SlideShare une entreprise Scribd logo
1  sur  17
Télécharger pour lire hors ligne
แปลกจริงหนอ !!
ของแจกฟรีแตมีกําไรมหาศาล
สุรพล ศรีบุญทรง
บทความป 1997
ขึ้นชื่อบทความอยางนี้ ผูอานหลายทานคงจะนึกแปลกใจวาผูเขียนไปติดโรคตลกฝดจากรายการหลัง
ขาวของชอง 7 สีทีวีเพื่อใครมาหรือ ? บางทานที่คิดลึกขึ้นไปอีกหนอยอาจจะสงสัยวาผูเขียนกําลังนําบุญมาบอก
เพราะบุญนั้นถึงจะตีคาราคาเปนตัวเงินไมไดแตก็อาจจะนํากําไรมหาศาลกลับคืนมา จนขนาดที่ผูนําบุญบางทานถึงกับ
ทุมเททําบุญกันจนสุดฤทธิ์สุดเดชชนิดกูหนี้ยืมสินกันไปทําบุญก็ยังมี ฉนั้นเพื่อไมใหเกิดจินตนาการเตลิดเปดเปงไปถึง
ขนาดนั้น ผูเขียนขอเฉลยเลยแลวกันวา สิ่งที่จะถูกพูดถึงตอไปในบทความคือ เรื่องของโปรแกรมระบบปฏิบัติการ
"ลีนุกซ (linux)" และบรรดา รหัสโปรแกรมพื้นฐานชนิดเสรีเปดกวาง (Open source code)
ความนาสนใจของโปรแกรมลีนุกซ และ
Open source code อยูตรงที่มันอนุญาตใหผูใช
คอมพิวเตอรสามารถเปดเขาไปดาวนโหลดมาใชไดฟรีๆ
ทางอินเทอรเน็ต ประหนึ่งวาเปนสมบัติสาธารณะ ใคร
ใครใชก็เอามาใชไมมีใครหามใครหวง เพียงแตมีขอผูกมัด
ทางจริยธรรมนิดหนอยวา เมื่อเอาสมบัติสาธารณะพวกนี้
ไปใชงานฟรีๆ แลว เวลาที่ไดผลงานอันมีคุณคามีประโยชนของตนออกมา ก็ควรจะมีการตอบแทนคืนกลับสูสังคม ดวย
การเปดโอกาสใหสาธารณชนไดมีโอกาสใชผลงานบางสวนที่ตนไดพัฒนาและปรับ ปรุงไปบางเทานั้น
ที่นาสนใจยิ่งไปกวานั้น คือ บรรดาซอฟทแวรสาธารณะที่แจกจายใหกันแบบฟรีๆ เหลานี้ ไดสราง
ผลตอบแทนในรูปรายไดที่เปนกอบเปนกําใหกับบรรดาบริษัท และหางรานที่เกี่ยวของ ถึงขนาดที่ผูผลิตผลิตภัณฑ
คอมพิวเตอรชั้นนําของโลกอยาง ไอบีเอ็ม, ซันส ไมโครซิสเต็มส, และ ออราเคิล ฯลฯ ตางอดรนทนไมไหวตองเขา
มารวมแจมกับสังคมของนักลีนุกซ ดังจะเห็นไดจากการที่มีผลิตภัณฑ คอมพิวเตอรภายใตนามของบริษัทชั้นนําเหลานี้
ที่ถูกออกแบบมาเพื่อการใชงานกับระบบปฏิบัติการลีนุกซ (Linux version) ใหเลือกใชงานกันบางแลว ใน
ขณะเดียวกัน นักวิจารณในแวดวงคอมพิวเตอรหลายๆ ทานถึงกับฟนธงลงไปเลยวา โปรแกรมลีนุกซ และ Open
Source code นี่แหละที่มีศักยภาพสูงพอจะแขงขัน และตอตานการครอบงําตลาดซอฟทแวรของบริษัทไมโครซอฟท
ได
บทเกริ่นเรื่อง "ลีนุกซ"
กอนที่กาวลึกลงไปในเรื่องบทบาทและความสําคัญที่
ระบบปฏิบัติการลีนุกซ และ Open Source code มีตอแวดวงอุตสาหกรรม
คอมพิวเตอรในปจจุบัน ผูเขียนขอเกริ่นถึงขอมูลเบื้องตนคราวๆ ของ
เทคโนโลยีดานซอฟทแวรสําคัญสองอยางนี้เสียกอนเพื่อใหผูซึ่งไมเคยใสใจ
หรือไมเคยรับรูถึงความหมายของพวกมันจะไดมีความเขาใจที่สอดคลองตองกับ
สิ่งที่ผูเขียนจะไดบรรยายถึงตอไป (ในกรณีที่ทานผู อานมีความเชี่ยวชาญใน
file : linux.doc page : 2
เรื่องโปรแกรมภาษาลีนุกซอยูแลว ก็ผานไปอานหัวขอถัดไปไดเลย เพื่อไมให เสียเวลา)
โปรแกรมลีนุกซคือระบบปฏิบัติการแบบมัลติทาสก (multitasking OS) ประเภทยูนิกซชนิดหนึ่งซึ่ง
ไดรับการพัฒนาขึ้นมาครั้งแรกในป ค.ศ. 1991 โดยนักศึกษาหนุมชาวฟนแลนด ชื่อ ไลนัส ทอรวาลด ระหวางที่เขา
กําลังศึกษาอยูในมหาวิทยาลัยเฮลซิงกิ (ชื่อของเขาสะกดเปนภาษาอังกฤษวา Linus Torvald ซึ่งถาจะอานออกเปน
สําเนียงฟนนิชคงตองออกเสียงเปน "ลีนุซ" และสําหรับชื่อของโปรแกรมนั้น ไลนัส ทอรวอลด ออกเสียงวา ลีนูคซ
(Lee-nooks) ในขณะที่ นักคอมพิวเตอร สหรัฐฯ นิยมออกเสียงใหสั้นขึ้นเปน ลินุคส (Lih-nucks))
จุดเดนที่ทําใหระบบปฏิบัติการลีนุกซไดรับความสนใจอยางสูงจากนักคอมพิวเตอรทั่วโลก อยูตรง
รูปแบบที่เรียบงายกระทัดรัด มุงเนนไปที่การสั่งงานระดับแกนกลางของระบบปฏิบัติการโดยตรง (kernel base) จึง
ทํางานไดรวดเร็ว และมีความเชื่อถือไดสูง (reliabilty) เมื่อเทียบกับระบบปฏิบัติการวินโดวส ดังจะสังเกตุไดวานัก
คอมพิวเตอรที่ใชระบบปฏิบัติการลีนุกซแทบจะไมตองสัมผัสกับอาการ เครื่องแฮงคเลยระหวางการใชงาน ไม
เหมือนกับเครื่องคอมพิวเตอรที่ใชวินโดวสเปนระบบปฏิบัติการ ซึ่งตองแกปญหาเครื่องแฮ็งคดวยการกด Ctrl-Alt-Del
หรือรีเซ็ทเครื่องกันวันละหลายๆ รอบ (ผู ใชวินโดวสอาจจะลองลงโปรแกรมลีนุกซใหกับเครื่องคอมพิวเตอรของตน
เพื่อทดสอบดูได เพราะลีนุกซสามารถอาน FAT ของวินโดวส เราจึงสามารถลงระบบปฏิบัติการสองตัวนี้ไวภาย ใน
เครื่องเดียวกันได)
การที่ระบบปฏิบัติการลีนุกซถูกออกแบบมาใหติดตอสื่อสารกับอารด
แวรคอมพิวเตอรในระดับแกนกลาง (kernel) โดยตรง ทําใหมันมีความเปนสากล
สูง สามารถนําไปติดตั้งใชงานกับเครื่องคอมพิวเตอรไดหลายๆ ตระกูล
(Multiplatform) ไมจํากัดวาจะเปนเครื่องคอมพิวเตอรในตระกูล พีซี (อินเทล) ,
แมคอินทอช, อมิกาส, อัลฟา, อตาริ, เพาวเวอร พีซี, ไอบีเอ็ม หรือ ซันส ไมโครซิส
เต็มส ฯลฯ นอกจากนั้น ความที่มันมีขนาดเล็กกระทัดรัด ยังทําใหมันไมตองการ
ทรัพยากรทางดานฮารดแวรมารองรับมากนัก แคเครื่องคอมพิวเตอรระดับ 386,
RAM 16 MB, และฮารดดิสกขนาด 120 MB ( ความตองการต่ําสุด) หรือขนาด
500 MB (กรณีที่ลงโปรแกรมชนิดครบถวนสมบูรณ) ก็สามารถรัน โปรแกรมลีนุกซ
ไดอยางสบายๆ แลว (แตถาอยากใหทํางานไดเร็วๆ คงตอง ใชเครื่องคอมพิวเตอรรุน 486, RAM 24 MB, HDD 1 GB
ขึ้นไป)
อยางไรก็ตาม จุดเดนที่นับวาสําคัญที่สุดในระบบปฏิบัติการลีนุกซคือมันใชรหัสโปรแกรมพื้นฐานแบบ
Open Source Code ที่เปดกวางใหผูสนใจเลือกหยิบดึงไปใชพัฒนาโปรแกรมซอฟทแวรของตนไดอยางฟรีๆ
กลาวๆไดวา Open Source code นั้นเปนสมบัติสาธารณะที่ชวยย้ําเตือนใหผูคนในแวดวงคอมพิวเตอร มีความเปน
มนุษยมากขึ้น รูจักที่จะใหคืนตอสังคมบาง (แทนที่จะมุงกอบโกยเงินตราเขามาไวมากๆ จน กลายเปนมหาเศรษฐี
อันดับตนๆ ของโลก) และดวยปรัชญาการแจกจายรหัสโปรแกรมพื้นฐาน ใหกับสาธารณะแบบใหเปลานี้เอง ทําให
โปรแกรมลีนุกซมีสภาพเปนสมบัติของโลกอยางแทจริง ไมมีผูใดสามารถอางความเปนเจาของในซอฟทแวรตัวนี้ไดอีก
ตอไป
แมกระทั่ง ไลนัส ทอรวอลด ผูใหกําเนิดโปรแกรมลีนุกซเอง ก็คงตองยอมรับในเรื่องความเปนสมบัติ
สากลของมัน เพราะหลังจากที่โปรแกรมลีนุกซไดรับการเผยแพรออกมาสูโลกเมื่อ 8 - 9 ป ที่แลว มันก็ไดรับ
file : linux.doc page : 3
ปรับปรุงแกไขสมรรถนะโดยบรรดาโปรแกรมเมอรจํานวนหลายพันรายทั่วโลก มีการปรับแกขอผิดพลาดในโปรแกรม
(bugs) กันแบบคนละมือละไม ใครเห็นวามีขอบกพรองตรงไหนก็ชวย กันปรับชวยกันแก หรือถาคิดวานาจะเติม
อะไรบางก็ชวยกันเสริมชวยกันเติมเขามา ดังจะเห็นไดจาก รูปแบบการทํางานใหมๆ (new features) ที่ไดรับการเพิ่ม
เสริมเขามาเรื่อยๆ
เมื่อโปรแกรมลีนุกซมีรูปแบบทันสมัยมากขึ้น และมีโปรแกรมประยุกตใหเลือกใชไดหลากหลายมาก
ยิ่งขึ้น ก็สงผลใหมีผูใชคอมพิวเตอรสมัครใจที่จะเลือกใชลีนุกซเปนระบบปฏิบัติการหลักในเครื่องคอมพิวเตอรมาก
ตามไปดวย อยางการสํารวจขอมูลผูใชลีนุกซในเดือนมีนาคมปที่แลวโดยบริษัทเรดแฮ็ทลีนุกซ ไดขอมูล ที่นาสนใจวามี
ปริมาณผูใชลีนุกซมากถึง 8 ลานรายทั่วโลก นอกจากนั้น ผลการสํารวจของบริษัทวิจัยอินเตอรเนชั่นแนลดาตาคอรป
ก็ระบุวามีความตองการติดตั้งโปรแกรมลีนุกซใหกับเครื่องเซิรฟเวอรมากกวา 750,000 เครื่อง และยังจะเพิ่มขึ้นไป
เรื่อยๆ จึงชวยย้ําใหเห็นกระแสความนิยมที่พุงขึ้นอยางพรวดพราดของ
โปรแกรมระบบปฏิบัติการลีนุกซไดเปนอยางดี
สําหรับผูที่ตองการทราบรายละเอียดเกี่ยวกับระบบปฏิบัติการ
ลีนุกซที่มากไปกวานี้ ใหลองเปดอานนิตยสารไอทีซอฟทเลมเกาๆ ยอนหลัง
ไปสักปสองปก็จะไดขอมูลมากมายเหลือเฟอ หรือถาจะใชวิธีสํารวจจาก
อินเทอรเน็ต ก็มีเว็บไซทที่ใหคําอธิบายเกี่ยวกับเรื่องของลีนุกซไดอยางดีเปน
จํานวนมาก ยกตัวอยางเชน เว็บเพจ
http://www.cnet.com/Content/Reports/Special/Linux/ ของซีเน็ท
นอกจากนั้น ถาใครอยากไปสัมผัสกับบรรยากาศของชุมชนนักเลนลีนุกซอ
ยางถึงรากถึงโคน ก็อาจจะลองเดินทางไปชมงานประชุมใหญ LinuxWorld
Conference and Expo ซึ่งมีการจัดขึ้นเปนประจําในชวงเดือนสิงหาคม
ของทุกป (ปนี้ งานจัดวันที่ 9 - 12 สิงหาคม ที่เมืองซานโฮเซ, แค ลิฟอรเนีย)
"Open Source Code" รหัสที่กําลังมาแรง
เมื่อเร็วๆ นี้ มหาวิทยาลัยสแตนฟอรดไดมีการจัดสัมนาเกี่ยวกับเรื่อง Open source code ขึ้นที่
หอประชุม Faculty Club โดยมีการเชิญบุคคลชั้นนําในวงการคอมพิวเตอรสหรัฐฯ ซึ่งเกี่ยวของและมีบทบาทสําคัญ
ในการพัฒนารหัสโปรแกรม Open Source code มารวมแสดงความคิดเห็นหลายทาน ไดแก โปรแกรมเมอรจาก
บริษัทเรดแฮ็ทซอฟทแวรเจาของผลิตภัณฑ Red Hat Linux ที่วากันวาเปน โปรแกรมลีนุกซที่ใชงานไดงายที่สุด,
แขกรับเชิญคนถัดมา คือ ประธานบริษัท (CEO) เซนดเมลอิงคซึ่งดําเนินธุรกิจเกี่ยวกับการรับสง อีเมลล
ทางอินเทอรเน็ต, ตัวแทนบริษัทวีเอรีเสิรชซึ่งประสบความสําเร็จจากการจัดจําหนายเครื่องคอมพิวเตอรซึ่งใชโปรแกรม
ลีนุกซเปนระบบปฏิบัติการหลัก, ตัวแทนจากบริษัท ซิกนุสซอฟทแวรซึ่งสามารถทํารายไดถึง 20 ลานเหรียญสหรัฐฯ
จากการใหบริการทางเทคนิคแกผูใช Open Source code และแขกรับเชิญคนสําคัญ ที่จะเวนไปเสียไมไดเลยก็คือ
ไลนัส ทอรวอลด ผูใหกําเนิดโปรแกรมลีนุกซตัวจริงเสียงจริง
วากันวาบรรยากาศของหองประชุม Faculty Club ในวันนั้น อุนขึ้นจากปริมาณผูฟงจํานวนมากที่ยืน
อัดกันแนนหองไปหมด มีทั้งนักศึกษาแตงตัวเซอรๆ อารมณรุนแรงที่พรอมจะเฮกันลั่นหองทุกครั้งที่มีการพูดถึงบริษัท
file : linux.doc page : 4
ไมโครซอฟทในเชิงตอตาน และนักศึกษาอีกกลุมที่แมจะแตงตัวเรียบรอย แตก็ใจรอนไมแพกัน เพราะหลายๆ คน
กําลังอยากรูวาไอเจา Open Source code ที่เขาสนใจนี้จะไปทํามาหากินสราง รายไดใหเปนกอบเปนกําไดอยางไร
บาง ความอุนในหองประชุมเริ่มเปลี่ยนสภาพเปนความรอน
มากขึ้นเมื่อประธานในที่ประชุมคอยแตจะโยนคําถามใหกับผู
รวมสัมนาคนอื่นๆ จนเหมือนกับจะลืมไปวามี ไลนัส ทอร
วอลด ซึ่งเปนผูกอสรางลีนุกซ และ Open Source code ตัว
จริงมารวมนั่งสัมนาอยูดวย
ความไมพอใจที่กอตัวขึ้นในหมูผูฟงนั้น ไม
อาจจะกลาวโทษวาเปนเพราะผูรวมสัมนาพูดไมดี ทุกคนที่
ไดรับเชิญมาตางลวนเปนผูที่ประสบความสําเร็จ และมีความรูความเขาใจในเรื่อง Open Source code กันเปนอยาง
ดีทั้งนั้น ปญหาอยูตรงที่ผูฟงอยากจะไดยินอะไรเด็ดๆ ออกมาจากปากของ ไลนัส ทอรวอลด โดยตรงเทานั้นเอง
ฉนั้น กอนที่ความไมพอใจจะกอตัวกลายไปเปนจราจล ไลนัส ทอรวอลด ก็ไดเอยตัดบทประธานในที่ประชุมขึ้นมา
แบบยิ้มๆ วา " ผมเองก็มีรูปแบบการดําเนินธุรกิจ (business model) เฉพาะตัวของผมเองอยูเหมือนกัน
และหลังจากจบการสัมนาครั้งนี้แลว ผมก็จะสงตอหมวกของผมออกไปใหกับผูฟงทั่วๆ หอง (pass my hat
around)"
ไมทันที่ไลนัส ทอรวอลด จะพูดจบประโยคดี บรรดาผูฟงในหองประชุมตางพากันหัวเราะชอบใจครืน
ใหญ ตรงนี้มีขอสังเกตุวาความสําเร็จและชื่อเสียงของไลนัส ทอรวอลด ไดสงผลใหคําพูดทุกคําของเขามีความหมาย
ขึ้นมาทันที ไมจํากัดวาเขาจะตั้งใจสื่อมันในลักษณะใด มุขตลกของเขาจะดูตลกมากและมีความหมายลึกซึ้งนาสนใจ
เสมอ (เชนที่บอกวาจะสงตอหมวกนั้น โดยทั่วไปแสลง Pass someone hat มีความหมายงายๆ วาเปนการสงหมวก
เวียนไปรอบๆ หองเพื่อเรี่ยไรสตางค แตทุกคนในหองตางลวน รูกันอยูในใจวาเปนการลอเลน และไลนัส ทอรวอลด
คงไมสงหมวกมาเรี่ยไรเงินจากตนจริงๆ แน อยางไรก็ตาม หากคิดใหลึกไปกวานั้นก็เปนไปไดวาไลนัส ทอรวอลด
อาจจะถือโอกาสแซวผลิตภัณฑ Red Hat Linux ที่ทํามาหากินอยางเปนล่ําเปนสันจากผลงานที่มีตนกําเนิดมาจาก
มันสมองของเขาไปในตัวดวยก็ได)
ในกรณีของการสัมนาที่มหาวิทยาลัยสแตนฟอรดนี้ หลายคนอาจจะมองอารมณตอบสนองรุนแรงที่
บรรดาผูฟงในหองประชุมมีตอ ไลนัส ทอรวอลด วาเปนเพียงกระแสนิยมที่ปรากฏขึ้นอยางวูบวาบเหมือนแฟชั่น ของ
เด็กวัยรุน แตการตอบรับของบรรดานักธุรกิจในวงการอุตสาหกรรมคอมพิวเตอร ก็ชวยย้ําเตือนใหเห็นกระแสความ
นิยมของระบบปฏิบัติการลีนุกซ และ Open Source code ไดเปนอยางดี จนสงผลใหนิตยสารคอมพิวเตอรชั้นนํา
อยาง Wired ตองมอบหมายใหสองคอลัมนิสตสําคัญ อยาง แอนดรูว เลนเนิรด และสเตฟาน โซโมกิ มาชวยกัน
วิเคราะหถึงทิศทางและแนวโนมในอนาคตของระบบปฏิบัติการลีนุกซ ไวในนิตยสารฉบับเดือนพฤษภาคมที่ผานมา
ภายใตชื่อคอลัมน Open Season และ Free Enterprise ซึ่งผูเขียนถือโอกาสนําเอาบทความสองสามเรื่องนี้มายํา
เขาดวยกัน แลวสรุปออกมาเลาสูกันฟง
รูปที่ 1 แสดงใหเห็นกระแสความนิยมในระบบปฏิบัติการลีนุกซที่ทวีขึ้นสูงมากในรอบ ปสองปนี้ เชน
เทียบปริมาณผูใชโปรแกรมลีนุกซระหวางป ค.ศ. 1997 กับป 1998 จะเห็นวามีสัดสวนเพิ่มขึ้น
file : linux.doc page : 5
เกือบสองรอยเปอรเซนต (จาก 6.8 % ไปเปน 17.2 %) โดยเฉพาะในตลาดซอฟทแวร
สําหรับเครื่องเซิรฟเวอรนั้น ปรากฏวาผลิตภัณฑ Apache มีสวนแบงตลาดเพิ่ม ขึ้นจาก 45.1 %
ไปเปน 54.2 % ในชวงหนึ่งปที่ผานมา
การแสวงหารายไดจากของฟรี
ปญหาที่หลายคนยังอาจจะสงสัยอยูเกี่ยวกับการทําธุรกิจดวยโปรแกรมลีนุกซ และ Open Source
code คือ เราจะหารายไดจากสิ่งของที่เขาแจกกันฟรีๆ ไดอยางไร คําตอบคือ วิธีการที่จะใหไดมาซึ่งประโยชนจาก
ของฟรีสองอยางนี้แหละคือที่มาของรายได เพราะถึงแมวาตัวโปรแกรมและรหัสคําสั่งพื้นฐานของลีนุกซจะเปนของ
ฟรี แตถาใครไมเคยเรียนรูภาษาลีนุกซมาอยางเพียงพอ หรือไมมีเวลาแสวงหาอุปกรณทั้งซอฟทแวรและฮารดแวรมา
ใชงานรวมกันมัน ก็คงตองอาศัยความสะดวกจากบริษัทหรือหางรานที่เขามีความเพียบพรอมและความชํานาญมากกวา
ชองทางธุรกิจที่เกี่ยวของกับโปรแกรมลีนุกซนั้น
ไดแก การเปดบริษัทขึ้นมาเพื่อใหบริการดานเทคนิค (tech
support) แกผูใชคอมพิวเตอร, การจัดสรางผลิตภัณฑลีนุกซออก
มาจําหนายในรูปชุดโปรแกรมสําเร็จรูป, การใหบริการสนับสนุน
และการอัพเกรดโปรแกรมใหเปนระยะๆ, การพัฒนาโปรแกรม
ประยุกตขึ้นมาเพื่อใชสําหรับระบบปฏิบัติการลีนุกซเปนการ
เฉพาะ (Linux applications) ยกตัวอยางเชนโปรแกรมประเภทออฟฟซ เวิรด หรือโปรแกรมจัดการขอมูลทางบัญชี
อะไรทํานองนี้, หรือบริษัทผูผลิตจําหนายเครื่องคอมพิวเตอรบางรายก็อาจจะประกอบเครื่องคอมพิวเตอรซึ่งใชลีนุกซ
เปนระบบปฏิบัติการหลักออกจําหนายเสียเลย เพราะจะชวยทุนคาลิขสิทธิ์กินเปลาที่ตองจายใหกับเสือนอนกิน อยาง
ไมโครซอฟทไปไดเปนเงินไมนอยตอเครื่องคอมพิวเตอรแตละเครื่อง
นอกจากนั้น กระแสความนิยมในระบบปฏิบัติการลีนุกซยังสงผลใหบริษัทคอมพิวเตอรชั้นนําอยาง
ไอบีเอ็มไดประกาศแผนการณที่จะนําเอาโปรแกรมอปาเช (Apache) มาใชเปนแนวทางในการพัฒนาผลิตภัณฑรุน
ถัดไปของตน พรอมกับปราวนาตัววาพรอมจะใหการรองรับระบบปฏิบัติการลีนุกซในโอ กาสตอๆ ไป (โปรแกรม
Apache คือ โปรแกรมในตระกูล Open Source code คลายๆ ลีนุกซที่ออกแบบมาสําหรับการทํางานบนเครื่องเว็บ
เซิรฟเวอรโดยเฉพาะ) ในขณะเดียวกัน ยักษใหญดานซีพียูอยางอินเทลก็ไดเริ่มคืบเขาสูตลาดลีนุกซดวยการลงทุนซึ้อ
กิจการบางสวนของบริษัทเร็ดแฮ็ทซึ่งเปนผูพัฒนาโปรแกรมตระกูลลีนุกซรายสําคัญ
สวนทางดานซอฟทแวรนั้น บริษัทคอเรลก็ไดพัฒนาโปรแกรมเวิรดเพอรเฟครุนใหมขึ้นมาสําหรับการรัน
บนระบบปฏิบัติการลีนุกซโดยเฉพาะ จนแทบจะกลาวไดวามีบริษัทคอมพิวเตอรออกมาประกาศตัวสนับสนุน แนวคิด
เรื่อง Open Source code กันแทบจะทุกวัน (ตรงนี้มีขอสังเกตุวา สํานวนนักคอมพิวเตอร ฝรั่งเขาเรียกการปราว
นาตัวสนับสนุนแนวคิด Open Source code วาเปนการ going Open Source ทํายังกับสมัยที่พวกเกยยังไมเปนที่
ยอมรับในสังคม หากใครเปดตัวออกมาวาเปนเกยก็มักจะ เรียกวาเปนการออกมาจากตู)
คาซอฟทแวรถูกแตคาบริการไมแน !
file : linux.doc page : 6
เปนที่ยอมรับกันโดยทั่วไปวา แนวคิดเรื่อง Open Source code ของระบบปฏิบัติการลีนุกซนั้นมี
พัฒนา การรวมกับการพัฒนาของอินเทอรเน็ตมาโดยตลอด และถาจะพูดกันใหชัดๆ ลงไปแลว ก็คงตองบอกวาลีนุกซ
และ Open Source code นั้นมีจุดกําเนิดมาจากมันสมองของบรรดานักแฮ็ก (Hackers) ที่เปนสมาชิกผูบุกเบิกรุน
แรกของอินเทอรเน็ตนั่นเอง ดังนั้น แนวคิดดั้งเดิมของของมันจึงมีลักษณะอุดมคติลวนๆ ไมไดมีนักแฮ็กคนไหนคิดจะ
ทํามาหากินใหไดเงินไดทองเปนกอบเปนกําจากการแจกจายรหัสโปรแกรมลีนุกซ และ Open Source code ออกไป
ฟรีๆ อยางนี้
นอกจากนี้ กระบวนวิธีคิดของนักแฮ็กก็มักจะไมมีเรื่อง
ของธุรกิจเขามาเจือปน พวกเขาพัฒนา ซอฟทแวร Open Source
code ขึ้นมาเพื่อตอบสนองความอยากรูอยากเห็นและแกปญหาของ
ตนเองเปนหลัก (แอนดรูว เลนเนิรด เรียกการตอบสนองความอยากรู
ของนักแฮ็กวาเปนการเกาแกคัน หรือ scratch thier itch) ฉนั้น ผู
ที่คิดจะใชงานระบบปฏิบัติการลีนุกซยุคแรกๆ จึงตองทําใจ
คอนขางมากกับความยุงยากในการใชงาน จะมาคาดหวังการลากเมาส
คลิ้กเรียกโปรแกรมโนนโปรแกรมนี้ขึ้นมาใชไดงายๆ หรือเวลาเกิด
ปญหาในการใชงานโปรแกรมจะเรียกเปดโปรแกรมชวยเหลือแบบ
Interactive help ขึ้นมาดูเหมือนระบบปฏิบัติการวินโดวส หรือแมคอินทอช คงไมได (หลายคนสรุป วาการพัฒนาลี
นุกซนั้น ไมคอยมีแนวคิด User-friendly interface เขามาเกี่ยวของ)
หากผูบริหารองคกรรายใดคิดจะนําเอาโปรแกรมลีนุกซไปใชเปนระบบปฏิบัติการหลักสําหรับ
เครือขายเน็ตเวิรกภายในสํานักงานของตน ก็คงตองคิดใครครวญใหดี เพราะถึงแมวาตัวโปรแกรมจะฟรี หรือมีราคา
คาดาวนโหลดที่ถูกมาก แตคาใชจายหนักๆ จะไปตกอยูที่การอบรมพนักงาน และคาบริการดานเทคนิค โดยเฉพาะใน
กรณีที่บุคลากรภายในหนวยงานไมคอยมีความรูดานคอมพิวเตอร หรือเปน พนักงานประเภทตอตานการพัฒนาดวย
แลว คาใชจายในสวนนี้จะทวีสูงขึ้นอยางมหาศาล ดังจะเห็นไดจากตารางที่ 1 ซึ่งเปรียบเทียบคาใชจายในการติดตั้ง
LAN ขนาด 10 Incident calls ระหวางผลิต ภัณฑวินโดวส เอ็นที ของไมโครซอฟท และผลิตภัณฑ Red Hat Linux
ของบริษัทเรดแฮ็ท
จากขอมูลในตารางที่ 1 แมวาคาใชจายโดยรวมในการติดตั้ง LAN ของลีนุกซจะต่ํากวาวินโดวสเอ็นที
เกือบสี่เทา ($5,544.70 เทียบกับ $21,453) แตคาใชจายมากกวาครึ่งหนึ่งของลีนุกซแลนจะตกหนักอยูกับคาบริการ
สนับสนุนดานเทคนิค (support fee $2,995) ซึ่งแพงกวาคาบริการ ของวินโดวสเอ็นทีถึงหนึ่งเทาตัว และจะยิ่งแพง
หนักขึ้นไปอีก หากวาเครือขายเน็ตเวิรกมีการขยายขนาดใหใหญขึ้น เชน ถาเพิ่มขนาดเน็ตเวิรกขึ้นไปถึงระดับที่ตองใช
บริการดานเทคนิคชนิดเต็มสเกล (2 4/7/365) ของเร็ดแฮ็ทลีนุกซ คาใชจายสวนคาบริการดานเทคนิคนี้ก็มีมากถึง
$60,000 เลยทีเดียว
ในทางตรงกันขาม หากเปนการใชบริการจากไมโครซอฟท คาใชจายดานเน็ตเวิรกขององคกรจะมี
แนวโนมลดต่ําลงไปเรื่อยๆ หากจํานวนเครื่องคอมพิวเตอรที่รับบริการมีจํานวนเพิ่มมากขึ้น เชนถามีการติดตั้ง
โปรแกรมใหกับเครื่องคอมพิวเตอร 25 เครื่อง ราคาคาโปรแกรมก็จะปรับลดลงไปจากการซื้อโปรแกรมเดี่ยวๆ ถึง 18
% (คาใชจายสําคัญอยางหนึ่งที่ทําใหผลิตภัณฑดาน LAN ของไมโครซอฟท มีราคาแพงคือคา client-access
file : linux.doc page : 7
license ที่ตองจายกันเปนรายเครื่อง เชน ในเน็ตเวิรกขนาด 2 5 เครื่องนั้น
ลูกคาของไมโครซอฟทตองจายคาไลเซนตสําหรับโปรแกรมวินโดวส เอ็นที $31
ตอเครื่อง และโปรแกรมเอ็กเชนจในอัตรา $56 ตอเครื่อง)
ตารางที่ 1 นิตยสาร Wired มอบหมายให ไมเคิล เดอโนวิช
ลองเปรียบเทียบระหวางคาใชจายในการติดตั้ง LAN ขนาด 10
Incident calls ดวยผลิตภัณฑวินโดวส เอ็นที ของไมโครซอฟท
และผลิตภัณฑ Red Hat Linux ของบริษัทเรดแฮ็ท โดยรวมเอา
คาใชจายสําหรับการติดตั้งโปรแกรมประยุกตตัวหลักๆ ที่มักจะไดรับการติดตั้ง
ใชงานในสํานักงาน อยาง โปรแกรมเวิรด โพรเซสเซอร, โปรแกรมส
เปรดชีต, และ โปรแกรมนําเสนอขอมูล ไวดวย
อนาคตของลีนุกซ
การที่ระบบปฏิบัติการลีนุกซถูกกอกําเนิดขึ้นมาในลักษณะที่เหมือนไมตั้งใจ ไมมีการวางแผนการตลาด
ลวงหนา และไมคิดจะงอลูกคา ทําใหเปนเรื่องยากอยูเหมือนกันที่จะคาดเดาอนาคตของลีนุกซ และ Open Source
code ไวลวงหนา เพราะถาอยูมาวันใดวันหนึ่ง ไลนัส ทอรวอลด บอกวาเขาเหนื่อยแลว เขาไมอยากจะคิดพัฒนา
อะไรในตัวโปรแกรมลีนุกซอีกตอไปแลว วงการนักเลนลีนุกซก็อาจจะตองควางไปพักใหญเพราะไมมีหัวเรือใหญคอย
กําหนดทิศทางการพัฒนาผลิตภัณฑ (ไลนัส ทอรวอลด เปนคนที่มีบทบาทมากในการพัฒนาสวน Kernel ที่ถือวาเปน
หัวใจสําคัญของลีนุกซ)
อีกทั้งยังมีความคลุมเครืออยูมากเกี่ยวกับเรื่องการจดทะเบียนลิขสิทธิ์ สิทธิบัตรของซอฟทแวรที่ถูก
พัฒนามา จากรากฐานของลีนุกซอีกตอหนึ่ง (โปรแกรมประยุกตที่จะมีปญหามากคือโปรแกรมประเภทที่ใชเฉพาะ
งานมากๆ และเกี่ยวพันตอความเปนความตายของมนุษยมากๆ อยางเชน โปรแกรมที่ใชควบคุมกระบวน การรักษาโรค
เพราะโปรแกรมทํานองนี้มักจะมีสัดสวนกําไรสูงมาก)
กระนั้น จุดที่หลายคนมองวาเปนจุดดอยนี้ก็อาจจะนับเปนจุดเดนของระบบปฏิบัติการลีนุกซไดดวย
เหมือนกัน เพราะความที่ไมมีเจาเขาเจาของที่ชัดเจน ทําใหโปรแกรมลีนุกซมีการพัฒนาไปไดอยางไมจํากัด ใคร คิดจะ
พัฒนาอยางไรก็ทําได ไมถูกกีดกั้นไวดวยปญหาลิขสิทธิ์ อีกทั้งยังเปดโอกาสใหบริษัทซอฟทแวรรายเล็กๆ สามารถ
แจงเกิดไดในโลกอุตสาหกรรมคอมพิวเตอร เพราะมันคือสมรภูมิเดียวที่นัก คอมพิวเตอรทุนนอยจะใชแขงขันกับบริษัท
ใหญๆ ทุนหนาๆ ได ยกตัวอยางเชนผลิตภัณฑอปาเชที่กําลังประสบความสําเร็จคอนขางมากในเรื่อง Web server
นั้น ก็อาศัยชองวางที่โปรแกรมลีนุกซเปดไว ใหนี้กาวขึ้นมาเปนผูนําตลาดไดในที่สุด
แอนดรูว เลนเนิรด มองวาการดําเนินกิจกรรมในลักษณะที่ตางคนตางชวยกันพัฒนาสังคมคอมพิวเตอร
โดยรวมรวมกัน อยางการแจกจายโปรแกรมซอฟทแวรที่ตนพัฒนาขึ้นมาฟรีออกไปทางอินเทอรเน็ตนี้เปน รูปแบบ
เศรษฐกิจเฉพาะอยางหนึ่ง อาจจะเรียกวา "ระบบเศรษฐกิจน้ําใจ" หรือ "Gift economy" ก็คงจะได โดยระบบ
เศรษฐกิจน้ําใจที่วานี้เริ่มดําเนินมาตั้งแตทศวรรษที่ 80s แลว เพียงแตในระยะแรกนั้นมันยังไมปรากฏภาพออกมาให
file : linux.doc page : 8
เห็นอยางชัดเจน ดวยถูกบดบังจากผลสําเร็จของบรรดาบริษัทที่ทํากําไรอยางเปนกอบเปนกําจากระบบซอฟทแวร
ลิขสิทธิ์ผูกขาด (ตัวอยางผูสําเร็จในระบบเศรษฐกิจผูกขาดดานซอฟทแวร ไดแก บริษัทไมโครซอฟทนั่นเอง)
อยางไรก็ตาม ในชวงทศวรรษ 90s นี้ ระบบเศรษฐกิจน้ําใจกลับเขามามีบทบาทสําคัญในแวดวง
อุตสาหกรรมคอมพิวเตอรมากขึ้น เพราะผูคนที่เกี่ยวของกับการแจกจายซอฟทแวรออกไปฟรีนั้นเริ่มจะไดรับ
ความสําเร็จทั้งในแงชื่อเสียงและรายไดตอบแทนเปนจํานวนมาก ไมวาจะเปน มารค แอนเดรสเสน ที่พัฒนาโปรแกรม
โมเสอิค (โปรแกรมตนแบบของเน็ตสเคป) แลวแจกจายออกไปใหนักคอมพิวเตอร ไดใชงานกันไดฟรีๆ จนสงผลให
อินเทอรเน็ตดังระเบิดเถิดเทิงไปทั่วอยางในขณะนี้ หรือ ไลนัส ทอรวอลด ที่เรากําลังพูดถึงเปนหลักในบทความเรื่อง
นี้
อาจจะกลาวไดวา ระบบเศรษฐกิจน้ําใจที่วานี้ จะยังคงไมทําผลกําไรตอบแทนกลับมามากมายเปนกอบ
เปนกําเหมือนบรรดาบริษัทที่มุงไปที่กําไรจากการขายซอฟทแวรเปนหลัก แตดวยปริมาณสมาชิกอินเทอรเน็ตที่มักจะ
มีจิตสํานึกรวมกันในสมบัติสาธารณะ ก็เปนเรื่องคอนขางแนชัดวาปรัชญาการดําเนินธุรกิจแบบเศษฐกิจน้ําใจจะกลาย
สภาพเปนสิ่งจําเปนตออุตสาหกรรมคอมพิวเตอรอยางแนนอน ชนิดที่วาตอไปนี้ผูประกอบการในธุรกิจคอมพิวเตอร
ทุกรายจะตองกําหนดนโยบายการตลาดใหสอดคลองกับระบบเศรษฐกิจน้ําใจ จะมองมันแคเปนทางเลือกหนึ่งของการ
ดําเนินธุรกิจไมไดอีกแลว
สํารวจชองทางธุรกิจลีนุกซ
ไหนๆ ก็พูดเรื่องความสดใสในอนาคตของระบบปฏิบัติการลีนุกซ และ Open
Source code มาตั้ง มากตั้งมายแลว ทีมงานบรรณาธิการนิตยสาร Wired คงเกรงวาผูอาน
จะมองภาพพจนไดไมชัด เกี่ยวกับชองทางดําเนินธุรกิจดวย Open Source code จึงสง
แพทริเซีย ครูเกอร ออกไปเที่ยว สํารวจดูวามีบริษัทหางรานใดบางที่ไดรับความสําเร็จจาก
การดําเนินธุรกิจดวยการแจกรหัสคําสั่ง Open Source code ออกไปฟรีๆ
ในจํานวนบริษัทคอมพิวเตอรตัวอยาง 21 ราย ที่แพทริเซีย ครูเกอรไดออกไป
เที่ยวสํารวจมานั้น มีขอสังเกตุวาสวนใหญมักจะเปนบริษัทเล็กๆ พนักงานไมกี่สิบราย มีอยู
ไมถึงหาบริษัทที่มีจํานวนพนักงาน เกินรอย และสวนใหญมักจะเปนบริษัทที่เพิ่งไดรับการ
กอตั้งขึ้นมาในชวงหาหกปมานี้เอง บริษัทที่ เกาแกที่สุดอยางซิกนุสโซลูชั่น ก็ยังมีอายุไดเพียง
10 ป เทานั้นเอง
สําหรับรูปแบบการดําเนินธุรกิจของบริษัทคอมพิวเตอรเหลานี้อาจจะแยกออกเปนประเภทหลักๆ ได
สองประเภท คือ ประเภทที่มุงไปที่การพัฒนาซอฟทแวรเพื่อจําหนายจายแจก แลวอาศัยรายไดจากการใหบริการดาน
เทคนิค กับบริษัทประเภทที่มุงผลิตสินคาฮารดแวรมาใชสําหรับรันระบบปฏิบัติการลีนุกซกัน เปนการเฉพาะ สวน
รายละเอียดบริการที่แตละบริษัทมีอยูนั้นก็ไดแก
 การพัฒนาซอฟทแวรจาก Open Source code แลวอัดยอไฟลลใหขนาดเล็กกระทัดรัด (shrinking -wrapping)
เพื่อรอใหลูกคามาดาวนโหลดโปรแกรมไปใชโดยอาจจะคิดคาบริการแบบสินน้ําใจเล็กๆ นอย,
 การพัฒนาระบบปฏิบัติการขึ้นมาใหมๆ (New OS developments) โดยปรับปรุงจาก Open Source code ให
มีความสะดวกงายดายในการใชงานมากขึ้น
file : linux.doc page : 9
 การพัฒนาโปรแกรมประยุกตขึ้นมาเพื่อรันบนระบบปฏิบัติการแบบ Open Source code โดยเฉพาะ (OSS
applications developments) เชน อาจะพัฒนาโปรแกรมเวิรด, สเปรดชีต, เกมส ฯลฯ สําหรับลีนุกซ
 ปรับปรุงซอฟทแวรสวนที่จะมาเสริมประสิทธิภาพ (enhancements for OSS) ในการทํางานใหกับบรรดา
ระบบปฏิบัติการประเภท Open Source code ที่มีใชงานกันอยู
 พัฒนาอุปกรณฮารดแวรขึ้นมาเพื่อใชรวมกับระบบปฏิบัติการประเภท Open Source code โดยตรง (New
hardware for OSS)
 พัฒนาซอฟทแวรตัวใหมจาก Open Source code ใหมีความเหมาะสมเฉพาะกับหนวยงานธุรกิจที่เปน ลูกคา
ของตัวเองโดยตรง ( Open Source software customization)
 ใหบริการดานคําปรึกษาแกลูกคาที่อาจจะมีปญหาจากการใชงาน Open Source code (Consulting services)
 พัฒนาระบบปฏิบัติการรูปแบบเฉพาะเพื่อใหบริการแกลูกคาที่ไมใชภาษาอังกฤษเปนภาษาหลัก (Non -English
OS development)
 ใหบริการสนับสนุนดานเทคนิคแกบรรดาโปรแกรมเมอรที่เกี่ยวของกับรหัสคําสั่ง Open Source code (Tech
support for developers)
 ใหบริการสนับสนุนดานเทคนิคแกบรรดาผูใชคอมพิวเตอรที่สนใจในระบบปฏิบัติการแบบ Open Source code
(Tech support for end users)
ตัวอยางผูประสบความสําเร็จในธุรกิจจาก Open Source code
 Caldera Systems : บริษัทที่เพิ่งไดรับการกอตั้งมาปกวาๆ และมีจํานวนพนักงาน อยูแค 50 คนรายนี้
นับวามีอัตราการเติบโตสูงมาก เพราะเพิ่งไดรับการจัดลําดับใหเปนผูจําหนายซอฟทแวรรายใหญอันดับสาม
สําหรับตลาดซอฟทแวรกลุมเซิรฟเวอรตระกูลลีนุกซ โดยรูปแบบธุรกิจหลักของบริษัทนี้จะอยูที่การพัฒนา
โปรแกรมประยุกตขึ้นมาเพื่อใชกับระบบปฏิบัติการลีนุกซเปนการเฉพาะ มีทั้งซอฟทแวรสําหรับการใชงานบน
อินเทอรเน็ต, อินทราเน็ต, สําหรับเครื่องคอมพิวเตอรที่พวงกันอยูเปนเครือขายเน็ตเวิรก และเครื่องคอมพิวเตอร
ที่ใชงานแบบเดี่ยวๆ (standalone)
 Linuxcare : ไดรับการกอตั้งขึ้นในป ค.ศ. 1998 มีจํานวนพนักงานทั้งหมด 30 คน มุงเนนไปที่การ
ดําเนินธุรกิจในฐานะของที่ปรึกษาทางเทคนิคใหกับผูใชระบบปฏิบัติการลีนุกซเปนการเฉพาะ รวมทั้งยังมีบริการ
ดานการใหคําปรึกษา (Consulting) และบริการดานการศึกษา (Education) ควบคูกันไปดวย ผลสําเร็จที่เห็น
ไดชัดหลังจากตั้งบริษัทมาไดเพียงปกวาๆ คือ การที่เพิ่งไดรับเงินทุนสนับสนุนกอนโตจากกลุมธุรกิจ Sand Hill
Group ในชวงเดือนกุมภาพันธที่ผานมา
 Penguin Computing : กอตั้งขึ้นในป ค.ศ. 1998 มีจํานวนพนักงานแค 20 คน ดําเนินธุรกิจดวยการ
ผลิตเครื่องคอมพิวเตอรระดับเซิรฟเวอรขึ้นมาจําหนายโดยใชโปรแกรมลีนุกซเปนระบบปฏิบัติการหลัก
นอกจากนั้น ยังมีทีมงานวิศวกรสําหรับใหคําปรึกษา บริการฝกอบรม และรับแกปญหาอันเนื่องมาจากการใช
โปรแกรมลีนุกซโดยเฉพาะ
file : linux.doc page : 10
 The Puffin Group : บริษัทคอมพิวเตอรขนาดจิ๋วที่มีจํานวนพนักงานแค 10 คนรายนี้ ดูเหมือนจะ
วาจะถูกกอตั้ง (ค.ศ. 1998) ขึ้นมาเพื่อรับงานเฉพาะกิจ เพราะธุรกิจหลักที่บริษัท The Puffin Group ทําอยู คือ
การเขียนโปรแกรมลีนุกซเพื่อปอนใหกับเครื่องคอมพิวเตอร ระดับ PA-RISC ของบริษัทฮิวเล็ตต-แพ็คการดเปน
การเฉพาะ
 Scriptics : ไดรับการกอตั้งขึ้นในป ค.ศ. 1998 มีจํานวนพนักงานทั้งหมดแค 20 คน รับจางผลิตและ
จําหนายโปรแกรมประเภททูลลที่ใชชุดภาษา Scripting Language แบบ Open Source code เปนการ
เฉพาะ รวมทั้งดําเนินธุรกิจใหคําปรึกษาแกผูใช Open Source code โดยทั่วไปอีกดวย เทาที่ทราบในขณะนี้ก็
มีบริษัทชั้นนําในสหรัฐฯ หลายรายที่เปนลูกคาของ Scriptics อยู ไดแก บริษัท AOL, Cisco, และ Lucent
 AbiSource : กอตั้งขึ้นในป ค.ศ. 1997 มีจํานวนพนักงาน 15 คน ดําเนินธุรกิจผลิตโปรแกรมประยุกต
สําหรับใชรันบนระบบปฏิบัติการลีนุกซ และวินโดวส, ใหบริการดานเทคนิค และคําปรึกษาแกผูสนใจ แถมยัง
ใจดีแจกจายโปรแกรมซอฟทแวรบางสวน (shrinked-wraped software) ใหผูใชอินเทอรเน็ตไดดาวนโหลดมา
ใชงานไดฟรีๆ อีกดวย
 Sendmail Inc. : เปนธุรกิจ Open Source code ที่กอกําเนิดขึ้นมา โดยตั้งเปาไปที่ลูกคากลุม
ศูนยบริการอินเทอรเน็ต (ISPs) และผูใชบริการอีเมลลทั่วโลกโดยเฉพาะ ( กอตั้งในป ค.ศ. 1997 มีจํานวน
พนักงาน 65 คน)
 Cobalt Networks : กอตั้งขึ้นในป ค.ศ. 1996 มีจํานวนพนักงาน 80 คน เปนบริษัทจําหนายเครื่อง
คอมพิวเตอรที่ริเริ่มนําเอาบรรดา Open Source code และโปรแกรมระบบ ปฏิบัติการของฟรีอยางลีนุกซ,
Perl, Apache, และ Samba มาใชติดตั้งบนผลิตภัณฑเซิรฟเวอรที่ตน เองจําหนาย ทําใหสามารถตั้งราคา
จําหนายต่ํากวาพันเหรียญได
 The Linux Mall : ศูนยการคาบนอินเทอรเน็ตรายนี้เปนตัวอยางที่ดีของการใชทรัพยากรมนุษย
อยางมีประสิทธิภาพ เพราะถึงแมวาจะไดการกอตั้งมานานกวาสี่ปแลว ( ค.ศ. 1995) แตจํานวนพนักงานที่
รับผิดชอบใหบริการยังคงจํากัดอยูแค 10 คนเทานั้น โดยสินคา ที่ศูนยการคา Linux Mall มีจําหนายสวนใหญ
ก็หนีไมพน พวกโปรแกรมประยุกตที่ออกแบบมาจากบรรดารหัสคําสั่ง Open Source code และพวกที่ถูก
ออกแบบมาสําหรับการทํางานบนโปรแกรมระบบปฏิบัติการแจกฟรีอยางลีนุกซ หรืออปาเช อะไรทํานองนี้
นอกจากนี้ยังดําเนินธุรกิจใหคําปรึกษาดานเทคนิค แกลูกคาที่ซื้อซอฟทแวรไปจากตนดวยอีกตางหาก
 Lutris Technologies : เปนบริษัทใหคําปรึกษาเกี่ยวกับการดําเนินธุรกิจบนอินเทอรเน็ต ไดรับการ
กอตั้งขึ้นในป ค.ศ. 1995 มีจํานวนพนักงาน 35 คน ผลงานลาสุดที่ปรากฏสูตลาดในชวงเดือนมกราคม คือ
การพัฒนาโปรแกรมประยุกตดวยภาษาจาวาขึ้นมา ใชกับเครื่องเซิรฟเวอร โดยทางบริษัท Lutris
Technologies ไมมีแผนการจัดจําหนายโปรแกรมภาษาจาวาที่วานี้ แตจะใชวิธีแจกจายใหกับสมาชิกของตน
แบบฟรีๆ
 Whistle Communications : ไดรับการกอตั้งขึ้นในป ค.ศ. 1995 มี จํานวนพนักงาน 70 คน
ดําเนินธุรกิจทางดานฮารดแวร โดยการประยุกตเอาเทคโนโลยี Open Source code และระบบปฏิบัติการ
แจกฟรี อยางลีนุกซ, Sendmail, Apache, Samba, และ FreeBSD มาใชติดตั้งเขากับอุปกรณคอมพิวเตอร
file : linux.doc page : 11
ราคาถูก ซึ่งไดรับการออกแบบมาเพื่อใชสําหรับการสื่อสารบนอินเทอรเน็ตเปนการเฉพาะ (InterJet Net
Appliance) นอกจากนั้น ยังรับใหคําปรึกษาเกี่ยวกับการจัดสรางเครือขายเน็ตเวิรกใหกับบรรดาหนวยงาน
ธุรกิจขนาดยอมๆ โดยทั่วไป อีกดวย
 ArsDigita : กอตั้งขึ้นในป ค.ศ. 1994 มีจํานวนพนักงานทั้งหมดแค 10 คน เปนตัวอยางของธุรกิจบน
อินเทอรเน็ตที่เติบโตแบบชาๆ คอยเปนคอยไป โดยนําเอารหัสคําสั่งแบบ Open Source code มาใชพัฒนา
ชุดโปรแกรมทูลลรูปแบบเฉพาะตัวของตนเอง (Open-source Toolkits) จากนั้นก็นําเอาผลงานของตัวเองนี่แห
ละมาใหบริการแบบบริษัทที่ปรึกษา กอตั้งเปนชุมชนออนไลนที่มีกลุมสมาชิกขนาดยอมๆ เวลามีขาวสารอะไรที่
อยากจะเผยแพรแกลูกคาและมวลสมาชิก ก็ใชบุลเลตินบอรดของตนเปนที่เผยแพรขาวสาร
 C2Net : ไดรับการกอตั้งมาตั้งแตป ค.ศ. 1994 โดยครั้งแรกดําเนินธุรกิจให บริการอินเทอรเน็ต (ISPs)
กอน ตอมาเมื่อวิทยายุทธแกกลาขึ้น ก็เลยหันมาพัฒนาโปรแกรมกลุมอปาเชสําหรับเครื่องเซิรืหเวอรเพื่อ
จําหนายดวย ปจจุบัน มีจํานวนพนักงานทั้งหมด 25 คน
 Red Hat Software : จัดไดวาเปนธุรกิจลีนุกซที่ทํามาคาขึ้นมาก ที่สุด เพราะถาพิจารณาจาก
จํานวนเครื่องคอมพิวเตอรเซิรฟเวอรและไคลเอนตที่มีการติดตั้งระบบปฏิบัติการลีนุกซทั่วโลกขณะนี้ เชื่อวากวา
ครึ่งหนึ่งเปนโปรแกรม Red Hat Linux และดวยความ สําเร็จที่ผานๆ มานี้ ก็สงผลใหบริษัท Red Hat
Software มักจะไดรับการจับตามองจากนักสังเกตุการณดานคอมพิวเตอรเสมอเวลาที่มีการพูดถึง
ระบบปฏิบัติการลีนุกซ
ลาสุด ทราบวาบริษัท Red Hat software เพิ่งไดรับการ
เซ็นสัญญากจากบริษัทไอบีเอ็มใหชวย ออกแบบ
ระบบซอฟทแวรสําหรับเครื่องคอมพิวเตอร ของไอบีเอ็ม รวมทั้งยัง
ผูกพันสัญญาระยะะยาวเกี่ยวกับการบริการ หลังการขายอีกดวย (ถา
ใครศึกษาประวัติศาสตรของวงการ คอมพิวเตอรใหดี ก็จะ
พบวาบริษัทไมโครซอฟทสมัยที่ยังเล็กๆ ก็เคย รับจางเขียนโปรแกรม
ดอสใหกับไอบีเอ็มมากอน) นอกจากนี้ บริษัท Red Hat
Software ยังไดรับเงินทุนสนับสนุนจาก บริษัทคอมพิวเตอรชั้นนํา
อีกหลานราย ไมวาจะเปน คอมแพ็ค, ออราเคิล หรือ โนเวลล สงผลใหบริษัทคอมพิวเตอรที่เคยมีขนาด
เล็กๆ (ชวงกอ ตั้งป ค.ศ. 1994) มีการขยายขนาดขึ้นอยางรวดเร็ว ปจจุบัน มีการวาจางพนักงานไวมากถึง
100 คน
 VA Research : บริษัทคอมพิวเตอรซึ่งถูกกอตั้งขึ้นในป ค.ศ. 1993 และมี จํานวนพนักงาน 55 คน
รายนี้ นับเปนเจาตํารับการผลิตและจําหนายเครื่องเวิรกสเตชั่นที่มีโปรแกรมลีนุกซเปนระบบปฏิบัติการ
อยางไรก็ตาม ธุรกิจของบริษัท VA Reasearch ไมไดจํากัดอยูเฉพาะดานฮารดแวร แตยังครอบถึงการบริกร
ทางดานซอฟทแวรลีนุกซประเภทตางๆ อีกดวย อีกทั้งยังเปน เจาของเว็บไซท Linux.com ที่คอยใหบริการ
ดานขาวสารขอมูลตอผูสนใจในโปรแกรมลีนุกซเปนการ เฉพาะอีกดวย
 Pacific HiTech : บริษัทซอฟทแวรลีนุกซสัญชาติซามูไรเจาของผลิตภัณฑ TurboLinux รายนี้ เริ่ม
กอตั้งขึ้นในป ค.ศ. 1992 มีจํานวนพนักงานทั้งหมด 50 คน และไดรับการจัดลําดับวาเปนผูผลิตผลิตภัณฑลีนุ
file : linux.doc page : 12
กซรายใหญอันดับสี่ของโลก ลาสุด กําลังขับเคี่ยวกับบริษัท Red Hat Software เพื่อครอบครองสวนแบงตลาด
ลีนุกซในประเทศสหรัฐฯ
 SuSe : จัดวาเปนบริษัทซอฟทแวรลีนุกซขาใหญรายหนึ่ง มีจํานวนพนักงานมากถึง 130 คน และ ไดรับ
การกอตั้งมาตั้งแตป ค.ศ. 1992 ธุรกิจหลักๆ ที่ดําเนินอยูคือการจัดจําหนายและ เผยแพรโปรแกรม
ระบบปฏิบัติการลีนุกซที่ทางบริษัทไดพัฒนาขึ้นเอง มีธุรกิจเสริมเปนการจัดจําหนาย โปรแกรมระบบปฏิบัติการ
ยี่หออื่นๆ อยางเชน Aplixware ความยิ่งใหญของ SuSe อยูที่การครองสวนแบงตลาดลีนุกซในยุโรปไดมากที่สุด
สวนในสหรัฐอเมริกานั้นเปนรองอยูแค Red Hat Software เทานั้น
 Berkeley Software Design Inc. : บริษัทชื่อ เดียวกับสาขาของมหาวิทยาลัยชื่อดังของโลกราย
นี้ ไดรับการกอตั้งขึ้นในป ค.ศ. 1991 มีจํานวนพนัก งาน 35 คน ไมทราบวามีความเกี่ยวของอยางไรก็
มหาวิทยาลัยแคลิฟอรเนีย ณ เบอรกเลย ถึงได มุงเปาการพัฒนาผลิตภัณฑไปที่การประยุกตโปรแกรมลีนุกซไป
เพื่อการทํางานกับระบบปฏิบัติการ BSD/OS
file : linux.doc page : 13
 Cyclades : ไดรับการกอตั้งขึ้นในป ค.ศ. 1991 มีจํานวนพนักงาน 150 คน เปนผูผลิตอุปกรณ
ฮารดแวรเพื่อรองรับการสื่อสารระหวางเครื่องคอมพิวเตอรเครือขายที่ไดรับการยอม รับคอนขางมากในหมู
นักเลนลีนุกซ ไมวาจะเปนอุปกรณเราทเตอร, แผงวงจรอนุกรม, หรือระบบ เชื่อมโยงไรสาย ฯลฯ ผลิตภัณฑ
ฮารดแวรของ Cyclades ไดรับการสนับสนุนยืนยันจากวารสาร Linux Journal วาเปนอุปกรณที่เหมาะกับการ
สื่อสารภายใตระบบปฏิบัติการลีนุกซมากที่สุด
 Walnut Creek CDROM : กอตั้งขึ้นในป ค.ศ. 1991 มีจํานวน
พนักงาน 30 คน ดําเนินธุรกิจเกี่ยวกับการพัฒนาชุดโปรแกรมสําเร็จรูปจาก
ชุดคําสั่ง Open Source code เปนหลัก เชน ผลิตภัณฑกลุม
FreeBSD/OS ก็ไดรับการยอมรับใชงานโดยเว็บไซทชื่อดังอยาง Yahoo!
และ HotMail ในขณะที่โปรแกรมประยุกต Slackware ก็ไดรับการตอนรับ
เปนอยางดีจากบรรดา หนวยงานธุรกิจขนาดยอม โดยโปรแกรม
Slackware นี้คอนขางมีชื่อเสียงในเรื่องทนทาน ไมเสีย ไมแฮ็งคงายๆ เวลา
ที่ตองรับกับสภาพการใชงานหนักๆ
 Cygnus Solutions : เปนบริษัทผูประกอบธุรกิจดาน Open
Source code ที่คอนขางเกา ไดรับการกอตั้งมาตั้งแตป ค.ศ. 1998 ปจจุบัน มีจํานวนพนักงาน 180 คน ได
พัฒนาโปรแกรมสําเร็จรูปซึ่งมีรากฐานมาจาก Open Source code ออกจําหนายจายแจกหลายตอ หลายรุน
ดวยกันแลว ยกตัวอยาง eCos OS (บางรุนก็ขาย บางรุนก็แจกฟรี ใครอยากรูวามีอะไร แจกฟรีบางคงตอง
เปดไปดูที่เว็บไซทของ Cygnus Solutions เองวาพอจะมีอะไรใหดาวนโหลดมา ใชบาง)
ตารางที่ 2 แสดงใหเห็นชื่อ และชนิดของธุรกิจที่ประสบความสําเร็จจากการนําเอา Open Source
code และระบบปฏิบัติการลีนุกซไปใชพัฒนาผลิตภัณฑ
file : linux.doc page : 14
"Cobalt Networks"
กรณีศึกษาของธุรกิจ Open Source
บริษัทโคบอลต เน็ตเวิรก (Cobalt Networks) คือหนึ่งในกิจการที่ประสบความสําเร็จสูงมากจากการ
นําเอา Open Source code ไปประยุกตใช โดยทางบริษัทสามารถจําหนายเครื่องเซิรฟเวอรออกไปไดมากกวาหนึ่ง
หมื่นเครื่องในชวงระยะเวลาไมถึงหนึ่งป (นับจาก เดือนมีนาคม 1998 ถึงมีนาคม 1999) สงผลใหบริษัท โคบอลต
เน็ตเวิรกเจริญเติบโตขึ้นอยางรวดเร็ว มีการขยายสาขาจากสํานักงานใหญที่เมืองซิลิคอน วัลเลย ออกไปในหลายๆ
เมืองของสหรัฐ ฯ มีการกอตั้งบริษัทสาขาไวในตางประเทศ ทั้งใน ญี่ปุน, เยอรมัน, อังกฤษ, และเนเธอรแลนด ฯลฯ
ในชวงระยะเวลาไมถึงสามปนั้น บริษัทโคบอลต เน็ตเวิรกไดเพิ่มจํานวนพนักงานจาก 14 คน ไปเปน
80 คน แถมยังวางแผนเจาะเขาไปในตลาดที่บริษัทคอมพิวเตอรสวนใหญยังไมคอยใหความสนใจเทาใดนัก อยางเชน
ญี่ปุน, จีน และรัสเซีย โดยเฉพาะในญี่ปุนนั้น ทางบริษัทโคบอลต เน็ตเวิรก หมายมั่น ปนมือวาจะพยายามผลักดันให
ผลิตภัณฑคอมพิวเตอรมาตรฐานสําหรับหนวยงานธุรกิจทั่วๆ ไป ใหได ซึ่งผลจากการพัฒนาอยางกาวกระโดดเชนนี้
สงผลใหไดรับความสนใจเขารวมกิจการจากกลุมลงทุนชั้นนําทั่วโลก ไมวาจะเปน NTT, Mitsui Comtek, France
Telecom, Chase Capital Partners, Tech Fund Capital, Vanguard Venture Partners, หรือ Crystal
Internet Venture Fund ฯลฯ
อยางไรก็ตาม หากเราศึกษาลงลงไปในประวัติการกอตั้งบริษัทโคบอลต เน็ตเวิรก ก็จะพบความจริงที่
นาสนใจวา ชวงปลายป ค.ศ. 1996 ที่ วิเวก เมหรา, มารค ออร และ สตีเฟน เดอวิตต เริ่มกอรางสรางบริษัทโค
บอลต เน็ตเวิรกนั้น ศัพทคําวา Open Source ยังไมไดรับการรับรูในหมูผูใชคอมพิวเตอรเลย จวบจนกระทั่งเดือน
มีนาคม 1998 ที่บริษัทโคบอลต เน็ตเวิรก เริ่มเปดตัวสินคารุนแรกออกสูตลาดนั่นแหละ ที่พวกเขาไดเริ่มตระหนักวา
การนําเอาระบบปฏิบัติการลีนุกซมาติดตั้งบนเครื่องคอมพิวเตอรของตนสามารถทํากําไรยอนกลับมาไดเปนกอบเปนกํา
ทีเดียว
กอนที่จะมีการกอตั้งบริษัทโคบอลต เน็ตเวิรก นั้น สตีเฟน เดอวิตต เคยดํารงตําแหนงเปนรองประธาน
และกรรมการผูจัดการของบริษัทซิสโก ในขณะที่ วิเวก เมหรา และ มารค ออร ก็ทํางาน เปนผูบริหารระดับสูงอยูที่
บริษัทแอปเปล (เมหราอยูฝายวิศวกรรม สวนออรอยูฝายการตลาด) พวก เขามารวมหัวกันวาทําอยางไรถึงจะผลิต
เครื่องคอมพิวเตอรที่มีความเหมาะสมตอการทํางานเปนเครื่อง Web Server โดยมีเปาหมายวาผลิตภัณฑ
คอมพิวเตอรที่จะผลิตออกมานั้นจะตองใชงานไดงายๆ และมีราคาไมแพง พวกเขามองเห็นอนาคตของเครื่อง
คอมพิวเตอรรุนนี้วาจะตองทําเงินใหอยางมหาศาล หาก สามารถครองสวนแบงตลาดสินคากลุมนี้ไดมากพอ
ตรงนี้อาจจะตองยอนกลับไปอีกนิด เริ่มจากรายงานผลการสํารวจตลาดคอมพิวเตอรป 1996 ของ
บริษัทวิจัย Zona Research ที่ไดพยากรณอนาคตของอุตสาหกรรมคอมพิวเตอรไววา กอนสิ้นป ค.ศ. 1999 ตลาด
เครื่องเซิรฟเวอรสําหรับอินเทอรเน็ต (Web server) จะมีการเติบโตขึ้นไปถึงระดับ 2 พันลานเหรียญสหรัฐฯ ในขณะ
ที่ตลาดเครื่องเซิรฟเวอรสําหรับอินทราเน็ตก็จะโตขึ้นไปไดถึงระดับ หนึ่งหมื่นสองพันลานเหรียญ (การพยากรณนี้มี
โอกาสเกิดขึ้นจริงไดสูงมาก เพราะจากยอดจําหนายโดยรวมในปที่แลว ปรากฏวา ตลาดเครื่องเว็บเซิรฟเวอรโดยรวม
คือ 1.3 พันลานเหรียญ และยอด จําหนายของเครื่องเซิรฟเวอรสําหรับอินทราเน็ตมีมูลคาเทากับ 7.3 พันลานเหรียญ)
Linuxของแจกฟรีแต่มีกำไร
Linuxของแจกฟรีแต่มีกำไร
Linuxของแจกฟรีแต่มีกำไร

Contenu connexe

Plus de Surapol Imi

เคล็ดลับวินโดวส์ ไอทีซอฟต์ ปีที่ 7 ฉบับที่ 81 ธ.ค. 2541 87-102
เคล็ดลับวินโดวส์  ไอทีซอฟต์   ปีที่ 7 ฉบับที่ 81 ธ.ค. 2541 87-102 เคล็ดลับวินโดวส์  ไอทีซอฟต์   ปีที่ 7 ฉบับที่ 81 ธ.ค. 2541 87-102
เคล็ดลับวินโดวส์ ไอทีซอฟต์ ปีที่ 7 ฉบับที่ 81 ธ.ค. 2541 87-102 Surapol Imi
 
เมื่อต้องใช้เครื่องแมคอินทอชรันวินโดวส์
เมื่อต้องใช้เครื่องแมคอินทอชรันวินโดวส์เมื่อต้องใช้เครื่องแมคอินทอชรันวินโดวส์
เมื่อต้องใช้เครื่องแมคอินทอชรันวินโดวส์Surapol Imi
 
แนะวิธีเปิดร้านบนอินเทอร์เน็ต
แนะวิธีเปิดร้านบนอินเทอร์เน็ตแนะวิธีเปิดร้านบนอินเทอร์เน็ต
แนะวิธีเปิดร้านบนอินเทอร์เน็ตSurapol Imi
 
ระบบสั่งงานคอมพิวเตอร์ด้วยเสียง
ระบบสั่งงานคอมพิวเตอร์ด้วยเสียงระบบสั่งงานคอมพิวเตอร์ด้วยเสียง
ระบบสั่งงานคอมพิวเตอร์ด้วยเสียงSurapol Imi
 
Personal videoconference system
Personal videoconference systemPersonal videoconference system
Personal videoconference systemSurapol Imi
 
ปกิณกะคดีในแวดวงพีซีปี1998
ปกิณกะคดีในแวดวงพีซีปี1998ปกิณกะคดีในแวดวงพีซีปี1998
ปกิณกะคดีในแวดวงพีซีปี1998Surapol Imi
 
Van หนึ่งในธุรกิจมาแรงของสหรัฐ
Van  หนึ่งในธุรกิจมาแรงของสหรัฐVan  หนึ่งในธุรกิจมาแรงของสหรัฐ
Van หนึ่งในธุรกิจมาแรงของสหรัฐSurapol Imi
 
ศึกหลายด้านของไมโครซอฟท์
ศึกหลายด้านของไมโครซอฟท์ศึกหลายด้านของไมโครซอฟท์
ศึกหลายด้านของไมโครซอฟท์Surapol Imi
 
Telecommuting เมื่อออฟฟิซเป็นฝ่ายวิ่งมาหาคน
Telecommuting เมื่อออฟฟิซเป็นฝ่ายวิ่งมาหาคนTelecommuting เมื่อออฟฟิซเป็นฝ่ายวิ่งมาหาคน
Telecommuting เมื่อออฟฟิซเป็นฝ่ายวิ่งมาหาคนSurapol Imi
 
Realtime computing
Realtime computingRealtime computing
Realtime computingSurapol Imi
 
Psion vs win ce
Psion vs  win ce Psion vs  win ce
Psion vs win ce Surapol Imi
 
สุดยอดประดิษฐกรรมและการค้นพบแห่งปี 96
สุดยอดประดิษฐกรรมและการค้นพบแห่งปี 96สุดยอดประดิษฐกรรมและการค้นพบแห่งปี 96
สุดยอดประดิษฐกรรมและการค้นพบแห่งปี 96Surapol Imi
 
อุปกรณ์ลูกผสมPctv
อุปกรณ์ลูกผสมPctvอุปกรณ์ลูกผสมPctv
อุปกรณ์ลูกผสมPctvSurapol Imi
 
คอมพิวเตอร์ปี 2000
คอมพิวเตอร์ปี 2000คอมพิวเตอร์ปี 2000
คอมพิวเตอร์ปี 2000Surapol Imi
 
คอมพิวเตอร์รุ่นพกกระเป๋า
คอมพิวเตอร์รุ่นพกกระเป๋าคอมพิวเตอร์รุ่นพกกระเป๋า
คอมพิวเตอร์รุ่นพกกระเป๋าSurapol Imi
 
Open doc คำจำกัดความใหม่ของระบบเปิด
Open doc คำจำกัดความใหม่ของระบบเปิดOpen doc คำจำกัดความใหม่ของระบบเปิด
Open doc คำจำกัดความใหม่ของระบบเปิดSurapol Imi
 
กลิ่น สื่อมัลติมีเดียชนิดล่าสุด
กลิ่น  สื่อมัลติมีเดียชนิดล่าสุด กลิ่น  สื่อมัลติมีเดียชนิดล่าสุด
กลิ่น สื่อมัลติมีเดียชนิดล่าสุด Surapol Imi
 
Object oriented computing พยุหยาตราของเหล่า objects
Object oriented computing พยุหยาตราของเหล่า objectsObject oriented computing พยุหยาตราของเหล่า objects
Object oriented computing พยุหยาตราของเหล่า objectsSurapol Imi
 
นู๊ดออนไลน์ อันตรายของนักคอมพิวเตอร์วัยเยาว์
นู๊ดออนไลน์ อันตรายของนักคอมพิวเตอร์วัยเยาว์นู๊ดออนไลน์ อันตรายของนักคอมพิวเตอร์วัยเยาว์
นู๊ดออนไลน์ อันตรายของนักคอมพิวเตอร์วัยเยาว์Surapol Imi
 

Plus de Surapol Imi (20)

เคล็ดลับวินโดวส์ ไอทีซอฟต์ ปีที่ 7 ฉบับที่ 81 ธ.ค. 2541 87-102
เคล็ดลับวินโดวส์  ไอทีซอฟต์   ปีที่ 7 ฉบับที่ 81 ธ.ค. 2541 87-102 เคล็ดลับวินโดวส์  ไอทีซอฟต์   ปีที่ 7 ฉบับที่ 81 ธ.ค. 2541 87-102
เคล็ดลับวินโดวส์ ไอทีซอฟต์ ปีที่ 7 ฉบับที่ 81 ธ.ค. 2541 87-102
 
เมื่อต้องใช้เครื่องแมคอินทอชรันวินโดวส์
เมื่อต้องใช้เครื่องแมคอินทอชรันวินโดวส์เมื่อต้องใช้เครื่องแมคอินทอชรันวินโดวส์
เมื่อต้องใช้เครื่องแมคอินทอชรันวินโดวส์
 
แนะวิธีเปิดร้านบนอินเทอร์เน็ต
แนะวิธีเปิดร้านบนอินเทอร์เน็ตแนะวิธีเปิดร้านบนอินเทอร์เน็ต
แนะวิธีเปิดร้านบนอินเทอร์เน็ต
 
ระบบสั่งงานคอมพิวเตอร์ด้วยเสียง
ระบบสั่งงานคอมพิวเตอร์ด้วยเสียงระบบสั่งงานคอมพิวเตอร์ด้วยเสียง
ระบบสั่งงานคอมพิวเตอร์ด้วยเสียง
 
Personal videoconference system
Personal videoconference systemPersonal videoconference system
Personal videoconference system
 
ปกิณกะคดีในแวดวงพีซีปี1998
ปกิณกะคดีในแวดวงพีซีปี1998ปกิณกะคดีในแวดวงพีซีปี1998
ปกิณกะคดีในแวดวงพีซีปี1998
 
Van หนึ่งในธุรกิจมาแรงของสหรัฐ
Van  หนึ่งในธุรกิจมาแรงของสหรัฐVan  หนึ่งในธุรกิจมาแรงของสหรัฐ
Van หนึ่งในธุรกิจมาแรงของสหรัฐ
 
ศึกหลายด้านของไมโครซอฟท์
ศึกหลายด้านของไมโครซอฟท์ศึกหลายด้านของไมโครซอฟท์
ศึกหลายด้านของไมโครซอฟท์
 
Telecommuting เมื่อออฟฟิซเป็นฝ่ายวิ่งมาหาคน
Telecommuting เมื่อออฟฟิซเป็นฝ่ายวิ่งมาหาคนTelecommuting เมื่อออฟฟิซเป็นฝ่ายวิ่งมาหาคน
Telecommuting เมื่อออฟฟิซเป็นฝ่ายวิ่งมาหาคน
 
Realtime computing
Realtime computingRealtime computing
Realtime computing
 
Psion vs win ce
Psion vs  win ce Psion vs  win ce
Psion vs win ce
 
สุดยอดประดิษฐกรรมและการค้นพบแห่งปี 96
สุดยอดประดิษฐกรรมและการค้นพบแห่งปี 96สุดยอดประดิษฐกรรมและการค้นพบแห่งปี 96
สุดยอดประดิษฐกรรมและการค้นพบแห่งปี 96
 
อุปกรณ์ลูกผสมPctv
อุปกรณ์ลูกผสมPctvอุปกรณ์ลูกผสมPctv
อุปกรณ์ลูกผสมPctv
 
PCI local bus
PCI  local busPCI  local bus
PCI local bus
 
คอมพิวเตอร์ปี 2000
คอมพิวเตอร์ปี 2000คอมพิวเตอร์ปี 2000
คอมพิวเตอร์ปี 2000
 
คอมพิวเตอร์รุ่นพกกระเป๋า
คอมพิวเตอร์รุ่นพกกระเป๋าคอมพิวเตอร์รุ่นพกกระเป๋า
คอมพิวเตอร์รุ่นพกกระเป๋า
 
Open doc คำจำกัดความใหม่ของระบบเปิด
Open doc คำจำกัดความใหม่ของระบบเปิดOpen doc คำจำกัดความใหม่ของระบบเปิด
Open doc คำจำกัดความใหม่ของระบบเปิด
 
กลิ่น สื่อมัลติมีเดียชนิดล่าสุด
กลิ่น  สื่อมัลติมีเดียชนิดล่าสุด กลิ่น  สื่อมัลติมีเดียชนิดล่าสุด
กลิ่น สื่อมัลติมีเดียชนิดล่าสุด
 
Object oriented computing พยุหยาตราของเหล่า objects
Object oriented computing พยุหยาตราของเหล่า objectsObject oriented computing พยุหยาตราของเหล่า objects
Object oriented computing พยุหยาตราของเหล่า objects
 
นู๊ดออนไลน์ อันตรายของนักคอมพิวเตอร์วัยเยาว์
นู๊ดออนไลน์ อันตรายของนักคอมพิวเตอร์วัยเยาว์นู๊ดออนไลน์ อันตรายของนักคอมพิวเตอร์วัยเยาว์
นู๊ดออนไลน์ อันตรายของนักคอมพิวเตอร์วัยเยาว์
 

Linuxของแจกฟรีแต่มีกำไร

  • 1. แปลกจริงหนอ !! ของแจกฟรีแตมีกําไรมหาศาล สุรพล ศรีบุญทรง บทความป 1997 ขึ้นชื่อบทความอยางนี้ ผูอานหลายทานคงจะนึกแปลกใจวาผูเขียนไปติดโรคตลกฝดจากรายการหลัง ขาวของชอง 7 สีทีวีเพื่อใครมาหรือ ? บางทานที่คิดลึกขึ้นไปอีกหนอยอาจจะสงสัยวาผูเขียนกําลังนําบุญมาบอก เพราะบุญนั้นถึงจะตีคาราคาเปนตัวเงินไมไดแตก็อาจจะนํากําไรมหาศาลกลับคืนมา จนขนาดที่ผูนําบุญบางทานถึงกับ ทุมเททําบุญกันจนสุดฤทธิ์สุดเดชชนิดกูหนี้ยืมสินกันไปทําบุญก็ยังมี ฉนั้นเพื่อไมใหเกิดจินตนาการเตลิดเปดเปงไปถึง ขนาดนั้น ผูเขียนขอเฉลยเลยแลวกันวา สิ่งที่จะถูกพูดถึงตอไปในบทความคือ เรื่องของโปรแกรมระบบปฏิบัติการ "ลีนุกซ (linux)" และบรรดา รหัสโปรแกรมพื้นฐานชนิดเสรีเปดกวาง (Open source code) ความนาสนใจของโปรแกรมลีนุกซ และ Open source code อยูตรงที่มันอนุญาตใหผูใช คอมพิวเตอรสามารถเปดเขาไปดาวนโหลดมาใชไดฟรีๆ ทางอินเทอรเน็ต ประหนึ่งวาเปนสมบัติสาธารณะ ใคร ใครใชก็เอามาใชไมมีใครหามใครหวง เพียงแตมีขอผูกมัด ทางจริยธรรมนิดหนอยวา เมื่อเอาสมบัติสาธารณะพวกนี้ ไปใชงานฟรีๆ แลว เวลาที่ไดผลงานอันมีคุณคามีประโยชนของตนออกมา ก็ควรจะมีการตอบแทนคืนกลับสูสังคม ดวย การเปดโอกาสใหสาธารณชนไดมีโอกาสใชผลงานบางสวนที่ตนไดพัฒนาและปรับ ปรุงไปบางเทานั้น ที่นาสนใจยิ่งไปกวานั้น คือ บรรดาซอฟทแวรสาธารณะที่แจกจายใหกันแบบฟรีๆ เหลานี้ ไดสราง ผลตอบแทนในรูปรายไดที่เปนกอบเปนกําใหกับบรรดาบริษัท และหางรานที่เกี่ยวของ ถึงขนาดที่ผูผลิตผลิตภัณฑ คอมพิวเตอรชั้นนําของโลกอยาง ไอบีเอ็ม, ซันส ไมโครซิสเต็มส, และ ออราเคิล ฯลฯ ตางอดรนทนไมไหวตองเขา มารวมแจมกับสังคมของนักลีนุกซ ดังจะเห็นไดจากการที่มีผลิตภัณฑ คอมพิวเตอรภายใตนามของบริษัทชั้นนําเหลานี้ ที่ถูกออกแบบมาเพื่อการใชงานกับระบบปฏิบัติการลีนุกซ (Linux version) ใหเลือกใชงานกันบางแลว ใน ขณะเดียวกัน นักวิจารณในแวดวงคอมพิวเตอรหลายๆ ทานถึงกับฟนธงลงไปเลยวา โปรแกรมลีนุกซ และ Open Source code นี่แหละที่มีศักยภาพสูงพอจะแขงขัน และตอตานการครอบงําตลาดซอฟทแวรของบริษัทไมโครซอฟท ได บทเกริ่นเรื่อง "ลีนุกซ" กอนที่กาวลึกลงไปในเรื่องบทบาทและความสําคัญที่ ระบบปฏิบัติการลีนุกซ และ Open Source code มีตอแวดวงอุตสาหกรรม คอมพิวเตอรในปจจุบัน ผูเขียนขอเกริ่นถึงขอมูลเบื้องตนคราวๆ ของ เทคโนโลยีดานซอฟทแวรสําคัญสองอยางนี้เสียกอนเพื่อใหผูซึ่งไมเคยใสใจ หรือไมเคยรับรูถึงความหมายของพวกมันจะไดมีความเขาใจที่สอดคลองตองกับ สิ่งที่ผูเขียนจะไดบรรยายถึงตอไป (ในกรณีที่ทานผู อานมีความเชี่ยวชาญใน
  • 2. file : linux.doc page : 2 เรื่องโปรแกรมภาษาลีนุกซอยูแลว ก็ผานไปอานหัวขอถัดไปไดเลย เพื่อไมให เสียเวลา) โปรแกรมลีนุกซคือระบบปฏิบัติการแบบมัลติทาสก (multitasking OS) ประเภทยูนิกซชนิดหนึ่งซึ่ง ไดรับการพัฒนาขึ้นมาครั้งแรกในป ค.ศ. 1991 โดยนักศึกษาหนุมชาวฟนแลนด ชื่อ ไลนัส ทอรวาลด ระหวางที่เขา กําลังศึกษาอยูในมหาวิทยาลัยเฮลซิงกิ (ชื่อของเขาสะกดเปนภาษาอังกฤษวา Linus Torvald ซึ่งถาจะอานออกเปน สําเนียงฟนนิชคงตองออกเสียงเปน "ลีนุซ" และสําหรับชื่อของโปรแกรมนั้น ไลนัส ทอรวอลด ออกเสียงวา ลีนูคซ (Lee-nooks) ในขณะที่ นักคอมพิวเตอร สหรัฐฯ นิยมออกเสียงใหสั้นขึ้นเปน ลินุคส (Lih-nucks)) จุดเดนที่ทําใหระบบปฏิบัติการลีนุกซไดรับความสนใจอยางสูงจากนักคอมพิวเตอรทั่วโลก อยูตรง รูปแบบที่เรียบงายกระทัดรัด มุงเนนไปที่การสั่งงานระดับแกนกลางของระบบปฏิบัติการโดยตรง (kernel base) จึง ทํางานไดรวดเร็ว และมีความเชื่อถือไดสูง (reliabilty) เมื่อเทียบกับระบบปฏิบัติการวินโดวส ดังจะสังเกตุไดวานัก คอมพิวเตอรที่ใชระบบปฏิบัติการลีนุกซแทบจะไมตองสัมผัสกับอาการ เครื่องแฮงคเลยระหวางการใชงาน ไม เหมือนกับเครื่องคอมพิวเตอรที่ใชวินโดวสเปนระบบปฏิบัติการ ซึ่งตองแกปญหาเครื่องแฮ็งคดวยการกด Ctrl-Alt-Del หรือรีเซ็ทเครื่องกันวันละหลายๆ รอบ (ผู ใชวินโดวสอาจจะลองลงโปรแกรมลีนุกซใหกับเครื่องคอมพิวเตอรของตน เพื่อทดสอบดูได เพราะลีนุกซสามารถอาน FAT ของวินโดวส เราจึงสามารถลงระบบปฏิบัติการสองตัวนี้ไวภาย ใน เครื่องเดียวกันได) การที่ระบบปฏิบัติการลีนุกซถูกออกแบบมาใหติดตอสื่อสารกับอารด แวรคอมพิวเตอรในระดับแกนกลาง (kernel) โดยตรง ทําใหมันมีความเปนสากล สูง สามารถนําไปติดตั้งใชงานกับเครื่องคอมพิวเตอรไดหลายๆ ตระกูล (Multiplatform) ไมจํากัดวาจะเปนเครื่องคอมพิวเตอรในตระกูล พีซี (อินเทล) , แมคอินทอช, อมิกาส, อัลฟา, อตาริ, เพาวเวอร พีซี, ไอบีเอ็ม หรือ ซันส ไมโครซิส เต็มส ฯลฯ นอกจากนั้น ความที่มันมีขนาดเล็กกระทัดรัด ยังทําใหมันไมตองการ ทรัพยากรทางดานฮารดแวรมารองรับมากนัก แคเครื่องคอมพิวเตอรระดับ 386, RAM 16 MB, และฮารดดิสกขนาด 120 MB ( ความตองการต่ําสุด) หรือขนาด 500 MB (กรณีที่ลงโปรแกรมชนิดครบถวนสมบูรณ) ก็สามารถรัน โปรแกรมลีนุกซ ไดอยางสบายๆ แลว (แตถาอยากใหทํางานไดเร็วๆ คงตอง ใชเครื่องคอมพิวเตอรรุน 486, RAM 24 MB, HDD 1 GB ขึ้นไป) อยางไรก็ตาม จุดเดนที่นับวาสําคัญที่สุดในระบบปฏิบัติการลีนุกซคือมันใชรหัสโปรแกรมพื้นฐานแบบ Open Source Code ที่เปดกวางใหผูสนใจเลือกหยิบดึงไปใชพัฒนาโปรแกรมซอฟทแวรของตนไดอยางฟรีๆ กลาวๆไดวา Open Source code นั้นเปนสมบัติสาธารณะที่ชวยย้ําเตือนใหผูคนในแวดวงคอมพิวเตอร มีความเปน มนุษยมากขึ้น รูจักที่จะใหคืนตอสังคมบาง (แทนที่จะมุงกอบโกยเงินตราเขามาไวมากๆ จน กลายเปนมหาเศรษฐี อันดับตนๆ ของโลก) และดวยปรัชญาการแจกจายรหัสโปรแกรมพื้นฐาน ใหกับสาธารณะแบบใหเปลานี้เอง ทําให โปรแกรมลีนุกซมีสภาพเปนสมบัติของโลกอยางแทจริง ไมมีผูใดสามารถอางความเปนเจาของในซอฟทแวรตัวนี้ไดอีก ตอไป แมกระทั่ง ไลนัส ทอรวอลด ผูใหกําเนิดโปรแกรมลีนุกซเอง ก็คงตองยอมรับในเรื่องความเปนสมบัติ สากลของมัน เพราะหลังจากที่โปรแกรมลีนุกซไดรับการเผยแพรออกมาสูโลกเมื่อ 8 - 9 ป ที่แลว มันก็ไดรับ
  • 3. file : linux.doc page : 3 ปรับปรุงแกไขสมรรถนะโดยบรรดาโปรแกรมเมอรจํานวนหลายพันรายทั่วโลก มีการปรับแกขอผิดพลาดในโปรแกรม (bugs) กันแบบคนละมือละไม ใครเห็นวามีขอบกพรองตรงไหนก็ชวย กันปรับชวยกันแก หรือถาคิดวานาจะเติม อะไรบางก็ชวยกันเสริมชวยกันเติมเขามา ดังจะเห็นไดจาก รูปแบบการทํางานใหมๆ (new features) ที่ไดรับการเพิ่ม เสริมเขามาเรื่อยๆ เมื่อโปรแกรมลีนุกซมีรูปแบบทันสมัยมากขึ้น และมีโปรแกรมประยุกตใหเลือกใชไดหลากหลายมาก ยิ่งขึ้น ก็สงผลใหมีผูใชคอมพิวเตอรสมัครใจที่จะเลือกใชลีนุกซเปนระบบปฏิบัติการหลักในเครื่องคอมพิวเตอรมาก ตามไปดวย อยางการสํารวจขอมูลผูใชลีนุกซในเดือนมีนาคมปที่แลวโดยบริษัทเรดแฮ็ทลีนุกซ ไดขอมูล ที่นาสนใจวามี ปริมาณผูใชลีนุกซมากถึง 8 ลานรายทั่วโลก นอกจากนั้น ผลการสํารวจของบริษัทวิจัยอินเตอรเนชั่นแนลดาตาคอรป ก็ระบุวามีความตองการติดตั้งโปรแกรมลีนุกซใหกับเครื่องเซิรฟเวอรมากกวา 750,000 เครื่อง และยังจะเพิ่มขึ้นไป เรื่อยๆ จึงชวยย้ําใหเห็นกระแสความนิยมที่พุงขึ้นอยางพรวดพราดของ โปรแกรมระบบปฏิบัติการลีนุกซไดเปนอยางดี สําหรับผูที่ตองการทราบรายละเอียดเกี่ยวกับระบบปฏิบัติการ ลีนุกซที่มากไปกวานี้ ใหลองเปดอานนิตยสารไอทีซอฟทเลมเกาๆ ยอนหลัง ไปสักปสองปก็จะไดขอมูลมากมายเหลือเฟอ หรือถาจะใชวิธีสํารวจจาก อินเทอรเน็ต ก็มีเว็บไซทที่ใหคําอธิบายเกี่ยวกับเรื่องของลีนุกซไดอยางดีเปน จํานวนมาก ยกตัวอยางเชน เว็บเพจ http://www.cnet.com/Content/Reports/Special/Linux/ ของซีเน็ท นอกจากนั้น ถาใครอยากไปสัมผัสกับบรรยากาศของชุมชนนักเลนลีนุกซอ ยางถึงรากถึงโคน ก็อาจจะลองเดินทางไปชมงานประชุมใหญ LinuxWorld Conference and Expo ซึ่งมีการจัดขึ้นเปนประจําในชวงเดือนสิงหาคม ของทุกป (ปนี้ งานจัดวันที่ 9 - 12 สิงหาคม ที่เมืองซานโฮเซ, แค ลิฟอรเนีย) "Open Source Code" รหัสที่กําลังมาแรง เมื่อเร็วๆ นี้ มหาวิทยาลัยสแตนฟอรดไดมีการจัดสัมนาเกี่ยวกับเรื่อง Open source code ขึ้นที่ หอประชุม Faculty Club โดยมีการเชิญบุคคลชั้นนําในวงการคอมพิวเตอรสหรัฐฯ ซึ่งเกี่ยวของและมีบทบาทสําคัญ ในการพัฒนารหัสโปรแกรม Open Source code มารวมแสดงความคิดเห็นหลายทาน ไดแก โปรแกรมเมอรจาก บริษัทเรดแฮ็ทซอฟทแวรเจาของผลิตภัณฑ Red Hat Linux ที่วากันวาเปน โปรแกรมลีนุกซที่ใชงานไดงายที่สุด, แขกรับเชิญคนถัดมา คือ ประธานบริษัท (CEO) เซนดเมลอิงคซึ่งดําเนินธุรกิจเกี่ยวกับการรับสง อีเมลล ทางอินเทอรเน็ต, ตัวแทนบริษัทวีเอรีเสิรชซึ่งประสบความสําเร็จจากการจัดจําหนายเครื่องคอมพิวเตอรซึ่งใชโปรแกรม ลีนุกซเปนระบบปฏิบัติการหลัก, ตัวแทนจากบริษัท ซิกนุสซอฟทแวรซึ่งสามารถทํารายไดถึง 20 ลานเหรียญสหรัฐฯ จากการใหบริการทางเทคนิคแกผูใช Open Source code และแขกรับเชิญคนสําคัญ ที่จะเวนไปเสียไมไดเลยก็คือ ไลนัส ทอรวอลด ผูใหกําเนิดโปรแกรมลีนุกซตัวจริงเสียงจริง วากันวาบรรยากาศของหองประชุม Faculty Club ในวันนั้น อุนขึ้นจากปริมาณผูฟงจํานวนมากที่ยืน อัดกันแนนหองไปหมด มีทั้งนักศึกษาแตงตัวเซอรๆ อารมณรุนแรงที่พรอมจะเฮกันลั่นหองทุกครั้งที่มีการพูดถึงบริษัท
  • 4. file : linux.doc page : 4 ไมโครซอฟทในเชิงตอตาน และนักศึกษาอีกกลุมที่แมจะแตงตัวเรียบรอย แตก็ใจรอนไมแพกัน เพราะหลายๆ คน กําลังอยากรูวาไอเจา Open Source code ที่เขาสนใจนี้จะไปทํามาหากินสราง รายไดใหเปนกอบเปนกําไดอยางไร บาง ความอุนในหองประชุมเริ่มเปลี่ยนสภาพเปนความรอน มากขึ้นเมื่อประธานในที่ประชุมคอยแตจะโยนคําถามใหกับผู รวมสัมนาคนอื่นๆ จนเหมือนกับจะลืมไปวามี ไลนัส ทอร วอลด ซึ่งเปนผูกอสรางลีนุกซ และ Open Source code ตัว จริงมารวมนั่งสัมนาอยูดวย ความไมพอใจที่กอตัวขึ้นในหมูผูฟงนั้น ไม อาจจะกลาวโทษวาเปนเพราะผูรวมสัมนาพูดไมดี ทุกคนที่ ไดรับเชิญมาตางลวนเปนผูที่ประสบความสําเร็จ และมีความรูความเขาใจในเรื่อง Open Source code กันเปนอยาง ดีทั้งนั้น ปญหาอยูตรงที่ผูฟงอยากจะไดยินอะไรเด็ดๆ ออกมาจากปากของ ไลนัส ทอรวอลด โดยตรงเทานั้นเอง ฉนั้น กอนที่ความไมพอใจจะกอตัวกลายไปเปนจราจล ไลนัส ทอรวอลด ก็ไดเอยตัดบทประธานในที่ประชุมขึ้นมา แบบยิ้มๆ วา " ผมเองก็มีรูปแบบการดําเนินธุรกิจ (business model) เฉพาะตัวของผมเองอยูเหมือนกัน และหลังจากจบการสัมนาครั้งนี้แลว ผมก็จะสงตอหมวกของผมออกไปใหกับผูฟงทั่วๆ หอง (pass my hat around)" ไมทันที่ไลนัส ทอรวอลด จะพูดจบประโยคดี บรรดาผูฟงในหองประชุมตางพากันหัวเราะชอบใจครืน ใหญ ตรงนี้มีขอสังเกตุวาความสําเร็จและชื่อเสียงของไลนัส ทอรวอลด ไดสงผลใหคําพูดทุกคําของเขามีความหมาย ขึ้นมาทันที ไมจํากัดวาเขาจะตั้งใจสื่อมันในลักษณะใด มุขตลกของเขาจะดูตลกมากและมีความหมายลึกซึ้งนาสนใจ เสมอ (เชนที่บอกวาจะสงตอหมวกนั้น โดยทั่วไปแสลง Pass someone hat มีความหมายงายๆ วาเปนการสงหมวก เวียนไปรอบๆ หองเพื่อเรี่ยไรสตางค แตทุกคนในหองตางลวน รูกันอยูในใจวาเปนการลอเลน และไลนัส ทอรวอลด คงไมสงหมวกมาเรี่ยไรเงินจากตนจริงๆ แน อยางไรก็ตาม หากคิดใหลึกไปกวานั้นก็เปนไปไดวาไลนัส ทอรวอลด อาจจะถือโอกาสแซวผลิตภัณฑ Red Hat Linux ที่ทํามาหากินอยางเปนล่ําเปนสันจากผลงานที่มีตนกําเนิดมาจาก มันสมองของเขาไปในตัวดวยก็ได) ในกรณีของการสัมนาที่มหาวิทยาลัยสแตนฟอรดนี้ หลายคนอาจจะมองอารมณตอบสนองรุนแรงที่ บรรดาผูฟงในหองประชุมมีตอ ไลนัส ทอรวอลด วาเปนเพียงกระแสนิยมที่ปรากฏขึ้นอยางวูบวาบเหมือนแฟชั่น ของ เด็กวัยรุน แตการตอบรับของบรรดานักธุรกิจในวงการอุตสาหกรรมคอมพิวเตอร ก็ชวยย้ําเตือนใหเห็นกระแสความ นิยมของระบบปฏิบัติการลีนุกซ และ Open Source code ไดเปนอยางดี จนสงผลใหนิตยสารคอมพิวเตอรชั้นนํา อยาง Wired ตองมอบหมายใหสองคอลัมนิสตสําคัญ อยาง แอนดรูว เลนเนิรด และสเตฟาน โซโมกิ มาชวยกัน วิเคราะหถึงทิศทางและแนวโนมในอนาคตของระบบปฏิบัติการลีนุกซ ไวในนิตยสารฉบับเดือนพฤษภาคมที่ผานมา ภายใตชื่อคอลัมน Open Season และ Free Enterprise ซึ่งผูเขียนถือโอกาสนําเอาบทความสองสามเรื่องนี้มายํา เขาดวยกัน แลวสรุปออกมาเลาสูกันฟง รูปที่ 1 แสดงใหเห็นกระแสความนิยมในระบบปฏิบัติการลีนุกซที่ทวีขึ้นสูงมากในรอบ ปสองปนี้ เชน เทียบปริมาณผูใชโปรแกรมลีนุกซระหวางป ค.ศ. 1997 กับป 1998 จะเห็นวามีสัดสวนเพิ่มขึ้น
  • 5. file : linux.doc page : 5 เกือบสองรอยเปอรเซนต (จาก 6.8 % ไปเปน 17.2 %) โดยเฉพาะในตลาดซอฟทแวร สําหรับเครื่องเซิรฟเวอรนั้น ปรากฏวาผลิตภัณฑ Apache มีสวนแบงตลาดเพิ่ม ขึ้นจาก 45.1 % ไปเปน 54.2 % ในชวงหนึ่งปที่ผานมา การแสวงหารายไดจากของฟรี ปญหาที่หลายคนยังอาจจะสงสัยอยูเกี่ยวกับการทําธุรกิจดวยโปรแกรมลีนุกซ และ Open Source code คือ เราจะหารายไดจากสิ่งของที่เขาแจกกันฟรีๆ ไดอยางไร คําตอบคือ วิธีการที่จะใหไดมาซึ่งประโยชนจาก ของฟรีสองอยางนี้แหละคือที่มาของรายได เพราะถึงแมวาตัวโปรแกรมและรหัสคําสั่งพื้นฐานของลีนุกซจะเปนของ ฟรี แตถาใครไมเคยเรียนรูภาษาลีนุกซมาอยางเพียงพอ หรือไมมีเวลาแสวงหาอุปกรณทั้งซอฟทแวรและฮารดแวรมา ใชงานรวมกันมัน ก็คงตองอาศัยความสะดวกจากบริษัทหรือหางรานที่เขามีความเพียบพรอมและความชํานาญมากกวา ชองทางธุรกิจที่เกี่ยวของกับโปรแกรมลีนุกซนั้น ไดแก การเปดบริษัทขึ้นมาเพื่อใหบริการดานเทคนิค (tech support) แกผูใชคอมพิวเตอร, การจัดสรางผลิตภัณฑลีนุกซออก มาจําหนายในรูปชุดโปรแกรมสําเร็จรูป, การใหบริการสนับสนุน และการอัพเกรดโปรแกรมใหเปนระยะๆ, การพัฒนาโปรแกรม ประยุกตขึ้นมาเพื่อใชสําหรับระบบปฏิบัติการลีนุกซเปนการ เฉพาะ (Linux applications) ยกตัวอยางเชนโปรแกรมประเภทออฟฟซ เวิรด หรือโปรแกรมจัดการขอมูลทางบัญชี อะไรทํานองนี้, หรือบริษัทผูผลิตจําหนายเครื่องคอมพิวเตอรบางรายก็อาจจะประกอบเครื่องคอมพิวเตอรซึ่งใชลีนุกซ เปนระบบปฏิบัติการหลักออกจําหนายเสียเลย เพราะจะชวยทุนคาลิขสิทธิ์กินเปลาที่ตองจายใหกับเสือนอนกิน อยาง ไมโครซอฟทไปไดเปนเงินไมนอยตอเครื่องคอมพิวเตอรแตละเครื่อง นอกจากนั้น กระแสความนิยมในระบบปฏิบัติการลีนุกซยังสงผลใหบริษัทคอมพิวเตอรชั้นนําอยาง ไอบีเอ็มไดประกาศแผนการณที่จะนําเอาโปรแกรมอปาเช (Apache) มาใชเปนแนวทางในการพัฒนาผลิตภัณฑรุน ถัดไปของตน พรอมกับปราวนาตัววาพรอมจะใหการรองรับระบบปฏิบัติการลีนุกซในโอ กาสตอๆ ไป (โปรแกรม Apache คือ โปรแกรมในตระกูล Open Source code คลายๆ ลีนุกซที่ออกแบบมาสําหรับการทํางานบนเครื่องเว็บ เซิรฟเวอรโดยเฉพาะ) ในขณะเดียวกัน ยักษใหญดานซีพียูอยางอินเทลก็ไดเริ่มคืบเขาสูตลาดลีนุกซดวยการลงทุนซึ้อ กิจการบางสวนของบริษัทเร็ดแฮ็ทซึ่งเปนผูพัฒนาโปรแกรมตระกูลลีนุกซรายสําคัญ สวนทางดานซอฟทแวรนั้น บริษัทคอเรลก็ไดพัฒนาโปรแกรมเวิรดเพอรเฟครุนใหมขึ้นมาสําหรับการรัน บนระบบปฏิบัติการลีนุกซโดยเฉพาะ จนแทบจะกลาวไดวามีบริษัทคอมพิวเตอรออกมาประกาศตัวสนับสนุน แนวคิด เรื่อง Open Source code กันแทบจะทุกวัน (ตรงนี้มีขอสังเกตุวา สํานวนนักคอมพิวเตอร ฝรั่งเขาเรียกการปราว นาตัวสนับสนุนแนวคิด Open Source code วาเปนการ going Open Source ทํายังกับสมัยที่พวกเกยยังไมเปนที่ ยอมรับในสังคม หากใครเปดตัวออกมาวาเปนเกยก็มักจะ เรียกวาเปนการออกมาจากตู) คาซอฟทแวรถูกแตคาบริการไมแน !
  • 6. file : linux.doc page : 6 เปนที่ยอมรับกันโดยทั่วไปวา แนวคิดเรื่อง Open Source code ของระบบปฏิบัติการลีนุกซนั้นมี พัฒนา การรวมกับการพัฒนาของอินเทอรเน็ตมาโดยตลอด และถาจะพูดกันใหชัดๆ ลงไปแลว ก็คงตองบอกวาลีนุกซ และ Open Source code นั้นมีจุดกําเนิดมาจากมันสมองของบรรดานักแฮ็ก (Hackers) ที่เปนสมาชิกผูบุกเบิกรุน แรกของอินเทอรเน็ตนั่นเอง ดังนั้น แนวคิดดั้งเดิมของของมันจึงมีลักษณะอุดมคติลวนๆ ไมไดมีนักแฮ็กคนไหนคิดจะ ทํามาหากินใหไดเงินไดทองเปนกอบเปนกําจากการแจกจายรหัสโปรแกรมลีนุกซ และ Open Source code ออกไป ฟรีๆ อยางนี้ นอกจากนี้ กระบวนวิธีคิดของนักแฮ็กก็มักจะไมมีเรื่อง ของธุรกิจเขามาเจือปน พวกเขาพัฒนา ซอฟทแวร Open Source code ขึ้นมาเพื่อตอบสนองความอยากรูอยากเห็นและแกปญหาของ ตนเองเปนหลัก (แอนดรูว เลนเนิรด เรียกการตอบสนองความอยากรู ของนักแฮ็กวาเปนการเกาแกคัน หรือ scratch thier itch) ฉนั้น ผู ที่คิดจะใชงานระบบปฏิบัติการลีนุกซยุคแรกๆ จึงตองทําใจ คอนขางมากกับความยุงยากในการใชงาน จะมาคาดหวังการลากเมาส คลิ้กเรียกโปรแกรมโนนโปรแกรมนี้ขึ้นมาใชไดงายๆ หรือเวลาเกิด ปญหาในการใชงานโปรแกรมจะเรียกเปดโปรแกรมชวยเหลือแบบ Interactive help ขึ้นมาดูเหมือนระบบปฏิบัติการวินโดวส หรือแมคอินทอช คงไมได (หลายคนสรุป วาการพัฒนาลี นุกซนั้น ไมคอยมีแนวคิด User-friendly interface เขามาเกี่ยวของ) หากผูบริหารองคกรรายใดคิดจะนําเอาโปรแกรมลีนุกซไปใชเปนระบบปฏิบัติการหลักสําหรับ เครือขายเน็ตเวิรกภายในสํานักงานของตน ก็คงตองคิดใครครวญใหดี เพราะถึงแมวาตัวโปรแกรมจะฟรี หรือมีราคา คาดาวนโหลดที่ถูกมาก แตคาใชจายหนักๆ จะไปตกอยูที่การอบรมพนักงาน และคาบริการดานเทคนิค โดยเฉพาะใน กรณีที่บุคลากรภายในหนวยงานไมคอยมีความรูดานคอมพิวเตอร หรือเปน พนักงานประเภทตอตานการพัฒนาดวย แลว คาใชจายในสวนนี้จะทวีสูงขึ้นอยางมหาศาล ดังจะเห็นไดจากตารางที่ 1 ซึ่งเปรียบเทียบคาใชจายในการติดตั้ง LAN ขนาด 10 Incident calls ระหวางผลิต ภัณฑวินโดวส เอ็นที ของไมโครซอฟท และผลิตภัณฑ Red Hat Linux ของบริษัทเรดแฮ็ท จากขอมูลในตารางที่ 1 แมวาคาใชจายโดยรวมในการติดตั้ง LAN ของลีนุกซจะต่ํากวาวินโดวสเอ็นที เกือบสี่เทา ($5,544.70 เทียบกับ $21,453) แตคาใชจายมากกวาครึ่งหนึ่งของลีนุกซแลนจะตกหนักอยูกับคาบริการ สนับสนุนดานเทคนิค (support fee $2,995) ซึ่งแพงกวาคาบริการ ของวินโดวสเอ็นทีถึงหนึ่งเทาตัว และจะยิ่งแพง หนักขึ้นไปอีก หากวาเครือขายเน็ตเวิรกมีการขยายขนาดใหใหญขึ้น เชน ถาเพิ่มขนาดเน็ตเวิรกขึ้นไปถึงระดับที่ตองใช บริการดานเทคนิคชนิดเต็มสเกล (2 4/7/365) ของเร็ดแฮ็ทลีนุกซ คาใชจายสวนคาบริการดานเทคนิคนี้ก็มีมากถึง $60,000 เลยทีเดียว ในทางตรงกันขาม หากเปนการใชบริการจากไมโครซอฟท คาใชจายดานเน็ตเวิรกขององคกรจะมี แนวโนมลดต่ําลงไปเรื่อยๆ หากจํานวนเครื่องคอมพิวเตอรที่รับบริการมีจํานวนเพิ่มมากขึ้น เชนถามีการติดตั้ง โปรแกรมใหกับเครื่องคอมพิวเตอร 25 เครื่อง ราคาคาโปรแกรมก็จะปรับลดลงไปจากการซื้อโปรแกรมเดี่ยวๆ ถึง 18 % (คาใชจายสําคัญอยางหนึ่งที่ทําใหผลิตภัณฑดาน LAN ของไมโครซอฟท มีราคาแพงคือคา client-access
  • 7. file : linux.doc page : 7 license ที่ตองจายกันเปนรายเครื่อง เชน ในเน็ตเวิรกขนาด 2 5 เครื่องนั้น ลูกคาของไมโครซอฟทตองจายคาไลเซนตสําหรับโปรแกรมวินโดวส เอ็นที $31 ตอเครื่อง และโปรแกรมเอ็กเชนจในอัตรา $56 ตอเครื่อง) ตารางที่ 1 นิตยสาร Wired มอบหมายให ไมเคิล เดอโนวิช ลองเปรียบเทียบระหวางคาใชจายในการติดตั้ง LAN ขนาด 10 Incident calls ดวยผลิตภัณฑวินโดวส เอ็นที ของไมโครซอฟท และผลิตภัณฑ Red Hat Linux ของบริษัทเรดแฮ็ท โดยรวมเอา คาใชจายสําหรับการติดตั้งโปรแกรมประยุกตตัวหลักๆ ที่มักจะไดรับการติดตั้ง ใชงานในสํานักงาน อยาง โปรแกรมเวิรด โพรเซสเซอร, โปรแกรมส เปรดชีต, และ โปรแกรมนําเสนอขอมูล ไวดวย อนาคตของลีนุกซ การที่ระบบปฏิบัติการลีนุกซถูกกอกําเนิดขึ้นมาในลักษณะที่เหมือนไมตั้งใจ ไมมีการวางแผนการตลาด ลวงหนา และไมคิดจะงอลูกคา ทําใหเปนเรื่องยากอยูเหมือนกันที่จะคาดเดาอนาคตของลีนุกซ และ Open Source code ไวลวงหนา เพราะถาอยูมาวันใดวันหนึ่ง ไลนัส ทอรวอลด บอกวาเขาเหนื่อยแลว เขาไมอยากจะคิดพัฒนา อะไรในตัวโปรแกรมลีนุกซอีกตอไปแลว วงการนักเลนลีนุกซก็อาจจะตองควางไปพักใหญเพราะไมมีหัวเรือใหญคอย กําหนดทิศทางการพัฒนาผลิตภัณฑ (ไลนัส ทอรวอลด เปนคนที่มีบทบาทมากในการพัฒนาสวน Kernel ที่ถือวาเปน หัวใจสําคัญของลีนุกซ) อีกทั้งยังมีความคลุมเครืออยูมากเกี่ยวกับเรื่องการจดทะเบียนลิขสิทธิ์ สิทธิบัตรของซอฟทแวรที่ถูก พัฒนามา จากรากฐานของลีนุกซอีกตอหนึ่ง (โปรแกรมประยุกตที่จะมีปญหามากคือโปรแกรมประเภทที่ใชเฉพาะ งานมากๆ และเกี่ยวพันตอความเปนความตายของมนุษยมากๆ อยางเชน โปรแกรมที่ใชควบคุมกระบวน การรักษาโรค เพราะโปรแกรมทํานองนี้มักจะมีสัดสวนกําไรสูงมาก) กระนั้น จุดที่หลายคนมองวาเปนจุดดอยนี้ก็อาจจะนับเปนจุดเดนของระบบปฏิบัติการลีนุกซไดดวย เหมือนกัน เพราะความที่ไมมีเจาเขาเจาของที่ชัดเจน ทําใหโปรแกรมลีนุกซมีการพัฒนาไปไดอยางไมจํากัด ใคร คิดจะ พัฒนาอยางไรก็ทําได ไมถูกกีดกั้นไวดวยปญหาลิขสิทธิ์ อีกทั้งยังเปดโอกาสใหบริษัทซอฟทแวรรายเล็กๆ สามารถ แจงเกิดไดในโลกอุตสาหกรรมคอมพิวเตอร เพราะมันคือสมรภูมิเดียวที่นัก คอมพิวเตอรทุนนอยจะใชแขงขันกับบริษัท ใหญๆ ทุนหนาๆ ได ยกตัวอยางเชนผลิตภัณฑอปาเชที่กําลังประสบความสําเร็จคอนขางมากในเรื่อง Web server นั้น ก็อาศัยชองวางที่โปรแกรมลีนุกซเปดไว ใหนี้กาวขึ้นมาเปนผูนําตลาดไดในที่สุด แอนดรูว เลนเนิรด มองวาการดําเนินกิจกรรมในลักษณะที่ตางคนตางชวยกันพัฒนาสังคมคอมพิวเตอร โดยรวมรวมกัน อยางการแจกจายโปรแกรมซอฟทแวรที่ตนพัฒนาขึ้นมาฟรีออกไปทางอินเทอรเน็ตนี้เปน รูปแบบ เศรษฐกิจเฉพาะอยางหนึ่ง อาจจะเรียกวา "ระบบเศรษฐกิจน้ําใจ" หรือ "Gift economy" ก็คงจะได โดยระบบ เศรษฐกิจน้ําใจที่วานี้เริ่มดําเนินมาตั้งแตทศวรรษที่ 80s แลว เพียงแตในระยะแรกนั้นมันยังไมปรากฏภาพออกมาให
  • 8. file : linux.doc page : 8 เห็นอยางชัดเจน ดวยถูกบดบังจากผลสําเร็จของบรรดาบริษัทที่ทํากําไรอยางเปนกอบเปนกําจากระบบซอฟทแวร ลิขสิทธิ์ผูกขาด (ตัวอยางผูสําเร็จในระบบเศรษฐกิจผูกขาดดานซอฟทแวร ไดแก บริษัทไมโครซอฟทนั่นเอง) อยางไรก็ตาม ในชวงทศวรรษ 90s นี้ ระบบเศรษฐกิจน้ําใจกลับเขามามีบทบาทสําคัญในแวดวง อุตสาหกรรมคอมพิวเตอรมากขึ้น เพราะผูคนที่เกี่ยวของกับการแจกจายซอฟทแวรออกไปฟรีนั้นเริ่มจะไดรับ ความสําเร็จทั้งในแงชื่อเสียงและรายไดตอบแทนเปนจํานวนมาก ไมวาจะเปน มารค แอนเดรสเสน ที่พัฒนาโปรแกรม โมเสอิค (โปรแกรมตนแบบของเน็ตสเคป) แลวแจกจายออกไปใหนักคอมพิวเตอร ไดใชงานกันไดฟรีๆ จนสงผลให อินเทอรเน็ตดังระเบิดเถิดเทิงไปทั่วอยางในขณะนี้ หรือ ไลนัส ทอรวอลด ที่เรากําลังพูดถึงเปนหลักในบทความเรื่อง นี้ อาจจะกลาวไดวา ระบบเศรษฐกิจน้ําใจที่วานี้ จะยังคงไมทําผลกําไรตอบแทนกลับมามากมายเปนกอบ เปนกําเหมือนบรรดาบริษัทที่มุงไปที่กําไรจากการขายซอฟทแวรเปนหลัก แตดวยปริมาณสมาชิกอินเทอรเน็ตที่มักจะ มีจิตสํานึกรวมกันในสมบัติสาธารณะ ก็เปนเรื่องคอนขางแนชัดวาปรัชญาการดําเนินธุรกิจแบบเศษฐกิจน้ําใจจะกลาย สภาพเปนสิ่งจําเปนตออุตสาหกรรมคอมพิวเตอรอยางแนนอน ชนิดที่วาตอไปนี้ผูประกอบการในธุรกิจคอมพิวเตอร ทุกรายจะตองกําหนดนโยบายการตลาดใหสอดคลองกับระบบเศรษฐกิจน้ําใจ จะมองมันแคเปนทางเลือกหนึ่งของการ ดําเนินธุรกิจไมไดอีกแลว สํารวจชองทางธุรกิจลีนุกซ ไหนๆ ก็พูดเรื่องความสดใสในอนาคตของระบบปฏิบัติการลีนุกซ และ Open Source code มาตั้ง มากตั้งมายแลว ทีมงานบรรณาธิการนิตยสาร Wired คงเกรงวาผูอาน จะมองภาพพจนไดไมชัด เกี่ยวกับชองทางดําเนินธุรกิจดวย Open Source code จึงสง แพทริเซีย ครูเกอร ออกไปเที่ยว สํารวจดูวามีบริษัทหางรานใดบางที่ไดรับความสําเร็จจาก การดําเนินธุรกิจดวยการแจกรหัสคําสั่ง Open Source code ออกไปฟรีๆ ในจํานวนบริษัทคอมพิวเตอรตัวอยาง 21 ราย ที่แพทริเซีย ครูเกอรไดออกไป เที่ยวสํารวจมานั้น มีขอสังเกตุวาสวนใหญมักจะเปนบริษัทเล็กๆ พนักงานไมกี่สิบราย มีอยู ไมถึงหาบริษัทที่มีจํานวนพนักงาน เกินรอย และสวนใหญมักจะเปนบริษัทที่เพิ่งไดรับการ กอตั้งขึ้นมาในชวงหาหกปมานี้เอง บริษัทที่ เกาแกที่สุดอยางซิกนุสโซลูชั่น ก็ยังมีอายุไดเพียง 10 ป เทานั้นเอง สําหรับรูปแบบการดําเนินธุรกิจของบริษัทคอมพิวเตอรเหลานี้อาจจะแยกออกเปนประเภทหลักๆ ได สองประเภท คือ ประเภทที่มุงไปที่การพัฒนาซอฟทแวรเพื่อจําหนายจายแจก แลวอาศัยรายไดจากการใหบริการดาน เทคนิค กับบริษัทประเภทที่มุงผลิตสินคาฮารดแวรมาใชสําหรับรันระบบปฏิบัติการลีนุกซกัน เปนการเฉพาะ สวน รายละเอียดบริการที่แตละบริษัทมีอยูนั้นก็ไดแก  การพัฒนาซอฟทแวรจาก Open Source code แลวอัดยอไฟลลใหขนาดเล็กกระทัดรัด (shrinking -wrapping) เพื่อรอใหลูกคามาดาวนโหลดโปรแกรมไปใชโดยอาจจะคิดคาบริการแบบสินน้ําใจเล็กๆ นอย,  การพัฒนาระบบปฏิบัติการขึ้นมาใหมๆ (New OS developments) โดยปรับปรุงจาก Open Source code ให มีความสะดวกงายดายในการใชงานมากขึ้น
  • 9. file : linux.doc page : 9  การพัฒนาโปรแกรมประยุกตขึ้นมาเพื่อรันบนระบบปฏิบัติการแบบ Open Source code โดยเฉพาะ (OSS applications developments) เชน อาจะพัฒนาโปรแกรมเวิรด, สเปรดชีต, เกมส ฯลฯ สําหรับลีนุกซ  ปรับปรุงซอฟทแวรสวนที่จะมาเสริมประสิทธิภาพ (enhancements for OSS) ในการทํางานใหกับบรรดา ระบบปฏิบัติการประเภท Open Source code ที่มีใชงานกันอยู  พัฒนาอุปกรณฮารดแวรขึ้นมาเพื่อใชรวมกับระบบปฏิบัติการประเภท Open Source code โดยตรง (New hardware for OSS)  พัฒนาซอฟทแวรตัวใหมจาก Open Source code ใหมีความเหมาะสมเฉพาะกับหนวยงานธุรกิจที่เปน ลูกคา ของตัวเองโดยตรง ( Open Source software customization)  ใหบริการดานคําปรึกษาแกลูกคาที่อาจจะมีปญหาจากการใชงาน Open Source code (Consulting services)  พัฒนาระบบปฏิบัติการรูปแบบเฉพาะเพื่อใหบริการแกลูกคาที่ไมใชภาษาอังกฤษเปนภาษาหลัก (Non -English OS development)  ใหบริการสนับสนุนดานเทคนิคแกบรรดาโปรแกรมเมอรที่เกี่ยวของกับรหัสคําสั่ง Open Source code (Tech support for developers)  ใหบริการสนับสนุนดานเทคนิคแกบรรดาผูใชคอมพิวเตอรที่สนใจในระบบปฏิบัติการแบบ Open Source code (Tech support for end users) ตัวอยางผูประสบความสําเร็จในธุรกิจจาก Open Source code  Caldera Systems : บริษัทที่เพิ่งไดรับการกอตั้งมาปกวาๆ และมีจํานวนพนักงาน อยูแค 50 คนรายนี้ นับวามีอัตราการเติบโตสูงมาก เพราะเพิ่งไดรับการจัดลําดับใหเปนผูจําหนายซอฟทแวรรายใหญอันดับสาม สําหรับตลาดซอฟทแวรกลุมเซิรฟเวอรตระกูลลีนุกซ โดยรูปแบบธุรกิจหลักของบริษัทนี้จะอยูที่การพัฒนา โปรแกรมประยุกตขึ้นมาเพื่อใชกับระบบปฏิบัติการลีนุกซเปนการเฉพาะ มีทั้งซอฟทแวรสําหรับการใชงานบน อินเทอรเน็ต, อินทราเน็ต, สําหรับเครื่องคอมพิวเตอรที่พวงกันอยูเปนเครือขายเน็ตเวิรก และเครื่องคอมพิวเตอร ที่ใชงานแบบเดี่ยวๆ (standalone)  Linuxcare : ไดรับการกอตั้งขึ้นในป ค.ศ. 1998 มีจํานวนพนักงานทั้งหมด 30 คน มุงเนนไปที่การ ดําเนินธุรกิจในฐานะของที่ปรึกษาทางเทคนิคใหกับผูใชระบบปฏิบัติการลีนุกซเปนการเฉพาะ รวมทั้งยังมีบริการ ดานการใหคําปรึกษา (Consulting) และบริการดานการศึกษา (Education) ควบคูกันไปดวย ผลสําเร็จที่เห็น ไดชัดหลังจากตั้งบริษัทมาไดเพียงปกวาๆ คือ การที่เพิ่งไดรับเงินทุนสนับสนุนกอนโตจากกลุมธุรกิจ Sand Hill Group ในชวงเดือนกุมภาพันธที่ผานมา  Penguin Computing : กอตั้งขึ้นในป ค.ศ. 1998 มีจํานวนพนักงานแค 20 คน ดําเนินธุรกิจดวยการ ผลิตเครื่องคอมพิวเตอรระดับเซิรฟเวอรขึ้นมาจําหนายโดยใชโปรแกรมลีนุกซเปนระบบปฏิบัติการหลัก นอกจากนั้น ยังมีทีมงานวิศวกรสําหรับใหคําปรึกษา บริการฝกอบรม และรับแกปญหาอันเนื่องมาจากการใช โปรแกรมลีนุกซโดยเฉพาะ
  • 10. file : linux.doc page : 10  The Puffin Group : บริษัทคอมพิวเตอรขนาดจิ๋วที่มีจํานวนพนักงานแค 10 คนรายนี้ ดูเหมือนจะ วาจะถูกกอตั้ง (ค.ศ. 1998) ขึ้นมาเพื่อรับงานเฉพาะกิจ เพราะธุรกิจหลักที่บริษัท The Puffin Group ทําอยู คือ การเขียนโปรแกรมลีนุกซเพื่อปอนใหกับเครื่องคอมพิวเตอร ระดับ PA-RISC ของบริษัทฮิวเล็ตต-แพ็คการดเปน การเฉพาะ  Scriptics : ไดรับการกอตั้งขึ้นในป ค.ศ. 1998 มีจํานวนพนักงานทั้งหมดแค 20 คน รับจางผลิตและ จําหนายโปรแกรมประเภททูลลที่ใชชุดภาษา Scripting Language แบบ Open Source code เปนการ เฉพาะ รวมทั้งดําเนินธุรกิจใหคําปรึกษาแกผูใช Open Source code โดยทั่วไปอีกดวย เทาที่ทราบในขณะนี้ก็ มีบริษัทชั้นนําในสหรัฐฯ หลายรายที่เปนลูกคาของ Scriptics อยู ไดแก บริษัท AOL, Cisco, และ Lucent  AbiSource : กอตั้งขึ้นในป ค.ศ. 1997 มีจํานวนพนักงาน 15 คน ดําเนินธุรกิจผลิตโปรแกรมประยุกต สําหรับใชรันบนระบบปฏิบัติการลีนุกซ และวินโดวส, ใหบริการดานเทคนิค และคําปรึกษาแกผูสนใจ แถมยัง ใจดีแจกจายโปรแกรมซอฟทแวรบางสวน (shrinked-wraped software) ใหผูใชอินเทอรเน็ตไดดาวนโหลดมา ใชงานไดฟรีๆ อีกดวย  Sendmail Inc. : เปนธุรกิจ Open Source code ที่กอกําเนิดขึ้นมา โดยตั้งเปาไปที่ลูกคากลุม ศูนยบริการอินเทอรเน็ต (ISPs) และผูใชบริการอีเมลลทั่วโลกโดยเฉพาะ ( กอตั้งในป ค.ศ. 1997 มีจํานวน พนักงาน 65 คน)  Cobalt Networks : กอตั้งขึ้นในป ค.ศ. 1996 มีจํานวนพนักงาน 80 คน เปนบริษัทจําหนายเครื่อง คอมพิวเตอรที่ริเริ่มนําเอาบรรดา Open Source code และโปรแกรมระบบ ปฏิบัติการของฟรีอยางลีนุกซ, Perl, Apache, และ Samba มาใชติดตั้งบนผลิตภัณฑเซิรฟเวอรที่ตน เองจําหนาย ทําใหสามารถตั้งราคา จําหนายต่ํากวาพันเหรียญได  The Linux Mall : ศูนยการคาบนอินเทอรเน็ตรายนี้เปนตัวอยางที่ดีของการใชทรัพยากรมนุษย อยางมีประสิทธิภาพ เพราะถึงแมวาจะไดการกอตั้งมานานกวาสี่ปแลว ( ค.ศ. 1995) แตจํานวนพนักงานที่ รับผิดชอบใหบริการยังคงจํากัดอยูแค 10 คนเทานั้น โดยสินคา ที่ศูนยการคา Linux Mall มีจําหนายสวนใหญ ก็หนีไมพน พวกโปรแกรมประยุกตที่ออกแบบมาจากบรรดารหัสคําสั่ง Open Source code และพวกที่ถูก ออกแบบมาสําหรับการทํางานบนโปรแกรมระบบปฏิบัติการแจกฟรีอยางลีนุกซ หรืออปาเช อะไรทํานองนี้ นอกจากนี้ยังดําเนินธุรกิจใหคําปรึกษาดานเทคนิค แกลูกคาที่ซื้อซอฟทแวรไปจากตนดวยอีกตางหาก  Lutris Technologies : เปนบริษัทใหคําปรึกษาเกี่ยวกับการดําเนินธุรกิจบนอินเทอรเน็ต ไดรับการ กอตั้งขึ้นในป ค.ศ. 1995 มีจํานวนพนักงาน 35 คน ผลงานลาสุดที่ปรากฏสูตลาดในชวงเดือนมกราคม คือ การพัฒนาโปรแกรมประยุกตดวยภาษาจาวาขึ้นมา ใชกับเครื่องเซิรฟเวอร โดยทางบริษัท Lutris Technologies ไมมีแผนการจัดจําหนายโปรแกรมภาษาจาวาที่วานี้ แตจะใชวิธีแจกจายใหกับสมาชิกของตน แบบฟรีๆ  Whistle Communications : ไดรับการกอตั้งขึ้นในป ค.ศ. 1995 มี จํานวนพนักงาน 70 คน ดําเนินธุรกิจทางดานฮารดแวร โดยการประยุกตเอาเทคโนโลยี Open Source code และระบบปฏิบัติการ แจกฟรี อยางลีนุกซ, Sendmail, Apache, Samba, และ FreeBSD มาใชติดตั้งเขากับอุปกรณคอมพิวเตอร
  • 11. file : linux.doc page : 11 ราคาถูก ซึ่งไดรับการออกแบบมาเพื่อใชสําหรับการสื่อสารบนอินเทอรเน็ตเปนการเฉพาะ (InterJet Net Appliance) นอกจากนั้น ยังรับใหคําปรึกษาเกี่ยวกับการจัดสรางเครือขายเน็ตเวิรกใหกับบรรดาหนวยงาน ธุรกิจขนาดยอมๆ โดยทั่วไป อีกดวย  ArsDigita : กอตั้งขึ้นในป ค.ศ. 1994 มีจํานวนพนักงานทั้งหมดแค 10 คน เปนตัวอยางของธุรกิจบน อินเทอรเน็ตที่เติบโตแบบชาๆ คอยเปนคอยไป โดยนําเอารหัสคําสั่งแบบ Open Source code มาใชพัฒนา ชุดโปรแกรมทูลลรูปแบบเฉพาะตัวของตนเอง (Open-source Toolkits) จากนั้นก็นําเอาผลงานของตัวเองนี่แห ละมาใหบริการแบบบริษัทที่ปรึกษา กอตั้งเปนชุมชนออนไลนที่มีกลุมสมาชิกขนาดยอมๆ เวลามีขาวสารอะไรที่ อยากจะเผยแพรแกลูกคาและมวลสมาชิก ก็ใชบุลเลตินบอรดของตนเปนที่เผยแพรขาวสาร  C2Net : ไดรับการกอตั้งมาตั้งแตป ค.ศ. 1994 โดยครั้งแรกดําเนินธุรกิจให บริการอินเทอรเน็ต (ISPs) กอน ตอมาเมื่อวิทยายุทธแกกลาขึ้น ก็เลยหันมาพัฒนาโปรแกรมกลุมอปาเชสําหรับเครื่องเซิรืหเวอรเพื่อ จําหนายดวย ปจจุบัน มีจํานวนพนักงานทั้งหมด 25 คน  Red Hat Software : จัดไดวาเปนธุรกิจลีนุกซที่ทํามาคาขึ้นมาก ที่สุด เพราะถาพิจารณาจาก จํานวนเครื่องคอมพิวเตอรเซิรฟเวอรและไคลเอนตที่มีการติดตั้งระบบปฏิบัติการลีนุกซทั่วโลกขณะนี้ เชื่อวากวา ครึ่งหนึ่งเปนโปรแกรม Red Hat Linux และดวยความ สําเร็จที่ผานๆ มานี้ ก็สงผลใหบริษัท Red Hat Software มักจะไดรับการจับตามองจากนักสังเกตุการณดานคอมพิวเตอรเสมอเวลาที่มีการพูดถึง ระบบปฏิบัติการลีนุกซ ลาสุด ทราบวาบริษัท Red Hat software เพิ่งไดรับการ เซ็นสัญญากจากบริษัทไอบีเอ็มใหชวย ออกแบบ ระบบซอฟทแวรสําหรับเครื่องคอมพิวเตอร ของไอบีเอ็ม รวมทั้งยัง ผูกพันสัญญาระยะะยาวเกี่ยวกับการบริการ หลังการขายอีกดวย (ถา ใครศึกษาประวัติศาสตรของวงการ คอมพิวเตอรใหดี ก็จะ พบวาบริษัทไมโครซอฟทสมัยที่ยังเล็กๆ ก็เคย รับจางเขียนโปรแกรม ดอสใหกับไอบีเอ็มมากอน) นอกจากนี้ บริษัท Red Hat Software ยังไดรับเงินทุนสนับสนุนจาก บริษัทคอมพิวเตอรชั้นนํา อีกหลานราย ไมวาจะเปน คอมแพ็ค, ออราเคิล หรือ โนเวลล สงผลใหบริษัทคอมพิวเตอรที่เคยมีขนาด เล็กๆ (ชวงกอ ตั้งป ค.ศ. 1994) มีการขยายขนาดขึ้นอยางรวดเร็ว ปจจุบัน มีการวาจางพนักงานไวมากถึง 100 คน  VA Research : บริษัทคอมพิวเตอรซึ่งถูกกอตั้งขึ้นในป ค.ศ. 1993 และมี จํานวนพนักงาน 55 คน รายนี้ นับเปนเจาตํารับการผลิตและจําหนายเครื่องเวิรกสเตชั่นที่มีโปรแกรมลีนุกซเปนระบบปฏิบัติการ อยางไรก็ตาม ธุรกิจของบริษัท VA Reasearch ไมไดจํากัดอยูเฉพาะดานฮารดแวร แตยังครอบถึงการบริกร ทางดานซอฟทแวรลีนุกซประเภทตางๆ อีกดวย อีกทั้งยังเปน เจาของเว็บไซท Linux.com ที่คอยใหบริการ ดานขาวสารขอมูลตอผูสนใจในโปรแกรมลีนุกซเปนการ เฉพาะอีกดวย  Pacific HiTech : บริษัทซอฟทแวรลีนุกซสัญชาติซามูไรเจาของผลิตภัณฑ TurboLinux รายนี้ เริ่ม กอตั้งขึ้นในป ค.ศ. 1992 มีจํานวนพนักงานทั้งหมด 50 คน และไดรับการจัดลําดับวาเปนผูผลิตผลิตภัณฑลีนุ
  • 12. file : linux.doc page : 12 กซรายใหญอันดับสี่ของโลก ลาสุด กําลังขับเคี่ยวกับบริษัท Red Hat Software เพื่อครอบครองสวนแบงตลาด ลีนุกซในประเทศสหรัฐฯ  SuSe : จัดวาเปนบริษัทซอฟทแวรลีนุกซขาใหญรายหนึ่ง มีจํานวนพนักงานมากถึง 130 คน และ ไดรับ การกอตั้งมาตั้งแตป ค.ศ. 1992 ธุรกิจหลักๆ ที่ดําเนินอยูคือการจัดจําหนายและ เผยแพรโปรแกรม ระบบปฏิบัติการลีนุกซที่ทางบริษัทไดพัฒนาขึ้นเอง มีธุรกิจเสริมเปนการจัดจําหนาย โปรแกรมระบบปฏิบัติการ ยี่หออื่นๆ อยางเชน Aplixware ความยิ่งใหญของ SuSe อยูที่การครองสวนแบงตลาดลีนุกซในยุโรปไดมากที่สุด สวนในสหรัฐอเมริกานั้นเปนรองอยูแค Red Hat Software เทานั้น  Berkeley Software Design Inc. : บริษัทชื่อ เดียวกับสาขาของมหาวิทยาลัยชื่อดังของโลกราย นี้ ไดรับการกอตั้งขึ้นในป ค.ศ. 1991 มีจํานวนพนัก งาน 35 คน ไมทราบวามีความเกี่ยวของอยางไรก็ มหาวิทยาลัยแคลิฟอรเนีย ณ เบอรกเลย ถึงได มุงเปาการพัฒนาผลิตภัณฑไปที่การประยุกตโปรแกรมลีนุกซไป เพื่อการทํางานกับระบบปฏิบัติการ BSD/OS
  • 13. file : linux.doc page : 13  Cyclades : ไดรับการกอตั้งขึ้นในป ค.ศ. 1991 มีจํานวนพนักงาน 150 คน เปนผูผลิตอุปกรณ ฮารดแวรเพื่อรองรับการสื่อสารระหวางเครื่องคอมพิวเตอรเครือขายที่ไดรับการยอม รับคอนขางมากในหมู นักเลนลีนุกซ ไมวาจะเปนอุปกรณเราทเตอร, แผงวงจรอนุกรม, หรือระบบ เชื่อมโยงไรสาย ฯลฯ ผลิตภัณฑ ฮารดแวรของ Cyclades ไดรับการสนับสนุนยืนยันจากวารสาร Linux Journal วาเปนอุปกรณที่เหมาะกับการ สื่อสารภายใตระบบปฏิบัติการลีนุกซมากที่สุด  Walnut Creek CDROM : กอตั้งขึ้นในป ค.ศ. 1991 มีจํานวน พนักงาน 30 คน ดําเนินธุรกิจเกี่ยวกับการพัฒนาชุดโปรแกรมสําเร็จรูปจาก ชุดคําสั่ง Open Source code เปนหลัก เชน ผลิตภัณฑกลุม FreeBSD/OS ก็ไดรับการยอมรับใชงานโดยเว็บไซทชื่อดังอยาง Yahoo! และ HotMail ในขณะที่โปรแกรมประยุกต Slackware ก็ไดรับการตอนรับ เปนอยางดีจากบรรดา หนวยงานธุรกิจขนาดยอม โดยโปรแกรม Slackware นี้คอนขางมีชื่อเสียงในเรื่องทนทาน ไมเสีย ไมแฮ็งคงายๆ เวลา ที่ตองรับกับสภาพการใชงานหนักๆ  Cygnus Solutions : เปนบริษัทผูประกอบธุรกิจดาน Open Source code ที่คอนขางเกา ไดรับการกอตั้งมาตั้งแตป ค.ศ. 1998 ปจจุบัน มีจํานวนพนักงาน 180 คน ได พัฒนาโปรแกรมสําเร็จรูปซึ่งมีรากฐานมาจาก Open Source code ออกจําหนายจายแจกหลายตอ หลายรุน ดวยกันแลว ยกตัวอยาง eCos OS (บางรุนก็ขาย บางรุนก็แจกฟรี ใครอยากรูวามีอะไร แจกฟรีบางคงตอง เปดไปดูที่เว็บไซทของ Cygnus Solutions เองวาพอจะมีอะไรใหดาวนโหลดมา ใชบาง) ตารางที่ 2 แสดงใหเห็นชื่อ และชนิดของธุรกิจที่ประสบความสําเร็จจากการนําเอา Open Source code และระบบปฏิบัติการลีนุกซไปใชพัฒนาผลิตภัณฑ
  • 14. file : linux.doc page : 14 "Cobalt Networks" กรณีศึกษาของธุรกิจ Open Source บริษัทโคบอลต เน็ตเวิรก (Cobalt Networks) คือหนึ่งในกิจการที่ประสบความสําเร็จสูงมากจากการ นําเอา Open Source code ไปประยุกตใช โดยทางบริษัทสามารถจําหนายเครื่องเซิรฟเวอรออกไปไดมากกวาหนึ่ง หมื่นเครื่องในชวงระยะเวลาไมถึงหนึ่งป (นับจาก เดือนมีนาคม 1998 ถึงมีนาคม 1999) สงผลใหบริษัท โคบอลต เน็ตเวิรกเจริญเติบโตขึ้นอยางรวดเร็ว มีการขยายสาขาจากสํานักงานใหญที่เมืองซิลิคอน วัลเลย ออกไปในหลายๆ เมืองของสหรัฐ ฯ มีการกอตั้งบริษัทสาขาไวในตางประเทศ ทั้งใน ญี่ปุน, เยอรมัน, อังกฤษ, และเนเธอรแลนด ฯลฯ ในชวงระยะเวลาไมถึงสามปนั้น บริษัทโคบอลต เน็ตเวิรกไดเพิ่มจํานวนพนักงานจาก 14 คน ไปเปน 80 คน แถมยังวางแผนเจาะเขาไปในตลาดที่บริษัทคอมพิวเตอรสวนใหญยังไมคอยใหความสนใจเทาใดนัก อยางเชน ญี่ปุน, จีน และรัสเซีย โดยเฉพาะในญี่ปุนนั้น ทางบริษัทโคบอลต เน็ตเวิรก หมายมั่น ปนมือวาจะพยายามผลักดันให ผลิตภัณฑคอมพิวเตอรมาตรฐานสําหรับหนวยงานธุรกิจทั่วๆ ไป ใหได ซึ่งผลจากการพัฒนาอยางกาวกระโดดเชนนี้ สงผลใหไดรับความสนใจเขารวมกิจการจากกลุมลงทุนชั้นนําทั่วโลก ไมวาจะเปน NTT, Mitsui Comtek, France Telecom, Chase Capital Partners, Tech Fund Capital, Vanguard Venture Partners, หรือ Crystal Internet Venture Fund ฯลฯ อยางไรก็ตาม หากเราศึกษาลงลงไปในประวัติการกอตั้งบริษัทโคบอลต เน็ตเวิรก ก็จะพบความจริงที่ นาสนใจวา ชวงปลายป ค.ศ. 1996 ที่ วิเวก เมหรา, มารค ออร และ สตีเฟน เดอวิตต เริ่มกอรางสรางบริษัทโค บอลต เน็ตเวิรกนั้น ศัพทคําวา Open Source ยังไมไดรับการรับรูในหมูผูใชคอมพิวเตอรเลย จวบจนกระทั่งเดือน มีนาคม 1998 ที่บริษัทโคบอลต เน็ตเวิรก เริ่มเปดตัวสินคารุนแรกออกสูตลาดนั่นแหละ ที่พวกเขาไดเริ่มตระหนักวา การนําเอาระบบปฏิบัติการลีนุกซมาติดตั้งบนเครื่องคอมพิวเตอรของตนสามารถทํากําไรยอนกลับมาไดเปนกอบเปนกํา ทีเดียว กอนที่จะมีการกอตั้งบริษัทโคบอลต เน็ตเวิรก นั้น สตีเฟน เดอวิตต เคยดํารงตําแหนงเปนรองประธาน และกรรมการผูจัดการของบริษัทซิสโก ในขณะที่ วิเวก เมหรา และ มารค ออร ก็ทํางาน เปนผูบริหารระดับสูงอยูที่ บริษัทแอปเปล (เมหราอยูฝายวิศวกรรม สวนออรอยูฝายการตลาด) พวก เขามารวมหัวกันวาทําอยางไรถึงจะผลิต เครื่องคอมพิวเตอรที่มีความเหมาะสมตอการทํางานเปนเครื่อง Web Server โดยมีเปาหมายวาผลิตภัณฑ คอมพิวเตอรที่จะผลิตออกมานั้นจะตองใชงานไดงายๆ และมีราคาไมแพง พวกเขามองเห็นอนาคตของเครื่อง คอมพิวเตอรรุนนี้วาจะตองทําเงินใหอยางมหาศาล หาก สามารถครองสวนแบงตลาดสินคากลุมนี้ไดมากพอ ตรงนี้อาจจะตองยอนกลับไปอีกนิด เริ่มจากรายงานผลการสํารวจตลาดคอมพิวเตอรป 1996 ของ บริษัทวิจัย Zona Research ที่ไดพยากรณอนาคตของอุตสาหกรรมคอมพิวเตอรไววา กอนสิ้นป ค.ศ. 1999 ตลาด เครื่องเซิรฟเวอรสําหรับอินเทอรเน็ต (Web server) จะมีการเติบโตขึ้นไปถึงระดับ 2 พันลานเหรียญสหรัฐฯ ในขณะ ที่ตลาดเครื่องเซิรฟเวอรสําหรับอินทราเน็ตก็จะโตขึ้นไปไดถึงระดับ หนึ่งหมื่นสองพันลานเหรียญ (การพยากรณนี้มี โอกาสเกิดขึ้นจริงไดสูงมาก เพราะจากยอดจําหนายโดยรวมในปที่แลว ปรากฏวา ตลาดเครื่องเว็บเซิรฟเวอรโดยรวม คือ 1.3 พันลานเหรียญ และยอด จําหนายของเครื่องเซิรฟเวอรสําหรับอินทราเน็ตมีมูลคาเทากับ 7.3 พันลานเหรียญ)