SlideShare une entreprise Scribd logo
1  sur  34
Télécharger pour lire hors ligne
Powerpoint Templates
Page 1
Powerpoint Templates
กฎหมาย
VS
วิชาชีพพยาบาล
Powerpoint Templates
Page 2
Relasionship
พยาบาล
กฎหมาย
มาตรฐาน
วิชาชีพ
Service
mind
จริยธรรม
Powerpoint Templates
Page 3
กฎหมาย VS วิชาชีพ
• พยาบาลเป็นผู้ประกอบวิชาชีพทางด้านสาธรณสุขการ
ปฏิบัติงานต้องอยู่ภายใต้กฎหมายทุกฉบับที่เกี่ยวข้องกับการ
ทางาน หลักๆจะมีกฎหมายที่เกี่ยวข้องอยู่ประมาณ 3 ฉบับ
- กฎหมายการพยาบาลและผดุงครรภ์
- พระราชบัญญัติสุขภาพปี 2550
- ระเบียบกระทรวงสาธารณสุขที่เกี่ยวข้อง
Powerpoint Templates
Page 4
กฎหมายการพยาบาลและผดุงครรภ์:ประเด็นสาคัญ
• มีใบประกอบวิชาชีพที่ไม่หมดอายุและไม่ถูกพักหรือเพิกถอน
• ไม่ออกใบรับรองอันเป็นเท็จโดยเจตนาหรือให้ความเห็นโดยไมสุจริตต่อ
วิชาชีพ
• ไม่เปิดเผยความลับของผู้ป่วย
• ไม่ปฏิเสธความช่วยเหลือผู้ที่อยู่ในระยะะอันตรายจากการเจ็บป่วย
เมือได้รับการร้องขอและสามารถช่วยได้ ให้ยาผู้ป่วยได้เมื่อมี
คาสั่งแพทย์เท่านั้นหรือเพื่อเป็นการปฐมพยาบาล
Powerpoint Templates
Page 5
 ให้ยาตามแผนการรักษา หรือ ปฐมพยาบาล
 ห้ามมิให้ยาหรือสารละลายทางไขสันหลัง
 ห้ามมิให้ยาสารละลายทางหลอดเลือดดา
 สารละลายทึบแสงทุกชนิด (contrast media)
 ยาเคมีบาบัด ยกเว้น
 ต้องผ่านการอบรม เตรียมโดยผู้ประกอบวิชาชีพอื่น
 หลอดเลือดดาส่วนปลาย หรือหลอดเลือดดาที่เปิดไว้แล้วโดยแพทย์
 ยาระงับความรู้สึกทางหลอดเลือดดา (intravenous anesthetic agents)
ได้แก่ thiopental sodium, ketamine hydrochloride, propofol,
etomidate ยกเว้นผ่านการอบรมวิสัญญีพยาบาล และ
ปฏิบัติงานในสถานพยาบาลรัฐ
กฎหมายการพยาบาลและผดุงครรภ์:ประเด็นสาคัญ
Powerpoint Templates
Page 6
 หมวด 2 การประกอบวิชาชีพการพยาบาล: หัตถการตามขอบเขต
กาหนด
การทาแผล การตกแต่งบาดแผล การเย็บแผล การตัดไหม
การผ่าฝี -> ตาแหน่งที่ไม่เป็นอันตรายต่ออวัยวะสาคัญ
การถอดเล็บ การจี้หูด/ จี้ตาปลา
การผ่าตัดเอาสิ่งแปลกปลอม ที่อยู่ในตาแหน่งซึ่งไม่ใช่อวัยวะสาคัญ
โดยฉีดยาระงับความรู้สึกทางผิวหนัง
การล้างตา
กฎหมายการพยาบาลและผดุงครรภ์:ประเด็นสาคัญ
Powerpoint Templates
Page 7
พระราชบัญญัติสุขภาพปี 2550:ประเด็นสาคัญ
• มาตรา ๗ข้อมูลด้านสุขภาพของบุคคล เป็นความลับส่วนบุคคล ผู้ใดจะนาไปเปิดเผย
ในประการที่น่าจะทาให้บุคคลนั้นเสียหายไม่ได้
• มาตรา ๙ บุคลากรด้านสาธารณสุขต้องแจ้งข้อมูลด้านสุขภาพที่เกี่ยวข้องกับการ
ให้บริการให้ผู้รับบริการทราบอย่างเพียงพอที่ผู้รับบริการจะใช้ประกอบการตัดสินใจ
ในการรับหรือไม่รับบริการใด และในกรณีที่ผู้รับบริการปฏิเสธไม่รับบริการใด จะ
ให้บริการนั้นมิได้ ยกเว้นอยู่ในภาวะที่เสี่ยงอันตรายถึงชีวิตและมีความจาเป็นต้องให้
ความช่วยเหลือเป็นการรีบด่วน
Powerpoint Templates
Page 8
• ในกรณีที่เกิดความ เสียหายหรืออันตรายแก่ผู้รับบริการเพราะเหตุที่
ผู้รับบริการปกปิด ข้อเท็จจริงที่ตนรู้และควรบอกให้แจ้ง หรือแจ้ง
ข้อความอันเป็นเท็จ ผู้ให้บริการไม่ต้องรับผิดชอบในความเสียหายหรือ
อันตรายนั้น เว้นแต่เป็นกรณีที่ผู้ให้บริการประมาทเลินเล่อ อย่างร้ายแรง
• มาตรา ๑๒ บุคคลมีสิทธิทาหนังสือแสดงเจตนาไม่ประสงค์จะรับบริการ
สาธารณสุขที่เป็นไปเพียงเพื่อยืดการตายในวาระสุดท้ายของชีวิตตน
หรือเพื่อยุติการทรมานจากการเจ็บป่วยได้
พระราชบัญญัติสุขภาพปี 2550:ประเด็นสาคัญ
Powerpoint Templates
Page 9
โทษทางกฎหมายที่ควรรู้
โทษทางอาญา โทษทางแพ่ง
โทษในฐานะผู้
ประกอบวิชาชีพ
Powerpoint Templates
Page 10
ความรับผิดทางอาญากับการปฏิบัติการพยาบาล
1) ประมาทในการประกอบวิชาชีพ*
2) การทอดทิ้งหรือละเลยผู้ป่วย
3) การเปิดเผยความลับของผู้ป่วย
4) การปฏิเสธความช่วยเหลือผู้ที่ตกอยู่ในอันตรายต่อชีวิต
5) ความผิดเกี่ยวกับเอกสาร
6) การทาให้หญิงแท้งลูก
Powerpoint Templates
Page 11
1. ประมาทในการประกอบวิชาชีพ*
การกระทาหรือการพยาบาลโดยขาดความระมัดระวัง หรือ
ไม่ได้ใช้ความ ระมัดระวัง เพียงพอตามวิสัยของวิชาชีพ จนเกิดความ
เสียหายอันตรายต่อสุขภาพหรือ ชีวิตแก่ผู้ใช้บริการ
การตัดสินว่าการกระทาใดเป็นประมาทหรือไม่ พิจารณาตาม
มาตรฐาน วิชาชีพหรือ สภาพแวดล้อมหรือพฤติการณ์ขณะกระทา
เป็นองค์ประกอบ โดยพิจารณาว่ามีความระมัดระวังเทียบเท่ากับ
บุคลากรในวิชาชีพเดียวกัน ซึ่งมีสถานการณ์ที่คล้ายกัน หากไม่ได้
ใช้ความระมัดระวังตามวิสัยของผู้ประกอบวิชาชีพแสดงถึงการขาด
ความรู้หรือไม่ได้รับการอบรม ถือว่าเป็นการประมาท
Powerpoint Templates
Page 12
ตัวอย่าง
พยาบาลวิชาชีพ ควรระมัดระวังเรื่องการป้องกันการติดเชื้อ
จากการทาแผล โดย ไม่ใช้ชุดทาแผลที่หมดอายุ ระหว่างทาแผล
ต้องประเมินแผล ระมัดระวังไม่ให้มีการปนเปื้อน หากพบ
ความผิดปกติต้องรายงานแพทย์
ก่อนให้สารน้าทางหลอดเลือดดา ต้องไล่อากาศออกจากสาย
ทุกครั้ง
การให้ยาต้องใช้หลักการบริหารยา 6 ประการ
Powerpoint Templates
Page 13
มีสาเหตุมาจากทางานเกินขอบเขตวิชาชีพ , ทางาน
นอกเหนือหน้าที่ , หรือมีหน้าที่แต่ไม่ทา
แบ่งเป็น 6 ประเภท
1. ไม่ปฏิบัติตามมาตรฐานวิชาชีพ
2. ใช้เครื่องมือ/อุปกรณ์การแพทย์ไม่ถูกต้อง
3. ความบกพร่องด้านการสื่อสาร
4. ความบกพร่องด้านการบันทึก
5. ความบกพร่องด้านการประเมินและเฝ้าระวังอาการ
6. ความบกพร่องด้านการไม่พิทักษ์สิทธิผู้ป่วย
ประเภทของประมาทในการประกอบวิชาชีพ*
Powerpoint Templates
Page 14
 ประเมินผู้ป่วยแรกรับไม่ครบถ้วน
 ไม่ซักประวัติแพ้ยาและแพ้สารอื่นๆ
 ไม่สอบถามยาที่ผู้ป่วยได้รับ
 ไม่วางแผนการดูแลผู้ป่วย
 ไม่ปฏิบัติตามนโยบายหรือแนวทางปฏิบัติของโรงพยาบาล
 ไม่ปฏิบัติตามคาสั่งการรักษาของแพทย์ทั้งลายลักษณ์อักษรและวาจา ยกเว้น
คาสั่งนั้นพยาบาลทราบอยู่แล้วว่าถ้าทาจะทาให้ผู้ป่วยเกิดอันตราย เช่น การ
ให้ KCL I.V push
 ไม่สอนวิธีการปฏิบัติตนเมื่อกลับบ้าน
 รวมถึงการมอบหมายให้ผู้ที่ไม่ผ่านอบรมหรือไม่มีความสามารถพียงพอ
ปฏิบัติหน้าที่แทน เช่น ผู้ช่วยพยาบาลประเมิน Neuro sign ,ฉีดยา
1.ไม่ปฏิบัติตามมาตรฐานวิชาชีพ
Powerpoint Templates
Page 15
 ไม่ปฏิบัติตามคู่มือการใช้เครื่องมือ
 ไม่ตรวจสอบความปลอดภัยของเครื่องมือก่อนนามาใช้
 วางเครื่องมือไว้ในตาแหน่งที่ไม่เหมาะสมระหว่างให้การรักษา
 ไม่เรียนรู้การทางานของเครื่องมือ
 ไม่ตอบสนองหรือรีบตรวจสอบเมื่อมีเสียงเตือน(Alarm)
 ไม่ตรวจสอบสภาพความพร้อมใช้ของเครื่องมือ
 ไม่มีระบบการดูแลรักษาเครื่องมือที่เป็นมาตรฐาน
2.ใช้เครื่องมือ/อุปกรณ์การแพทย์ไม่ถูกต้อง
Powerpoint Templates
Page 16
 ไม่รายงานแพทย์เมื่อผู้ป่วยมีอาการเปลี่ยนแปลง
 รายงานแพทย์ในเวลาที่ไม่เหมาะสม
 ไม่รับฟังความกังวลของผู้ป่วย
 ให้ข้อมูลการปฏิบัติตัวแก่ผู้ป่วยไม่เพียงพอเมื่อออกจากรพ.
 ไม่พยายามหาผู้ที่สามารถตัดสินใจในการรักษา
เช่น ตามแพทย์เวรไม่ได้ แล้วไม่ตามท่านอื่นมารักษาแทน
ทาให้อาการผู้ป่วยทรุดหนัก
3.ความบกพร่องด้านการสื่อสาร
Powerpoint Templates
Page 17
 ไม่บันทึกการเปลี่ยนแปลงของผู้ป่วยไว้ในเวชระเบียน
เช่น รายละเอียดบาดแผล ประวัติการแพ้ยาแพ้อาหาร
 ไม่บันทึกคาสั่งการรักษาของแพทย์ เมื่อสั่งทางโทรศัพท์
 ไม่บันทึกสาระของคาสั่งพร้อมกับเวลาที่สั่ง เวลาโทรตาม
 กรณีที่ตามครั้งแรกไม่ได้ ได้ติดตามต่อกี่ครั้ง และได้โทรหา
ท่านอื่นมารักษาให้ทันเวลาหรือไม่
4. ความบกพร่องด้านการบันทึก
Powerpoint Templates
Page 18
 ประเมินอาการในแต่ละเวรไม่ครบถ้วน
 ไม่ปรับปรุงแผนการดูแล
 ไม่สังเกตการเปลี่ยนแปลงของผู้ป่วย
 ไม่รายงานแพทย์เมื่อมีความผิดปกติ
 มอบหมายให้ผู้ที่ไม่มีความรู้ความสามารถเพียงพอ
หรือยังไม่ผ่านการอบรม มาประเมินผู้ป่วยแทนตน
5. ความบกพร่องด้านการประเมินและเฝ้าระวังอาการ
Powerpoint Templates
Page 19
 ไม่ทักท้วงเมื่อแพทย์มีคาสั่งให้จาหน่ายผู้ป่วย ออกจากรพ. ทั้งๆที่
ผู้ป่วยอาการยังไม่ดีพอ
 ไม่สอบถามเมื่อมีคาสั่งยาที่สงสัย ไม่ครบถ้วน
 ไม่จัดสภาพแวดล้อมให้ปลอดภัย
6. ความบกพร่องด้านการไม่พิทักษ์สิทธิผู้ป่วย
Powerpoint Templates
Page 20
 ไม่มาขึ้นเวร
 ไม่ดูแลผู้ป่วย
 หลับเวร
ดูละคร
ขาดความเอาใจใส่ดูแลผู้ป่วยตามหน้าที่ทาให้ผู้ป่วยได้รับ
อันตรายหรือมือาการหนักขึ้น
2. การทอดทิ้งหรือละเลยผู้ป่วย
Powerpoint Templates
Page 21
• มาตรา ๗ พระราชบัญญัติสุขภาพ ปี 2550 ข้อมูลด้านสุขภาพของบุคคล
เป็นความลับส่วนบุคคล ผู้ใดจะนาไปเปิดเผยในประการที่น่าจะทาให้
บุคคลนั้นเสียหายไม่ได้
3. การเปิดเผยความลับของผู้ป่วย
Powerpoint Templates
Page 22
ข้อยกเว้นความผิดฐานเปิดเผยความลับ
ข้อผูกพันหรือหน้าที่
โรคติดต่อร้ายแรงเสี่ยงต่อการแพร่กระจาย
ผู้ป่วยไม่อาจรับผิดชอบหรือตัดสินใจด้วยตนเอง
คาสั่งศาล
ผู้ป่วยรับรู้และยินยอมให้เปิดเผย
การรายงานการทุบตีทาร้ายร่างกายในครอบครัว
รายงานบาดแผลที่ผู้ป่วยมารักษาที่อาจเกิดขึ้น
เนื่องจากก่อคดีอาชญากรรม
Powerpoint Templates
Page 23
แนวปฏิบัติในการรักษาความลับของผู้ป่วย
 ไม่นาเรื่องของผู้ป่วยมาพูดในที่สาธารณะ เช่น ห้องอาหาร ลิฟท์ รถเมล์ ทางเดิน
 ไม่ตอบข้อมูลด้านการรักษาพยาบาลของผู้ป่วยทางโทรศัพท์
 ไม่วางแฟ้มผู้ป่วยไว้ที่หน้าห้องผู้ป่วย/ปลายเตียง
 ไม่นาบันทึกรายงานผู้ป่วยออกจากหอผู้ป่วย
 ระมัดระวังการพูดเกี่ยวกับการวินิจฉัย และการรักษาในห้องผู้ป่วยที่เป็นห้องรวม
 จัดเก็บรายงานผู้ป่วยไว้เป็นสัดส่วน
 ไม่เปิดเผยข้อมูลแก่ญาติโดยผู้ป่วยไม่ยินยอม
 มีนโยบายจากัดการเข้าถึงข้อมูลผู้ป่วย จากการสืบค้นข้อมูลทางคอมพิวเตอร์
 ปฏิบัติตามแนวทางการขอเวชระเบียน หรือการแจ้งข้อมูลผู้ป่วยต่อบุคคลที่สาม
เพื่อป้องกันการนาความลับผู้ป่วยไปใช้ในทางเสื่อมเสียแก่ผู้ป่วยและครอบครัว
Powerpoint Templates
Page 24
4. การปฏิเสธความช่วยเหลือผู้ที่ตกอยู่ใน อันตรายต่อชีวิต
- การไม่ช่วยเหลือหรือปฏิเสธการช่วยเหลือผู้อื่นที่อาจเป็น
อันตรายทั้งๆที่อาจช่วยได้แต่ไม่ช่วยตามความจาเป็น
ม. 374
Powerpoint Templates
Page 25
5. ความผิดเกี่ยวกับเอกสาร
- กรอกข้อความลงในแผ่นกระดาษหรือ
วัตถุอื่นใด
-มีลายมือชื่อของผู้อื่น
-ไม่ได้รับความยินยอม
-ใช้ในกิจการ ที่อาจเกิดความเสียหายแก่ผู้
หนึ่งผู้ใด
-เจตนา
การปลอม
เอกสาร
การรับรอง
เอกสารเท็จ
- ผู้ประกอบการงานในวิชาแพทย์ /
พยาบาล
-ทาคารับรองเอกสารอันเป็นเท็จ
-น่าจะเกิดความเสียหายแก่ผู้อื่น
-เจตนา
Powerpoint Templates
Page 26
6.การทาให้หญิงแท้งลูก
• การทาแท้งที่ถูกกฎหมาย
1.ทาเนื่องจากสุขภาพหญิงตั้งครรภ์
2.ถูกข่มขืน
• เกณฑ์การยุติการตั้งครรภ์ทางการแพทย์
1.การยุติการตั้งครรภ์ทางการแพทย์ที่กฏหมายอนุญาตทาได้เมื่อหญิงตั้งครรภ์ยินยอม
2.แพทย์ผู้กระทาต้องเป็นผู้ประกอบวิชาชีพเวชกรรมตามกฎหมาย คือ สูติแพทย์
3.การยุติการตั้งครรภ์ให้เป็นไปตามเงื่อนไข
3.1ต้องกระทาเนื่องจากปัญหาสุขภาพทางกายของหญิงตั้งครรภ์ หรือ
3.2ต้องกระทาเนื่องจากปัญหาสุขภาพจิตของหญิงตั้งครรภ์ หรืแ
3.3 ต้องได้รับการรับรองหรือเห็นชอบจากผู้ป่ระกอบวิชาชีพเวชกรรม ที่
ไม่ใช่ผู้กระทาการยุติการตั้งครรภ์อย่างน้อยหนึ่งคน
Powerpoint Templates
Page 27
ความรับผิดทางแพ่ง :ละเมิด
“ผู้ใดจงใจหรือประมาทเลินเล่อทา ต่อบุคคลอื่น โดยผิดกฎหมาย ให้เขา
เสียหายถึงแก่ชีวิตก็ดี แก่ร่างกายก็ดี อนามัยก็ดี เสรีภาพก็ดี ทรัพย์สิน หรือ
สิทธิอย่างหนึ่งอย่างใดก็ดี ท่านว่าผู้นั้นทา ละเมิด จาต้องใช้ค่าสินไหม
ทดแทน เพื่อการนั้น” (ม. 420)
Powerpoint Templates
Page 28
หลักเกณฑ์ของการละเมิด
1) การกระทาต่อบุคคลอื่นโดยผิดกฎหมาย
2) การกระทาโดยจงใจหรือประมาทเลินเล่อ
3) ทาให้บุคคลอื่นเสียหาย
ครบองค์ประกอบ -> ค่าสินไหมทดแทน
Powerpoint Templates
Page 29
บุคคลต้องร่วมรับผิดกับผู้กระทา
 นายจ้างต้องร่วมรับผิดกับลูกจ้าง (ม. 425)
 ตัวการต้องรับผิดชอบผลละเมิดของตัวแทน (ม. 427)
 บิดามารดาของผู้เยาว์หรือผู้อนุบาลของผู้วิกลจริต
ต้องร่วมรับผิดกับผู้เยาว์หรือผู้วิกลจริต (ม. 429)
 ครูบาอาจารย์ นายจ้าง หรือบุคคลอื่นต้องร่วมรับผิด
กับผู้ไร้ความสามารถ (ม. 430)
Powerpoint Templates
Page 30
1. การกระทาต่อผู้อื่นโดยผิดกฎหมาย
พยาบาลไม่เดินมาดูอาการผู้ป่วยตามคาร้องขอของญาติ
ผูกยึดผู้ป่วย โดยไม่มีความจาเป็น จนผู้ป่วยได้รับบาดเจ็บ
การกระทาต่อผู้อื่นโดยผิดกฎหมาย การฝ่าฝืนข้อห้าม
การละเว้นในสิ่งที่กฎหมายกาหนดให้กระทา
Powerpoint Templates
Page 31
2. การกระทาโดยจงใจหรือประมาท
การกระทาโดยจงใจ การกระทาโดยประมาทเลินเล่อ
ทาโดยตั้งใจ
-ไม่มีสิทธิ หรือใช้สิทธิเกินขอบเขต
- ทาให้เกิดความเสียหายแก่ผู้อื่น
โดยรู้ถึงผล
- ทาโดยเจตนาและเล็งเห็นผลของการกระทา
นั้น
-พยาบาล ไม่ดูดเสมหะให้นาย ก
ที่ใส่ท่อ เจาะคอ เนื่องจากโกรธเคืองญาติ
ต่อมานาย ก ตาย
พยาบาลมีความผิดเนื่องจากงดเว้นการกระทา
โดยจงใจ
ทาโดยไม่ได้จงใจ
แต่ขาดการความระมัดระวังในระดับวิญญู
ชน ตามวิสัยและพฤติการณ์
**พยาบาลต้องมีความระมัดระวังในการ
ปฏิบัติพยาบาลสูงกว่าระดับ
วิญญูชน**
Powerpoint Templates
Page 32
การกระทาโดยจงใจหรือประมาท
พยาบาลผสม potassium chloride ใน ampicillin
โดยเข้าใจว่าเป็น sterile water และฉีดให้ผู้ป่วยเข้าทาง
หลอดเลือดดา เป็นเหตุให้ผู้อื่นเสียชีวิตทันที พยาบาลมีความผิด
ฐานทาให้ผู้อื่นถึงแก่ความตายโดยประมาท
ผู้ป่วยกาลังคลอดบุตรในLR พยาบาลประจาห้องนั่งอ่านนิตยสาร
และไม่ยอมตามสูติแพทย์ แม้ผู้ป่วยและสามีร้องขอเป็นครั้งที่ 2
ผู้ป่วยคลอดบุตรก่อนสูติแพทย์มาทัน และได้รับอันตรายร้ายแรง
ศาลวินิจฉัยว่า พยาบาลมิได้ใช้ความระมัดระวังตามมาตรฐาน
รพ. ต้องรับผิดชอบร่วมในการละเมิดของพยาบาล
Powerpoint Templates
Page 33
คือ การกระทาให้ผู้อื่นขาดประโยชน์ที่เคยได้รับ หรือได้รับความเสียหาย
ต่อชีวิต ร่างกาย อนามัย เสรีภาพ ทรัพย์สินและสิทธิต่างๆ
• เสียหายต่อชีวิต: ทาให้ผู้อื่นถึงแก่ความตาย
• เสียหายแก่ร่างกาย: บาดเจ็บ ทุพพลภาพ หรือเจ็บป่วยเรื้อรัง
เช่น เด็กมีตุ่มหนองที่ปาก มาทา excision(กรีดหนองออก)
แต่ได้ทา Circumcision (ขลิบอวัยวะเพศ)แทน
3. การทาให้ผู้อื่นเสียหาย
Powerpoint Templates
Page 34
• เสียหายแก่อนามัย: ความสุขสบาย ความรู้สึกต่างๆ เศร้าใจ
เสียใจ
นาย A ไม่สบายท้อง ไปตรวจแพทย์ B บอกว่าเป็นมะเร็ง
ระยะสุดท้ายอยู่ได้ไม่เกิน 1 ปี ทาให้นาย A เสียใจ ท้อแท้ คิดฆ่า
ตัวตาย ลาออกจากงาน แต่เมื่อครบ 1 ปี นายA ไม่ตาย พอไป
ตรวจใหม่พบว่าไม่ได้เป็นมะเร็ง นายA ฟ้องร้องได้
• เสียหายเสรีภาพ: กักขังหน่วงเหนี่ยวผู้อื่น ไม่อนุญาตให้ผู้ป่วย
กลับบ้าน หรือไม่มีคาสั่งจาหน่ายผู้ป่วย เพราะต้องการเก็บข้อมูล
เพื่อการวิจัย เป็นต้น
3. การทาให้ผู้อื่นเสียหาย

Contenu connexe

Tendances

วิชาการพยาบาลผู้สูงอายุ
วิชาการพยาบาลผู้สูงอายุ วิชาการพยาบาลผู้สูงอายุ
วิชาการพยาบาลผู้สูงอายุ pueniiz
 
Ppt. ตัวอย่าง 12 กิจกรรมทบทวน
Ppt. ตัวอย่าง 12 กิจกรรมทบทวนPpt. ตัวอย่าง 12 กิจกรรมทบทวน
Ppt. ตัวอย่าง 12 กิจกรรมทบทวนPrachaya Sriswang
 
การพยาบาลผู้ป่วยที่มีปัญหา ของระบบทางเดินหายใจ
การพยาบาลผู้ป่วยที่มีปัญหา ของระบบทางเดินหายใจการพยาบาลผู้ป่วยที่มีปัญหา ของระบบทางเดินหายใจ
การพยาบาลผู้ป่วยที่มีปัญหา ของระบบทางเดินหายใจtechno UCH
 
Total parenteral nutrition
Total parenteral nutrition Total parenteral nutrition
Total parenteral nutrition techno UCH
 
วิชาการพยาบาลผู้สูงอายุ (1)
วิชาการพยาบาลผู้สูงอายุ (1)วิชาการพยาบาลผู้สูงอายุ (1)
วิชาการพยาบาลผู้สูงอายุ (1)pueniiz
 
PICO : ค้นข้อมูลอย่างไรให้ตรงประเด็นการรักษา
PICO : ค้นข้อมูลอย่างไรให้ตรงประเด็นการรักษาPICO : ค้นข้อมูลอย่างไรให้ตรงประเด็นการรักษา
PICO : ค้นข้อมูลอย่างไรให้ตรงประเด็นการรักษาsongsri
 
คู่มือ ICD (Chest drain)
คู่มือ ICD (Chest drain)คู่มือ ICD (Chest drain)
คู่มือ ICD (Chest drain)Weerawan Ueng-aram
 
10 r กับการให้ยาอย่างปลอดภัย
10 r กับการให้ยาอย่างปลอดภัย10 r กับการให้ยาอย่างปลอดภัย
10 r กับการให้ยาอย่างปลอดภัยSuradet Sriangkoon
 
SฺBAR เอสบา การสื่อสารอย่างปลอดภัย
SฺBAR เอสบา การสื่อสารอย่างปลอดภัยSฺBAR เอสบา การสื่อสารอย่างปลอดภัย
SฺBAR เอสบา การสื่อสารอย่างปลอดภัยSuradet Sriangkoon
 
Ppt.มะเร็งเต้านม
Ppt.มะเร็งเต้านมPpt.มะเร็งเต้านม
Ppt.มะเร็งเต้านมPrachaya Sriswang
 
การส่งเสริมการขับถ่ายอุจจาระ 57
การส่งเสริมการขับถ่ายอุจจาระ 57การส่งเสริมการขับถ่ายอุจจาระ 57
การส่งเสริมการขับถ่ายอุจจาระ 57Sirinoot Jantharangkul
 
ยารักษาโรคจิตเวช รพ. สหัสขันธ์
ยารักษาโรคจิตเวช รพ. สหัสขันธ์ยารักษาโรคจิตเวช รพ. สหัสขันธ์
ยารักษาโรคจิตเวช รพ. สหัสขันธ์Utai Sukviwatsirikul
 
การพยาบาลDhf
การพยาบาลDhfการพยาบาลDhf
การพยาบาลDhfMaytinee Beudam
 
27การตรวจครรภ์
27การตรวจครรภ์27การตรวจครรภ์
27การตรวจครรภ์Papawee Laonoi
 
Ppt 12 กิจกรรมทบทวน
Ppt 12 กิจกรรมทบทวนPpt 12 กิจกรรมทบทวน
Ppt 12 กิจกรรมทบทวนPrachaya Sriswang
 
วิธีการดูแลเท้าในผู้ป่วยเบาหวานในชุมชน
วิธีการดูแลเท้าในผู้ป่วยเบาหวานในชุมชนวิธีการดูแลเท้าในผู้ป่วยเบาหวานในชุมชน
วิธีการดูแลเท้าในผู้ป่วยเบาหวานในชุมชนUtai Sukviwatsirikul
 

Tendances (20)

วิชาการพยาบาลผู้สูงอายุ
วิชาการพยาบาลผู้สูงอายุ วิชาการพยาบาลผู้สูงอายุ
วิชาการพยาบาลผู้สูงอายุ
 
Ppt. ตัวอย่าง 12 กิจกรรมทบทวน
Ppt. ตัวอย่าง 12 กิจกรรมทบทวนPpt. ตัวอย่าง 12 กิจกรรมทบทวน
Ppt. ตัวอย่าง 12 กิจกรรมทบทวน
 
การบริหารการพยาบาล
การบริหารการพยาบาลการบริหารการพยาบาล
การบริหารการพยาบาล
 
การพยาบาลผู้ป่วยที่มีปัญหา ของระบบทางเดินหายใจ
การพยาบาลผู้ป่วยที่มีปัญหา ของระบบทางเดินหายใจการพยาบาลผู้ป่วยที่มีปัญหา ของระบบทางเดินหายใจ
การพยาบาลผู้ป่วยที่มีปัญหา ของระบบทางเดินหายใจ
 
Total parenteral nutrition
Total parenteral nutrition Total parenteral nutrition
Total parenteral nutrition
 
วิชาการพยาบาลผู้สูงอายุ (1)
วิชาการพยาบาลผู้สูงอายุ (1)วิชาการพยาบาลผู้สูงอายุ (1)
วิชาการพยาบาลผู้สูงอายุ (1)
 
PICO : ค้นข้อมูลอย่างไรให้ตรงประเด็นการรักษา
PICO : ค้นข้อมูลอย่างไรให้ตรงประเด็นการรักษาPICO : ค้นข้อมูลอย่างไรให้ตรงประเด็นการรักษา
PICO : ค้นข้อมูลอย่างไรให้ตรงประเด็นการรักษา
 
คู่มือ ICD (Chest drain)
คู่มือ ICD (Chest drain)คู่มือ ICD (Chest drain)
คู่มือ ICD (Chest drain)
 
10 r กับการให้ยาอย่างปลอดภัย
10 r กับการให้ยาอย่างปลอดภัย10 r กับการให้ยาอย่างปลอดภัย
10 r กับการให้ยาอย่างปลอดภัย
 
SฺBAR เอสบา การสื่อสารอย่างปลอดภัย
SฺBAR เอสบา การสื่อสารอย่างปลอดภัยSฺBAR เอสบา การสื่อสารอย่างปลอดภัย
SฺBAR เอสบา การสื่อสารอย่างปลอดภัย
 
Ppt.มะเร็งเต้านม
Ppt.มะเร็งเต้านมPpt.มะเร็งเต้านม
Ppt.มะเร็งเต้านม
 
Warning sign
Warning signWarning sign
Warning sign
 
การส่งเสริมการขับถ่ายอุจจาระ 57
การส่งเสริมการขับถ่ายอุจจาระ 57การส่งเสริมการขับถ่ายอุจจาระ 57
การส่งเสริมการขับถ่ายอุจจาระ 57
 
2016 Respiratory Assessment
2016 Respiratory Assessment2016 Respiratory Assessment
2016 Respiratory Assessment
 
ยารักษาโรคจิตเวช รพ. สหัสขันธ์
ยารักษาโรคจิตเวช รพ. สหัสขันธ์ยารักษาโรคจิตเวช รพ. สหัสขันธ์
ยารักษาโรคจิตเวช รพ. สหัสขันธ์
 
การพยาบาลDhf
การพยาบาลDhfการพยาบาลDhf
การพยาบาลDhf
 
27การตรวจครรภ์
27การตรวจครรภ์27การตรวจครรภ์
27การตรวจครรภ์
 
Ppt 12 กิจกรรมทบทวน
Ppt 12 กิจกรรมทบทวนPpt 12 กิจกรรมทบทวน
Ppt 12 กิจกรรมทบทวน
 
วิธีการดูแลเท้าในผู้ป่วยเบาหวานในชุมชน
วิธีการดูแลเท้าในผู้ป่วยเบาหวานในชุมชนวิธีการดูแลเท้าในผู้ป่วยเบาหวานในชุมชน
วิธีการดูแลเท้าในผู้ป่วยเบาหวานในชุมชน
 
อาหาร Dm
อาหาร Dmอาหาร Dm
อาหาร Dm
 

Similaire à กฏหมายกับพยาบาล

หลักในการบำบัดรักษาผู้ติดยาเสพติด
หลักในการบำบัดรักษาผู้ติดยาเสพติดหลักในการบำบัดรักษาผู้ติดยาเสพติด
หลักในการบำบัดรักษาผู้ติดยาเสพติดpluakdeang Hospital
 
ธนะรัชต์ นามผลดี การสรรหาคัดกรองผู้เสพ ผู้ติดยาเสพติด
ธนะรัชต์ นามผลดี การสรรหาคัดกรองผู้เสพ ผู้ติดยาเสพติดธนะรัชต์ นามผลดี การสรรหาคัดกรองผู้เสพ ผู้ติดยาเสพติด
ธนะรัชต์ นามผลดี การสรรหาคัดกรองผู้เสพ ผู้ติดยาเสพติดpluakdeang Hospital
 
Business Plan # Mind Health
Business Plan # Mind HealthBusiness Plan # Mind Health
Business Plan # Mind Healthmonsadako
 
อ แสวง เขียนมาดีมาก
อ แสวง เขียนมาดีมากอ แสวง เขียนมาดีมาก
อ แสวง เขียนมาดีมากSupat Hasuwankit
 
แนวทางเวชปฏิบัติโรคลมชักสำหรับแพทย์ 2015
แนวทางเวชปฏิบัติโรคลมชักสำหรับแพทย์ 2015แนวทางเวชปฏิบัติโรคลมชักสำหรับแพทย์ 2015
แนวทางเวชปฏิบัติโรคลมชักสำหรับแพทย์ 2015Pasa Sukson
 
การพัฒนาระบบบริการปฐมภูมิในประเทศไทย
การพัฒนาระบบบริการปฐมภูมิในประเทศไทยการพัฒนาระบบบริการปฐมภูมิในประเทศไทย
การพัฒนาระบบบริการปฐมภูมิในประเทศไทยsoftganz
 
ร้่านยาคุณภาพในระบบหลักประกันสุขภาพแห่งชาติ
ร้่านยาคุณภาพในระบบหลักประกันสุขภาพแห่งชาติร้่านยาคุณภาพในระบบหลักประกันสุขภาพแห่งชาติ
ร้่านยาคุณภาพในระบบหลักประกันสุขภาพแห่งชาติUtai Sukviwatsirikul
 
ปัจจัยที่มีผลต่อแนวโน้มการเข้าร่วมพัฒนา “ร้านยาคุณภาพ” ของร้านยา
ปัจจัยที่มีผลต่อแนวโน้มการเข้าร่วมพัฒนา “ร้านยาคุณภาพ” ของร้านยาปัจจัยที่มีผลต่อแนวโน้มการเข้าร่วมพัฒนา “ร้านยาคุณภาพ” ของร้านยา
ปัจจัยที่มีผลต่อแนวโน้มการเข้าร่วมพัฒนา “ร้านยาคุณภาพ” ของร้านยาUtai Sukviwatsirikul
 
การจัดบริการอาชีวอนามัยในโรงพยาบาล
การจัดบริการอาชีวอนามัยในโรงพยาบาลการจัดบริการอาชีวอนามัยในโรงพยาบาล
การจัดบริการอาชีวอนามัยในโรงพยาบาลโรงพยาบาลสารภี
 
แนวทางเวชปฏิบัติสำหรับโรคเสพยาสูบ
แนวทางเวชปฏิบัติสำหรับโรคเสพยาสูบแนวทางเวชปฏิบัติสำหรับโรคเสพยาสูบ
แนวทางเวชปฏิบัติสำหรับโรคเสพยาสูบUtai Sukviwatsirikul
 
Service profile dentแก้ไข
Service profile dentแก้ไขService profile dentแก้ไข
Service profile dentแก้ไขThanakom Saena
 
อบรม Srrt ชายแดนช่องจอม 5 กค 60
อบรม Srrt ชายแดนช่องจอม 5 กค 60อบรม Srrt ชายแดนช่องจอม 5 กค 60
อบรม Srrt ชายแดนช่องจอม 5 กค 60Paradee Plodpai
 
Pdทฤษฎีการส่มเสริมสุขภาพของเพนเดอร์
Pdทฤษฎีการส่มเสริมสุขภาพของเพนเดอร์Pdทฤษฎีการส่มเสริมสุขภาพของเพนเดอร์
Pdทฤษฎีการส่มเสริมสุขภาพของเพนเดอร์Nan Natni
 
แนวทางเวชปฏิบัติการดูแลรักษาผู้ป่วยโรคสมาธิสั้น
แนวทางเวชปฏิบัติการดูแลรักษาผู้ป่วยโรคสมาธิสั้นแนวทางเวชปฏิบัติการดูแลรักษาผู้ป่วยโรคสมาธิสั้น
แนวทางเวชปฏิบัติการดูแลรักษาผู้ป่วยโรคสมาธิสั้นUtai Sukviwatsirikul
 

Similaire à กฏหมายกับพยาบาล (20)

หลักในการบำบัดรักษาผู้ติดยาเสพติด
หลักในการบำบัดรักษาผู้ติดยาเสพติดหลักในการบำบัดรักษาผู้ติดยาเสพติด
หลักในการบำบัดรักษาผู้ติดยาเสพติด
 
ธนะรัชต์ นามผลดี การสรรหาคัดกรองผู้เสพ ผู้ติดยาเสพติด
ธนะรัชต์ นามผลดี การสรรหาคัดกรองผู้เสพ ผู้ติดยาเสพติดธนะรัชต์ นามผลดี การสรรหาคัดกรองผู้เสพ ผู้ติดยาเสพติด
ธนะรัชต์ นามผลดี การสรรหาคัดกรองผู้เสพ ผู้ติดยาเสพติด
 
12.คู่มือการบริหารยาชัยบาดาล
12.คู่มือการบริหารยาชัยบาดาล12.คู่มือการบริหารยาชัยบาดาล
12.คู่มือการบริหารยาชัยบาดาล
 
Business Plan # Mind Health
Business Plan # Mind HealthBusiness Plan # Mind Health
Business Plan # Mind Health
 
Medication reconciliation slide
Medication reconciliation slideMedication reconciliation slide
Medication reconciliation slide
 
วพบ นครราชสีมา๕๖
วพบ นครราชสีมา๕๖วพบ นครราชสีมา๕๖
วพบ นครราชสีมา๕๖
 
อ แสวง เขียนมาดีมาก
อ แสวง เขียนมาดีมากอ แสวง เขียนมาดีมาก
อ แสวง เขียนมาดีมาก
 
แนวทางเวชปฏิบัติโรคลมชักสำหรับแพทย์ 2015
แนวทางเวชปฏิบัติโรคลมชักสำหรับแพทย์ 2015แนวทางเวชปฏิบัติโรคลมชักสำหรับแพทย์ 2015
แนวทางเวชปฏิบัติโรคลมชักสำหรับแพทย์ 2015
 
Kanniga วพบ แพร่
Kanniga วพบ แพร่Kanniga วพบ แพร่
Kanniga วพบ แพร่
 
การพัฒนาระบบบริการปฐมภูมิในประเทศไทย
การพัฒนาระบบบริการปฐมภูมิในประเทศไทยการพัฒนาระบบบริการปฐมภูมิในประเทศไทย
การพัฒนาระบบบริการปฐมภูมิในประเทศไทย
 
ร้่านยาคุณภาพในระบบหลักประกันสุขภาพแห่งชาติ
ร้่านยาคุณภาพในระบบหลักประกันสุขภาพแห่งชาติร้่านยาคุณภาพในระบบหลักประกันสุขภาพแห่งชาติ
ร้่านยาคุณภาพในระบบหลักประกันสุขภาพแห่งชาติ
 
Ppt.trigger tool
Ppt.trigger toolPpt.trigger tool
Ppt.trigger tool
 
4.ภาระงาน
4.ภาระงาน4.ภาระงาน
4.ภาระงาน
 
ปัจจัยที่มีผลต่อแนวโน้มการเข้าร่วมพัฒนา “ร้านยาคุณภาพ” ของร้านยา
ปัจจัยที่มีผลต่อแนวโน้มการเข้าร่วมพัฒนา “ร้านยาคุณภาพ” ของร้านยาปัจจัยที่มีผลต่อแนวโน้มการเข้าร่วมพัฒนา “ร้านยาคุณภาพ” ของร้านยา
ปัจจัยที่มีผลต่อแนวโน้มการเข้าร่วมพัฒนา “ร้านยาคุณภาพ” ของร้านยา
 
การจัดบริการอาชีวอนามัยในโรงพยาบาล
การจัดบริการอาชีวอนามัยในโรงพยาบาลการจัดบริการอาชีวอนามัยในโรงพยาบาล
การจัดบริการอาชีวอนามัยในโรงพยาบาล
 
แนวทางเวชปฏิบัติสำหรับโรคเสพยาสูบ
แนวทางเวชปฏิบัติสำหรับโรคเสพยาสูบแนวทางเวชปฏิบัติสำหรับโรคเสพยาสูบ
แนวทางเวชปฏิบัติสำหรับโรคเสพยาสูบ
 
Service profile dentแก้ไข
Service profile dentแก้ไขService profile dentแก้ไข
Service profile dentแก้ไข
 
อบรม Srrt ชายแดนช่องจอม 5 กค 60
อบรม Srrt ชายแดนช่องจอม 5 กค 60อบรม Srrt ชายแดนช่องจอม 5 กค 60
อบรม Srrt ชายแดนช่องจอม 5 กค 60
 
Pdทฤษฎีการส่มเสริมสุขภาพของเพนเดอร์
Pdทฤษฎีการส่มเสริมสุขภาพของเพนเดอร์Pdทฤษฎีการส่มเสริมสุขภาพของเพนเดอร์
Pdทฤษฎีการส่มเสริมสุขภาพของเพนเดอร์
 
แนวทางเวชปฏิบัติการดูแลรักษาผู้ป่วยโรคสมาธิสั้น
แนวทางเวชปฏิบัติการดูแลรักษาผู้ป่วยโรคสมาธิสั้นแนวทางเวชปฏิบัติการดูแลรักษาผู้ป่วยโรคสมาธิสั้น
แนวทางเวชปฏิบัติการดูแลรักษาผู้ป่วยโรคสมาธิสั้น
 

Plus de Sutthiluck Kaewboonrurn

อยุ่กับ COVID 19 อย่างไรใน ปี 2564
อยุ่กับ COVID 19 อย่างไรใน ปี 2564อยุ่กับ COVID 19 อย่างไรใน ปี 2564
อยุ่กับ COVID 19 อย่างไรใน ปี 2564Sutthiluck Kaewboonrurn
 
5 ส อย่างไรให้ใช่
5 ส อย่างไรให้ใช่5 ส อย่างไรให้ใช่
5 ส อย่างไรให้ใช่Sutthiluck Kaewboonrurn
 
โรคหลอดเลือดสมอง
โรคหลอดเลือดสมองโรคหลอดเลือดสมอง
โรคหลอดเลือดสมองSutthiluck Kaewboonrurn
 
สิทธิและหน้าทีของผู้ป่วย
สิทธิและหน้าทีของผู้ป่วยสิทธิและหน้าทีของผู้ป่วย
สิทธิและหน้าทีของผู้ป่วยSutthiluck Kaewboonrurn
 
การจัดการความปวดเบื้องต้น
การจัดการความปวดเบื้องต้นการจัดการความปวดเบื้องต้น
การจัดการความปวดเบื้องต้นSutthiluck Kaewboonrurn
 
คุณรู้จักกาแฟดีแค่ไหน
คุณรู้จักกาแฟดีแค่ไหนคุณรู้จักกาแฟดีแค่ไหน
คุณรู้จักกาแฟดีแค่ไหนSutthiluck Kaewboonrurn
 
พินัยกรรมชีวิต
พินัยกรรมชีวิตพินัยกรรมชีวิต
พินัยกรรมชีวิตSutthiluck Kaewboonrurn
 
หลักการทรงงาน 23 ข้อกับการประยุกต์ใช้
หลักการทรงงาน 23 ข้อกับการประยุกต์ใช้หลักการทรงงาน 23 ข้อกับการประยุกต์ใช้
หลักการทรงงาน 23 ข้อกับการประยุกต์ใช้Sutthiluck Kaewboonrurn
 
ก้าวแรกส่งานบริการ
ก้าวแรกส่งานบริการก้าวแรกส่งานบริการ
ก้าวแรกส่งานบริการSutthiluck Kaewboonrurn
 

Plus de Sutthiluck Kaewboonrurn (16)

อยุ่กับ COVID 19 อย่างไรใน ปี 2564
อยุ่กับ COVID 19 อย่างไรใน ปี 2564อยุ่กับ COVID 19 อย่างไรใน ปี 2564
อยุ่กับ COVID 19 อย่างไรใน ปี 2564
 
Mentor & coaching
Mentor & coachingMentor & coaching
Mentor & coaching
 
Net promoter score
Net promoter scoreNet promoter score
Net promoter score
 
5 ส อย่างไรให้ใช่
5 ส อย่างไรให้ใช่5 ส อย่างไรให้ใช่
5 ส อย่างไรให้ใช่
 
Supervision
SupervisionSupervision
Supervision
 
โรคหลอดเลือดสมอง
โรคหลอดเลือดสมองโรคหลอดเลือดสมอง
โรคหลอดเลือดสมอง
 
7 qc tool online
7 qc tool online7 qc tool online
7 qc tool online
 
สิทธิและหน้าทีของผู้ป่วย
สิทธิและหน้าทีของผู้ป่วยสิทธิและหน้าทีของผู้ป่วย
สิทธิและหน้าทีของผู้ป่วย
 
การจัดการความปวดเบื้องต้น
การจัดการความปวดเบื้องต้นการจัดการความปวดเบื้องต้น
การจัดการความปวดเบื้องต้น
 
ICD 10
ICD 10ICD 10
ICD 10
 
คุณรู้จักกาแฟดีแค่ไหน
คุณรู้จักกาแฟดีแค่ไหนคุณรู้จักกาแฟดีแค่ไหน
คุณรู้จักกาแฟดีแค่ไหน
 
พินัยกรรมชีวิต
พินัยกรรมชีวิตพินัยกรรมชีวิต
พินัยกรรมชีวิต
 
หลักการทรงงาน 23 ข้อกับการประยุกต์ใช้
หลักการทรงงาน 23 ข้อกับการประยุกต์ใช้หลักการทรงงาน 23 ข้อกับการประยุกต์ใช้
หลักการทรงงาน 23 ข้อกับการประยุกต์ใช้
 
Service excellent update
Service excellent updateService excellent update
Service excellent update
 
ก้าวแรกส่งานบริการ
ก้าวแรกส่งานบริการก้าวแรกส่งานบริการ
ก้าวแรกส่งานบริการ
 
Service excellent
Service  excellentService  excellent
Service excellent
 

กฏหมายกับพยาบาล

  • 1. Powerpoint Templates Page 1 Powerpoint Templates กฎหมาย VS วิชาชีพพยาบาล
  • 3. Powerpoint Templates Page 3 กฎหมาย VS วิชาชีพ • พยาบาลเป็นผู้ประกอบวิชาชีพทางด้านสาธรณสุขการ ปฏิบัติงานต้องอยู่ภายใต้กฎหมายทุกฉบับที่เกี่ยวข้องกับการ ทางาน หลักๆจะมีกฎหมายที่เกี่ยวข้องอยู่ประมาณ 3 ฉบับ - กฎหมายการพยาบาลและผดุงครรภ์ - พระราชบัญญัติสุขภาพปี 2550 - ระเบียบกระทรวงสาธารณสุขที่เกี่ยวข้อง
  • 4. Powerpoint Templates Page 4 กฎหมายการพยาบาลและผดุงครรภ์:ประเด็นสาคัญ • มีใบประกอบวิชาชีพที่ไม่หมดอายุและไม่ถูกพักหรือเพิกถอน • ไม่ออกใบรับรองอันเป็นเท็จโดยเจตนาหรือให้ความเห็นโดยไมสุจริตต่อ วิชาชีพ • ไม่เปิดเผยความลับของผู้ป่วย • ไม่ปฏิเสธความช่วยเหลือผู้ที่อยู่ในระยะะอันตรายจากการเจ็บป่วย เมือได้รับการร้องขอและสามารถช่วยได้ ให้ยาผู้ป่วยได้เมื่อมี คาสั่งแพทย์เท่านั้นหรือเพื่อเป็นการปฐมพยาบาล
  • 5. Powerpoint Templates Page 5  ให้ยาตามแผนการรักษา หรือ ปฐมพยาบาล  ห้ามมิให้ยาหรือสารละลายทางไขสันหลัง  ห้ามมิให้ยาสารละลายทางหลอดเลือดดา  สารละลายทึบแสงทุกชนิด (contrast media)  ยาเคมีบาบัด ยกเว้น  ต้องผ่านการอบรม เตรียมโดยผู้ประกอบวิชาชีพอื่น  หลอดเลือดดาส่วนปลาย หรือหลอดเลือดดาที่เปิดไว้แล้วโดยแพทย์  ยาระงับความรู้สึกทางหลอดเลือดดา (intravenous anesthetic agents) ได้แก่ thiopental sodium, ketamine hydrochloride, propofol, etomidate ยกเว้นผ่านการอบรมวิสัญญีพยาบาล และ ปฏิบัติงานในสถานพยาบาลรัฐ กฎหมายการพยาบาลและผดุงครรภ์:ประเด็นสาคัญ
  • 6. Powerpoint Templates Page 6  หมวด 2 การประกอบวิชาชีพการพยาบาล: หัตถการตามขอบเขต กาหนด การทาแผล การตกแต่งบาดแผล การเย็บแผล การตัดไหม การผ่าฝี -> ตาแหน่งที่ไม่เป็นอันตรายต่ออวัยวะสาคัญ การถอดเล็บ การจี้หูด/ จี้ตาปลา การผ่าตัดเอาสิ่งแปลกปลอม ที่อยู่ในตาแหน่งซึ่งไม่ใช่อวัยวะสาคัญ โดยฉีดยาระงับความรู้สึกทางผิวหนัง การล้างตา กฎหมายการพยาบาลและผดุงครรภ์:ประเด็นสาคัญ
  • 7. Powerpoint Templates Page 7 พระราชบัญญัติสุขภาพปี 2550:ประเด็นสาคัญ • มาตรา ๗ข้อมูลด้านสุขภาพของบุคคล เป็นความลับส่วนบุคคล ผู้ใดจะนาไปเปิดเผย ในประการที่น่าจะทาให้บุคคลนั้นเสียหายไม่ได้ • มาตรา ๙ บุคลากรด้านสาธารณสุขต้องแจ้งข้อมูลด้านสุขภาพที่เกี่ยวข้องกับการ ให้บริการให้ผู้รับบริการทราบอย่างเพียงพอที่ผู้รับบริการจะใช้ประกอบการตัดสินใจ ในการรับหรือไม่รับบริการใด และในกรณีที่ผู้รับบริการปฏิเสธไม่รับบริการใด จะ ให้บริการนั้นมิได้ ยกเว้นอยู่ในภาวะที่เสี่ยงอันตรายถึงชีวิตและมีความจาเป็นต้องให้ ความช่วยเหลือเป็นการรีบด่วน
  • 8. Powerpoint Templates Page 8 • ในกรณีที่เกิดความ เสียหายหรืออันตรายแก่ผู้รับบริการเพราะเหตุที่ ผู้รับบริการปกปิด ข้อเท็จจริงที่ตนรู้และควรบอกให้แจ้ง หรือแจ้ง ข้อความอันเป็นเท็จ ผู้ให้บริการไม่ต้องรับผิดชอบในความเสียหายหรือ อันตรายนั้น เว้นแต่เป็นกรณีที่ผู้ให้บริการประมาทเลินเล่อ อย่างร้ายแรง • มาตรา ๑๒ บุคคลมีสิทธิทาหนังสือแสดงเจตนาไม่ประสงค์จะรับบริการ สาธารณสุขที่เป็นไปเพียงเพื่อยืดการตายในวาระสุดท้ายของชีวิตตน หรือเพื่อยุติการทรมานจากการเจ็บป่วยได้ พระราชบัญญัติสุขภาพปี 2550:ประเด็นสาคัญ
  • 9. Powerpoint Templates Page 9 โทษทางกฎหมายที่ควรรู้ โทษทางอาญา โทษทางแพ่ง โทษในฐานะผู้ ประกอบวิชาชีพ
  • 10. Powerpoint Templates Page 10 ความรับผิดทางอาญากับการปฏิบัติการพยาบาล 1) ประมาทในการประกอบวิชาชีพ* 2) การทอดทิ้งหรือละเลยผู้ป่วย 3) การเปิดเผยความลับของผู้ป่วย 4) การปฏิเสธความช่วยเหลือผู้ที่ตกอยู่ในอันตรายต่อชีวิต 5) ความผิดเกี่ยวกับเอกสาร 6) การทาให้หญิงแท้งลูก
  • 11. Powerpoint Templates Page 11 1. ประมาทในการประกอบวิชาชีพ* การกระทาหรือการพยาบาลโดยขาดความระมัดระวัง หรือ ไม่ได้ใช้ความ ระมัดระวัง เพียงพอตามวิสัยของวิชาชีพ จนเกิดความ เสียหายอันตรายต่อสุขภาพหรือ ชีวิตแก่ผู้ใช้บริการ การตัดสินว่าการกระทาใดเป็นประมาทหรือไม่ พิจารณาตาม มาตรฐาน วิชาชีพหรือ สภาพแวดล้อมหรือพฤติการณ์ขณะกระทา เป็นองค์ประกอบ โดยพิจารณาว่ามีความระมัดระวังเทียบเท่ากับ บุคลากรในวิชาชีพเดียวกัน ซึ่งมีสถานการณ์ที่คล้ายกัน หากไม่ได้ ใช้ความระมัดระวังตามวิสัยของผู้ประกอบวิชาชีพแสดงถึงการขาด ความรู้หรือไม่ได้รับการอบรม ถือว่าเป็นการประมาท
  • 12. Powerpoint Templates Page 12 ตัวอย่าง พยาบาลวิชาชีพ ควรระมัดระวังเรื่องการป้องกันการติดเชื้อ จากการทาแผล โดย ไม่ใช้ชุดทาแผลที่หมดอายุ ระหว่างทาแผล ต้องประเมินแผล ระมัดระวังไม่ให้มีการปนเปื้อน หากพบ ความผิดปกติต้องรายงานแพทย์ ก่อนให้สารน้าทางหลอดเลือดดา ต้องไล่อากาศออกจากสาย ทุกครั้ง การให้ยาต้องใช้หลักการบริหารยา 6 ประการ
  • 13. Powerpoint Templates Page 13 มีสาเหตุมาจากทางานเกินขอบเขตวิชาชีพ , ทางาน นอกเหนือหน้าที่ , หรือมีหน้าที่แต่ไม่ทา แบ่งเป็น 6 ประเภท 1. ไม่ปฏิบัติตามมาตรฐานวิชาชีพ 2. ใช้เครื่องมือ/อุปกรณ์การแพทย์ไม่ถูกต้อง 3. ความบกพร่องด้านการสื่อสาร 4. ความบกพร่องด้านการบันทึก 5. ความบกพร่องด้านการประเมินและเฝ้าระวังอาการ 6. ความบกพร่องด้านการไม่พิทักษ์สิทธิผู้ป่วย ประเภทของประมาทในการประกอบวิชาชีพ*
  • 14. Powerpoint Templates Page 14  ประเมินผู้ป่วยแรกรับไม่ครบถ้วน  ไม่ซักประวัติแพ้ยาและแพ้สารอื่นๆ  ไม่สอบถามยาที่ผู้ป่วยได้รับ  ไม่วางแผนการดูแลผู้ป่วย  ไม่ปฏิบัติตามนโยบายหรือแนวทางปฏิบัติของโรงพยาบาล  ไม่ปฏิบัติตามคาสั่งการรักษาของแพทย์ทั้งลายลักษณ์อักษรและวาจา ยกเว้น คาสั่งนั้นพยาบาลทราบอยู่แล้วว่าถ้าทาจะทาให้ผู้ป่วยเกิดอันตราย เช่น การ ให้ KCL I.V push  ไม่สอนวิธีการปฏิบัติตนเมื่อกลับบ้าน  รวมถึงการมอบหมายให้ผู้ที่ไม่ผ่านอบรมหรือไม่มีความสามารถพียงพอ ปฏิบัติหน้าที่แทน เช่น ผู้ช่วยพยาบาลประเมิน Neuro sign ,ฉีดยา 1.ไม่ปฏิบัติตามมาตรฐานวิชาชีพ
  • 15. Powerpoint Templates Page 15  ไม่ปฏิบัติตามคู่มือการใช้เครื่องมือ  ไม่ตรวจสอบความปลอดภัยของเครื่องมือก่อนนามาใช้  วางเครื่องมือไว้ในตาแหน่งที่ไม่เหมาะสมระหว่างให้การรักษา  ไม่เรียนรู้การทางานของเครื่องมือ  ไม่ตอบสนองหรือรีบตรวจสอบเมื่อมีเสียงเตือน(Alarm)  ไม่ตรวจสอบสภาพความพร้อมใช้ของเครื่องมือ  ไม่มีระบบการดูแลรักษาเครื่องมือที่เป็นมาตรฐาน 2.ใช้เครื่องมือ/อุปกรณ์การแพทย์ไม่ถูกต้อง
  • 16. Powerpoint Templates Page 16  ไม่รายงานแพทย์เมื่อผู้ป่วยมีอาการเปลี่ยนแปลง  รายงานแพทย์ในเวลาที่ไม่เหมาะสม  ไม่รับฟังความกังวลของผู้ป่วย  ให้ข้อมูลการปฏิบัติตัวแก่ผู้ป่วยไม่เพียงพอเมื่อออกจากรพ.  ไม่พยายามหาผู้ที่สามารถตัดสินใจในการรักษา เช่น ตามแพทย์เวรไม่ได้ แล้วไม่ตามท่านอื่นมารักษาแทน ทาให้อาการผู้ป่วยทรุดหนัก 3.ความบกพร่องด้านการสื่อสาร
  • 17. Powerpoint Templates Page 17  ไม่บันทึกการเปลี่ยนแปลงของผู้ป่วยไว้ในเวชระเบียน เช่น รายละเอียดบาดแผล ประวัติการแพ้ยาแพ้อาหาร  ไม่บันทึกคาสั่งการรักษาของแพทย์ เมื่อสั่งทางโทรศัพท์  ไม่บันทึกสาระของคาสั่งพร้อมกับเวลาที่สั่ง เวลาโทรตาม  กรณีที่ตามครั้งแรกไม่ได้ ได้ติดตามต่อกี่ครั้ง และได้โทรหา ท่านอื่นมารักษาให้ทันเวลาหรือไม่ 4. ความบกพร่องด้านการบันทึก
  • 18. Powerpoint Templates Page 18  ประเมินอาการในแต่ละเวรไม่ครบถ้วน  ไม่ปรับปรุงแผนการดูแล  ไม่สังเกตการเปลี่ยนแปลงของผู้ป่วย  ไม่รายงานแพทย์เมื่อมีความผิดปกติ  มอบหมายให้ผู้ที่ไม่มีความรู้ความสามารถเพียงพอ หรือยังไม่ผ่านการอบรม มาประเมินผู้ป่วยแทนตน 5. ความบกพร่องด้านการประเมินและเฝ้าระวังอาการ
  • 19. Powerpoint Templates Page 19  ไม่ทักท้วงเมื่อแพทย์มีคาสั่งให้จาหน่ายผู้ป่วย ออกจากรพ. ทั้งๆที่ ผู้ป่วยอาการยังไม่ดีพอ  ไม่สอบถามเมื่อมีคาสั่งยาที่สงสัย ไม่ครบถ้วน  ไม่จัดสภาพแวดล้อมให้ปลอดภัย 6. ความบกพร่องด้านการไม่พิทักษ์สิทธิผู้ป่วย
  • 20. Powerpoint Templates Page 20  ไม่มาขึ้นเวร  ไม่ดูแลผู้ป่วย  หลับเวร ดูละคร ขาดความเอาใจใส่ดูแลผู้ป่วยตามหน้าที่ทาให้ผู้ป่วยได้รับ อันตรายหรือมือาการหนักขึ้น 2. การทอดทิ้งหรือละเลยผู้ป่วย
  • 21. Powerpoint Templates Page 21 • มาตรา ๗ พระราชบัญญัติสุขภาพ ปี 2550 ข้อมูลด้านสุขภาพของบุคคล เป็นความลับส่วนบุคคล ผู้ใดจะนาไปเปิดเผยในประการที่น่าจะทาให้ บุคคลนั้นเสียหายไม่ได้ 3. การเปิดเผยความลับของผู้ป่วย
  • 22. Powerpoint Templates Page 22 ข้อยกเว้นความผิดฐานเปิดเผยความลับ ข้อผูกพันหรือหน้าที่ โรคติดต่อร้ายแรงเสี่ยงต่อการแพร่กระจาย ผู้ป่วยไม่อาจรับผิดชอบหรือตัดสินใจด้วยตนเอง คาสั่งศาล ผู้ป่วยรับรู้และยินยอมให้เปิดเผย การรายงานการทุบตีทาร้ายร่างกายในครอบครัว รายงานบาดแผลที่ผู้ป่วยมารักษาที่อาจเกิดขึ้น เนื่องจากก่อคดีอาชญากรรม
  • 23. Powerpoint Templates Page 23 แนวปฏิบัติในการรักษาความลับของผู้ป่วย  ไม่นาเรื่องของผู้ป่วยมาพูดในที่สาธารณะ เช่น ห้องอาหาร ลิฟท์ รถเมล์ ทางเดิน  ไม่ตอบข้อมูลด้านการรักษาพยาบาลของผู้ป่วยทางโทรศัพท์  ไม่วางแฟ้มผู้ป่วยไว้ที่หน้าห้องผู้ป่วย/ปลายเตียง  ไม่นาบันทึกรายงานผู้ป่วยออกจากหอผู้ป่วย  ระมัดระวังการพูดเกี่ยวกับการวินิจฉัย และการรักษาในห้องผู้ป่วยที่เป็นห้องรวม  จัดเก็บรายงานผู้ป่วยไว้เป็นสัดส่วน  ไม่เปิดเผยข้อมูลแก่ญาติโดยผู้ป่วยไม่ยินยอม  มีนโยบายจากัดการเข้าถึงข้อมูลผู้ป่วย จากการสืบค้นข้อมูลทางคอมพิวเตอร์  ปฏิบัติตามแนวทางการขอเวชระเบียน หรือการแจ้งข้อมูลผู้ป่วยต่อบุคคลที่สาม เพื่อป้องกันการนาความลับผู้ป่วยไปใช้ในทางเสื่อมเสียแก่ผู้ป่วยและครอบครัว
  • 24. Powerpoint Templates Page 24 4. การปฏิเสธความช่วยเหลือผู้ที่ตกอยู่ใน อันตรายต่อชีวิต - การไม่ช่วยเหลือหรือปฏิเสธการช่วยเหลือผู้อื่นที่อาจเป็น อันตรายทั้งๆที่อาจช่วยได้แต่ไม่ช่วยตามความจาเป็น ม. 374
  • 25. Powerpoint Templates Page 25 5. ความผิดเกี่ยวกับเอกสาร - กรอกข้อความลงในแผ่นกระดาษหรือ วัตถุอื่นใด -มีลายมือชื่อของผู้อื่น -ไม่ได้รับความยินยอม -ใช้ในกิจการ ที่อาจเกิดความเสียหายแก่ผู้ หนึ่งผู้ใด -เจตนา การปลอม เอกสาร การรับรอง เอกสารเท็จ - ผู้ประกอบการงานในวิชาแพทย์ / พยาบาล -ทาคารับรองเอกสารอันเป็นเท็จ -น่าจะเกิดความเสียหายแก่ผู้อื่น -เจตนา
  • 26. Powerpoint Templates Page 26 6.การทาให้หญิงแท้งลูก • การทาแท้งที่ถูกกฎหมาย 1.ทาเนื่องจากสุขภาพหญิงตั้งครรภ์ 2.ถูกข่มขืน • เกณฑ์การยุติการตั้งครรภ์ทางการแพทย์ 1.การยุติการตั้งครรภ์ทางการแพทย์ที่กฏหมายอนุญาตทาได้เมื่อหญิงตั้งครรภ์ยินยอม 2.แพทย์ผู้กระทาต้องเป็นผู้ประกอบวิชาชีพเวชกรรมตามกฎหมาย คือ สูติแพทย์ 3.การยุติการตั้งครรภ์ให้เป็นไปตามเงื่อนไข 3.1ต้องกระทาเนื่องจากปัญหาสุขภาพทางกายของหญิงตั้งครรภ์ หรือ 3.2ต้องกระทาเนื่องจากปัญหาสุขภาพจิตของหญิงตั้งครรภ์ หรืแ 3.3 ต้องได้รับการรับรองหรือเห็นชอบจากผู้ป่ระกอบวิชาชีพเวชกรรม ที่ ไม่ใช่ผู้กระทาการยุติการตั้งครรภ์อย่างน้อยหนึ่งคน
  • 27. Powerpoint Templates Page 27 ความรับผิดทางแพ่ง :ละเมิด “ผู้ใดจงใจหรือประมาทเลินเล่อทา ต่อบุคคลอื่น โดยผิดกฎหมาย ให้เขา เสียหายถึงแก่ชีวิตก็ดี แก่ร่างกายก็ดี อนามัยก็ดี เสรีภาพก็ดี ทรัพย์สิน หรือ สิทธิอย่างหนึ่งอย่างใดก็ดี ท่านว่าผู้นั้นทา ละเมิด จาต้องใช้ค่าสินไหม ทดแทน เพื่อการนั้น” (ม. 420)
  • 28. Powerpoint Templates Page 28 หลักเกณฑ์ของการละเมิด 1) การกระทาต่อบุคคลอื่นโดยผิดกฎหมาย 2) การกระทาโดยจงใจหรือประมาทเลินเล่อ 3) ทาให้บุคคลอื่นเสียหาย ครบองค์ประกอบ -> ค่าสินไหมทดแทน
  • 29. Powerpoint Templates Page 29 บุคคลต้องร่วมรับผิดกับผู้กระทา  นายจ้างต้องร่วมรับผิดกับลูกจ้าง (ม. 425)  ตัวการต้องรับผิดชอบผลละเมิดของตัวแทน (ม. 427)  บิดามารดาของผู้เยาว์หรือผู้อนุบาลของผู้วิกลจริต ต้องร่วมรับผิดกับผู้เยาว์หรือผู้วิกลจริต (ม. 429)  ครูบาอาจารย์ นายจ้าง หรือบุคคลอื่นต้องร่วมรับผิด กับผู้ไร้ความสามารถ (ม. 430)
  • 30. Powerpoint Templates Page 30 1. การกระทาต่อผู้อื่นโดยผิดกฎหมาย พยาบาลไม่เดินมาดูอาการผู้ป่วยตามคาร้องขอของญาติ ผูกยึดผู้ป่วย โดยไม่มีความจาเป็น จนผู้ป่วยได้รับบาดเจ็บ การกระทาต่อผู้อื่นโดยผิดกฎหมาย การฝ่าฝืนข้อห้าม การละเว้นในสิ่งที่กฎหมายกาหนดให้กระทา
  • 31. Powerpoint Templates Page 31 2. การกระทาโดยจงใจหรือประมาท การกระทาโดยจงใจ การกระทาโดยประมาทเลินเล่อ ทาโดยตั้งใจ -ไม่มีสิทธิ หรือใช้สิทธิเกินขอบเขต - ทาให้เกิดความเสียหายแก่ผู้อื่น โดยรู้ถึงผล - ทาโดยเจตนาและเล็งเห็นผลของการกระทา นั้น -พยาบาล ไม่ดูดเสมหะให้นาย ก ที่ใส่ท่อ เจาะคอ เนื่องจากโกรธเคืองญาติ ต่อมานาย ก ตาย พยาบาลมีความผิดเนื่องจากงดเว้นการกระทา โดยจงใจ ทาโดยไม่ได้จงใจ แต่ขาดการความระมัดระวังในระดับวิญญู ชน ตามวิสัยและพฤติการณ์ **พยาบาลต้องมีความระมัดระวังในการ ปฏิบัติพยาบาลสูงกว่าระดับ วิญญูชน**
  • 32. Powerpoint Templates Page 32 การกระทาโดยจงใจหรือประมาท พยาบาลผสม potassium chloride ใน ampicillin โดยเข้าใจว่าเป็น sterile water และฉีดให้ผู้ป่วยเข้าทาง หลอดเลือดดา เป็นเหตุให้ผู้อื่นเสียชีวิตทันที พยาบาลมีความผิด ฐานทาให้ผู้อื่นถึงแก่ความตายโดยประมาท ผู้ป่วยกาลังคลอดบุตรในLR พยาบาลประจาห้องนั่งอ่านนิตยสาร และไม่ยอมตามสูติแพทย์ แม้ผู้ป่วยและสามีร้องขอเป็นครั้งที่ 2 ผู้ป่วยคลอดบุตรก่อนสูติแพทย์มาทัน และได้รับอันตรายร้ายแรง ศาลวินิจฉัยว่า พยาบาลมิได้ใช้ความระมัดระวังตามมาตรฐาน รพ. ต้องรับผิดชอบร่วมในการละเมิดของพยาบาล
  • 33. Powerpoint Templates Page 33 คือ การกระทาให้ผู้อื่นขาดประโยชน์ที่เคยได้รับ หรือได้รับความเสียหาย ต่อชีวิต ร่างกาย อนามัย เสรีภาพ ทรัพย์สินและสิทธิต่างๆ • เสียหายต่อชีวิต: ทาให้ผู้อื่นถึงแก่ความตาย • เสียหายแก่ร่างกาย: บาดเจ็บ ทุพพลภาพ หรือเจ็บป่วยเรื้อรัง เช่น เด็กมีตุ่มหนองที่ปาก มาทา excision(กรีดหนองออก) แต่ได้ทา Circumcision (ขลิบอวัยวะเพศ)แทน 3. การทาให้ผู้อื่นเสียหาย
  • 34. Powerpoint Templates Page 34 • เสียหายแก่อนามัย: ความสุขสบาย ความรู้สึกต่างๆ เศร้าใจ เสียใจ นาย A ไม่สบายท้อง ไปตรวจแพทย์ B บอกว่าเป็นมะเร็ง ระยะสุดท้ายอยู่ได้ไม่เกิน 1 ปี ทาให้นาย A เสียใจ ท้อแท้ คิดฆ่า ตัวตาย ลาออกจากงาน แต่เมื่อครบ 1 ปี นายA ไม่ตาย พอไป ตรวจใหม่พบว่าไม่ได้เป็นมะเร็ง นายA ฟ้องร้องได้ • เสียหายเสรีภาพ: กักขังหน่วงเหนี่ยวผู้อื่น ไม่อนุญาตให้ผู้ป่วย กลับบ้าน หรือไม่มีคาสั่งจาหน่ายผู้ป่วย เพราะต้องการเก็บข้อมูล เพื่อการวิจัย เป็นต้น 3. การทาให้ผู้อื่นเสียหาย