SlideShare une entreprise Scribd logo
1  sur  27
Télécharger pour lire hors ligne
Early Warning Sign
SUTTHILUCK KAEWBOONRAUN
ความเสี่ยงทางคลีนิค
 ความเสี่ยงทางคลินิกเป็นคุณภาพพื้นฐานทีสาคัญที่สุดของโรงพยาบาล เนื่องจากเมื่อ
เกิดขึ้นจะส่งผลกระทบทั้งต่อผู้ป่วยหรือครอบครัว การค้นหาความเสี่ยง
ทางคลินิกและการเฝ้าระวังอาการเปลี่ยนแปลงของผู้ป่วยเพื่อพัฒนาปรับปรุงระบบการ
ให้บริการ การดูแลและกระบวนการในการทางานจึงเป็นสิ่งสาคัญที่จะ
สามารถช่วยลดความเสี่ยงดังกล่าวได้
Early Warning Sign
 เป็นอีกวิธีการหนึ่งที่ใช้เครื่องมือในการประเมิน เฝ้าระวังผู้ป่วยเชิงรุก
เพื่อให้การตอบสนองอาการเปลี่ยนแปลงของผู้ป่วยที่จะนาไปสู่การเกิด
ภาวะหัวใจหยุดเต้นและให้การช่วยเหลืออย่างทันท่วงทีช่วยลด
อุบัติการณ์การเกิดภาวะหัวใจหยุดเต้น (cardiacarrest) และ
เพิ่มความตระหนักของบุคลากรในการเฝ้าระวังอาการที่เปลี่ยนแปลง
และความรุนแรงที่อาจเกิดขึ้น
Early Warning Signs คืออะไร
 Early Warning Signs เป็นการเฝ้าระวังอาการเปลี่ยนแปลงของผู้ป่วย
ที่มารับการตรวจรักษาและ/หรือต้องนอนพักรักษาตัวอยู่ในโรงพยาบาลทุกคน
เพื่อให้ผู้ป่วยได้รับการดูแลและเฝ้าระวังอาการเปลี่ยนแปลงหรืออาการทรุดลง
ที่อาจมีผลกระทบรุนแรง ถ้าการเฝ้าระวังมีประสิทธิภาพจะช่วยให้ผู้ป่วยได้รับ
การตอบสนองต่ออาการเปลี่ยนแปลงนั้นอย่างรวดเร็ว สามารถช่วยให้ผู้ป่วย
พ้นจากภาวะวิกฤติได้และปลอดภัย ลดอัตราการเสียชีวิตได้ ประหยัด
ค่าใช้จ่ายและทรัพยากรที่ต้องใช้ในการดูแลรักษาผู้ป่วยหรือเป็นการตรวจจับ
อาการแสดง(sign) ที่ทาให้ผู้ป่วยมีอาการแย่ลง
EWS กับบทบาทพยาบาล
 มีผู้ป่วยที่เกิดภาวะหัวใจหยุดเต้นทั้งที่ประเมินได้ก่อนมีอาการและมาพบ
ภายหลังผู้ป่วยหมดสติแล้ว จากความรุนแรงของการเกิดเหตุการณ์
ถึงแม้จะมีจานวนไม่มาก แต่บางรายถึงขั้นเสียชีวิต พยาบาลซึ่งเป็น
บุคลากรหนึ่งในทีมสุขภาพที่มีบทบาทสาคัญ เป็นผู้ที่อยู่ใกล้ชิดผู้ป่วย
ตลอด 24ชั่วโมง ถ้าสามารถประเมินความเสี่ยงต่อการเกิดหัวใจหยุด
เต้น (Cardiac Arrest) และให้การช่วยเหลือผู้ป่วยอย่าง
ทันท่วงทีได้อย่างรวดเร็ว จะสามารถช่วยลดการเกิดภาวะแทรกซ้อนที่
รุนแรงหรือสามารถตรวจจับสัญญาณก่อนที่ผู้ป่วยจะเข้าสู่ภาวะวิกฤติได้
ทาให้ผู้ป่วยได้รับการดูแลรักษาอย่างรวดเร็วทันเวลา ปลอดภัยไม่เกิด
ภาวะแทรกซ้อน ลดค่าใช้จ่าย และลดจานวนวันนอนในโรงพยาบาล
 ช่วยให้พยาบาลสามารถประเมิน คัดกรองผู้ป่วยฉุกเฉินได้รวดเร็วและปลอดภัย
 สามารถคาดการณ์อาการเปลี่ยนแปลงที่นาไปสู่ความผิดปกติ เพื่อให้การเฝ้าระวังและ
ช่วยเหลือได้รวดเร็ว
 ช่วยให้อัตราการเกิดหัวใจหยุดเต้น(cardiac arrest) ในโรงพยาบาลลดลงจาก
เดิมอย่างมีนัยสาคัญเพิ่มความมั่นใจของ
 บุคลากรพยาบาลในการให้การดูแลช่วยเหลือผู้ป่วยอย่างทันท่วงที
 ให้พยาบาลมีความมั่นใจในอาการของผู้ป่วยและสามารถให้การดูแลจัดการช่วยเหลือ
พยาบาลได้อย่างรวดเร็ว
 เป็นช่องทางในการสื่อสารกับแพทย์ในการให้การดูแลช่วยเหลือผู้ป่วยเมื่อมีความเสี่ยง
ต่อการเกิดหัวใจหยุดเต้นเกิด
EWS กับบทบาทพยาบาล
KPI
 1. อัตราการใช้ MEWS > 80%
 2. อัตราผู้ป่วยที่ได้รับการดูแลรักษาก่อนเกิดภาวะหัวใจหยุดเต้น (early
detection) > 80%
 3.อัตราการ CPR บนวอร์ดลดลง
จากัดการใช้ในผู้ป่วยที่ต้องการการรักษาแบบ Palliative care และผู้ป่วยที่มีสาเหตุของการ
เกิด
arrest ที่ป้องกันไม่ได้ เช่น ผู้ป่วย post arrest
 Early Warning Signเป็นแนวทางหรือเครื่องมือที่ช่วยให้แพทย์ พยาบาลตลอดจน
บุคลากรทางการแพทย์ ได้ให้การช่วยเหลือทางการแพทย์อย่างรวดเร็ว โดยใช้การประเมิน
ระดับความรุนแรงของผู้ป่วยจากข้อมูลจากสรีระวิทยาของผู้ป่วย 5 -6 อย่าง (แล้วแต่
ประเภทของเครื่องมือ)
 ความดันโลหิตตัวบน (systolic blood pressure)
 อัตราการเต้นของหัวใจ (heart rate)
 อัตราการหายใจ (respiratory rate)
 อุณหภูมิร่างกาย(body temperature)
 ระดับความรู้สึกตัว (level of consciousness) AVPU
 Urine Out put
 Pain Score
Adult Early Warning Signs
ลดลงกว่าเดิม
10
GCS ลดลง > 2
คะแนน
Adult Early Warning Signs “NEWS “
สีเหลือง (คะแนน 1-3) จัดการกับ
อาการรบกวนต่างๆ เช่น อาการปวด ไข้และอื่นๆ
สีทอง (คะแนน 4-5)
รายงานแพทย์เพื่อให้มาดูผู้ป่วยใน 60 นาที รายงาน
พยาบาลหัวหน้าเวร
สีส้ม
(คะแนน 6-7) รายงานแพทย์เพื่อให้มาดูผู้ป่วยใน 20นาที
สีชมพู (คะแนนตั้งแต่ 8) เรียกทีมฉุกเฉินทันที
MEWS
Early Warning Sign
MEOWS NEWS2 PEWS
Early Warning Sign
 เป็นเครื่องมือ 1 ในหลายเครื่องมือ ที่ช่วย ในการประเมิน /Detect อาการเปลี่ยนแปลงของ
คนไข้ และกาหนด ความเร่งด่วนที่ต้องมี แพทย์มาประเมินซ้า เพื่อพิจารณาการรักษาเท่านั้น
 เมื่อพบคะแนนอยู่ในเกณฑ์ ที่ต้องรายงานแพทย์ต้องประเมินอย่างอื่นเพิ่มเติมตามความจาเป็น
 ในกรณีกลุ่มโรคเฉพาะ เช่น Stroke ,AMI ยังต้องใช้การประเมินตามแนวทางของโรคนั้นๆ อยู่
 ไม่มีความจาเป็นในกลุ่มผู้ป่วย End of life care
 ใช้ในการ Monitor คนไข้ตลอดเวลาที่อยู่ในโรงพยาบาล และยังสามารถใช้กับแผนกฉุกเฉิน หรือ
ขณะอยู่ใน Ambulance ได้
 ถ้าผู้ป่วยที่มีการติดเชื้อ มี Score > 5 ให้นึกถึง Sepsis
Early Warning Sign : NEWS 2
NEWS 2
National Early Warning Sign 2
 ใช้ใน Acute Illness (ไม่ใช้ในกลุ่ม End of life care)
 ใช้สาหรับผู้ป่วยที่อายุ > 16 ปีขึ้นไป
 ไม่ใช้กับหญิงตั้งครรภ์ที่ อายุครรภ์ > 20 wk
 ไม่เหมาะกับ ผู้ป่วยกลุ่ม Spinal cord injury (Tetraplegia,High-
level paraplegia)กลุ่มที่มีความผิดปกติของ Autonomic nervous
system (ควรใช้อย่างระมัดระวัง)
6 Physiological parameter
 Respiratory Rate
 Oxygen saturation
 Systolic Blood Pressure
 Pulse Rate
 Level of Conscious (ACVPU)
 Temperature
สิ่งที่ควรระวัง
สิ่งที่สาคัญมากกว่าการมีเกณฑ์คือ “ การจัดการ “ หลังการประเมิน
คะแนนเท่าใด ควรมีการจัดการอย่างไร
เกณฑ์ ตามguideline อาจต้องนามาปรับใช้ให้เหมาะกับบริบทของแต่ละโรงพยาบาล
ควรมีการติดตามประเมินผล การนาเครื่องมือมาใช้ ว่าเกิดประสิทธิภาพ หรือไม่ เช่น ลดอัตราการ
CPR ในward, ลดอัตราการย้าย ICU ,อัตราการใช้

Contenu connexe

Tendances

Nursing Care for Coronary Artery disease edition 111058
Nursing Care for Coronary Artery disease edition 111058Nursing Care for Coronary Artery disease edition 111058
Nursing Care for Coronary Artery disease edition 111058Aphisit Aunbusdumberdor
 
คู่มือ Trigger tool โรงพยาบาลท่าฉาง
คู่มือ Trigger tool โรงพยาบาลท่าฉางคู่มือ Trigger tool โรงพยาบาลท่าฉาง
คู่มือ Trigger tool โรงพยาบาลท่าฉางSuradet Sriangkoon
 
กฏหมายกับพยาบาล
กฏหมายกับพยาบาลกฏหมายกับพยาบาล
กฏหมายกับพยาบาลSutthiluck Kaewboonrurn
 
Central venous pressure (cvp)
Central venous pressure (cvp)Central venous pressure (cvp)
Central venous pressure (cvp)piyarat wongnai
 
แนวปฏิบัติการพยาบาลการเคลื่อนย้ายผู้ป่วยวิกฤตภายในโรงพยาบาล
แนวปฏิบัติการพยาบาลการเคลื่อนย้ายผู้ป่วยวิกฤตภายในโรงพยาบาลแนวปฏิบัติการพยาบาลการเคลื่อนย้ายผู้ป่วยวิกฤตภายในโรงพยาบาล
แนวปฏิบัติการพยาบาลการเคลื่อนย้ายผู้ป่วยวิกฤตภายในโรงพยาบาลpiyarat wongnai
 
12 กิจกรรมทบทวน
12 กิจกรรมทบทวน12 กิจกรรมทบทวน
12 กิจกรรมทบทวนSuradet Sriangkoon
 
คู่มือการดูแลผู้ป่วยหัวใจล้มเหลวเรื้อรัง แบบบูรณาการ
คู่มือการดูแลผู้ป่วยหัวใจล้มเหลวเรื้อรัง แบบบูรณาการคู่มือการดูแลผู้ป่วยหัวใจล้มเหลวเรื้อรัง แบบบูรณาการ
คู่มือการดูแลผู้ป่วยหัวใจล้มเหลวเรื้อรัง แบบบูรณาการUtai Sukviwatsirikul
 
กลไกการคลอดปกติ 8 ขั้นตอน
กลไกการคลอดปกติ 8 ขั้นตอนกลไกการคลอดปกติ 8 ขั้นตอน
กลไกการคลอดปกติ 8 ขั้นตอนda priyada
 
27การตรวจครรภ์
27การตรวจครรภ์27การตรวจครรภ์
27การตรวจครรภ์Papawee Laonoi
 
การดูแลผู้บาดเจ็บที่ทรวงอก
การดูแลผู้บาดเจ็บที่ทรวงอกการดูแลผู้บาดเจ็บที่ทรวงอก
การดูแลผู้บาดเจ็บที่ทรวงอกPatamaporn Seajoho
 
ประเภทสารน้ำ
ประเภทสารน้ำประเภทสารน้ำ
ประเภทสารน้ำPrathan Somrith
 
Total parenteral nutrition
Total parenteral nutrition Total parenteral nutrition
Total parenteral nutrition techno UCH
 
การพยาบาลDhf
การพยาบาลDhfการพยาบาลDhf
การพยาบาลDhfMaytinee Beudam
 
การพยาบาลผู้ป่วยก่อนและหลังการตรวจเพื่อการวินิจฉัยโรค
การพยาบาลผู้ป่วยก่อนและหลังการตรวจเพื่อการวินิจฉัยโรคการพยาบาลผู้ป่วยก่อนและหลังการตรวจเพื่อการวินิจฉัยโรค
การพยาบาลผู้ป่วยก่อนและหลังการตรวจเพื่อการวินิจฉัยโรคCC Nakhon Pathom Rajabhat University
 
Cvp central venous pressure monitoring
Cvp central venous pressure monitoringCvp central venous pressure monitoring
Cvp central venous pressure monitoringpiyarat wongnai
 

Tendances (20)

Nursing Care for Coronary Artery disease edition 111058
Nursing Care for Coronary Artery disease edition 111058Nursing Care for Coronary Artery disease edition 111058
Nursing Care for Coronary Artery disease edition 111058
 
คู่มือ Trigger tool โรงพยาบาลท่าฉาง
คู่มือ Trigger tool โรงพยาบาลท่าฉางคู่มือ Trigger tool โรงพยาบาลท่าฉาง
คู่มือ Trigger tool โรงพยาบาลท่าฉาง
 
กฏหมายกับพยาบาล
กฏหมายกับพยาบาลกฏหมายกับพยาบาล
กฏหมายกับพยาบาล
 
Central venous pressure (cvp)
Central venous pressure (cvp)Central venous pressure (cvp)
Central venous pressure (cvp)
 
Shock
ShockShock
Shock
 
EKG in ACLS
EKG in ACLSEKG in ACLS
EKG in ACLS
 
แนวปฏิบัติการพยาบาลการเคลื่อนย้ายผู้ป่วยวิกฤตภายในโรงพยาบาล
แนวปฏิบัติการพยาบาลการเคลื่อนย้ายผู้ป่วยวิกฤตภายในโรงพยาบาลแนวปฏิบัติการพยาบาลการเคลื่อนย้ายผู้ป่วยวิกฤตภายในโรงพยาบาล
แนวปฏิบัติการพยาบาลการเคลื่อนย้ายผู้ป่วยวิกฤตภายในโรงพยาบาล
 
แบบฟอร์ม หน้า 155 157
แบบฟอร์ม หน้า 155 157แบบฟอร์ม หน้า 155 157
แบบฟอร์ม หน้า 155 157
 
12 กิจกรรมทบทวน
12 กิจกรรมทบทวน12 กิจกรรมทบทวน
12 กิจกรรมทบทวน
 
คู่มือการดูแลผู้ป่วยหัวใจล้มเหลวเรื้อรัง แบบบูรณาการ
คู่มือการดูแลผู้ป่วยหัวใจล้มเหลวเรื้อรัง แบบบูรณาการคู่มือการดูแลผู้ป่วยหัวใจล้มเหลวเรื้อรัง แบบบูรณาการ
คู่มือการดูแลผู้ป่วยหัวใจล้มเหลวเรื้อรัง แบบบูรณาการ
 
กลไกการคลอดปกติ 8 ขั้นตอน
กลไกการคลอดปกติ 8 ขั้นตอนกลไกการคลอดปกติ 8 ขั้นตอน
กลไกการคลอดปกติ 8 ขั้นตอน
 
Thai nihss
Thai nihssThai nihss
Thai nihss
 
27การตรวจครรภ์
27การตรวจครรภ์27การตรวจครรภ์
27การตรวจครรภ์
 
การดูแลผู้บาดเจ็บที่ทรวงอก
การดูแลผู้บาดเจ็บที่ทรวงอกการดูแลผู้บาดเจ็บที่ทรวงอก
การดูแลผู้บาดเจ็บที่ทรวงอก
 
ประเภทสารน้ำ
ประเภทสารน้ำประเภทสารน้ำ
ประเภทสารน้ำ
 
Total parenteral nutrition
Total parenteral nutrition Total parenteral nutrition
Total parenteral nutrition
 
การพยาบาลDhf
การพยาบาลDhfการพยาบาลDhf
การพยาบาลDhf
 
การพยาบาลผู้ป่วยก่อนและหลังการตรวจเพื่อการวินิจฉัยโรค
การพยาบาลผู้ป่วยก่อนและหลังการตรวจเพื่อการวินิจฉัยโรคการพยาบาลผู้ป่วยก่อนและหลังการตรวจเพื่อการวินิจฉัยโรค
การพยาบาลผู้ป่วยก่อนและหลังการตรวจเพื่อการวินิจฉัยโรค
 
Cvp central venous pressure monitoring
Cvp central venous pressure monitoringCvp central venous pressure monitoring
Cvp central venous pressure monitoring
 
จำแนกประเภท
จำแนกประเภทจำแนกประเภท
จำแนกประเภท
 

Similaire à Warning sign

Middle East Respiratory Syndrome Coronavirus : MERS-CoV Handbook
Middle East Respiratory Syndrome Coronavirus : MERS-CoV HandbookMiddle East Respiratory Syndrome Coronavirus : MERS-CoV Handbook
Middle East Respiratory Syndrome Coronavirus : MERS-CoV HandbookUtai Sukviwatsirikul
 
ACTEP2014: Patient safety & risk management
ACTEP2014: Patient safety & risk managementACTEP2014: Patient safety & risk management
ACTEP2014: Patient safety & risk managementtaem
 
Clinical practice guidelines for anaphylaxis 2017
Clinical practice guidelines for anaphylaxis 2017Clinical practice guidelines for anaphylaxis 2017
Clinical practice guidelines for anaphylaxis 2017Utai Sukviwatsirikul
 
คู่มือการป้องกันควบคุมโรคติดเชื้อไวรัสซิกา
คู่มือการป้องกันควบคุมโรคติดเชื้อไวรัสซิกาคู่มือการป้องกันควบคุมโรคติดเชื้อไวรัสซิกา
คู่มือการป้องกันควบคุมโรคติดเชื้อไวรัสซิกาUtai Sukviwatsirikul
 
angsu,+##default.groups.name.manager##,+3+ชนิดา+มัททวางกูร.pdf
angsu,+##default.groups.name.manager##,+3+ชนิดา+มัททวางกูร.pdfangsu,+##default.groups.name.manager##,+3+ชนิดา+มัททวางกูร.pdf
angsu,+##default.groups.name.manager##,+3+ชนิดา+มัททวางกูร.pdfssuser656f851
 

Similaire à Warning sign (7)

Middle East Respiratory Syndrome Coronavirus : MERS-CoV Handbook
Middle East Respiratory Syndrome Coronavirus : MERS-CoV HandbookMiddle East Respiratory Syndrome Coronavirus : MERS-CoV Handbook
Middle East Respiratory Syndrome Coronavirus : MERS-CoV Handbook
 
(16 มิ.ย. 56) service profile update
(16 มิ.ย. 56) service profile update(16 มิ.ย. 56) service profile update
(16 มิ.ย. 56) service profile update
 
ACTEP2014: Patient safety & risk management
ACTEP2014: Patient safety & risk managementACTEP2014: Patient safety & risk management
ACTEP2014: Patient safety & risk management
 
Clinical practice guidelines for anaphylaxis 2017
Clinical practice guidelines for anaphylaxis 2017Clinical practice guidelines for anaphylaxis 2017
Clinical practice guidelines for anaphylaxis 2017
 
คู่มือการป้องกันควบคุมโรคติดเชื้อไวรัสซิกา
คู่มือการป้องกันควบคุมโรคติดเชื้อไวรัสซิกาคู่มือการป้องกันควบคุมโรคติดเชื้อไวรัสซิกา
คู่มือการป้องกันควบคุมโรคติดเชื้อไวรัสซิกา
 
angsu,+##default.groups.name.manager##,+3+ชนิดา+มัททวางกูร.pdf
angsu,+##default.groups.name.manager##,+3+ชนิดา+มัททวางกูร.pdfangsu,+##default.groups.name.manager##,+3+ชนิดา+มัททวางกูร.pdf
angsu,+##default.groups.name.manager##,+3+ชนิดา+มัททวางกูร.pdf
 
Triage
TriageTriage
Triage
 

Plus de Sutthiluck Kaewboonrurn

อยุ่กับ COVID 19 อย่างไรใน ปี 2564
อยุ่กับ COVID 19 อย่างไรใน ปี 2564อยุ่กับ COVID 19 อย่างไรใน ปี 2564
อยุ่กับ COVID 19 อย่างไรใน ปี 2564Sutthiluck Kaewboonrurn
 
5 ส อย่างไรให้ใช่
5 ส อย่างไรให้ใช่5 ส อย่างไรให้ใช่
5 ส อย่างไรให้ใช่Sutthiluck Kaewboonrurn
 
โรคหลอดเลือดสมอง
โรคหลอดเลือดสมองโรคหลอดเลือดสมอง
โรคหลอดเลือดสมองSutthiluck Kaewboonrurn
 
สิทธิและหน้าทีของผู้ป่วย
สิทธิและหน้าทีของผู้ป่วยสิทธิและหน้าทีของผู้ป่วย
สิทธิและหน้าทีของผู้ป่วยSutthiluck Kaewboonrurn
 
การจัดการความปวดเบื้องต้น
การจัดการความปวดเบื้องต้นการจัดการความปวดเบื้องต้น
การจัดการความปวดเบื้องต้นSutthiluck Kaewboonrurn
 
การจัดการความปวดเบื้องต้น
การจัดการความปวดเบื้องต้นการจัดการความปวดเบื้องต้น
การจัดการความปวดเบื้องต้นSutthiluck Kaewboonrurn
 
บันทึกทางการพยาบาล
บันทึกทางการพยาบาลบันทึกทางการพยาบาล
บันทึกทางการพยาบาลSutthiluck Kaewboonrurn
 
คุณรู้จักกาแฟดีแค่ไหน
คุณรู้จักกาแฟดีแค่ไหนคุณรู้จักกาแฟดีแค่ไหน
คุณรู้จักกาแฟดีแค่ไหนSutthiluck Kaewboonrurn
 
พินัยกรรมชีวิต
พินัยกรรมชีวิตพินัยกรรมชีวิต
พินัยกรรมชีวิตSutthiluck Kaewboonrurn
 
หลักการทรงงาน 23 ข้อกับการประยุกต์ใช้
หลักการทรงงาน 23 ข้อกับการประยุกต์ใช้หลักการทรงงาน 23 ข้อกับการประยุกต์ใช้
หลักการทรงงาน 23 ข้อกับการประยุกต์ใช้Sutthiluck Kaewboonrurn
 
ก้าวแรกส่งานบริการ
ก้าวแรกส่งานบริการก้าวแรกส่งานบริการ
ก้าวแรกส่งานบริการSutthiluck Kaewboonrurn
 

Plus de Sutthiluck Kaewboonrurn (18)

อยุ่กับ COVID 19 อย่างไรใน ปี 2564
อยุ่กับ COVID 19 อย่างไรใน ปี 2564อยุ่กับ COVID 19 อย่างไรใน ปี 2564
อยุ่กับ COVID 19 อย่างไรใน ปี 2564
 
Mentor & coaching
Mentor & coachingMentor & coaching
Mentor & coaching
 
Net promoter score
Net promoter scoreNet promoter score
Net promoter score
 
5 ส อย่างไรให้ใช่
5 ส อย่างไรให้ใช่5 ส อย่างไรให้ใช่
5 ส อย่างไรให้ใช่
 
Supervision
SupervisionSupervision
Supervision
 
โรคหลอดเลือดสมอง
โรคหลอดเลือดสมองโรคหลอดเลือดสมอง
โรคหลอดเลือดสมอง
 
7 qc tool online
7 qc tool online7 qc tool online
7 qc tool online
 
สิทธิและหน้าทีของผู้ป่วย
สิทธิและหน้าทีของผู้ป่วยสิทธิและหน้าทีของผู้ป่วย
สิทธิและหน้าทีของผู้ป่วย
 
การจัดการความปวดเบื้องต้น
การจัดการความปวดเบื้องต้นการจัดการความปวดเบื้องต้น
การจัดการความปวดเบื้องต้น
 
การจัดการความปวดเบื้องต้น
การจัดการความปวดเบื้องต้นการจัดการความปวดเบื้องต้น
การจัดการความปวดเบื้องต้น
 
ICD 10
ICD 10ICD 10
ICD 10
 
บันทึกทางการพยาบาล
บันทึกทางการพยาบาลบันทึกทางการพยาบาล
บันทึกทางการพยาบาล
 
คุณรู้จักกาแฟดีแค่ไหน
คุณรู้จักกาแฟดีแค่ไหนคุณรู้จักกาแฟดีแค่ไหน
คุณรู้จักกาแฟดีแค่ไหน
 
พินัยกรรมชีวิต
พินัยกรรมชีวิตพินัยกรรมชีวิต
พินัยกรรมชีวิต
 
หลักการทรงงาน 23 ข้อกับการประยุกต์ใช้
หลักการทรงงาน 23 ข้อกับการประยุกต์ใช้หลักการทรงงาน 23 ข้อกับการประยุกต์ใช้
หลักการทรงงาน 23 ข้อกับการประยุกต์ใช้
 
Service excellent update
Service excellent updateService excellent update
Service excellent update
 
ก้าวแรกส่งานบริการ
ก้าวแรกส่งานบริการก้าวแรกส่งานบริการ
ก้าวแรกส่งานบริการ
 
Service excellent
Service  excellentService  excellent
Service excellent
 

Warning sign

  • 2. ความเสี่ยงทางคลีนิค  ความเสี่ยงทางคลินิกเป็นคุณภาพพื้นฐานทีสาคัญที่สุดของโรงพยาบาล เนื่องจากเมื่อ เกิดขึ้นจะส่งผลกระทบทั้งต่อผู้ป่วยหรือครอบครัว การค้นหาความเสี่ยง ทางคลินิกและการเฝ้าระวังอาการเปลี่ยนแปลงของผู้ป่วยเพื่อพัฒนาปรับปรุงระบบการ ให้บริการ การดูแลและกระบวนการในการทางานจึงเป็นสิ่งสาคัญที่จะ สามารถช่วยลดความเสี่ยงดังกล่าวได้
  • 3.
  • 4.
  • 5.
  • 6.
  • 7.
  • 8. Early Warning Sign  เป็นอีกวิธีการหนึ่งที่ใช้เครื่องมือในการประเมิน เฝ้าระวังผู้ป่วยเชิงรุก เพื่อให้การตอบสนองอาการเปลี่ยนแปลงของผู้ป่วยที่จะนาไปสู่การเกิด ภาวะหัวใจหยุดเต้นและให้การช่วยเหลืออย่างทันท่วงทีช่วยลด อุบัติการณ์การเกิดภาวะหัวใจหยุดเต้น (cardiacarrest) และ เพิ่มความตระหนักของบุคลากรในการเฝ้าระวังอาการที่เปลี่ยนแปลง และความรุนแรงที่อาจเกิดขึ้น
  • 9. Early Warning Signs คืออะไร  Early Warning Signs เป็นการเฝ้าระวังอาการเปลี่ยนแปลงของผู้ป่วย ที่มารับการตรวจรักษาและ/หรือต้องนอนพักรักษาตัวอยู่ในโรงพยาบาลทุกคน เพื่อให้ผู้ป่วยได้รับการดูแลและเฝ้าระวังอาการเปลี่ยนแปลงหรืออาการทรุดลง ที่อาจมีผลกระทบรุนแรง ถ้าการเฝ้าระวังมีประสิทธิภาพจะช่วยให้ผู้ป่วยได้รับ การตอบสนองต่ออาการเปลี่ยนแปลงนั้นอย่างรวดเร็ว สามารถช่วยให้ผู้ป่วย พ้นจากภาวะวิกฤติได้และปลอดภัย ลดอัตราการเสียชีวิตได้ ประหยัด ค่าใช้จ่ายและทรัพยากรที่ต้องใช้ในการดูแลรักษาผู้ป่วยหรือเป็นการตรวจจับ อาการแสดง(sign) ที่ทาให้ผู้ป่วยมีอาการแย่ลง
  • 10.
  • 11. EWS กับบทบาทพยาบาล  มีผู้ป่วยที่เกิดภาวะหัวใจหยุดเต้นทั้งที่ประเมินได้ก่อนมีอาการและมาพบ ภายหลังผู้ป่วยหมดสติแล้ว จากความรุนแรงของการเกิดเหตุการณ์ ถึงแม้จะมีจานวนไม่มาก แต่บางรายถึงขั้นเสียชีวิต พยาบาลซึ่งเป็น บุคลากรหนึ่งในทีมสุขภาพที่มีบทบาทสาคัญ เป็นผู้ที่อยู่ใกล้ชิดผู้ป่วย ตลอด 24ชั่วโมง ถ้าสามารถประเมินความเสี่ยงต่อการเกิดหัวใจหยุด เต้น (Cardiac Arrest) และให้การช่วยเหลือผู้ป่วยอย่าง ทันท่วงทีได้อย่างรวดเร็ว จะสามารถช่วยลดการเกิดภาวะแทรกซ้อนที่ รุนแรงหรือสามารถตรวจจับสัญญาณก่อนที่ผู้ป่วยจะเข้าสู่ภาวะวิกฤติได้ ทาให้ผู้ป่วยได้รับการดูแลรักษาอย่างรวดเร็วทันเวลา ปลอดภัยไม่เกิด ภาวะแทรกซ้อน ลดค่าใช้จ่าย และลดจานวนวันนอนในโรงพยาบาล
  • 12.  ช่วยให้พยาบาลสามารถประเมิน คัดกรองผู้ป่วยฉุกเฉินได้รวดเร็วและปลอดภัย  สามารถคาดการณ์อาการเปลี่ยนแปลงที่นาไปสู่ความผิดปกติ เพื่อให้การเฝ้าระวังและ ช่วยเหลือได้รวดเร็ว  ช่วยให้อัตราการเกิดหัวใจหยุดเต้น(cardiac arrest) ในโรงพยาบาลลดลงจาก เดิมอย่างมีนัยสาคัญเพิ่มความมั่นใจของ  บุคลากรพยาบาลในการให้การดูแลช่วยเหลือผู้ป่วยอย่างทันท่วงที  ให้พยาบาลมีความมั่นใจในอาการของผู้ป่วยและสามารถให้การดูแลจัดการช่วยเหลือ พยาบาลได้อย่างรวดเร็ว  เป็นช่องทางในการสื่อสารกับแพทย์ในการให้การดูแลช่วยเหลือผู้ป่วยเมื่อมีความเสี่ยง ต่อการเกิดหัวใจหยุดเต้นเกิด EWS กับบทบาทพยาบาล
  • 13. KPI  1. อัตราการใช้ MEWS > 80%  2. อัตราผู้ป่วยที่ได้รับการดูแลรักษาก่อนเกิดภาวะหัวใจหยุดเต้น (early detection) > 80%  3.อัตราการ CPR บนวอร์ดลดลง จากัดการใช้ในผู้ป่วยที่ต้องการการรักษาแบบ Palliative care และผู้ป่วยที่มีสาเหตุของการ เกิด arrest ที่ป้องกันไม่ได้ เช่น ผู้ป่วย post arrest
  • 14.  Early Warning Signเป็นแนวทางหรือเครื่องมือที่ช่วยให้แพทย์ พยาบาลตลอดจน บุคลากรทางการแพทย์ ได้ให้การช่วยเหลือทางการแพทย์อย่างรวดเร็ว โดยใช้การประเมิน ระดับความรุนแรงของผู้ป่วยจากข้อมูลจากสรีระวิทยาของผู้ป่วย 5 -6 อย่าง (แล้วแต่ ประเภทของเครื่องมือ)  ความดันโลหิตตัวบน (systolic blood pressure)  อัตราการเต้นของหัวใจ (heart rate)  อัตราการหายใจ (respiratory rate)  อุณหภูมิร่างกาย(body temperature)  ระดับความรู้สึกตัว (level of consciousness) AVPU  Urine Out put  Pain Score Adult Early Warning Signs
  • 15.
  • 16.
  • 18. Adult Early Warning Signs “NEWS “
  • 19. สีเหลือง (คะแนน 1-3) จัดการกับ อาการรบกวนต่างๆ เช่น อาการปวด ไข้และอื่นๆ สีทอง (คะแนน 4-5) รายงานแพทย์เพื่อให้มาดูผู้ป่วยใน 60 นาที รายงาน พยาบาลหัวหน้าเวร สีส้ม (คะแนน 6-7) รายงานแพทย์เพื่อให้มาดูผู้ป่วยใน 20นาที สีชมพู (คะแนนตั้งแต่ 8) เรียกทีมฉุกเฉินทันที MEWS
  • 20.
  • 21.
  • 23. Early Warning Sign  เป็นเครื่องมือ 1 ในหลายเครื่องมือ ที่ช่วย ในการประเมิน /Detect อาการเปลี่ยนแปลงของ คนไข้ และกาหนด ความเร่งด่วนที่ต้องมี แพทย์มาประเมินซ้า เพื่อพิจารณาการรักษาเท่านั้น  เมื่อพบคะแนนอยู่ในเกณฑ์ ที่ต้องรายงานแพทย์ต้องประเมินอย่างอื่นเพิ่มเติมตามความจาเป็น  ในกรณีกลุ่มโรคเฉพาะ เช่น Stroke ,AMI ยังต้องใช้การประเมินตามแนวทางของโรคนั้นๆ อยู่  ไม่มีความจาเป็นในกลุ่มผู้ป่วย End of life care  ใช้ในการ Monitor คนไข้ตลอดเวลาที่อยู่ในโรงพยาบาล และยังสามารถใช้กับแผนกฉุกเฉิน หรือ ขณะอยู่ใน Ambulance ได้  ถ้าผู้ป่วยที่มีการติดเชื้อ มี Score > 5 ให้นึกถึง Sepsis
  • 24. Early Warning Sign : NEWS 2
  • 25. NEWS 2 National Early Warning Sign 2  ใช้ใน Acute Illness (ไม่ใช้ในกลุ่ม End of life care)  ใช้สาหรับผู้ป่วยที่อายุ > 16 ปีขึ้นไป  ไม่ใช้กับหญิงตั้งครรภ์ที่ อายุครรภ์ > 20 wk  ไม่เหมาะกับ ผู้ป่วยกลุ่ม Spinal cord injury (Tetraplegia,High- level paraplegia)กลุ่มที่มีความผิดปกติของ Autonomic nervous system (ควรใช้อย่างระมัดระวัง)
  • 26. 6 Physiological parameter  Respiratory Rate  Oxygen saturation  Systolic Blood Pressure  Pulse Rate  Level of Conscious (ACVPU)  Temperature
  • 27. สิ่งที่ควรระวัง สิ่งที่สาคัญมากกว่าการมีเกณฑ์คือ “ การจัดการ “ หลังการประเมิน คะแนนเท่าใด ควรมีการจัดการอย่างไร เกณฑ์ ตามguideline อาจต้องนามาปรับใช้ให้เหมาะกับบริบทของแต่ละโรงพยาบาล ควรมีการติดตามประเมินผล การนาเครื่องมือมาใช้ ว่าเกิดประสิทธิภาพ หรือไม่ เช่น ลดอัตราการ CPR ในward, ลดอัตราการย้าย ICU ,อัตราการใช้