตามเมืองตางๆ ในยุโรปเสมอ ค.ศ.1066 พระเจาวิลเลียมที่ 1 ยกพลขามชองแคบอังกฤษไปสถาปนาตนเปนกษัตริยอังกฤษ คริสตศตวรรษที่ 12 มีการสรางโบสถขนาดใหญหลายแหง แตละแหงตองใชเวลากอสรางนานหลายป ตลอดจนตองเกณฑแรงงานและเงินทอง มหาศาล มาเพื่อการทางศาสนา ค.ศ.1096- 1270 จากการที่มุสลิมเติรกเขายึดครองเยรูซาเลม สันตะปาปาเออรบันที่ 2 (Urban II) ไดขอรองใหชาวคริสตรวมตัวกันเดินทาง ไปรบเพื่อปลดปลอยดินแดนแหงพันธสัญญา และกลายเปนสงครามที่กินเวลายาวนานเกือบ 200 ป ค.ศ.1271 - 1291 มารโค โปโล เดินทางไปยังประเทศจีน และนําเอาสินคา และผลิตภัณตแปลกๆ ใหม อยาง ชา ผาใหม เครื่องเทศ กระเบื้องเคลือบ กลับมาสรางความตื่นตาตื่นใจใหกับผูคนในยุโรป และไดทําใหเสนทางสายไหมกลายมาเปนเสนทางสําคัญ ที่เชื่อมโยงระหวางยุโรปกับเอเชีย ค.ศ.1337 - 1453 ความขัดแยงแยงชิงบัลลังกกันระหวางระหวางราชวงศแพลนแทเจเนต ผูปกครองราชอาณาจักรอังกฤษ กับราชวงศวาลัว เพื่อแยงการควบคุมราชอาณาจักรฝรั่งเศส ตางฝายดังพันธมิตรมากมายเขาสูสงคราม นําไปสูสงครามที่มีชื่อเรียกวา “สงครามรอยป” ค.ศ.1429 โจน ออฟ อารค หญิงสาวสามัญชนคนหนึ่งที่มีความเชื่อทางศาสนาอยางแรงกลา ไดนําทัพฝรั่งเศสเขารุกไลกองทัพอังกฤษ หลายครั้ง การรบครั้งสําคัญเกิดที่เมืองออรเลออง แตสุดทายเธอไดถูกจับและตัดสินวาเปนแมมด จนตองถูกเผาทั้งเปน 1.4.3 ยุคฟนฟูศิลปวิทยาการและการพัฒนาอยางรวดเร็วของโลกตะวันตกหลังจากนั้น ความรูที่เคยไดรับการศึกษาคนควาในยุคกรีกโบราณไดกลับฟนคืนมาสูความสนใจของชาวยุโรป โดยเฉพาะบรรดา เมืองที่มีความร่ํารวยจากการคาทางทะเลทั้งหลาย นักประวัติศาสตรเรียกยุคนี้วา ยุคฟนฟูศิลปวิทยาการ (Renaissance) เปน ยุคสําคัญที่สงผลใหยุโรปกลายมาเปนจุดศูนยกลางของโลกในระยะเวลาตอมา มีเหตุการณอันนาสนใจดังตอไปนี้ ค.ศ.1455 การประดิษฐเครื่องพิมพของกูเตนเบิรก ทําใหความรูในรูปหนังสือมีราคาถูกลงจนกระทั่งสามัญชนทั่วไปสามารถเขาถึง ความรูสําคัญๆ ไดมีความเจริญกาวหนาในวิทยาการแทบจะทุกสาขา มีการคนพบทฤษฎี และสรางสรรสิ่งประดิษฐตางๆ มากมาย ค.ศ.1500- 1520 เมืองสําคัญๆ อยางฟลอเรนซ มิลาน เวนิส โรม เปนแหลงรวมของเหลาสถาปนิก จิตกร วิศวกร นักปรัชญา และ นักวิทยาศาสตร มีสถาปตยกรรมและชิ้นงานจิตรกรรมสําคัญๆ เกิดขึ้นมากมาย เชน ผลงานของ มิเคลันเจโร ลีโอนาโด ดาวินชี ซานโดร บอตติเซลลี ฟลิปโป บรูโนเลสกี ฯลฯ ค.ศ.1490 - 1520 เจาเมือง พอคา และนักการธนาคารใหญ อาทิ ลอเรนโซ เดอ เมดิซี ตางแขงขันกันสรางอิทธิพลดวยการเขาหานักบวช สําคัญๆ และสันตปาปา ในขณะเดียวกันก็นิยมอุปถัมปชางฝมือ ใหสรางชิ้นงานสําคัญ หรือปลูกสรางโบสถอันงดงาม ค.ศ.1643 – 1715 พระเจาหลุยสที่ 14 สรางความยิ่งใหญใหแกราชอาณาจักรฝรั่งเศส มีการสงเสริมศิลปะ งานแสดง งานสถาปตยกรรม (สรางพระราชวังแวรซาย และสิ่งปลูกสรางหรูหราราคาแพงจํานวนมาก) มีความร่ํารวยจากการคาทางทะเลมาก และมี อิทธิพลไปทั่วโลก (เคยพยายามขยายอิทธิพลมาถึงเอเชียตะวันออกเฉียงใต มีการชวนใหพระนารายณมหาราชเปลี่ยนไป นับถือศาสนาคริสต) แตดวยความฟุมเฟอย เก็บภาษีมาก และเขาสูสงครามอันไมจําเปนเพื่อความยิ่งใหญของพระองค ก็สรางความทุกขยากแกประชาชนพลเมือง และประเทศเพื่อนบานมากมาย ทําใหถูกตอตานเปนอยางมากในชวงปลายรัช
  • 13. 13 Page13 สมัย ศตวรรษที่ 18 โลกเริ่มเขาสูยุคปฏิวัติอุตสาหกรรม ผลจากความรูที่เผยแพรไปทั่ว นําไปสูการสรางเครื่องจักรน้ํา โดยเจมส วัตต ในป ค.ศ. 1769 (แตการประดิษฐที่เกิดขึ้นมากจริงๆ กลับเปนชวงศตวรรษที่ 19) ค.ศ.1781 อเมริกาประกาศตนเปนอิสระจากอังกฤษ ในการรบเพื่อประกาศอิสรภาพนั้น กองทัพฝรั่งเศสภายใตการนําของนายพล มารกีส เดอ ลาฟาแยตต ไดใหการสนับสนุนฝายกลุมผูตั้งรกรากในอาณานิคม ค.ศ.1789 - 1799 ผลจากการฟุมเฟอยของราชวงศบูรบง ทําใหเกิดการปฏิวัติฝรั่งเศส ประชาชนฝรั่งเศสลุกฮือขึ้นตอตานกษัตริย มีการ จับกุมขัง และตัดสินประหารชีวิต พระเจาหลุยสที่16 และพระนางมารีอังตัวเน็ต ดวยเครื่องกิโยติน หลังจากนั้นฝรั่งเศสก็ เขาสูความวุนวายสับสนจนแมกระทั่งผูนําการปฏิวัติเองก็ยังถูกลงโทษดวยกิโยตีน กวาจะสงบลงไดก็ดวยการทํารัฐประหาร ของ นายพล โบนาปาต ซึ่งสถาปนาตนเองขึ้นเปนจักรพรรดินโปเลียนในป ค.ศ. 1804 ศตวรรษที่ 18 โลกเขาสูยุคอุตสาหกรรมเต็มตัว มีการสรางเรือกลไฟ เดินรถไฟ สราง/นําไฟฟามาใช ประดิษฐโทรศัพท รถยนต เครื่องยนต กลองถายภาพ เครื่องถายภาพยนต) ผลจากการเพิ่มกําลังการผลิตดวยเครื่องจักรทําใหเกิดชุมชนเมืองซึ่ง ประกอบไปดวยสลัมที่แหลงแรงงานอาศัยอยู และความตองการทรัพยากรและวัตถุดิบที่ใชในงานอุตสาหกรรมทําให นําไปสูการแสวงหาอาณานิคมเพื่อเปนหลักประกันดานวัตถุดิบ ความร่ํารวยจากการพัฒนาอุตสาหกรรม ทําใหสมเด็จ พระราชินีวิคตอเรียแหงสหราชอาณาจักรอังกฤษ (ค.ศ. 1819 – 1901) เปนกษัตริยองคแรกที่มีอํานาจปกครองพื้นที่ 1 ใน 4 ของโลกเปนระยะเวลายาวนาน 64 ป ในขณะเดียวกันแหลงวัตถุดิบที่ยังคงตองใชแรงงานมนุษยจํานวนมาก ก็นําไปสู กระบวนการไลลาจับเพื่อนมนุษยมาเปนทาส ที่สําคัญ การแยงชิงทรัพยากรของโลกยังนําไปสูสงครามที่โลกครั้งที่ 1 (1914 – 1918) ที่มีผูบาดเจ็บและเสียชีวิตกวา 10 ลานคน และยังสงผลตกคางที่นําไปสูการเขาสูอํานาจของอดอลฟ ฮิต เลอร ในปค.ศ. 1933 และโลกก็ตองเผชิญหนากับมหันตภัยอันเกิดจากน้ํามือของมนุษยดวยกันเองอีกครั้งในชื่อ สงครามโลกครั้งที่ 2 (ค.ศ. 1939 – 1945) คราวนี้มีคนเสียชีวิตมากถึง 52 ลานคน 1.4.4 โลกยุคหลังสงครามโลก โลกยุคหลังสงครามโลก ก็เขาสูยุคสงครามเย็นที่มหาอํานาจสําคัญอยาง สหรัฐอเมริกา และ สหภาพโซเวียต ตางก็มุง สะสมสมรรถนะกําลัง สรางเครือขายประเทศพันธมิตร และเรงศึกษาคนควาเพื่อเพิ่มศักยภาพในทางเทคโนโลยีเพื่อใหมั่นใจวา จะมีศักยภาพเพียงพอตอการตอบโตฝายตรงกันขามได ในขณะที่ความกาวหนาตางๆที่สั่งสมมาตั้งแตยุคฟนฟูศิลปวัฒนธรรม ยุค ปฏิวัติอุตสาหกรรม และชวงสงครามก็ยิ่งสงผลใหมนุษยมีความสามารถสรางสมความรูเพิ่มขึ้นอยางมากมาย ความรู การคนพบ และสิ่งประดิษฐตางๆ ถูกพัฒนาขึ้นในอัตราที่กาวกระโดด ดวยความเร็วที่โลกไมเคยเผชิญมากอน เชนความรูเรื่องอวกาศ เรื่อง คอมพิวเตอร เรื่องนาโนเทคโนโลยี เทคโนโลยีการผลิต การสื่อสาร และอินเทอรเน็ต ฯลฯ เหตุการณสําคัญๆ ในชวงหลังสงครามโลกนั้นไดแก ค.ศ.1947 ประเทศอาณานิคมทั้งหลายทยอยประกาศตัวเปนอิสระ การประกาศอิสรภาพซึ่งมนุษยชาติจดจําไดมากที่สุด คือ การ เรียกรองอิสรภาพของประเทศอินเดียภายใตการนําของมหาตมะ คานธี ค.ศ.1948 สภาแหงชาติยิว ประกาศอิสรภาพแหงอิสราเอล และเปนการเริ่มตนของความขัดแยง อิสราเอล-อาหรับ ที่ตอเนื่องยาวนาน ค.ศ.1949 กองทัพปฏิวัติภายใตการนําของเหมาเจอตงสามารถเขายึดกรุงปกกิ่งได และเปนการเปลี่ยนแปลงประเทศจีนไปสูระบอบการ ปกครองคอมมิวนิสตนับแตนั้นเปนตนมา ค.ศ.1961 สหภาพโซเวียตรัสเซียแซงหนาโครงการอวกาศของสหรัฐอเมริกา ดวยการสงยูริ กาการิน ขึ้นสูอวกาศเปนคนแรก ทําใหทาง สหรัฐฯตองเรงพัฒนาโครงการอวกาศนาซาของตนเพื่อสงใมนุษยขึ้นไปเหยียบดวงจันทรดวยยานอพอลโล 11 ในป ค.ศ. 1969 ค.ศ.1973 ความขัดแยง อิสราเอล-อาหรับทําใหกลุมประเทศอาหรับตัดสินใจขึ้นราคาน้ํามัน ทําใหเกิดวิกฤติเศรษฐกิจครั้งใหญของโลก