SlideShare une entreprise Scribd logo
1  sur  9
Télécharger pour lire hors ligne
GNR : Episode IIII
พุทธศาสตรฉุดโลกพนหายนะ
สุรพล ศรีบุญทรง
บทความนี้ เปนตอนจบของขอเขียนชุดเทคโนโลยีจีเอ็นอารของผูเขียนที่ไดดําเนินมา 2 ตอนแลว คือ
GNR : Episode I "2001 นับถอยหลังสูการสูญพันธุของมนุษย" และ GNR : Episode II "เทคโนโลยีจีเอ็นอาร ภัยแฝง
เรน" ซึ่งเนนไปที่การถายทอดความวิตกกังวลที่เกิดขึ้นหลังจากไดอานบทความ "Why the future doen't need us,"
ของอัจฉริยะดานคอมพิวเตอร "บิลล จอย" ที่ตีพิมพอยูในนิตยสารไวรดฉบับเดือนเมษายน 2000 โดยบิลล จอย ได
ชี้ใหเห็นถึงอันตรายแฝงเรนของเทคโนโลยีสมัยใหม 3 ชนิดอันไดแก พันธุวิศวกรรม (G: Genetic Engineering) จุณ
เทคโนโลยี (N: Nanotechnology) และหุนยนตศาสตร (R: Robotics)
ในความเห็นของบิลล จอย แมวาเทคโนโลยีแหงศตวรรษที่ 21
ทั้งสามอยาง (GNR) นี้จะนํามาซึ่งการพัฒนาอยางกาวกระโดดใหกับวงการ
วิทยาศาสตรโลก แตหากไมไดวางแผนการพัฒนาไวใหรอบคอบแลว ก็อาจจะ
นําไปสูการทําลายลางเผาพันธุของตัวมนุษยเองไดดวยเชนกัน แถมจะเปนการ
ทําลายลางที่เกิดอยางรวดเร็ว รุนแรง และกวางขวาง กวาอาวุธมหาประลัยแหงยุค
ศตวรรษ 20 อันไดแก อาวุธนิวเคลียร อาวุธชีวภาพ และอาวุธเคมี (NBC) เพราะ
ในขณะที่การสรางอาวุธมหาประลัย NBC นั้นเกิดขึ้นไดเฉพาะในองคกรขนาดใหญ
ที่จะตองไดรับการสนับสนุนเรื่องทุน วัตถุดิบ เทคโนโลยี และแรงงานจํานวนมาก
จากรัฐ การสรางอาวุธมหาประลัย GNR กลับเกิดขึ้นในหองทดลองไหนๆ ก็ได
เนื่องจากไมตองอาศัยทรัพยากรพิเศษอะไร อาศัยแตความรู และวัตถุดิบงายๆ มา
ประกอบกัน (Knowledge-based technology) เสร็จแลว เจาตัวผลผลิตที่เกิดขึ้นจากเทคโนโลยีจีเอ็นอารก็จะสามารถ
เพิ่มปริมาณของตนขึ้นไปไดเอง (self-replicate) จนมีปริมาณมากพอ หรือมีฤทธิ์ทําลายลางรุนแรงพอที่จะทําใหมนุษย
ตองสูญพันธุไปไดในทึ่สุด
อยางไรก็ตาม ความรายกาจที่วานี้ไมจําเปนที่จะตองเกิดขึ้นจริงๆ มันเปนสิ่งที่สามารถปองกันไดหาก
มนุษยจะไดวางแผนปองกันและรับมือไวแตเนิ่นๆ และนั่นแหละคือวัตถุประสงคในการเขียนบทความ "Why the
future doesn't need us" ของบิลล จอย เขาตองการเตือนเพื่อนนักวิทยาศาสตรดวยกันใหตระหนักถึงผลรายที่อาจจะ
เกิดขึ้นจากความพยายามเปนเลิศทางวิชาการโดยลืมนึกไปถึงผลกระทบอื่นๆ ที่อาจจะติดตามมา เตือนใหลองยอนกลับไป
ทบทวนอดีตวาความอหังการจากสิ่งที่เรียกวาความกาวหนาทางวิทยาศาสตรและเทคโนโลยีนั้นไดเคยสรางหายนะ และภัย
คุกคามอะไรไวใหกับโลกมนุษยบาง และ จะดีกวาไหม หากนักวิทยาศาสตรทั้งหลายจะนําเอาความเฉลียวมาใช
ประกอบการคนควาประดิษฐเทคโนโลยีใหมๆ แทนที่จะเปนแคการใชความฉลาดอยางเดียว
ที่สําคัญ บิลล จอย ยังไดชี้นําไวในบทความของเขาดวยวา "พุทธศาสนา" อาจจะเปนหนทางหนึ่งในการ
ปองกันมนุษยจากการถูกทําลายลางดวยเทคโนโลยี โดยเขาไดกลาวอางถึงแนวความคิดของทานทไลลามะ องคพระ
ประมุขแหงพุทธศาสนานิกายวัชรยานของธิเบตไวดวยในชวงทายๆ ของบทความ ซึ่งผูเขียนอยากจะนํามาขยายตอใน
บทความนี้ ดวยเห็นวาพุทธศาสนานี่แหละคือ "ทางออกของปญหา" อยางแทจริง ไมใชแคเพียง "อาจจะเปนทางออก" เชน
ที่บิลล จอย ไดเสนอไว เพราะพุทธศาสนานั้นมุงเนนใหมนุษยศึกษา (สิกขา) ปญหาทุกอยางบนโลกอยางรอบดานและ
สืบเนื่อง รวมทั้งยังชวยฉุดรั้งมนุษยโลกใหหันกลับมาพัฒนาจิตใจของตนเองใหเปน "พุทธะ"(ผูรู ผูตื่น ผูเบิกบาน) แทนที่
จะมุงไปที่การใชเทคโนโลยีพัฒนาวัตถุแตเพียงดานเดียว
กรรมของสังคม
ในบทความเทคโนโลยีจีเอ็น
อารตอนที่แลว ผูเขียนไดเลาถึงความสับสนใน
จิตใจของทีมงานนักฟสิกสสหรัฐฯ ที่ชวยกัน
พัฒนาระเบิดนิวเคลียรในชวงสงครามโลกครั้งที่
สอง เพื่อชี้ใหเห็นวาการคนพบองคความรูใหม
เรื่องทฤษฎีสัมพันธภาพของอัจฉริยะอัลเบิรต
ไอนสไตน นั้นไดนําไปสูการประดิษฐอาวุธมหา
ประลัยซึ่งคุกคามจิตใจของมนุษยชาติมาเกือบ
ศตวรรษไดอยางไร ทั้งยังชี้ใหเห็นวาการระดม
สมองของอัจฉริยะหลายๆ คน (Brainstrorm) เพื่อคิดคนและพัฒนาเทคโนโลยีนั้นมิไดเปนหลักประกันวาผลลัพธุที่ไดจะ
เปนสิ่งดีงามและถูกตองเสมอไป เพราะบางครั้งพฤติกรรมกลุมหรือการชี้นําจากผูนําที่ไรสติเพียงคนเดียวก็อาจจะฉุดลาก
ใหคนฉลาดคนอื่นๆ ตองพลอยทําตามไปดวยแมวาจะมีความเห็นแยง
ดังที่ไดมีการเปดเผยจากผูรวมงานพัฒนาอาวุธนิวเคลียรของออพเพนไฮมเมอรซึ่งปรากฏออกมาใน
ภายหลังวา มีความเห็นขัดแยงกันตั้งแตตอนเริ่มตนพัฒนาอาวุธนิวเคลียรใหมๆ และฝายนาซีเยอรมันไดพายแพแก
สัมพันธมิตรในภาคพื้นทวีปยุโรปไปแลวตั้งแตวัน V-E day จึงมีหลายคนเสนอใหยุติการพัฒนาอาวุธนิวเคลียร แตความใฝ
รูแบบนักวิทยาศาตรบวกกับสภาพงานวิจัยที่ใกลเห็นผลทําใหหัวหนาทีมพยายามผลักดันใหงานพัฒนาอาวุธดําเนินตอไป
จนเกิดเปนโครงการทรีนิตี้ขึ้นในที่สุด หลังจากนั้น ก็ยังมีความขัดแยงอีกครั้งเมื่อจะนําเอาระเบิดที่พัฒนาไดไปทิ้งที่เมืองฮิ
โรชิมา เพราะมีหลายคนเสนอวาแคเพียงสาธิตใหญี่ปุนดูสมรรถนะทําลายลางของระเบิดนิวเคลียรก็นาจะพอแลว แต
ความตายของทหารอเมริกันในเหตุการณที่ญี่ปุนโจมตีเพิรลฮาเบอรอาจจะทําใหสหรัฐฯ ตองการเห็นเลือดจึงนําไปสูการ
คราชีวิตผูคนเปนแสนที่ฮิโรชิมา และนางาซากิในอีกสามวันถัดมา ความเหลวไหลอยางบัดซบครั้งนั้นอยูที่การทิ้งระเบิด
นางาซากิซึ่งแทบจะไมมีความจําเปน และเหตุผลใดๆ มารองรับการกระทําอันโหดรายทารุณที่วานี้เลย นับเปนความขี้
ขลาดของนักวิจัยชุดนี้ที่ไมมีใครสักคนจะลุกขึ้นมาแสดงจุดยืนวา "อยาทํา"
ความขี้ขลาดที่วานี้ไดถายทอดผานมายังผูบริหารและนักวิทยาศาตรที่ใกลชิดอํานาจของสหรัฐอเมริกาใน
ระยะตอมา ดังจะเห็นไดจากประวัติการทดลองอาวุธนิวเคลียรของสหรัฐฯ ที่ดําเนินมาอยางตอเนื่องหลังจากนั้น
จนกระทั่งรัฐบาลกรุงวอชิงตันเริ่มพึงพอใจในขีดความสามารถดานขีปนาวุธที่อาจจะทําลายโลกไปครึ่งใบของตนไดแลวนั่น
แหละจึงไดหยุดการทดลอง แลวหันกลับมาตําหนิดาวาประเทศอื่นๆ ที่เจริญรอยตามพวกตนแทน ไมวาจะเปนเรื่องการ
ทดลองอาวุธนิวเคลียรของรัสเซีย ฝรั่งเศส จีน อินเดีย หรือปากีสถาน ฯลฯ แตผลกรรม*จากการปลอยให
นักวิทยาศาสตรไมกี่คนเที่ยวพัฒนาเทคโนโลยีใหมๆ ขึ้นมาโดยปราศจากการวางแผน และทิศทาง ไดตามสนองผูคนทั่วทั้ง
โลกใหตองหวาดระแวงกับหายนะนิวเคลียรมาโดยตลอดนับจากนั้น จนขนาดอดีตประธานาธิบดีเรแกนตองเข็นนโยบาย
ผลาญเงินที่ชื่อวา "โครงการสตารวอร" ที่มีวัตถุประสงคเพื่อปกปองนานฟาสหรัฐฯ จากขีปนาวุธนิวเคลียรออกมา ซึ่ง
ตอมาก็ไดพิสูจนใหเห็นวาเปน "โครงการผลาญเงินที่ไรประโยชนอยางแทจริง" ไปเมื่อเร็วๆ นี้เองในปลายยุคสมัยของบิลล
คลินตัน
ถึงตรงนี้ อยากจะตั้งขอสังเกตุวา ผูคนมักจะตีความเรื่องบาปกรรมในทางพุทธศาสนากันอยางผิดๆ ใน
เรื่อง "กรรมมุนา วัตตตีโลโก ที่วา สัตวโลกยอมเปนไปตามกรรม หรือ กรรมใดใครกอ กรรมก็จะตอบสนองกับผูนั้น" ทํา
ใหหลายคนนึกแคนใจวา ทําไมคนบางคนทําชั่วมาสารพัดสารพันแตก็ไมเคยถูกกรรมตามสนอง ในขณะที่ คนทําดีมา
ตลอดชีวิตกลับถูกกระหน่ําซ้ําเติมจากมรสุมชีวิตที่รุนแรง จนทําใหหลายคนตีความไปวาเปนผลจากบาปรรมที่ทํามาแต
ชาติปางกอน แลวเลยตองไปเสียเงินเสียทองใหกับผูที่อวดอางวาสามารถตัดรอนกรรมเวรในอดีตชาติได เรื่องนี้ทานเจา
คุณธรรมปฎก (ป.อ. ประยุตต ปยุตโต) อธิบายวากรรมนั้นไมใชเรื่องเฉพาะตัวบุคคลแตอยางเดียว แตอาจจะเปนกรรม
ของสวนรวมคือสังคมและชุมชนไดดวย เพราะเมื่อเราปลอยใหสังคมหรือชุมชนดําเนินไปอยางผิดพลาดงมงาย เราที่เปน
สวนหนึ่งของสังคมก็ยอมจะตองพลอยไดรับผลกรรมไปกับสังคมดวย
แตนับวายังดีที่มนุษยรูจักเรียนรู
จากความผิดพลาดในอดีตไดบาง จึงสงผลให
โครงการพัฒนามหันตภัยรุนถัดมาอยางอาวุธ
ชีวภาพ และอาวุธเคมี เริ่มมีการจํากัดและควบคุม
ไดดียิ่งขึ้น (ดียิ่งขึ้นกวาที่เลวรายมาก และ
ปราศจากการควบคุม ไมไดหมายความดีจริงๆ
เพราะยังมีขาวเรื่องการแอบใชอาวุธประเภทนี้
กระเซ็นกระสายมาเปนระยะๆ ) มีการจัดประชุม
ใหญและกําหนดเงื่อนไขการจํากัดและควบคุม
อาวุธรวมกันระดับนานาชาติอยางชัดเจนในป ค.ศ. 1972 (BWC : Biological Weapons Convention) และป ค.ศ.
1993 (CWC : Chemical Weapons Convention) แลวก็ยังมีความพยายามจํากัดปริมาณอาวุธนิวเคลียรที่มีอยูเดิม
ระหวางสหรัฐ/รัสเซียดวยขอตกลงที่มีเปาหมายเพื่อการทําลายขีปนาวุธทิ้งไปจนกระทั่งเหลือ 100 ลูก ซึ่งเทียบเทากับ
ศักยภาพการทําลายลางที่โลกเคยเผชิญมาในชวงสงครามโลกครั้งที่สอง
GNR นากลัวกวา BNC เยอะ
จากที่กลาวผานมา จะเห็นไดวาเทคโนโลยี BNC (ชีวภาพ เคมี และนิวเคลียร) นั้นแมจะดูนากลัว แตก็
ไมใชวาจะไมสามารถควบคุมไดเอาเสียเลย เพราะถึงอยางไรมันก็ยังถูกจํากัดการใชอยูเฉพาะในแวดวงทหาร (military
purpose) หากจะมีการประยุกตไปทางดานการคาในเชิงพานิชย (Commercial purpose) บางก็มักจะเปนเทคโนโลยีที่มี
รูปแบบแตกตางกันอยางชัดเจน เชน นิวเคลียรที่ใชเพื่องานวิจัยคนควา งานอุตสาหกรรม งานสาธารณสุข และงาน
การทหารนั้นจะมีลักษณะแตกตางกันออกไปอยางสิ้นเชิง
นอกจากนั้น เทคโนโลยี BNC ยังมีอัตราการเติบโตเพิ่มปริมาณอยางคอยเปนคอยไป เพราะผลการวิจัย
คนควาเรื่องพวกนี้จะถูกปกปดไวเปนความลับขั้นสุดยอดในหมูผูผลิตเทคโนโลยี กวาจะหลุดรอดออกมาใหฝายตรงขามได
ระแคะระคายก็ตองกินเวลาสักระยะหนึ่ง ในขณะที่ประเทศซึ่งไมไดเปนผูผลิตเทคโนโลยี BNC แตเปนผูซื้อเทคโนโลยีนั้นก็
จะรักษาความลับไวไดยากยิ่งขึ้นไปอีก ยกตัวอยางเชนประเทศไทยเรานั้นแมจะไมเคยมีขาวเรื่องอาวุธ BNC แตกวา
กองทัพไทยจะซื้อเครื่องบินขับไลสักฝูงก็พูดกันแลวพูดกันอีก แถมยังไปซื้อของเกาที่เพื่อนฝูงไปลองกันมาจนรูหมดแลววา
ทําอะไรได/ทําอะไรไมไดบาง ฉนั้น แตละประเทศที่มีการครอบครองเทคโนโลยี BNC จึงนาพอจะรูไสรูพุงกันอยูในระดับ
หนึ่งวาฝายไหนมีสมรรถนะอยูเทาใดกันบาง การควบคุมอาวุธจึงไมใชเรื่องยากจนเกินไป (แตตองรอใหทั้งสองฝายพรอม
นั่งลงเพื่อเจรจาเสียกอน ซึ่งบางครั้งก็หมายถึงรบกันจนเจ็บตัวกันไปทั้งสองฝายแลว)
ผิดกับเทคโนโลยีจีเอ็นอารที่อาจจะประยุกตไปใชงานไดทุกประเภท ไมจํากัดวาจะเปนดานการทหาร
หรือในเชิงพานิชย เราแทบจะแยกความแตกตางไมไดเลยระหวางหองแล็บที่มีขีดสมรรถนะในการพัฒนาอาวุธทําลายลาง
สมรรถนะสูงกับ กับหองแล็บที่ผลิตงานวิจัยเพื่อพัฒนาคุณภาพชีวิต แถมผลวิจัยที่ไดจากหองแล็บสองประเภทนี้ก็พรอมที่
จะถูกถายทอดไปมาใหแกกัน หรือถูกเผยแพรออกไปสูสาธารณชนอยางรวดเร็วและกวางขวางทั้งโดยตั้งใจและไมตั้งใจ
เนื่องจากปจจุบันนี้มีเครือขายการสื่อสารโทรคมนาคมครอบคลุมไปอยางกวางขวางทั่วโลกจนยากที่จะมีใครมากําหนด
ควบคุมวาวันนี้มีบทความวิจัยถูกตีพิมพผานเว็บไซทไหนบาง หรือมีการสงอีเมลลระหวางนักวิจัยคนไหนบาง สงผลให
งานวิจัยเรื่องการผลิตจุลชีพใหมชิ้นเดียวกันอาจถูกนําไประยุกตใชในทิศทางตรงขามกันไดอยางไมนาเชื่อ เชนถาแพทยผู
เสียสละและทุมเทนําไปใชผลิตยาหรือวัคซีนก็อาจจะชวยชีวิตเพื่อนมนุษยไดเปนจํานวนมาก แตถาเปนอัจฉริยะโรคจิต
นําไปใชผลิตเชื้อโรคก็อาจจะทําลายชีวิตมนุษยไดทีละมากๆ เชนกัน
ที่สําคัญ อัตราการเติบโตของเทคโนโลยีจีเอ็นอาร และเทคโนโลยีสมัยใหมอื่นๆ ตางลวนเปนไปในอัตรา
กาวกระโดด (เอ็กซโปเนนเชี่ยล) จนยากที่ความสามารถในรับรูทําความเขาใจของมนุษยแตละคนยากจะติดตามทันได
เพราะในขณะที่อิเล็กทรอนิกส คอมพิวเตอร สารสนเทศ พันธุวิศวกรรม จุณเทคโนโลยี และหุนยนตศาสตร กาวหนาขึ้น
หลายเทาตัวในแตละป มันสมองของมนุษยสมัยใหมกับมันสมองของ
มนุษยยุคพุทธกาลเมื่อกวาสองพันปที่แลวก็ดูเหมือนวาจะไมไดถูกพัฒนาให
แตกตางไปจากเดิมสักเทาใดเลย (ใครจะกลากลาวอางไดเต็มปากวาตนเอง
มีมันสมองที่เฉลียวฉลาดกวาพระพุทธเจา พระเยซู พระโมฮําหมัด ขงจื้อ
หรือ เลาจื้อบาง)
จนอาจกลาวไดวา สภาพสังคมที่สับสนวุนวายในยุค
ปจจุบันนี้เปนเพราะมนุษยไมรูจะรับมือกับเทคโนโลยีใหมๆ ที่ถาโถมเขามา
อยูตลอดเวลาใหถูกตองและเหมาะสมไดอยางไร จนบางครั้งก็นาสงสัยวา
มนุษยกําลังใชเทคโนโลยี หรือถูกเทคโนโลยีใชกันแน จริงอยู การพัฒนา
ดานวัตถุและเทคโนโลยีอาจจะทําใหชีวิตมนุษยมีความเปนอยูที่สะดวกสบาย และยืนยาวขึ้นกวาเดิม แตถามจริงๆ เถอะ
วามนุษยนั้นมีความสุขมากขึ้นหรือลดลงกวาเดิม หากมนุษยมีความสุขมากขึ้นทําไมจึงมีคนจนเข็ญใจอยูทั่วไปหมดทั้ง
แผนดิน แถมดูเหมือนชองวางระหวางคนจนกับคนรวยจะถูกถางออกไปจากเดิมมากขึ้นเรื่อยๆ ทั้งคนรวยที่เพียบพรอมไป
ดวยทรัพยศฤงคารเองก็ใชจะมีความสุข เพราะยังตองลําบากแสวงหาสิ่งกลอมตางๆ มาชวยทําใหชีวิตหมดสิ้นไปเปนวันๆ
ไมวาจะเปน เหลา บุหรี่ ยาอี ยามา ฯลฯ อีกทั้งอัตราการฆาตัวตายของประชากรในประเทศที่วากันวาพัฒนาแลวก็ยังเพิ่ม
สูงขึ้นไปเรื่อยๆ
ทางเดียวที่ บิลล จอย เห็นวาพอจะปกปองโลกจากการนําเอาเทคโนโลยีสมัยใหมไปใชในทางที่ผิดก็คือ
การปลุกจิตสํานึกของบรรดานักวิทยาศาสตรทั่วโลก ใหตระหนักถึงคุณคาทางคุณธรรมและจริยธรรมของมนุษยไวใหมาก
เพื่อจะไดคอยกํากับสติเวลาที่มีการประดิษฐคิดคนหรือพัฒนาเทคโนโลยีใหมๆ ขึ้นมา ไมใชคิดแตวาตนเองจะทําอะไรได
บาง ตองคิดวาควรทําหรือไมดวย นักวิทยาศาสตรอาจจะตองมีการปฏิญานตนในเรื่องจริยธรรมในลักษณะที่ชัดเจน
คลายๆ กับที่แพทยมีการรักษาจรรยาบรรณแพทย (Hippocratic oath) ทั้งควรจะหันมาแสวงหาคุณคาเดิมๆ ในชีวิตที่
บรรพบุรุษเคยคนพบและสั่งสอนไวในอดีต โดยเฉพาะในแงของปรัชญาและศาสนา เพราะในขณะที่ความรูในเชิง
เทคโนโลยีนั้นแคเพียงพนปก็ลาสมัย แตหัวใจของศาสนานั้นยังคงทันสมัยอยูเสมอแมเวลาจะลวงมานับเปนพันๆ ป (พูด
แบบภาษาพระก็ตองวา ศาสนาที่ถูกตองนั้นเปน "อกาลิโก")
ราคาของความรู
การชี้ใหเห็นภัยแอบแฝงที่อาจจะเกิดตามมากับการพัฒนาเทคโนโลยีจีเอ็นอารนั้นมิไดหมายความวา บิลล
จอย จะปฏิเสธการศึกษาวิจัยเพื่อใหไดมาซึ่งองคความรูใหมทางวิทยาศาสตร เพราะเขายังคงเชื่อมั่นวาความใฝรูคือคุณคา
พื้นฐานของมนุษย ดังที่อริสโตเติ้ลไดเคยกลาวไววา "มนุษยทุกคนที่เกิดมาลวนมีความใฝรู (All men by nature desire
to know)" ซึ่งผูเขียนอยากจะย้ําขอความดังกลาวอีกแรงดวยคําสอนของทานเจาคุณธรรมปฎก "ที่วามนุษยเปนสัตว
ประเสริฐนั้นเปนการอวดอางลอยๆ ไมเปนความจริง ที่ถูกจะพูดวามนุษยเปนสัตวประเสริฐเพราะมีการเรียนรูได หากไม
มีการเรียนรูมนุษยก็ไมไดประเสริฐไปกวาสัตวเดรัจฉนาอื่นๆ เลย"
เพราะมนุษยเมื่อแรกเกิดนั้นดอยกวาสัตวทุกประเภท ดวยไมสามารถปกปองตนเองไดเลยหากไปทิ้งไวที่
ไหนก็คงจะตาย ไมรูจักชวยตนเอง ไมสามารถหาอาหารกินเอง ตองอาศัยพอแมคอยฟูมฟกเอาใจใสใหการศึกษา สอนให
เดินและพูด สอนใหรูจักกับภาษา และการทํามาหากิน จนกระทั่งแนใจวาลูกหลานของตนเองสามารถเลี้ยงตัวได จึงปลอย
ใหออกไปสรางครอบครัวใหม กลายเปนสิ่งมีชีวิตที่มีความเจริญกาวหนามากขึ้นกวาบรรพบุรุษของตนเอง โดยทั้งหมดที่
กลาวมานี้มิไดหมายความวาลูกหลานของมนุษยจะประเสริฐหรือฉลาดกวาบรรพบุรุษของตนเองจริงๆ แตเปนผลจาก
มรดกทางความรูหรือทุนทางสังคมที่ถูกถายทอดจากรุนหนึ่งไปสูอีกรุนหนึ่ง ไมตองไปลองผิดลองถูกหรือประดิษฐคิดคน
ความรูใหมๆ ขึ้นมาดวยตนเอง
ซึ่งในเรื่องการศึกษาวิจัยใหไดมาซึ่งองคความรูใหมๆ นี้ก็มักจะเปนเรื่องที่มีขอถกเถียงกันอยูในหมูของ
นักวิทยาศาสตรและนักการศึกษา นั่นคือ มักจะมีผูตั้งคําถามขึ้นมาเสมอถึงตนทุนที่ถูกใชไปเพื่อการศึกษาหาความรูใหมๆ
โดยเฉพาะความรูที่เมื่อแรกนั้นยากจะประเมินถึงความคุมคา เชน โครงการอวกาศของนาซา โครงการกลองโทรทรรศน
ฮับเบิ้ล หรือการคนหาอนุภาคใหมๆ ดวยการสรางเครื่องยิงอนุภาคขนาดมโหฬารขึ้นมา ฯลฯ ซึ่งบางครั้งหลังจากไดองค
ความรูใหมๆ ตรงกับความอยากรูอยากเห็นของผูวิจัยแลว ก็อาจจะตองหาทางวิจัยตอไปอีกวาจะนําเอาความรูใหมที่วานั้น
ไปใชประโยชนอะไรได ทําใหเกิดเปนความพยายามจําแนกระหวางงานวิจัยบริสุทธิ์ (pure research) ที่มุงไปที่การ
แสวงหาความรูใหมๆ โดยไมตองคํานึงถึงความคุมคา ในทํานองวารูเพื่อรู กับงานวิจัยประยุกต (Applied research) ที่มุง
ไปที่การใชประโยชนจากองคความรูใหม
แตก็อีกนั่นแหละ บางครั้งก็ยากมากที่จะใหคําจํากัดความ
งานวิจัยบางอยางวาเปนงานวิจัยบริสุทธิ์ หรืองานวิจัยประยุกต คลายๆ กับที่เคย
ถกเถียงกันอยูในอดีตเกี่ยวกับเรื่องศิลปะ ในทํานองวาศิลปะที่ถูกตองควรจะเปน
ศิลปะเพื่อศิลปะ ไมใชศิลปะเพื่อการพาณิชย ศิลปะเพื่อชีวิต หรือศิลปะเพื่อมวลชน
ฯลฯ และงานศิลปะบางชิ้นก็อาจจะถูกจัดกลุมไปอยูในประเภทเพื่อมวลชนทั้งๆ ที่เจาตัวผูผลิตชิ้นานเองอาจจะไมไดคิด
มากถึงขนาดวางานของตนเองจะเปนศิลปะประเภทใดเสียดวยซ้ํา ดังนั้น หากจะมานั่งตีความกันเรื่องความรูหรือศิลปะ
แลวก็คงไมจบลงงายๆ เพราะมีแตผูสรางงานเทานั้นจึงจะรูชัดวาตนเองมีเหตุผลเชนไรในการวิจัยหรือสรางงานแตละชิ้น
อยางไรก็ตาม แมวาบางครั้งผูริเริ่มศึกษาองคความรูใหมแตละอยางอาจจะมีเจตนาบริสุทธิ์เพียงอยาง
เดียว แตเมื่อความรูอันเปนผลที่ไดจากการศึกษานั้นปรากฏสูสายตาสาธารณชนแลว ความรูดังกลาวก็แทบจะพนไปจาก
การควบคุมของผูสรางความรูไปอยางเด็ดขาด คลายๆ กับกรณีของ อัลเบิรต ไอนสไตน ที่หลังจากเผยแพรแนวทฤษฎี
สัมพันธภาพออกสูสาธารณชนแลว ก็หมดอํานาจควบคุมทิศทางการพัฒนาองคความรูนี้ไปโดยปริยาย หากจะมีใครนําไป
พัฒนาเปนระเบิดนิวเคลียรสักกี่รอยกี่พันลูก ไอนสไตน ก็ไมมีสิทธิ์จะไปหามได
ดังนั้น ที่บิลล จอย กลาวเตือนเราเรื่องการวางแผนควบคุมการใชความรูและเทคโนโลยีจีเอ็นอารจึง
ไมใชขั้นตอนหลังจากที่ความรูถูกเผยแพรออกไป แตจะตองเริ่มตั้งแตกระบวนการคนควาวิจัยอันเปนชวงเวลาที่ผูคิดคนยัง
มีโอกาสควบคุมและกําหนดทิศทางการพัฒนาความรูของตนไดอยู เปรียบเสมือนการเลี้ยงดูบุตรหลานของตน พอแมก็มี
หนาที่ตองอบรมเลี้ยงดูใหลูกหลานของตนเติบโตไปในทิศทางที่จะสรางความเจริญใหกับทั้งตนเองและสังคม ไมใชสราง
อัจฉริยะโรคจิตออกไปสูสังคม เพราะเมื่อลูกโตเปนผูใหญมีความคิดเปนของตนเองแลว พอแมก็คงหมดสิทธที่จะไปชี้นําได
อีก และเมื่อนั้นแหละที่กรรมจากการไมทําหนาที่บุพการีใหดีก็จะตามมาสนองใหพอแมตองทนทุกขไปตลอดชวงชีวิตที่
เหลือ หรือถาเปรียบกลับไปเปนเรื่องกรรมของสังคมเชนที่ที่ผูเขียนเคยกลาวไวขางตน นักวิทยาศาสตรที่ไมมีความ
รับผิดชอบและสังคมโดยรวมก็ตองทนทุกขจากภัยที่มาจากเทคโนโลยีใหมๆ ที่ถูกคิดคนขึ้นมาเชนกัน ไมวาจะเปน ภัยจาก
อาวุธนิวเคลียร อาวุธเคมี อาวุธชีวภาพ อุบัติภัยทางธรรมชาติจากการที่สิ่งแวดลอมถูกทําลาย และลาสุด ที่อาจจะมาถึง
ในเร็ววันก็คือ การสูญสิ้นเผาพันธุมนุษยดวยผลผลิตจากเทคโนโลยีจีเอ็นอาร
ความฉลาดของเครื่องจักร
ความฉลาดของเครื่องจักรนับเปนอีกเรื่องหนึ่งที่มีผูวิตกกังวลกันมาก เพราะถาดูจากอัตราการพัฒนา
ประสิทธิภาพของอิเล็กทรอนิกสและคอมพิวเตอรที่ดําเนินไปดวยความเร็วแบบกาวกระโดดเชนปจจุบันนี้ (กฏของมัวร)
หลายคนเชื่อวาไมเกินป ค.ศ. 2030 คอมพิวเตอรก็จะมีความฉลาดมากขึ้นลานเทา จนเกินระดับความฉลาดของมนุษยไป
ไกล เพราะมนุษยฉลาดเทาเดิม ในขณะที่เครื่องจักรฉลาดขึ้นปละกวาเทาตัว แตก็อีกนั่นแหละ ลําพังแคคําวา "ฉลาด" ก็
ดูจะเปนเรื่องที่วิเคราะหตีความไดคอนขางยากอยู เพราะไมมีจุดตัดที่ชัดเจนระหวางระบบคอมพิวเตอรที่ชาญฉลาดรูจัก
คิดคํานวนไดดวยตนเองกับระบบคอมพิวเตอรที่ไมฉลาดเพราะตองทํางานทุกอยางตามที่มนุษยไดโปรแกรมไว
ยกตัวอยางเชน ถาให
มนุษยคํานวนสมการทางคณิตศาสตรแขง
กับเครื่องคอมพิวเตอร เราคงจะบอกวา
เครื่องคอมพิวเตอรฉลาดหมดทุกเครื่อง
เพราะสามารถคิดคํานวนโจทยยากๆ ได
เร็วกวา และถูกตองกวามนุษยทั้งๆ ที่
วิธีการคํานวนตางๆ นานานั้นเปนสิ่งที่
โปรแกรมเมอรไดปอนเขาไป ไมใชอยูๆ
เครื่องคอมพิวเตอรจะเรียนรูและพัฒนา
วิธีการคํานวนของตนขึ้นมาเอง เหมือนอยางโปรแกรมวินโดวส 2000 ที่วาฉลาดขึ้นกวาวินโดวส 95 หรือ 98 เยอะนั้น ก็
เปนผลจากที่วิศวกรคอมพิวเตอรของไมโครซอฟทปอนขอมูลคําสั่งใหมๆ เพิ่มเติมเขาไปทั้งนั้น ไมเคยเลยที่เราจะไดเห็น
โปรแกรมหลานี้รูจักเรียนรูพัฒนารูปแบบการทํางานใหมๆ ขึ้นมาดวยตัวของมันเอง
ดังนั้นในทางปฏิบัติ เมื่อพูดถึงความฉลาดเทียม หรือปญญาประดิษฐ (Artificial Intelligence) ของ
คอมพิวเตอร จึงมักจะใชเกณฑของอลัน เทอรริ่ง (Turing test) เปนตัวตัดสิน โดยเทอรริ่งไดเสนอความคิดวาการวัด
ความฉลาดของหุนยนตหรือเครื่องจักรใหออกมาเปนตัวเลขชัดเจนเปรียบกันไดนั้นเปนเรื่องยากแทบจะไมมีเปนไปไดจริง
ในการปฏิบัติ ควรจะใชวิธีทดสอบรวมๆ กันไป ในแงที่ใชมนุษยเปนผูสังเกตุการณ ดวยการใหผูสังเกตุนั่งอยูในหองที่กั้น
มานไวสองดาน ดานหนึ่งวางเครื่องคอมพิวเตอรไวสวนอีกดานหนึ่งเปนมนุษย จากนั้นใหผูสังเกตุสนทนาโตตอบกับคู
เจรจาหลังมานทั้งสองดาน (อาจจะใชวิธีคียคําถามผานคียบอรด) หากผูสังเกตุการณมากกวา 50 % ไมสามารถแยกแยะ
ไดวาหลังมานไหนเปนเครื่องคอมพิวเตอร ก็แสดงวาเครื่องคอมพิวเตอรเครื่องนั้นมีความฉลาดเทียม
นอกจากนั้น ยังมีการจําแนกระบบปญญาประดิษฐตามลักษณะการใชงานออกเปนสองลักษณะ ลักษณะ
แรกนั้นหมายถึงระบบปญญาประดิษฐที่เขามาทํางานแทนที่การตัดสินใจของมนุษยเลย มีศัพทเฉพาะเรียกวา "Strong AI"
ยกตัวอยางเชน การสรางหุนยนตที่ทํางานเลียนแบบมนุษยไดจริงๆ หรือการสรางสิ่งชีวิตเสมือน (Virtual) ที่แมวาจะจับ
ตองเนื้อตัวไมไดเหมือนหุนยนต แตก็สามารถตอบโตกับมนุษยไดประหนึ่งวามีตัวตนจริงๆ ตลอดจนอาจจะวิ่งเพนพานไป
ในเครือขายการสื่อสารอยางอินเทอรเน็ตไดดวย สวนระบบปญญาประดิษฐลักษณะที่สองนั้นเรียกวา "Weak AI" ที่ไมได
ถูกออกแบบมาทดแทนการตัดสินใจของมนุษย แตจะชวยใหมนุษยสามารถทํางานที่สลับซับซอนไดอยางมีประสิทธิภาพ
เชน ระบบผูเชี่ยวชาญดานการบินที่ชวยควบคุมกลไกหลายๆ สวนภายในระบบควบคุมเครื่องบิน (นักบินเปนผูสั่งงาน)
หรือระบบผูเชี่ยวชาญดานการรักษาที่คอยเตือนแพทยใหทราบวาควรเสริมการรักษาอะไรใหกับผูปวยบาง (แคแนะนํา แต
จะทําหรือไมทํานั้นเปนวินิจฉัยของแพทย)
อยางไรก็ตาม การศึกษาเกี่ยวกับปญญาประดิษฐนั้นมักจะมองแตความชาญฉลาดและความสามารถใน
การเรียนรูของมนุษย โดยแทบไมใสใจวาสมองของมนุษยนั้นยังมีดานหนึ่งที่เรียกวาอารมณ (Emotion) ซึ่งควบคุมการ
กระทําอยู โดยผลที่เกิดขึ้นจากอารมณนั้นอาจจะเปนไปในดานดีหรือดานรายก็ได เพราะความผิดพลาดของมนุษย (To
err is human) นั้นสามารถจะเกิดขึ้นไดทั้งในขณะที่เจาตัวอารมณดีและอารมณราย ดังนั้น การเรียนรูความฉลาดของ
มนุษยโดยไมพูดถึงอารมณก็ออกจะเปนเรื่องที่ผิดพลาดอยู ยกตัวอยางเชน การทดสอบความฉลาดเทียมแบบ Turring
test นั้นก็มีขอแยงไดมากเมื่อคํานึงถึงเรื่องอารมณที่อาจจะเกิดขึ้นไดกับ
มนุษยที่ทําตนเปนผูทดสอบ (observer) หนามาน และมนุษยที่เปน
ตัวอยางของการทดสอบหลังมาน (control sample) เพราะมนุษยทุกคน
ยอมมีอารมณและอคติเปนที่ตั้ง หากคําตอบที่ไดรับถูกตองจนยากจะเชื่อได
วามาจากสมองของมนุษย ผูทดสอบยอมชี้ออกมาไดโดยงายวาฝงไหนของ
มานคือคอมพิวเตอร
ซึ่งหากจะทําใหแยกกันไมออกจริงๆ ระหวางคอมพิวเตอรกับมนุษย ผูทดสอบ Turring test ก็คงตอง
แกไขใหคอมพิวเตอรมีการตอบที่ผิดพลาดไปตามวิสัยมนุษยไดบาง แตก็คงจะไมตรงกับเปาหมายของการทดสอบนัก
เพราะการทดสอบนั้นตองการหาความฉลาดเทียม หรือปญญาประดิษฐ ไมใชทดสอบวาเหมือน/หรือไมเหมือนมนุษย ที่
อาจจะทําใหหลงทางไปไดไกล เพราะมนุษยนั้นมักจะตัดสินใจโดยอาศัยอารมณมากกวาความฉลาด ดังจะเห็นไดจากการ
ที่แพทยบางคนที่เขาใจถึงกลไกทางพยาธิวิทยาของเหลาและบุหรี่ดี ก็ยังคงบริโภคสิ่งเสพติดเหลานี้ไดเปนปรกติ หรือพวก
วีรชนที่มีบทบาทเรียกรองความเปนธรรมใหกับสังคมนั้น บางครั้งทั้งๆ ที่รูวาจะนําความตายมาสูตนเองก็ยังเดินหนาเขาสูช
ตากรรมดังกลาว ฯลฯ
นอกจากนั้น หากนักวิทยาศาสตรมุงพัฒนาคอมพิวเตอรใหเหมือนมนุษยกันจริงๆ ก็อาจจะเปนการเรงให
โลกเราถูกทําลายลงไปไดรวดเร็วขึ้น เพราะเมื่อเราพิจารณาประวัติศาสตรของมนุษยชาติใหดี จะเห็นไดวามนุษยมีการ
ตัดสินใจที่ผิดพลาดจนนําไปสูการทําลายลางเผาพันธุของมนุษยเองอยูบอยๆ ไมวาจะเปนสงครามโลกทั้งสองครั้ง การลา
อาณานิคม การทําลายสิ่งแวดลอม การพัฒนาเทคโนโลยีใหมๆ ที่มีประสิทธิภาพในการทําลายสิ่งแวดลอมไดรุนแรงมาก
ขึ้น ฯลฯ ดังนั้น ทางที่ดีนักวิทยาศาตรควรจะวางแผนกําหนดทิศทางการพัฒนาดานปญญาประดิษฐไวใหถูกตองเสียแต
เนิ่นๆ หาทางทําใหคอมพิวเตอรมีความชาญฉลาดที่จะไมนําไปสูความผิดพลาดเหมือนมนุษย (ฉลาดในการทําลายตัวเอง)
ประหนึ่งพอแมที่วางแผนอนาคตที่ดีใหกับบุตรหลานของตน
พุทธศาสตรตานกระแสวัตถุนิยม
จากที่ไดกลาวมาตั้งแตบทความเทคโนโลยีจีเอ็นอารตอนตน จะเห็นไดวาสิ่งที่เปนภัยคุกคามของ
มนุษยชาติจริงๆ นั้นมิใชตัวเทคโนโลยี แตเปนจิตใจของมนุษยเอง จิตใจที่ใฝแตดานวัตถุ มุงแสวงหาความรูทาง
วิทยาศาสตร และเทคโนโลยีมาเพื่อการตอบสนองความตองการดานวัตถุของตัวมนุษยเองเปนหลัก จนบางครั้งลืมนึกไป
ถึงผลลัพธุที่จะติดตามมาในระยะยาว เชน ความกาวหนาในดานวิทยาศาสตรและเทคโนโลยีนั้นเมื่อดูผิวเผินอาจจะดู
เหมือนเปนเรื่องดี เพราะทําใหมนุษยมีชีวิตความเปนอยูสะดวกสบาย มสขภพดขึ้น และมีอายุเฉลี่ยยืนยาวขึ้นอยางเห็นได
ชัด แตเมื่อมองลงไปใหลึกกลับจะพบวามนุษยมีความทุกขมากขึ้น จากสภาพที่ตองถูกกระตุนใหมีการบริโภควัตถุอยาง
เกินขีดพอดีจากสภาพสังคมรอบดาน
มนุษยบริโภคมากเสียจนกระทั่งไปรบกวนสภาพแวดลอมทางธรรมชาติเกิดเปนภัยพิบัติอยางเอลนิญโญ
และเอลนินาติดตามมา เทานั้นยังไมพอ ความตองการบริโภคของมนุษยมีมากเสียจนตองไปเบียดบังเอาจากเพื่อนมนุษย
ดวยกันเอง ซึ่งถาเบียดบังกันหนักๆ ก็อาจจะนําไปสูสงคราม และภัยคุกคามดานอาวุธ ในขณะที่การเบียดบังกันแบบ
เบาะๆ คอยเปนคอยไปก็จะกลายเปนลาอาณานิคมซึ่งคลี่คลายไปเปนการโจมตีคาเงิน การเขาครอบคลุมสภาพเศรษฐกิจ
ในประเทศหนึ่งโดยนักธุรกิจกลุมเล็กๆ จากอีกประเทศ มีการแยงชิงทรัพยากรจากคนหมื่นลานคนทั่วโลกไปอยูในมือของ
คนที่มีสถานะทางสังคมและเศรษฐกิจระดับสูงกวาเพียงไมถึงแสนคน มีคนเพียงไมกี่ลานที่ไดรับอนสงคจากความเจริญ
ทางดานวัตถุ ทําใหมีคุณภาพชีวิตดีขึ้น แตมนุษยที่เหลืออีกนับเปนหมื่นลานทั่วโลกกลับตองเผชิญกับความทุกขยากจาก
การแบงสรรทรัพยากรที่ไมเปนธรรม และของเสียที่หลงเหลือจากการเรงกระบวนการผลิตทางอุตสาหกรรม
ลาสุด แมวาโลกเราจะพัฒนาจากระบบการผลิตแบบอุตสาหกรรมที่ใชทรัพยากรทางธรรมชาติมากๆ มี
ของเสียเยอะๆ ไปสูระบบการผลิตที่มิตรกับธรรมชาติ หรือการพัฒนาที่ยั่งยืน
(sustainable development) จนกระทั่งอุตสาหกรรมที่เนนในเรื่องสารสนเทศและ
ความรูลวนๆ อยางอุตสาหกรรมคอมพิวเตอร หรือธุรกิจอี-คอมเมิรซ ที่แทบจะไมไดมี
การนําเอาทรัพยากรจากธรรมชาติมาใชในกระบวนการผลิต หรือไมมีการระบายของ
เสียจากกระบวนการผลิตออกสูธรรมชาติเลยก็ตาม สภาพความเหลื่อมล้ําในสังคม
มนุษยก็ยังคงดํารงอยู เผลอๆ จะยิ่งมากขึ้นกวาเดิมเสียดวยซ้ํา เพราะชนชั้นลางของ
สังคมยังคงมีโอกาสเขาถึงความรู หรือสารสนเทศไดนอยกวาเชนเดิม
ที่หนักหนาสาหัสกวานั้นก็คือ แมกระทั่งตัวนักวิทยาศาสตรหรือชนชั้น
นําของสังคมที่มีโอกาสไดเขาถึงทรัพยากรสําคัญของโลกคือ "ความรูและสารสนเทศ" ได
มากกวาหรือรวดเร็วกวาผูคนกลุมอื่นๆ ก็ยังตองทนทุกขอยูกับกองกิเลศและความอยาก
ไดที่ไมสิ้นสุดของตนอยูดี เพราะทุกวันนี้มีขอมูลความรูใหมๆ เกิดขึ้นมากมายในอัตรา
เรวแบบกาวกระโดดเชนเดียวกับเทคโนโลยีสมัยใหมอื่นๆ สงผลใหโลกเรายิ่งสลับซับซอนยากทําความเขาใจมากยิ่งขึ้นไป
อีก เมื่อบวกกับระบบการศึกษาสมัยใหมที่มุงเนนใหมนุษยแตละคนมีความรูความชํานาญที่ลึกและจําเพาะดานลงไป
เรื่อยๆ มนุษยก็ยิ่งคับแคบและตื้นเขินขึ้นเรื่อยๆ ดังจะสังเกตุไดจากวิธีการแกปญหาของมนุษยสมัยใหมที่มักจะมุง
แกปญหาเฉพาะหนาที่ตนเองเผชิญอยู เพียงเพื่อจะนํามาซึ่งปญหาใหมๆ ที่สลับซับซอนและแกยากขึ้นกวาเดิมไปเรื่อยๆ
(technofix)
ทางออกของมนุษยจึงไมใชการพยายามเรียนรูและกาวใหทันกับเทคโนโลยีสมัยใหมแตเพียงอยางเดียว
เพราะถึงจะกาวใหเร็วเพียงไหนก็คงไมทัน (อยาลืมวาเทคโนโลยีสมัยใหมทุกอยางพัฒนาไปในอัตรากาวกระโดด ในขณะที่
สมองมนุษยแทบจะไมตางไปจากสมองของมนุษยยุคพุทธกาลเลย) ทางออกที่ดีสําหรับมนุษย คือจะตองหันกลับมาศึกษา
ตนเอง กลับมาศึกษาถึงตัวตนและความเปนมนุษย เหมือนกับยุคที่พระสิทธัตถะพุทธเจา พระโมฮําหมัด พระเยชู เลาจื้อ
ขงจื้อ อริสโตเติ้ล เดสการต ฯลฯ เคยศึกษา คนพบ และถายทอดใหกับสานุศิษยกันมากอนแลว โดยเฉพาะคําสอนของ
องคสมเด็จสัมมาสัมพุทธเจาดวยแลว ก็ยิ่งจะมีความเปนอกาลิโก และตอบคําถามในโลกสมัยใหมที่วุนวายสับสนไดเปน
อยางดี

Contenu connexe

En vedette

การประมาณราคาก่อสร้างและดูแลห้องสะอาด
การประมาณราคาก่อสร้างและดูแลห้องสะอาดการประมาณราคาก่อสร้างและดูแลห้องสะอาด
การประมาณราคาก่อสร้างและดูแลห้องสะอาด
Surapol Imi
 
การเปลี่ยนแปลงหลังการตาย
การเปลี่ยนแปลงหลังการตายการเปลี่ยนแปลงหลังการตาย
การเปลี่ยนแปลงหลังการตาย
Surapol Imi
 
ผลสรุปเบื้องต้นของแบบสอบถามนโยบายการศึกษา
ผลสรุปเบื้องต้นของแบบสอบถามนโยบายการศึกษาผลสรุปเบื้องต้นของแบบสอบถามนโยบายการศึกษา
ผลสรุปเบื้องต้นของแบบสอบถามนโยบายการศึกษา
Surapol Imi
 

En vedette (6)

การประมาณราคาก่อสร้างและดูแลห้องสะอาด
การประมาณราคาก่อสร้างและดูแลห้องสะอาดการประมาณราคาก่อสร้างและดูแลห้องสะอาด
การประมาณราคาก่อสร้างและดูแลห้องสะอาด
 
"ประมูลสินค้าทางอินเทอร์เน็ต" จุดเด่น จุดด้อย และข้อควรระวัง
"ประมูลสินค้าทางอินเทอร์เน็ต" จุดเด่น จุดด้อย และข้อควรระวัง"ประมูลสินค้าทางอินเทอร์เน็ต" จุดเด่น จุดด้อย และข้อควรระวัง
"ประมูลสินค้าทางอินเทอร์เน็ต" จุดเด่น จุดด้อย และข้อควรระวัง
 
การเปลี่ยนแปลงหลังการตาย
การเปลี่ยนแปลงหลังการตายการเปลี่ยนแปลงหลังการตาย
การเปลี่ยนแปลงหลังการตาย
 
Linuxของแจกฟรีแต่มีกำไร
Linuxของแจกฟรีแต่มีกำไรLinuxของแจกฟรีแต่มีกำไร
Linuxของแจกฟรีแต่มีกำไร
 
ผลสรุปเบื้องต้นของแบบสอบถามนโยบายการศึกษา
ผลสรุปเบื้องต้นของแบบสอบถามนโยบายการศึกษาผลสรุปเบื้องต้นของแบบสอบถามนโยบายการศึกษา
ผลสรุปเบื้องต้นของแบบสอบถามนโยบายการศึกษา
 
Psion vs win ce
Psion vs  win ce Psion vs  win ce
Psion vs win ce
 

Plus de Surapol Imi

1ก่อกำเนิดมนุษย์
1ก่อกำเนิดมนุษย์1ก่อกำเนิดมนุษย์
1ก่อกำเนิดมนุษย์
Surapol Imi
 
เคล็ดลับวินโดวส์ ไอทีซอฟต์ ปีที่ 7 ฉบับที่ 81 ธ.ค. 2541 87-102
เคล็ดลับวินโดวส์  ไอทีซอฟต์   ปีที่ 7 ฉบับที่ 81 ธ.ค. 2541 87-102 เคล็ดลับวินโดวส์  ไอทีซอฟต์   ปีที่ 7 ฉบับที่ 81 ธ.ค. 2541 87-102
เคล็ดลับวินโดวส์ ไอทีซอฟต์ ปีที่ 7 ฉบับที่ 81 ธ.ค. 2541 87-102
Surapol Imi
 
แนะวิธีเปิดร้านบนอินเทอร์เน็ต
แนะวิธีเปิดร้านบนอินเทอร์เน็ตแนะวิธีเปิดร้านบนอินเทอร์เน็ต
แนะวิธีเปิดร้านบนอินเทอร์เน็ต
Surapol Imi
 
ระบบสั่งงานคอมพิวเตอร์ด้วยเสียง
ระบบสั่งงานคอมพิวเตอร์ด้วยเสียงระบบสั่งงานคอมพิวเตอร์ด้วยเสียง
ระบบสั่งงานคอมพิวเตอร์ด้วยเสียง
Surapol Imi
 
ศึกหลายด้านของไมโครซอฟท์
ศึกหลายด้านของไมโครซอฟท์ศึกหลายด้านของไมโครซอฟท์
ศึกหลายด้านของไมโครซอฟท์
Surapol Imi
 

Plus de Surapol Imi (20)

ตำแหน่งทางวิชาการกับคุณภาพอุดมศึกษา
ตำแหน่งทางวิชาการกับคุณภาพอุดมศึกษาตำแหน่งทางวิชาการกับคุณภาพอุดมศึกษา
ตำแหน่งทางวิชาการกับคุณภาพอุดมศึกษา
 
แนวทางสำหรับผู้ต้องการลดฝุ่นในห้องสะอาด
แนวทางสำหรับผู้ต้องการลดฝุ่นในห้องสะอาดแนวทางสำหรับผู้ต้องการลดฝุ่นในห้องสะอาด
แนวทางสำหรับผู้ต้องการลดฝุ่นในห้องสะอาด
 
1ก่อกำเนิดมนุษย์
1ก่อกำเนิดมนุษย์1ก่อกำเนิดมนุษย์
1ก่อกำเนิดมนุษย์
 
เคล็ดลับวินโดวส์ ตอน เก็บเบี้ยใต้ถุนร้าน
เคล็ดลับวินโดวส์ ตอน เก็บเบี้ยใต้ถุนร้านเคล็ดลับวินโดวส์ ตอน เก็บเบี้ยใต้ถุนร้าน
เคล็ดลับวินโดวส์ ตอน เก็บเบี้ยใต้ถุนร้าน
 
เคล็ดลับวินโดวส์ ไอทีซอฟต์ ปีที่ 7 ฉบับที่ 81 ธ.ค. 2541 87-102
เคล็ดลับวินโดวส์  ไอทีซอฟต์   ปีที่ 7 ฉบับที่ 81 ธ.ค. 2541 87-102 เคล็ดลับวินโดวส์  ไอทีซอฟต์   ปีที่ 7 ฉบับที่ 81 ธ.ค. 2541 87-102
เคล็ดลับวินโดวส์ ไอทีซอฟต์ ปีที่ 7 ฉบับที่ 81 ธ.ค. 2541 87-102
 
แนะวิธีเปิดร้านบนอินเทอร์เน็ต
แนะวิธีเปิดร้านบนอินเทอร์เน็ตแนะวิธีเปิดร้านบนอินเทอร์เน็ต
แนะวิธีเปิดร้านบนอินเทอร์เน็ต
 
ระบบสั่งงานคอมพิวเตอร์ด้วยเสียง
ระบบสั่งงานคอมพิวเตอร์ด้วยเสียงระบบสั่งงานคอมพิวเตอร์ด้วยเสียง
ระบบสั่งงานคอมพิวเตอร์ด้วยเสียง
 
Personal videoconference system
Personal videoconference systemPersonal videoconference system
Personal videoconference system
 
ปกิณกะคดีในแวดวงพีซีปี1998
ปกิณกะคดีในแวดวงพีซีปี1998ปกิณกะคดีในแวดวงพีซีปี1998
ปกิณกะคดีในแวดวงพีซีปี1998
 
Van หนึ่งในธุรกิจมาแรงของสหรัฐ
Van  หนึ่งในธุรกิจมาแรงของสหรัฐVan  หนึ่งในธุรกิจมาแรงของสหรัฐ
Van หนึ่งในธุรกิจมาแรงของสหรัฐ
 
ศึกหลายด้านของไมโครซอฟท์
ศึกหลายด้านของไมโครซอฟท์ศึกหลายด้านของไมโครซอฟท์
ศึกหลายด้านของไมโครซอฟท์
 
Telecommuting เมื่อออฟฟิซเป็นฝ่ายวิ่งมาหาคน
Telecommuting เมื่อออฟฟิซเป็นฝ่ายวิ่งมาหาคนTelecommuting เมื่อออฟฟิซเป็นฝ่ายวิ่งมาหาคน
Telecommuting เมื่อออฟฟิซเป็นฝ่ายวิ่งมาหาคน
 
สุดยอดประดิษฐกรรมและการค้นพบแห่งปี 96
สุดยอดประดิษฐกรรมและการค้นพบแห่งปี 96สุดยอดประดิษฐกรรมและการค้นพบแห่งปี 96
สุดยอดประดิษฐกรรมและการค้นพบแห่งปี 96
 
อุปกรณ์ลูกผสมPctv
อุปกรณ์ลูกผสมPctvอุปกรณ์ลูกผสมPctv
อุปกรณ์ลูกผสมPctv
 
PCI local bus
PCI  local busPCI  local bus
PCI local bus
 
คอมพิวเตอร์รุ่นพกกระเป๋า
คอมพิวเตอร์รุ่นพกกระเป๋าคอมพิวเตอร์รุ่นพกกระเป๋า
คอมพิวเตอร์รุ่นพกกระเป๋า
 
Open doc คำจำกัดความใหม่ของระบบเปิด
Open doc คำจำกัดความใหม่ของระบบเปิดOpen doc คำจำกัดความใหม่ของระบบเปิด
Open doc คำจำกัดความใหม่ของระบบเปิด
 
กลิ่น สื่อมัลติมีเดียชนิดล่าสุด
กลิ่น  สื่อมัลติมีเดียชนิดล่าสุด กลิ่น  สื่อมัลติมีเดียชนิดล่าสุด
กลิ่น สื่อมัลติมีเดียชนิดล่าสุด
 
Object oriented computing พยุหยาตราของเหล่า objects
Object oriented computing พยุหยาตราของเหล่า objectsObject oriented computing พยุหยาตราของเหล่า objects
Object oriented computing พยุหยาตราของเหล่า objects
 
นู๊ดออนไลน์ อันตรายของนักคอมพิวเตอร์วัยเยาว์
นู๊ดออนไลน์ อันตรายของนักคอมพิวเตอร์วัยเยาว์นู๊ดออนไลน์ อันตรายของนักคอมพิวเตอร์วัยเยาว์
นู๊ดออนไลน์ อันตรายของนักคอมพิวเตอร์วัยเยาว์
 

Gnr3พุทธศาสตร์ฉุดโลกพ้นหายนะ

  • 1. GNR : Episode IIII พุทธศาสตรฉุดโลกพนหายนะ สุรพล ศรีบุญทรง บทความนี้ เปนตอนจบของขอเขียนชุดเทคโนโลยีจีเอ็นอารของผูเขียนที่ไดดําเนินมา 2 ตอนแลว คือ GNR : Episode I "2001 นับถอยหลังสูการสูญพันธุของมนุษย" และ GNR : Episode II "เทคโนโลยีจีเอ็นอาร ภัยแฝง เรน" ซึ่งเนนไปที่การถายทอดความวิตกกังวลที่เกิดขึ้นหลังจากไดอานบทความ "Why the future doen't need us," ของอัจฉริยะดานคอมพิวเตอร "บิลล จอย" ที่ตีพิมพอยูในนิตยสารไวรดฉบับเดือนเมษายน 2000 โดยบิลล จอย ได ชี้ใหเห็นถึงอันตรายแฝงเรนของเทคโนโลยีสมัยใหม 3 ชนิดอันไดแก พันธุวิศวกรรม (G: Genetic Engineering) จุณ เทคโนโลยี (N: Nanotechnology) และหุนยนตศาสตร (R: Robotics) ในความเห็นของบิลล จอย แมวาเทคโนโลยีแหงศตวรรษที่ 21 ทั้งสามอยาง (GNR) นี้จะนํามาซึ่งการพัฒนาอยางกาวกระโดดใหกับวงการ วิทยาศาสตรโลก แตหากไมไดวางแผนการพัฒนาไวใหรอบคอบแลว ก็อาจจะ นําไปสูการทําลายลางเผาพันธุของตัวมนุษยเองไดดวยเชนกัน แถมจะเปนการ ทําลายลางที่เกิดอยางรวดเร็ว รุนแรง และกวางขวาง กวาอาวุธมหาประลัยแหงยุค ศตวรรษ 20 อันไดแก อาวุธนิวเคลียร อาวุธชีวภาพ และอาวุธเคมี (NBC) เพราะ ในขณะที่การสรางอาวุธมหาประลัย NBC นั้นเกิดขึ้นไดเฉพาะในองคกรขนาดใหญ ที่จะตองไดรับการสนับสนุนเรื่องทุน วัตถุดิบ เทคโนโลยี และแรงงานจํานวนมาก จากรัฐ การสรางอาวุธมหาประลัย GNR กลับเกิดขึ้นในหองทดลองไหนๆ ก็ได เนื่องจากไมตองอาศัยทรัพยากรพิเศษอะไร อาศัยแตความรู และวัตถุดิบงายๆ มา ประกอบกัน (Knowledge-based technology) เสร็จแลว เจาตัวผลผลิตที่เกิดขึ้นจากเทคโนโลยีจีเอ็นอารก็จะสามารถ เพิ่มปริมาณของตนขึ้นไปไดเอง (self-replicate) จนมีปริมาณมากพอ หรือมีฤทธิ์ทําลายลางรุนแรงพอที่จะทําใหมนุษย ตองสูญพันธุไปไดในทึ่สุด อยางไรก็ตาม ความรายกาจที่วานี้ไมจําเปนที่จะตองเกิดขึ้นจริงๆ มันเปนสิ่งที่สามารถปองกันไดหาก มนุษยจะไดวางแผนปองกันและรับมือไวแตเนิ่นๆ และนั่นแหละคือวัตถุประสงคในการเขียนบทความ "Why the future doesn't need us" ของบิลล จอย เขาตองการเตือนเพื่อนนักวิทยาศาสตรดวยกันใหตระหนักถึงผลรายที่อาจจะ เกิดขึ้นจากความพยายามเปนเลิศทางวิชาการโดยลืมนึกไปถึงผลกระทบอื่นๆ ที่อาจจะติดตามมา เตือนใหลองยอนกลับไป ทบทวนอดีตวาความอหังการจากสิ่งที่เรียกวาความกาวหนาทางวิทยาศาสตรและเทคโนโลยีนั้นไดเคยสรางหายนะ และภัย คุกคามอะไรไวใหกับโลกมนุษยบาง และ จะดีกวาไหม หากนักวิทยาศาสตรทั้งหลายจะนําเอาความเฉลียวมาใช ประกอบการคนควาประดิษฐเทคโนโลยีใหมๆ แทนที่จะเปนแคการใชความฉลาดอยางเดียว ที่สําคัญ บิลล จอย ยังไดชี้นําไวในบทความของเขาดวยวา "พุทธศาสนา" อาจจะเปนหนทางหนึ่งในการ ปองกันมนุษยจากการถูกทําลายลางดวยเทคโนโลยี โดยเขาไดกลาวอางถึงแนวความคิดของทานทไลลามะ องคพระ ประมุขแหงพุทธศาสนานิกายวัชรยานของธิเบตไวดวยในชวงทายๆ ของบทความ ซึ่งผูเขียนอยากจะนํามาขยายตอใน บทความนี้ ดวยเห็นวาพุทธศาสนานี่แหละคือ "ทางออกของปญหา" อยางแทจริง ไมใชแคเพียง "อาจจะเปนทางออก" เชน ที่บิลล จอย ไดเสนอไว เพราะพุทธศาสนานั้นมุงเนนใหมนุษยศึกษา (สิกขา) ปญหาทุกอยางบนโลกอยางรอบดานและ
  • 2. สืบเนื่อง รวมทั้งยังชวยฉุดรั้งมนุษยโลกใหหันกลับมาพัฒนาจิตใจของตนเองใหเปน "พุทธะ"(ผูรู ผูตื่น ผูเบิกบาน) แทนที่ จะมุงไปที่การใชเทคโนโลยีพัฒนาวัตถุแตเพียงดานเดียว กรรมของสังคม ในบทความเทคโนโลยีจีเอ็น อารตอนที่แลว ผูเขียนไดเลาถึงความสับสนใน จิตใจของทีมงานนักฟสิกสสหรัฐฯ ที่ชวยกัน พัฒนาระเบิดนิวเคลียรในชวงสงครามโลกครั้งที่ สอง เพื่อชี้ใหเห็นวาการคนพบองคความรูใหม เรื่องทฤษฎีสัมพันธภาพของอัจฉริยะอัลเบิรต ไอนสไตน นั้นไดนําไปสูการประดิษฐอาวุธมหา ประลัยซึ่งคุกคามจิตใจของมนุษยชาติมาเกือบ ศตวรรษไดอยางไร ทั้งยังชี้ใหเห็นวาการระดม สมองของอัจฉริยะหลายๆ คน (Brainstrorm) เพื่อคิดคนและพัฒนาเทคโนโลยีนั้นมิไดเปนหลักประกันวาผลลัพธุที่ไดจะ เปนสิ่งดีงามและถูกตองเสมอไป เพราะบางครั้งพฤติกรรมกลุมหรือการชี้นําจากผูนําที่ไรสติเพียงคนเดียวก็อาจจะฉุดลาก ใหคนฉลาดคนอื่นๆ ตองพลอยทําตามไปดวยแมวาจะมีความเห็นแยง ดังที่ไดมีการเปดเผยจากผูรวมงานพัฒนาอาวุธนิวเคลียรของออพเพนไฮมเมอรซึ่งปรากฏออกมาใน ภายหลังวา มีความเห็นขัดแยงกันตั้งแตตอนเริ่มตนพัฒนาอาวุธนิวเคลียรใหมๆ และฝายนาซีเยอรมันไดพายแพแก สัมพันธมิตรในภาคพื้นทวีปยุโรปไปแลวตั้งแตวัน V-E day จึงมีหลายคนเสนอใหยุติการพัฒนาอาวุธนิวเคลียร แตความใฝ รูแบบนักวิทยาศาตรบวกกับสภาพงานวิจัยที่ใกลเห็นผลทําใหหัวหนาทีมพยายามผลักดันใหงานพัฒนาอาวุธดําเนินตอไป จนเกิดเปนโครงการทรีนิตี้ขึ้นในที่สุด หลังจากนั้น ก็ยังมีความขัดแยงอีกครั้งเมื่อจะนําเอาระเบิดที่พัฒนาไดไปทิ้งที่เมืองฮิ โรชิมา เพราะมีหลายคนเสนอวาแคเพียงสาธิตใหญี่ปุนดูสมรรถนะทําลายลางของระเบิดนิวเคลียรก็นาจะพอแลว แต ความตายของทหารอเมริกันในเหตุการณที่ญี่ปุนโจมตีเพิรลฮาเบอรอาจจะทําใหสหรัฐฯ ตองการเห็นเลือดจึงนําไปสูการ คราชีวิตผูคนเปนแสนที่ฮิโรชิมา และนางาซากิในอีกสามวันถัดมา ความเหลวไหลอยางบัดซบครั้งนั้นอยูที่การทิ้งระเบิด นางาซากิซึ่งแทบจะไมมีความจําเปน และเหตุผลใดๆ มารองรับการกระทําอันโหดรายทารุณที่วานี้เลย นับเปนความขี้ ขลาดของนักวิจัยชุดนี้ที่ไมมีใครสักคนจะลุกขึ้นมาแสดงจุดยืนวา "อยาทํา" ความขี้ขลาดที่วานี้ไดถายทอดผานมายังผูบริหารและนักวิทยาศาตรที่ใกลชิดอํานาจของสหรัฐอเมริกาใน ระยะตอมา ดังจะเห็นไดจากประวัติการทดลองอาวุธนิวเคลียรของสหรัฐฯ ที่ดําเนินมาอยางตอเนื่องหลังจากนั้น จนกระทั่งรัฐบาลกรุงวอชิงตันเริ่มพึงพอใจในขีดความสามารถดานขีปนาวุธที่อาจจะทําลายโลกไปครึ่งใบของตนไดแลวนั่น แหละจึงไดหยุดการทดลอง แลวหันกลับมาตําหนิดาวาประเทศอื่นๆ ที่เจริญรอยตามพวกตนแทน ไมวาจะเปนเรื่องการ ทดลองอาวุธนิวเคลียรของรัสเซีย ฝรั่งเศส จีน อินเดีย หรือปากีสถาน ฯลฯ แตผลกรรม*จากการปลอยให นักวิทยาศาสตรไมกี่คนเที่ยวพัฒนาเทคโนโลยีใหมๆ ขึ้นมาโดยปราศจากการวางแผน และทิศทาง ไดตามสนองผูคนทั่วทั้ง โลกใหตองหวาดระแวงกับหายนะนิวเคลียรมาโดยตลอดนับจากนั้น จนขนาดอดีตประธานาธิบดีเรแกนตองเข็นนโยบาย ผลาญเงินที่ชื่อวา "โครงการสตารวอร" ที่มีวัตถุประสงคเพื่อปกปองนานฟาสหรัฐฯ จากขีปนาวุธนิวเคลียรออกมา ซึ่ง
  • 3. ตอมาก็ไดพิสูจนใหเห็นวาเปน "โครงการผลาญเงินที่ไรประโยชนอยางแทจริง" ไปเมื่อเร็วๆ นี้เองในปลายยุคสมัยของบิลล คลินตัน ถึงตรงนี้ อยากจะตั้งขอสังเกตุวา ผูคนมักจะตีความเรื่องบาปกรรมในทางพุทธศาสนากันอยางผิดๆ ใน เรื่อง "กรรมมุนา วัตตตีโลโก ที่วา สัตวโลกยอมเปนไปตามกรรม หรือ กรรมใดใครกอ กรรมก็จะตอบสนองกับผูนั้น" ทํา ใหหลายคนนึกแคนใจวา ทําไมคนบางคนทําชั่วมาสารพัดสารพันแตก็ไมเคยถูกกรรมตามสนอง ในขณะที่ คนทําดีมา ตลอดชีวิตกลับถูกกระหน่ําซ้ําเติมจากมรสุมชีวิตที่รุนแรง จนทําใหหลายคนตีความไปวาเปนผลจากบาปรรมที่ทํามาแต ชาติปางกอน แลวเลยตองไปเสียเงินเสียทองใหกับผูที่อวดอางวาสามารถตัดรอนกรรมเวรในอดีตชาติได เรื่องนี้ทานเจา คุณธรรมปฎก (ป.อ. ประยุตต ปยุตโต) อธิบายวากรรมนั้นไมใชเรื่องเฉพาะตัวบุคคลแตอยางเดียว แตอาจจะเปนกรรม ของสวนรวมคือสังคมและชุมชนไดดวย เพราะเมื่อเราปลอยใหสังคมหรือชุมชนดําเนินไปอยางผิดพลาดงมงาย เราที่เปน สวนหนึ่งของสังคมก็ยอมจะตองพลอยไดรับผลกรรมไปกับสังคมดวย แตนับวายังดีที่มนุษยรูจักเรียนรู จากความผิดพลาดในอดีตไดบาง จึงสงผลให โครงการพัฒนามหันตภัยรุนถัดมาอยางอาวุธ ชีวภาพ และอาวุธเคมี เริ่มมีการจํากัดและควบคุม ไดดียิ่งขึ้น (ดียิ่งขึ้นกวาที่เลวรายมาก และ ปราศจากการควบคุม ไมไดหมายความดีจริงๆ เพราะยังมีขาวเรื่องการแอบใชอาวุธประเภทนี้ กระเซ็นกระสายมาเปนระยะๆ ) มีการจัดประชุม ใหญและกําหนดเงื่อนไขการจํากัดและควบคุม อาวุธรวมกันระดับนานาชาติอยางชัดเจนในป ค.ศ. 1972 (BWC : Biological Weapons Convention) และป ค.ศ. 1993 (CWC : Chemical Weapons Convention) แลวก็ยังมีความพยายามจํากัดปริมาณอาวุธนิวเคลียรที่มีอยูเดิม ระหวางสหรัฐ/รัสเซียดวยขอตกลงที่มีเปาหมายเพื่อการทําลายขีปนาวุธทิ้งไปจนกระทั่งเหลือ 100 ลูก ซึ่งเทียบเทากับ ศักยภาพการทําลายลางที่โลกเคยเผชิญมาในชวงสงครามโลกครั้งที่สอง GNR นากลัวกวา BNC เยอะ จากที่กลาวผานมา จะเห็นไดวาเทคโนโลยี BNC (ชีวภาพ เคมี และนิวเคลียร) นั้นแมจะดูนากลัว แตก็ ไมใชวาจะไมสามารถควบคุมไดเอาเสียเลย เพราะถึงอยางไรมันก็ยังถูกจํากัดการใชอยูเฉพาะในแวดวงทหาร (military purpose) หากจะมีการประยุกตไปทางดานการคาในเชิงพานิชย (Commercial purpose) บางก็มักจะเปนเทคโนโลยีที่มี รูปแบบแตกตางกันอยางชัดเจน เชน นิวเคลียรที่ใชเพื่องานวิจัยคนควา งานอุตสาหกรรม งานสาธารณสุข และงาน การทหารนั้นจะมีลักษณะแตกตางกันออกไปอยางสิ้นเชิง นอกจากนั้น เทคโนโลยี BNC ยังมีอัตราการเติบโตเพิ่มปริมาณอยางคอยเปนคอยไป เพราะผลการวิจัย คนควาเรื่องพวกนี้จะถูกปกปดไวเปนความลับขั้นสุดยอดในหมูผูผลิตเทคโนโลยี กวาจะหลุดรอดออกมาใหฝายตรงขามได ระแคะระคายก็ตองกินเวลาสักระยะหนึ่ง ในขณะที่ประเทศซึ่งไมไดเปนผูผลิตเทคโนโลยี BNC แตเปนผูซื้อเทคโนโลยีนั้นก็ จะรักษาความลับไวไดยากยิ่งขึ้นไปอีก ยกตัวอยางเชนประเทศไทยเรานั้นแมจะไมเคยมีขาวเรื่องอาวุธ BNC แตกวา กองทัพไทยจะซื้อเครื่องบินขับไลสักฝูงก็พูดกันแลวพูดกันอีก แถมยังไปซื้อของเกาที่เพื่อนฝูงไปลองกันมาจนรูหมดแลววา
  • 4. ทําอะไรได/ทําอะไรไมไดบาง ฉนั้น แตละประเทศที่มีการครอบครองเทคโนโลยี BNC จึงนาพอจะรูไสรูพุงกันอยูในระดับ หนึ่งวาฝายไหนมีสมรรถนะอยูเทาใดกันบาง การควบคุมอาวุธจึงไมใชเรื่องยากจนเกินไป (แตตองรอใหทั้งสองฝายพรอม นั่งลงเพื่อเจรจาเสียกอน ซึ่งบางครั้งก็หมายถึงรบกันจนเจ็บตัวกันไปทั้งสองฝายแลว) ผิดกับเทคโนโลยีจีเอ็นอารที่อาจจะประยุกตไปใชงานไดทุกประเภท ไมจํากัดวาจะเปนดานการทหาร หรือในเชิงพานิชย เราแทบจะแยกความแตกตางไมไดเลยระหวางหองแล็บที่มีขีดสมรรถนะในการพัฒนาอาวุธทําลายลาง สมรรถนะสูงกับ กับหองแล็บที่ผลิตงานวิจัยเพื่อพัฒนาคุณภาพชีวิต แถมผลวิจัยที่ไดจากหองแล็บสองประเภทนี้ก็พรอมที่ จะถูกถายทอดไปมาใหแกกัน หรือถูกเผยแพรออกไปสูสาธารณชนอยางรวดเร็วและกวางขวางทั้งโดยตั้งใจและไมตั้งใจ เนื่องจากปจจุบันนี้มีเครือขายการสื่อสารโทรคมนาคมครอบคลุมไปอยางกวางขวางทั่วโลกจนยากที่จะมีใครมากําหนด ควบคุมวาวันนี้มีบทความวิจัยถูกตีพิมพผานเว็บไซทไหนบาง หรือมีการสงอีเมลลระหวางนักวิจัยคนไหนบาง สงผลให งานวิจัยเรื่องการผลิตจุลชีพใหมชิ้นเดียวกันอาจถูกนําไประยุกตใชในทิศทางตรงขามกันไดอยางไมนาเชื่อ เชนถาแพทยผู เสียสละและทุมเทนําไปใชผลิตยาหรือวัคซีนก็อาจจะชวยชีวิตเพื่อนมนุษยไดเปนจํานวนมาก แตถาเปนอัจฉริยะโรคจิต นําไปใชผลิตเชื้อโรคก็อาจจะทําลายชีวิตมนุษยไดทีละมากๆ เชนกัน ที่สําคัญ อัตราการเติบโตของเทคโนโลยีจีเอ็นอาร และเทคโนโลยีสมัยใหมอื่นๆ ตางลวนเปนไปในอัตรา กาวกระโดด (เอ็กซโปเนนเชี่ยล) จนยากที่ความสามารถในรับรูทําความเขาใจของมนุษยแตละคนยากจะติดตามทันได เพราะในขณะที่อิเล็กทรอนิกส คอมพิวเตอร สารสนเทศ พันธุวิศวกรรม จุณเทคโนโลยี และหุนยนตศาสตร กาวหนาขึ้น หลายเทาตัวในแตละป มันสมองของมนุษยสมัยใหมกับมันสมองของ มนุษยยุคพุทธกาลเมื่อกวาสองพันปที่แลวก็ดูเหมือนวาจะไมไดถูกพัฒนาให แตกตางไปจากเดิมสักเทาใดเลย (ใครจะกลากลาวอางไดเต็มปากวาตนเอง มีมันสมองที่เฉลียวฉลาดกวาพระพุทธเจา พระเยซู พระโมฮําหมัด ขงจื้อ หรือ เลาจื้อบาง) จนอาจกลาวไดวา สภาพสังคมที่สับสนวุนวายในยุค ปจจุบันนี้เปนเพราะมนุษยไมรูจะรับมือกับเทคโนโลยีใหมๆ ที่ถาโถมเขามา อยูตลอดเวลาใหถูกตองและเหมาะสมไดอยางไร จนบางครั้งก็นาสงสัยวา มนุษยกําลังใชเทคโนโลยี หรือถูกเทคโนโลยีใชกันแน จริงอยู การพัฒนา ดานวัตถุและเทคโนโลยีอาจจะทําใหชีวิตมนุษยมีความเปนอยูที่สะดวกสบาย และยืนยาวขึ้นกวาเดิม แตถามจริงๆ เถอะ วามนุษยนั้นมีความสุขมากขึ้นหรือลดลงกวาเดิม หากมนุษยมีความสุขมากขึ้นทําไมจึงมีคนจนเข็ญใจอยูทั่วไปหมดทั้ง แผนดิน แถมดูเหมือนชองวางระหวางคนจนกับคนรวยจะถูกถางออกไปจากเดิมมากขึ้นเรื่อยๆ ทั้งคนรวยที่เพียบพรอมไป ดวยทรัพยศฤงคารเองก็ใชจะมีความสุข เพราะยังตองลําบากแสวงหาสิ่งกลอมตางๆ มาชวยทําใหชีวิตหมดสิ้นไปเปนวันๆ ไมวาจะเปน เหลา บุหรี่ ยาอี ยามา ฯลฯ อีกทั้งอัตราการฆาตัวตายของประชากรในประเทศที่วากันวาพัฒนาแลวก็ยังเพิ่ม สูงขึ้นไปเรื่อยๆ ทางเดียวที่ บิลล จอย เห็นวาพอจะปกปองโลกจากการนําเอาเทคโนโลยีสมัยใหมไปใชในทางที่ผิดก็คือ การปลุกจิตสํานึกของบรรดานักวิทยาศาสตรทั่วโลก ใหตระหนักถึงคุณคาทางคุณธรรมและจริยธรรมของมนุษยไวใหมาก เพื่อจะไดคอยกํากับสติเวลาที่มีการประดิษฐคิดคนหรือพัฒนาเทคโนโลยีใหมๆ ขึ้นมา ไมใชคิดแตวาตนเองจะทําอะไรได บาง ตองคิดวาควรทําหรือไมดวย นักวิทยาศาสตรอาจจะตองมีการปฏิญานตนในเรื่องจริยธรรมในลักษณะที่ชัดเจน คลายๆ กับที่แพทยมีการรักษาจรรยาบรรณแพทย (Hippocratic oath) ทั้งควรจะหันมาแสวงหาคุณคาเดิมๆ ในชีวิตที่
  • 5. บรรพบุรุษเคยคนพบและสั่งสอนไวในอดีต โดยเฉพาะในแงของปรัชญาและศาสนา เพราะในขณะที่ความรูในเชิง เทคโนโลยีนั้นแคเพียงพนปก็ลาสมัย แตหัวใจของศาสนานั้นยังคงทันสมัยอยูเสมอแมเวลาจะลวงมานับเปนพันๆ ป (พูด แบบภาษาพระก็ตองวา ศาสนาที่ถูกตองนั้นเปน "อกาลิโก") ราคาของความรู การชี้ใหเห็นภัยแอบแฝงที่อาจจะเกิดตามมากับการพัฒนาเทคโนโลยีจีเอ็นอารนั้นมิไดหมายความวา บิลล จอย จะปฏิเสธการศึกษาวิจัยเพื่อใหไดมาซึ่งองคความรูใหมทางวิทยาศาสตร เพราะเขายังคงเชื่อมั่นวาความใฝรูคือคุณคา พื้นฐานของมนุษย ดังที่อริสโตเติ้ลไดเคยกลาวไววา "มนุษยทุกคนที่เกิดมาลวนมีความใฝรู (All men by nature desire to know)" ซึ่งผูเขียนอยากจะย้ําขอความดังกลาวอีกแรงดวยคําสอนของทานเจาคุณธรรมปฎก "ที่วามนุษยเปนสัตว ประเสริฐนั้นเปนการอวดอางลอยๆ ไมเปนความจริง ที่ถูกจะพูดวามนุษยเปนสัตวประเสริฐเพราะมีการเรียนรูได หากไม มีการเรียนรูมนุษยก็ไมไดประเสริฐไปกวาสัตวเดรัจฉนาอื่นๆ เลย" เพราะมนุษยเมื่อแรกเกิดนั้นดอยกวาสัตวทุกประเภท ดวยไมสามารถปกปองตนเองไดเลยหากไปทิ้งไวที่ ไหนก็คงจะตาย ไมรูจักชวยตนเอง ไมสามารถหาอาหารกินเอง ตองอาศัยพอแมคอยฟูมฟกเอาใจใสใหการศึกษา สอนให เดินและพูด สอนใหรูจักกับภาษา และการทํามาหากิน จนกระทั่งแนใจวาลูกหลานของตนเองสามารถเลี้ยงตัวได จึงปลอย ใหออกไปสรางครอบครัวใหม กลายเปนสิ่งมีชีวิตที่มีความเจริญกาวหนามากขึ้นกวาบรรพบุรุษของตนเอง โดยทั้งหมดที่ กลาวมานี้มิไดหมายความวาลูกหลานของมนุษยจะประเสริฐหรือฉลาดกวาบรรพบุรุษของตนเองจริงๆ แตเปนผลจาก มรดกทางความรูหรือทุนทางสังคมที่ถูกถายทอดจากรุนหนึ่งไปสูอีกรุนหนึ่ง ไมตองไปลองผิดลองถูกหรือประดิษฐคิดคน ความรูใหมๆ ขึ้นมาดวยตนเอง ซึ่งในเรื่องการศึกษาวิจัยใหไดมาซึ่งองคความรูใหมๆ นี้ก็มักจะเปนเรื่องที่มีขอถกเถียงกันอยูในหมูของ นักวิทยาศาสตรและนักการศึกษา นั่นคือ มักจะมีผูตั้งคําถามขึ้นมาเสมอถึงตนทุนที่ถูกใชไปเพื่อการศึกษาหาความรูใหมๆ โดยเฉพาะความรูที่เมื่อแรกนั้นยากจะประเมินถึงความคุมคา เชน โครงการอวกาศของนาซา โครงการกลองโทรทรรศน ฮับเบิ้ล หรือการคนหาอนุภาคใหมๆ ดวยการสรางเครื่องยิงอนุภาคขนาดมโหฬารขึ้นมา ฯลฯ ซึ่งบางครั้งหลังจากไดองค ความรูใหมๆ ตรงกับความอยากรูอยากเห็นของผูวิจัยแลว ก็อาจจะตองหาทางวิจัยตอไปอีกวาจะนําเอาความรูใหมที่วานั้น ไปใชประโยชนอะไรได ทําใหเกิดเปนความพยายามจําแนกระหวางงานวิจัยบริสุทธิ์ (pure research) ที่มุงไปที่การ แสวงหาความรูใหมๆ โดยไมตองคํานึงถึงความคุมคา ในทํานองวารูเพื่อรู กับงานวิจัยประยุกต (Applied research) ที่มุง ไปที่การใชประโยชนจากองคความรูใหม แตก็อีกนั่นแหละ บางครั้งก็ยากมากที่จะใหคําจํากัดความ งานวิจัยบางอยางวาเปนงานวิจัยบริสุทธิ์ หรืองานวิจัยประยุกต คลายๆ กับที่เคย ถกเถียงกันอยูในอดีตเกี่ยวกับเรื่องศิลปะ ในทํานองวาศิลปะที่ถูกตองควรจะเปน ศิลปะเพื่อศิลปะ ไมใชศิลปะเพื่อการพาณิชย ศิลปะเพื่อชีวิต หรือศิลปะเพื่อมวลชน ฯลฯ และงานศิลปะบางชิ้นก็อาจจะถูกจัดกลุมไปอยูในประเภทเพื่อมวลชนทั้งๆ ที่เจาตัวผูผลิตชิ้นานเองอาจจะไมไดคิด มากถึงขนาดวางานของตนเองจะเปนศิลปะประเภทใดเสียดวยซ้ํา ดังนั้น หากจะมานั่งตีความกันเรื่องความรูหรือศิลปะ แลวก็คงไมจบลงงายๆ เพราะมีแตผูสรางงานเทานั้นจึงจะรูชัดวาตนเองมีเหตุผลเชนไรในการวิจัยหรือสรางงานแตละชิ้น อยางไรก็ตาม แมวาบางครั้งผูริเริ่มศึกษาองคความรูใหมแตละอยางอาจจะมีเจตนาบริสุทธิ์เพียงอยาง เดียว แตเมื่อความรูอันเปนผลที่ไดจากการศึกษานั้นปรากฏสูสายตาสาธารณชนแลว ความรูดังกลาวก็แทบจะพนไปจาก
  • 6. การควบคุมของผูสรางความรูไปอยางเด็ดขาด คลายๆ กับกรณีของ อัลเบิรต ไอนสไตน ที่หลังจากเผยแพรแนวทฤษฎี สัมพันธภาพออกสูสาธารณชนแลว ก็หมดอํานาจควบคุมทิศทางการพัฒนาองคความรูนี้ไปโดยปริยาย หากจะมีใครนําไป พัฒนาเปนระเบิดนิวเคลียรสักกี่รอยกี่พันลูก ไอนสไตน ก็ไมมีสิทธิ์จะไปหามได ดังนั้น ที่บิลล จอย กลาวเตือนเราเรื่องการวางแผนควบคุมการใชความรูและเทคโนโลยีจีเอ็นอารจึง ไมใชขั้นตอนหลังจากที่ความรูถูกเผยแพรออกไป แตจะตองเริ่มตั้งแตกระบวนการคนควาวิจัยอันเปนชวงเวลาที่ผูคิดคนยัง มีโอกาสควบคุมและกําหนดทิศทางการพัฒนาความรูของตนไดอยู เปรียบเสมือนการเลี้ยงดูบุตรหลานของตน พอแมก็มี หนาที่ตองอบรมเลี้ยงดูใหลูกหลานของตนเติบโตไปในทิศทางที่จะสรางความเจริญใหกับทั้งตนเองและสังคม ไมใชสราง อัจฉริยะโรคจิตออกไปสูสังคม เพราะเมื่อลูกโตเปนผูใหญมีความคิดเปนของตนเองแลว พอแมก็คงหมดสิทธที่จะไปชี้นําได อีก และเมื่อนั้นแหละที่กรรมจากการไมทําหนาที่บุพการีใหดีก็จะตามมาสนองใหพอแมตองทนทุกขไปตลอดชวงชีวิตที่ เหลือ หรือถาเปรียบกลับไปเปนเรื่องกรรมของสังคมเชนที่ที่ผูเขียนเคยกลาวไวขางตน นักวิทยาศาสตรที่ไมมีความ รับผิดชอบและสังคมโดยรวมก็ตองทนทุกขจากภัยที่มาจากเทคโนโลยีใหมๆ ที่ถูกคิดคนขึ้นมาเชนกัน ไมวาจะเปน ภัยจาก อาวุธนิวเคลียร อาวุธเคมี อาวุธชีวภาพ อุบัติภัยทางธรรมชาติจากการที่สิ่งแวดลอมถูกทําลาย และลาสุด ที่อาจจะมาถึง ในเร็ววันก็คือ การสูญสิ้นเผาพันธุมนุษยดวยผลผลิตจากเทคโนโลยีจีเอ็นอาร ความฉลาดของเครื่องจักร ความฉลาดของเครื่องจักรนับเปนอีกเรื่องหนึ่งที่มีผูวิตกกังวลกันมาก เพราะถาดูจากอัตราการพัฒนา ประสิทธิภาพของอิเล็กทรอนิกสและคอมพิวเตอรที่ดําเนินไปดวยความเร็วแบบกาวกระโดดเชนปจจุบันนี้ (กฏของมัวร) หลายคนเชื่อวาไมเกินป ค.ศ. 2030 คอมพิวเตอรก็จะมีความฉลาดมากขึ้นลานเทา จนเกินระดับความฉลาดของมนุษยไป ไกล เพราะมนุษยฉลาดเทาเดิม ในขณะที่เครื่องจักรฉลาดขึ้นปละกวาเทาตัว แตก็อีกนั่นแหละ ลําพังแคคําวา "ฉลาด" ก็ ดูจะเปนเรื่องที่วิเคราะหตีความไดคอนขางยากอยู เพราะไมมีจุดตัดที่ชัดเจนระหวางระบบคอมพิวเตอรที่ชาญฉลาดรูจัก คิดคํานวนไดดวยตนเองกับระบบคอมพิวเตอรที่ไมฉลาดเพราะตองทํางานทุกอยางตามที่มนุษยไดโปรแกรมไว ยกตัวอยางเชน ถาให มนุษยคํานวนสมการทางคณิตศาสตรแขง กับเครื่องคอมพิวเตอร เราคงจะบอกวา เครื่องคอมพิวเตอรฉลาดหมดทุกเครื่อง เพราะสามารถคิดคํานวนโจทยยากๆ ได เร็วกวา และถูกตองกวามนุษยทั้งๆ ที่ วิธีการคํานวนตางๆ นานานั้นเปนสิ่งที่ โปรแกรมเมอรไดปอนเขาไป ไมใชอยูๆ เครื่องคอมพิวเตอรจะเรียนรูและพัฒนา วิธีการคํานวนของตนขึ้นมาเอง เหมือนอยางโปรแกรมวินโดวส 2000 ที่วาฉลาดขึ้นกวาวินโดวส 95 หรือ 98 เยอะนั้น ก็ เปนผลจากที่วิศวกรคอมพิวเตอรของไมโครซอฟทปอนขอมูลคําสั่งใหมๆ เพิ่มเติมเขาไปทั้งนั้น ไมเคยเลยที่เราจะไดเห็น โปรแกรมหลานี้รูจักเรียนรูพัฒนารูปแบบการทํางานใหมๆ ขึ้นมาดวยตัวของมันเอง ดังนั้นในทางปฏิบัติ เมื่อพูดถึงความฉลาดเทียม หรือปญญาประดิษฐ (Artificial Intelligence) ของ คอมพิวเตอร จึงมักจะใชเกณฑของอลัน เทอรริ่ง (Turing test) เปนตัวตัดสิน โดยเทอรริ่งไดเสนอความคิดวาการวัด
  • 7. ความฉลาดของหุนยนตหรือเครื่องจักรใหออกมาเปนตัวเลขชัดเจนเปรียบกันไดนั้นเปนเรื่องยากแทบจะไมมีเปนไปไดจริง ในการปฏิบัติ ควรจะใชวิธีทดสอบรวมๆ กันไป ในแงที่ใชมนุษยเปนผูสังเกตุการณ ดวยการใหผูสังเกตุนั่งอยูในหองที่กั้น มานไวสองดาน ดานหนึ่งวางเครื่องคอมพิวเตอรไวสวนอีกดานหนึ่งเปนมนุษย จากนั้นใหผูสังเกตุสนทนาโตตอบกับคู เจรจาหลังมานทั้งสองดาน (อาจจะใชวิธีคียคําถามผานคียบอรด) หากผูสังเกตุการณมากกวา 50 % ไมสามารถแยกแยะ ไดวาหลังมานไหนเปนเครื่องคอมพิวเตอร ก็แสดงวาเครื่องคอมพิวเตอรเครื่องนั้นมีความฉลาดเทียม นอกจากนั้น ยังมีการจําแนกระบบปญญาประดิษฐตามลักษณะการใชงานออกเปนสองลักษณะ ลักษณะ แรกนั้นหมายถึงระบบปญญาประดิษฐที่เขามาทํางานแทนที่การตัดสินใจของมนุษยเลย มีศัพทเฉพาะเรียกวา "Strong AI" ยกตัวอยางเชน การสรางหุนยนตที่ทํางานเลียนแบบมนุษยไดจริงๆ หรือการสรางสิ่งชีวิตเสมือน (Virtual) ที่แมวาจะจับ ตองเนื้อตัวไมไดเหมือนหุนยนต แตก็สามารถตอบโตกับมนุษยไดประหนึ่งวามีตัวตนจริงๆ ตลอดจนอาจจะวิ่งเพนพานไป ในเครือขายการสื่อสารอยางอินเทอรเน็ตไดดวย สวนระบบปญญาประดิษฐลักษณะที่สองนั้นเรียกวา "Weak AI" ที่ไมได ถูกออกแบบมาทดแทนการตัดสินใจของมนุษย แตจะชวยใหมนุษยสามารถทํางานที่สลับซับซอนไดอยางมีประสิทธิภาพ เชน ระบบผูเชี่ยวชาญดานการบินที่ชวยควบคุมกลไกหลายๆ สวนภายในระบบควบคุมเครื่องบิน (นักบินเปนผูสั่งงาน) หรือระบบผูเชี่ยวชาญดานการรักษาที่คอยเตือนแพทยใหทราบวาควรเสริมการรักษาอะไรใหกับผูปวยบาง (แคแนะนํา แต จะทําหรือไมทํานั้นเปนวินิจฉัยของแพทย) อยางไรก็ตาม การศึกษาเกี่ยวกับปญญาประดิษฐนั้นมักจะมองแตความชาญฉลาดและความสามารถใน การเรียนรูของมนุษย โดยแทบไมใสใจวาสมองของมนุษยนั้นยังมีดานหนึ่งที่เรียกวาอารมณ (Emotion) ซึ่งควบคุมการ กระทําอยู โดยผลที่เกิดขึ้นจากอารมณนั้นอาจจะเปนไปในดานดีหรือดานรายก็ได เพราะความผิดพลาดของมนุษย (To err is human) นั้นสามารถจะเกิดขึ้นไดทั้งในขณะที่เจาตัวอารมณดีและอารมณราย ดังนั้น การเรียนรูความฉลาดของ มนุษยโดยไมพูดถึงอารมณก็ออกจะเปนเรื่องที่ผิดพลาดอยู ยกตัวอยางเชน การทดสอบความฉลาดเทียมแบบ Turring test นั้นก็มีขอแยงไดมากเมื่อคํานึงถึงเรื่องอารมณที่อาจจะเกิดขึ้นไดกับ มนุษยที่ทําตนเปนผูทดสอบ (observer) หนามาน และมนุษยที่เปน ตัวอยางของการทดสอบหลังมาน (control sample) เพราะมนุษยทุกคน ยอมมีอารมณและอคติเปนที่ตั้ง หากคําตอบที่ไดรับถูกตองจนยากจะเชื่อได วามาจากสมองของมนุษย ผูทดสอบยอมชี้ออกมาไดโดยงายวาฝงไหนของ มานคือคอมพิวเตอร ซึ่งหากจะทําใหแยกกันไมออกจริงๆ ระหวางคอมพิวเตอรกับมนุษย ผูทดสอบ Turring test ก็คงตอง แกไขใหคอมพิวเตอรมีการตอบที่ผิดพลาดไปตามวิสัยมนุษยไดบาง แตก็คงจะไมตรงกับเปาหมายของการทดสอบนัก เพราะการทดสอบนั้นตองการหาความฉลาดเทียม หรือปญญาประดิษฐ ไมใชทดสอบวาเหมือน/หรือไมเหมือนมนุษย ที่ อาจจะทําใหหลงทางไปไดไกล เพราะมนุษยนั้นมักจะตัดสินใจโดยอาศัยอารมณมากกวาความฉลาด ดังจะเห็นไดจากการ ที่แพทยบางคนที่เขาใจถึงกลไกทางพยาธิวิทยาของเหลาและบุหรี่ดี ก็ยังคงบริโภคสิ่งเสพติดเหลานี้ไดเปนปรกติ หรือพวก วีรชนที่มีบทบาทเรียกรองความเปนธรรมใหกับสังคมนั้น บางครั้งทั้งๆ ที่รูวาจะนําความตายมาสูตนเองก็ยังเดินหนาเขาสูช ตากรรมดังกลาว ฯลฯ นอกจากนั้น หากนักวิทยาศาสตรมุงพัฒนาคอมพิวเตอรใหเหมือนมนุษยกันจริงๆ ก็อาจจะเปนการเรงให โลกเราถูกทําลายลงไปไดรวดเร็วขึ้น เพราะเมื่อเราพิจารณาประวัติศาสตรของมนุษยชาติใหดี จะเห็นไดวามนุษยมีการ ตัดสินใจที่ผิดพลาดจนนําไปสูการทําลายลางเผาพันธุของมนุษยเองอยูบอยๆ ไมวาจะเปนสงครามโลกทั้งสองครั้ง การลา
  • 8. อาณานิคม การทําลายสิ่งแวดลอม การพัฒนาเทคโนโลยีใหมๆ ที่มีประสิทธิภาพในการทําลายสิ่งแวดลอมไดรุนแรงมาก ขึ้น ฯลฯ ดังนั้น ทางที่ดีนักวิทยาศาตรควรจะวางแผนกําหนดทิศทางการพัฒนาดานปญญาประดิษฐไวใหถูกตองเสียแต เนิ่นๆ หาทางทําใหคอมพิวเตอรมีความชาญฉลาดที่จะไมนําไปสูความผิดพลาดเหมือนมนุษย (ฉลาดในการทําลายตัวเอง) ประหนึ่งพอแมที่วางแผนอนาคตที่ดีใหกับบุตรหลานของตน พุทธศาสตรตานกระแสวัตถุนิยม จากที่ไดกลาวมาตั้งแตบทความเทคโนโลยีจีเอ็นอารตอนตน จะเห็นไดวาสิ่งที่เปนภัยคุกคามของ มนุษยชาติจริงๆ นั้นมิใชตัวเทคโนโลยี แตเปนจิตใจของมนุษยเอง จิตใจที่ใฝแตดานวัตถุ มุงแสวงหาความรูทาง วิทยาศาสตร และเทคโนโลยีมาเพื่อการตอบสนองความตองการดานวัตถุของตัวมนุษยเองเปนหลัก จนบางครั้งลืมนึกไป ถึงผลลัพธุที่จะติดตามมาในระยะยาว เชน ความกาวหนาในดานวิทยาศาสตรและเทคโนโลยีนั้นเมื่อดูผิวเผินอาจจะดู เหมือนเปนเรื่องดี เพราะทําใหมนุษยมีชีวิตความเปนอยูสะดวกสบาย มสขภพดขึ้น และมีอายุเฉลี่ยยืนยาวขึ้นอยางเห็นได ชัด แตเมื่อมองลงไปใหลึกกลับจะพบวามนุษยมีความทุกขมากขึ้น จากสภาพที่ตองถูกกระตุนใหมีการบริโภควัตถุอยาง เกินขีดพอดีจากสภาพสังคมรอบดาน มนุษยบริโภคมากเสียจนกระทั่งไปรบกวนสภาพแวดลอมทางธรรมชาติเกิดเปนภัยพิบัติอยางเอลนิญโญ และเอลนินาติดตามมา เทานั้นยังไมพอ ความตองการบริโภคของมนุษยมีมากเสียจนตองไปเบียดบังเอาจากเพื่อนมนุษย ดวยกันเอง ซึ่งถาเบียดบังกันหนักๆ ก็อาจจะนําไปสูสงคราม และภัยคุกคามดานอาวุธ ในขณะที่การเบียดบังกันแบบ เบาะๆ คอยเปนคอยไปก็จะกลายเปนลาอาณานิคมซึ่งคลี่คลายไปเปนการโจมตีคาเงิน การเขาครอบคลุมสภาพเศรษฐกิจ ในประเทศหนึ่งโดยนักธุรกิจกลุมเล็กๆ จากอีกประเทศ มีการแยงชิงทรัพยากรจากคนหมื่นลานคนทั่วโลกไปอยูในมือของ คนที่มีสถานะทางสังคมและเศรษฐกิจระดับสูงกวาเพียงไมถึงแสนคน มีคนเพียงไมกี่ลานที่ไดรับอนสงคจากความเจริญ ทางดานวัตถุ ทําใหมีคุณภาพชีวิตดีขึ้น แตมนุษยที่เหลืออีกนับเปนหมื่นลานทั่วโลกกลับตองเผชิญกับความทุกขยากจาก การแบงสรรทรัพยากรที่ไมเปนธรรม และของเสียที่หลงเหลือจากการเรงกระบวนการผลิตทางอุตสาหกรรม ลาสุด แมวาโลกเราจะพัฒนาจากระบบการผลิตแบบอุตสาหกรรมที่ใชทรัพยากรทางธรรมชาติมากๆ มี ของเสียเยอะๆ ไปสูระบบการผลิตที่มิตรกับธรรมชาติ หรือการพัฒนาที่ยั่งยืน (sustainable development) จนกระทั่งอุตสาหกรรมที่เนนในเรื่องสารสนเทศและ ความรูลวนๆ อยางอุตสาหกรรมคอมพิวเตอร หรือธุรกิจอี-คอมเมิรซ ที่แทบจะไมไดมี การนําเอาทรัพยากรจากธรรมชาติมาใชในกระบวนการผลิต หรือไมมีการระบายของ เสียจากกระบวนการผลิตออกสูธรรมชาติเลยก็ตาม สภาพความเหลื่อมล้ําในสังคม มนุษยก็ยังคงดํารงอยู เผลอๆ จะยิ่งมากขึ้นกวาเดิมเสียดวยซ้ํา เพราะชนชั้นลางของ สังคมยังคงมีโอกาสเขาถึงความรู หรือสารสนเทศไดนอยกวาเชนเดิม ที่หนักหนาสาหัสกวานั้นก็คือ แมกระทั่งตัวนักวิทยาศาสตรหรือชนชั้น นําของสังคมที่มีโอกาสไดเขาถึงทรัพยากรสําคัญของโลกคือ "ความรูและสารสนเทศ" ได มากกวาหรือรวดเร็วกวาผูคนกลุมอื่นๆ ก็ยังตองทนทุกขอยูกับกองกิเลศและความอยาก ไดที่ไมสิ้นสุดของตนอยูดี เพราะทุกวันนี้มีขอมูลความรูใหมๆ เกิดขึ้นมากมายในอัตรา เรวแบบกาวกระโดดเชนเดียวกับเทคโนโลยีสมัยใหมอื่นๆ สงผลใหโลกเรายิ่งสลับซับซอนยากทําความเขาใจมากยิ่งขึ้นไป อีก เมื่อบวกกับระบบการศึกษาสมัยใหมที่มุงเนนใหมนุษยแตละคนมีความรูความชํานาญที่ลึกและจําเพาะดานลงไป
  • 9. เรื่อยๆ มนุษยก็ยิ่งคับแคบและตื้นเขินขึ้นเรื่อยๆ ดังจะสังเกตุไดจากวิธีการแกปญหาของมนุษยสมัยใหมที่มักจะมุง แกปญหาเฉพาะหนาที่ตนเองเผชิญอยู เพียงเพื่อจะนํามาซึ่งปญหาใหมๆ ที่สลับซับซอนและแกยากขึ้นกวาเดิมไปเรื่อยๆ (technofix) ทางออกของมนุษยจึงไมใชการพยายามเรียนรูและกาวใหทันกับเทคโนโลยีสมัยใหมแตเพียงอยางเดียว เพราะถึงจะกาวใหเร็วเพียงไหนก็คงไมทัน (อยาลืมวาเทคโนโลยีสมัยใหมทุกอยางพัฒนาไปในอัตรากาวกระโดด ในขณะที่ สมองมนุษยแทบจะไมตางไปจากสมองของมนุษยยุคพุทธกาลเลย) ทางออกที่ดีสําหรับมนุษย คือจะตองหันกลับมาศึกษา ตนเอง กลับมาศึกษาถึงตัวตนและความเปนมนุษย เหมือนกับยุคที่พระสิทธัตถะพุทธเจา พระโมฮําหมัด พระเยชู เลาจื้อ ขงจื้อ อริสโตเติ้ล เดสการต ฯลฯ เคยศึกษา คนพบ และถายทอดใหกับสานุศิษยกันมากอนแลว โดยเฉพาะคําสอนของ องคสมเด็จสัมมาสัมพุทธเจาดวยแลว ก็ยิ่งจะมีความเปนอกาลิโก และตอบคําถามในโลกสมัยใหมที่วุนวายสับสนไดเปน อยางดี