SlideShare une entreprise Scribd logo
1  sur  5
Télécharger pour lire hors ligne
รวบรวมสรุปสูตร โดย นายอนุชิต ไชยชมพู


                       สรุปสูตรคณิตศาสตร์ ม.1
                                          การบวก,ลบ,คูณ,หารของเศษส่วน

   หลักการ
   ทาตัวส่วนของเศษส่วนให้เท่ากัน แล้วนาตัวเศษมาบวกหรือลบกัน กล่าวคือ ถ้า และ แทนเศษส่วนใดๆจะได้ว่า
  เศษส่วน



  วิธีที่ 1 เปลี่ยนเศษส่วนจานวนคละให้เป็นเศษส่วนเกิน




    วิธีที่ 2 ใช้สมบัติการสลับที่และสมบัติการเปลี่ยนกลุ่ม ซึ่งเป็นวิธีท ี่นิยมใช ้เมื่อ เศษส่วน เป็นจานวน
ที่มีค่ามาก




  หมายเหตุ การบวกและการลบเศษส่วนอาจทาได้โดยใช้วิธีลัด
  ตัวอย่าง ค.ร.น. ของ 3, 12 และ 20 เท่ากับ 60




       1 สรุปสูตรคณิตศาสตร์ ระดับชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 1 โดย.......อนุชิต ไชยชมพู
รวบรวมสรุปสูตร โดย นายอนุชิต ไชยชมพู

  การคูณและการหารเศษส่วน




                                                คุณสมบัติของเลขยกกาลัง

  1. an = a x a x a x … x a (n ตัว)[เมื่อ n เป็นจานวนเต็มบวก]
  2. a-n = 1 an [a 0]
  3. a0 = 1 [a 0]
  4. am x an = am+n [ฐานเหมือนกันคูณกันนากาลังบวกกัน ]
  5. am an = am-n [ฐานเหมือนกัน หารกันนากาลังลบกัน ]
  6. (am)n = am x n [กาลังซ้อนกันนากาลังไปคูณกัน ]
  7. (a x b)n = an x bn [กาลังซ้อนกันนากาลังไปคูณกัน ]


  8. [     ]n = an    bn , b    0 [กาลังซ้อนกันนากาลังไปคูณกัน ]
  9. (a     b)m    a m bm

  10. an / m = (       )n

  11.          =       x       [a > 0, b > 0]




                                                คุณสมบัติของอัตราส่วน

  1. a : b = c : d เมื่อ ad = bc


  2. a : b = c : d เมื่อ


  3. a : b = c : d เมื่อ


  4. a : b = c : d เมื่อ


  5. a : b = c : d เมื่อ
  6. a : b = c : d เมื่อb : a = d : c
  7. a : b และ b : c จะได้ a : b : c




         2 สรุปสูตรคณิตศาสตร์ ระดับชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 1 โดย.......อนุชิต ไชยชมพู
รวบรวมสรุปสูตร โดย นายอนุชิต ไชยชมพู




                                                 ระบบจานวน

การหา ห.ร.ม.
   1.วิธีการแยกตัวประกอบ
      (1) แยกตัวประกอบของแต่ละจานวนให้เป็นตัวประกอบเฉพาะ
      (2) เลือกเอาตัวประกอบที่ซ้ากันของแต่ละจานวนมา 1 ตัว แล้วคูณกันเป็น ห.ร.ม.
   2. วิธีการตั้งหารสั้น
      (1) นาตัวเลขที่ต้องการหา ห.ร.ม.    มาตั้งหารสั้นโดยหาตัวหารที่เป็นจานวนเฉพาะมาหารและสามารถหารจานวน
ทุกตัวที่หา ห.ร.ม.      ลงตัวได้ทั้งหมด
      (2) นาตัวหารที่ได้มาคูณเป็น ห.ร.ม. ทั้งหมด
การหา ค.ร.น.
   1. วิธีการแยกตัวประกอบ
       (1) แยกตัวประกอบของแต่ละจานวนให้เป็นตัวประกอบเฉพาะ
       (2) เลือกเอาตัวประกอบที่ซ้ากันของแต่ละจานวนมา 1 ตัว       พร้อมทั้งหาตัวที่ไม่ซ้ากันลงมาด้วยและนามาคูณกัน
เป็น ค.ร.น.
   2. วิธีการตั้งหารสั้น
       (1) นาตัวเลขที่ต้องการหา ค.ร.น.     มาตั้งหารสั้นโดยหาตัวหารที่เป็นจานวนเฉพาะมาหารและสามารถหารได้ลง
ตัวอย่างน้อย 2 ตัว       หรือหากจานวนใดที่ไม่สามารถหารลงตัวก็ให้ดึงตัวเลขนั้นลงมาแล้วหารจนหารต่อไปไม่ได้
       (2) นาตัวหารที่ได้มาคูณกันเป็น ค.ร.น. ทั้งหมด
ความสัมพันธ์ของ ห.ร.ม. และ ค.ร.น.
    (1) ให้ a, b เป็นเลข 2 จานวน โดย c เป็น ห.ร.ม. และ d เป็น ค.ร.น. ของ a,b ก็จะได้ว่า a x b =
  cxd
    (2) ห.ร.ม. ของเศษส่วน=



     (3) ค.ร.น. ของเศษส่วน =



การตรวจสอบการหารแบบลงตัวในบางจานวน
   1. จานวนที่ 2 หารลงตัวจะเป็นจานวนที่มีหลักหน่วยเป็นเลขคู่ซึ่งจะรวม 0 ด้วย
   2. จานวนที่ 3 หารลงตัวจะเป็นจานวนที่นาแต่ละหลักของเลขจานวนนั้นมาบวกเข้าด้อยกันทุกหลัก เมื่อผลบวกออกมา
เป็นตัวเลขที่ 3 สามารถหารได้ลงตัวซึ่งนั่นคือจานวนที่ 3 สามารถหารได้ลงตัว แต่ถ้าผลบวกออกมาเป็นตัวเลขที่ 3 ไม่
สามารถหารได้ลงตัวก็คือจานวนนั้นสามารถที่จะนา 3 มาหารได้ลงตัว
   3. จานวนที่ 5 หารลงตัว ซึ่งจะมีเพียงจานวนที่มีหลักหน่วยเป็นเลข 5, 0 เท่านั้น
คุณสมบัติของ 0, 1
  1. a + 0 = 0 + a = a
  2. a x 0 = 0 x a = 0
  3. a x 1 = 1 x a = a
  4. a 0 จะไม่มีค่า เมื่อ a 0
โดยกาหนดให้ a แทนจานวนใดๆ
คุณสมบัติการสลับที่ของการบวก, การคูณ
  1. a + b = b + a
  2. a x b = b x a

       3 สรุปสูตรคณิตศาสตร์ ระดับชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 1 โดย.......อนุชิต ไชยชมพู
รวบรวมสรุปสูตร โดย นายอนุชิต ไชยชมพู

โดยกาหนดให้ a, b = จานวนใดๆ
คุณสมบัติการเปลี่ยนกลุ่มของการบวก, การคูณ
  1. (a + b) + c = a + (b + c)
  2. (b + c) x c = a x (b x c)
โดยกาหนด a, b, c = จานวนใดๆ




คุณสมบัติการแจกแจง
  1. a x (b +c) = (a x b) + (a x c)
  2. (b + c) x a = (b x a) + (c x a)
โดยกาหนดให้ a, b, c = จานวนใดๆ
ข้อสังเกตในการบวกและคูณจานวนเลขคู่และเลขคี่
      1.   จานวนคู่   + จานวนคู่ = จานวนคู่
      2.   จานวนคี่   + จานวนคี่ = จานวนคู่
      3.   จานวนคี่   + จานวนคู่ = จานวนคี่
      4.   จานวนคู่   + จานวนคู่ = จานวนคี่
      5.   จานวนคู่   x จานวนคู่ = จานวนคู่
      6.   จานวนคี่   x จานวนคี่ = จานวนคี่
      7.   จานวนคี่   x จานวนคู่ = จานวนคู่
      8.   จานวนคู่   x จานวนคี่ = จานวนคู่
การหาผลบวกของจานวนเต็ม
   1. การหาผลบวกของจานวนเต็มลบ
จะได้ (-) + (-) = (-)
   2. การหาผลบวกระหว่างจานวนเต็ม
จะได้
      2.1 ถ้า |(+)| > |(-)|          (+) + (-)
= |(+)| - |(-)| = (+)
     2.2 ถ้า |(+)| < |(-)|           (+) +(-)
= |(+)| - |(-)| = (-)
การหาผลลบของจานวนเต็ม
  สูตร = ตัวตั้ง – ตัวลบ = ตัวตั้ง + จานวนตรงข้ามของตัวลบ
หมายเหตุ จานวนตรงข้ามของ a เขียนด้วย –a
จานวนตรงข้ามของ –a เขียนแทนด้วย –(-a)
การหาผลคูณของจานวนเต็ม
   1. การผลคูณของจานวนเต็มบวก
จะได้ (+) x (+) = (+)
   2. การผลคูณของจานวนเต็มลบ
จะได้ (-) x (-) = (+)
   3.การผลคูณของจานวนเต็มบวกและจานวนเต็มลบ
จะได้ (+) x (-) = (-)
   4.การหาผลคูณของจานวนเต็มลบและจานวนเต็มบวก
จะได้ (-) x (+) = (-)
การหาผลหารของจานวนเต็ม
      สูตร ตัวตั้ง ตัวหาร
      1. การผลหารของจานวนเต็มบวก
(+) (+) = (+)
  2. การหาผลหารของจานวนเต็มลบ
(-)      (-) = (+)
      3. การผลหารระหว่างจานวนต็มบวกและจานวนเต็มลบ
(+) (-) = (-)
            4 สรุปสูตรคณิตศาสตร์ ระดับชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 1 โดย.......อนุชิต ไชยชมพู
รวบรวมสรุปสูตร โดย นายอนุชิต ไชยชมพู

  4. การหาผลหารระหว่างจานวนเต็มลบและจานวนเต็มบวก
(+)   (-) = (-)




คุณสมบัติของจานวนจริง
   1. คุณสมบัติปิดของการบวก
a + b เป็นจานวนจริง
   2. คุณสมบัติของการคูณ
a x b เป็นจานวนจริง
   3. คุณสมบัติการเปลี่ยนกลุ่มได้ของการบวก
(a + b) + c = a + (b + c)
   4. คุณสมบัติการเปลี่ยนกลุ่มได้ของการคูณ
(a +b) x c = a x (b x c)
   5. คุณสมบัติการสลับที่ของการบวก
a+b=b+a
   6. คุณสมบัติการสลับที่ของการคูณ
axb=bxa
  7. เอกลักษณ์การบวก
   เอกลักษณ์ของการบวก คือ 0
0+a=a=a+0
  8. เอกลักษณ์การคูณ
  เอกลักษณ์ของการคูณ คือ 1
1xa=a=ax1
  9. อินเวอร์สการบวก
  อินเวอร์สการบวกของ a ได้แก่ –a
(-a) + a = 0 = a + (-a)
  10. อินเวอร์สการคูณ


อินเวอร์สของการคูณของของ a คือ        [a   0]    xa=1=ax
   11. คุณสมบัติการแจกแจง
a x ( b+ c) = (a x b) + (a x c)




       5 สรุปสูตรคณิตศาสตร์ ระดับชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 1 โดย.......อนุชิต ไชยชมพู

Contenu connexe

Tendances

หน่วยที่ 3 เลขยกกำลัง ม.1
หน่วยที่ 3 เลขยกกำลัง ม.1หน่วยที่ 3 เลขยกกำลัง ม.1
หน่วยที่ 3 เลขยกกำลัง ม.1guychaipk
 
เลขยกกำลังม.4
เลขยกกำลังม.4เลขยกกำลังม.4
เลขยกกำลังม.4KruGift Girlz
 
ใบความรู้ เรื่อง ทศนิยมและเศษส่วน
ใบความรู้ เรื่อง ทศนิยมและเศษส่วนใบความรู้ เรื่อง ทศนิยมและเศษส่วน
ใบความรู้ เรื่อง ทศนิยมและเศษส่วนkanjana2536
 
สมการเชิงเส้นตัวแปรเดียว
สมการเชิงเส้นตัวแปรเดียวสมการเชิงเส้นตัวแปรเดียว
สมการเชิงเส้นตัวแปรเดียวkroojaja
 
สมการเชิงเส้นตัวแปรเดียว
สมการเชิงเส้นตัวแปรเดียวสมการเชิงเส้นตัวแปรเดียว
สมการเชิงเส้นตัวแปรเดียวพัน พัน
 
แบบฝึกทักษะที่ 6
แบบฝึกทักษะที่ 6แบบฝึกทักษะที่ 6
แบบฝึกทักษะที่ 6Roman Paduka
 
เอกสารประกอบการเรียน พหุนาม ม.2
เอกสารประกอบการเรียน พหุนาม ม.2เอกสารประกอบการเรียน พหุนาม ม.2
เอกสารประกอบการเรียน พหุนาม ม.2นายเค ครูกาย
 
แบบฝึกทักษะ อสมการ
แบบฝึกทักษะ อสมการแบบฝึกทักษะ อสมการ
แบบฝึกทักษะ อสมการNoir Black
 
บทที่ 4 เส้นขนาน
บทที่ 4 เส้นขนานบทที่ 4 เส้นขนาน
บทที่ 4 เส้นขนานsawed kodnara
 
ใบงานสถิติและข้อมูล
ใบงานสถิติและข้อมูลใบงานสถิติและข้อมูล
ใบงานสถิติและข้อมูลpeesartwit
 
เลขยกกำลัง
เลขยกกำลังเลขยกกำลัง
เลขยกกำลังkrookay2012
 
โครงสร้างคณิตศาสตร์ พื้นฐาน ม.ต้น
โครงสร้างคณิตศาสตร์ พื้นฐาน ม.ต้นโครงสร้างคณิตศาสตร์ พื้นฐาน ม.ต้น
โครงสร้างคณิตศาสตร์ พื้นฐาน ม.ต้นInmylove Nupad
 
ข้อสอบเรื่องการบวกลบคูณหารพหุนาม
ข้อสอบเรื่องการบวกลบคูณหารพหุนามข้อสอบเรื่องการบวกลบคูณหารพหุนาม
ข้อสอบเรื่องการบวกลบคูณหารพหุนามทับทิม เจริญตา
 
การแก้ระบบสมการเชิงเส้นสองตัวแปร
การแก้ระบบสมการเชิงเส้นสองตัวแปรการแก้ระบบสมการเชิงเส้นสองตัวแปร
การแก้ระบบสมการเชิงเส้นสองตัวแปรพัน พัน
 
แบบทดสอบเรื่องฟังก์ชัน
แบบทดสอบเรื่องฟังก์ชันแบบทดสอบเรื่องฟังก์ชัน
แบบทดสอบเรื่องฟังก์ชันJiraprapa Suwannajak
 
จำนวนจริง
จำนวนจริงจำนวนจริง
จำนวนจริงPiyanouch Suwong
 

Tendances (20)

หน่วยที่ 3 เลขยกกำลัง ม.1
หน่วยที่ 3 เลขยกกำลัง ม.1หน่วยที่ 3 เลขยกกำลัง ม.1
หน่วยที่ 3 เลขยกกำลัง ม.1
 
เลขยกกำลังม.4
เลขยกกำลังม.4เลขยกกำลังม.4
เลขยกกำลังม.4
 
แบบทดสอบ เรื่องพหุนาม
แบบทดสอบ เรื่องพหุนามแบบทดสอบ เรื่องพหุนาม
แบบทดสอบ เรื่องพหุนาม
 
ใบความรู้ เรื่อง ทศนิยมและเศษส่วน
ใบความรู้ เรื่อง ทศนิยมและเศษส่วนใบความรู้ เรื่อง ทศนิยมและเศษส่วน
ใบความรู้ เรื่อง ทศนิยมและเศษส่วน
 
สมการเชิงเส้นตัวแปรเดียว
สมการเชิงเส้นตัวแปรเดียวสมการเชิงเส้นตัวแปรเดียว
สมการเชิงเส้นตัวแปรเดียว
 
สมการเชิงเส้นตัวแปรเดียว
สมการเชิงเส้นตัวแปรเดียวสมการเชิงเส้นตัวแปรเดียว
สมการเชิงเส้นตัวแปรเดียว
 
แบบฝึกทักษะที่ 6
แบบฝึกทักษะที่ 6แบบฝึกทักษะที่ 6
แบบฝึกทักษะที่ 6
 
เอกสารประกอบการเรียน พหุนาม ม.2
เอกสารประกอบการเรียน พหุนาม ม.2เอกสารประกอบการเรียน พหุนาม ม.2
เอกสารประกอบการเรียน พหุนาม ม.2
 
แบบฝึกทักษะ อสมการ
แบบฝึกทักษะ อสมการแบบฝึกทักษะ อสมการ
แบบฝึกทักษะ อสมการ
 
บทที่ 4 เส้นขนาน
บทที่ 4 เส้นขนานบทที่ 4 เส้นขนาน
บทที่ 4 เส้นขนาน
 
ใบงานสถิติและข้อมูล
ใบงานสถิติและข้อมูลใบงานสถิติและข้อมูล
ใบงานสถิติและข้อมูล
 
เลขยกกำลัง
เลขยกกำลังเลขยกกำลัง
เลขยกกำลัง
 
โครงสร้างคณิตศาสตร์ พื้นฐาน ม.ต้น
โครงสร้างคณิตศาสตร์ พื้นฐาน ม.ต้นโครงสร้างคณิตศาสตร์ พื้นฐาน ม.ต้น
โครงสร้างคณิตศาสตร์ พื้นฐาน ม.ต้น
 
ข้อสอบเรื่องการบวกลบคูณหารพหุนาม
ข้อสอบเรื่องการบวกลบคูณหารพหุนามข้อสอบเรื่องการบวกลบคูณหารพหุนาม
ข้อสอบเรื่องการบวกลบคูณหารพหุนาม
 
การแก้ระบบสมการเชิงเส้นสองตัวแปร
การแก้ระบบสมการเชิงเส้นสองตัวแปรการแก้ระบบสมการเชิงเส้นสองตัวแปร
การแก้ระบบสมการเชิงเส้นสองตัวแปร
 
เลขยกกำลัง
เลขยกกำลังเลขยกกำลัง
เลขยกกำลัง
 
แบบทดสอบเรื่องฟังก์ชัน
แบบทดสอบเรื่องฟังก์ชันแบบทดสอบเรื่องฟังก์ชัน
แบบทดสอบเรื่องฟังก์ชัน
 
เอกสารประกอบการเรียนการสอน
เอกสารประกอบการเรียนการสอนเอกสารประกอบการเรียนการสอน
เอกสารประกอบการเรียนการสอน
 
จำนวนจริง
จำนวนจริงจำนวนจริง
จำนวนจริง
 
จำนวนเชิงซ้อน
จำนวนเชิงซ้อนจำนวนเชิงซ้อน
จำนวนเชิงซ้อน
 

En vedette

เอกสารประกอบคำบรรยายติวสอบ กลุ่มสาระการเรียนรู้วิทยาศาสตร์
เอกสารประกอบคำบรรยายติวสอบ กลุ่มสาระการเรียนรู้วิทยาศาสตร์เอกสารประกอบคำบรรยายติวสอบ กลุ่มสาระการเรียนรู้วิทยาศาสตร์
เอกสารประกอบคำบรรยายติวสอบ กลุ่มสาระการเรียนรู้วิทยาศาสตร์ถูกต้อง ไม่จำเป็นต้องถูกใจ
 
Pisa science for จุฬาภรณ ข้อสอบ ชุด1
Pisa science for จุฬาภรณ ข้อสอบ ชุด1Pisa science for จุฬาภรณ ข้อสอบ ชุด1
Pisa science for จุฬาภรณ ข้อสอบ ชุด1Suphanida Montreewiwat
 
แนวข้อสอบเข้า ม.4 วิชาคณิตศาสตร์โรงเรียนมหิดลฯและโรงเรียนจุฬาภรณ์ฯ
แนวข้อสอบเข้า ม.4 วิชาคณิตศาสตร์โรงเรียนมหิดลฯและโรงเรียนจุฬาภรณ์ฯ แนวข้อสอบเข้า ม.4 วิชาคณิตศาสตร์โรงเรียนมหิดลฯและโรงเรียนจุฬาภรณ์ฯ
แนวข้อสอบเข้า ม.4 วิชาคณิตศาสตร์โรงเรียนมหิดลฯและโรงเรียนจุฬาภรณ์ฯ sawed kodnara
 
วิทยาศาสตร์พื้นฐาน(โลกดาราศาสตร์อวกาศ)
วิทยาศาสตร์พื้นฐาน(โลกดาราศาสตร์อวกาศ)วิทยาศาสตร์พื้นฐาน(โลกดาราศาสตร์อวกาศ)
วิทยาศาสตร์พื้นฐาน(โลกดาราศาสตร์อวกาศ)Wichai Likitponrak
 
ดาราศาสตร์ ม.3 ระบบสุริยะจักรวาล
ดาราศาสตร์ ม.3 ระบบสุริยะจักรวาลดาราศาสตร์ ม.3 ระบบสุริยะจักรวาล
ดาราศาสตร์ ม.3 ระบบสุริยะจักรวาลGwang Mydear
 
เฉลยข้อสอบ O-Net ดาราศาสตร์ ปีการศึกษา 2548
เฉลยข้อสอบ O-Net ดาราศาสตร์ ปีการศึกษา 2548เฉลยข้อสอบ O-Net ดาราศาสตร์ ปีการศึกษา 2548
เฉลยข้อสอบ O-Net ดาราศาสตร์ ปีการศึกษา 2548Physics Lek
 
หน่วยการเรียนรู้ที่ 2 เรื่อง ยีนและโครโมโซม
หน่วยการเรียนรู้ที่ 2 เรื่อง ยีนและโครโมโซมหน่วยการเรียนรู้ที่ 2 เรื่อง ยีนและโครโมโซม
หน่วยการเรียนรู้ที่ 2 เรื่อง ยีนและโครโมโซมWichai Likitponrak
 
บทที่3การสืบพันธุ์เจริญเติบโตพืชดอก
บทที่3การสืบพันธุ์เจริญเติบโตพืชดอกบทที่3การสืบพันธุ์เจริญเติบโตพืชดอก
บทที่3การสืบพันธุ์เจริญเติบโตพืชดอกWichai Likitponrak
 
สรุป วิชาโลก ดาราศาสตร์ และอวกาศ
สรุป วิชาโลก ดาราศาสตร์ และอวกาศสรุป วิชาโลก ดาราศาสตร์ และอวกาศ
สรุป วิชาโลก ดาราศาสตร์ และอวกาศสิปป์แสง สุขผล
 
ข้อสอบวิทยาศาสตร์ O net (โลก ดาราศาสตร์ และอวกาศ)
ข้อสอบวิทยาศาสตร์ O net (โลก ดาราศาสตร์ และอวกาศ)ข้อสอบวิทยาศาสตร์ O net (โลก ดาราศาสตร์ และอวกาศ)
ข้อสอบวิทยาศาสตร์ O net (โลก ดาราศาสตร์ และอวกาศ)สำเร็จ นางสีคุณ
 
แบบทดสอบดาราศาสตร์ ม.3
แบบทดสอบดาราศาสตร์ ม.3แบบทดสอบดาราศาสตร์ ม.3
แบบทดสอบดาราศาสตร์ ม.3Jariya Jaiyot
 
แบบทดสอบ สาระที่ 7 ดาราศาสตร์และอวกาศ
แบบทดสอบ สาระที่ 7    ดาราศาสตร์และอวกาศแบบทดสอบ สาระที่ 7    ดาราศาสตร์และอวกาศ
แบบทดสอบ สาระที่ 7 ดาราศาสตร์และอวกาศdnavaroj
 
แผนการเรียนรู้ที่1 เรื่อง ถ่ายทอดพันธุกรรม
แผนการเรียนรู้ที่1 เรื่อง ถ่ายทอดพันธุกรรมแผนการเรียนรู้ที่1 เรื่อง ถ่ายทอดพันธุกรรม
แผนการเรียนรู้ที่1 เรื่อง ถ่ายทอดพันธุกรรมWichai Likitponrak
 
หน่วยการเรียนรู้ที่ 4 เรื่อง วิวัฒนาการ
หน่วยการเรียนรู้ที่ 4 เรื่อง วิวัฒนาการหน่วยการเรียนรู้ที่ 4 เรื่อง วิวัฒนาการ
หน่วยการเรียนรู้ที่ 4 เรื่อง วิวัฒนาการWichai Likitponrak
 
เอกสารประกอบการสรุปเข้ม O
เอกสารประกอบการสรุปเข้ม Oเอกสารประกอบการสรุปเข้ม O
เอกสารประกอบการสรุปเข้ม OWichai Likitponrak
 
ข้อสอบพร้อมเฉลยอย่างละเอียด O net - วิทยาศาสตร์
ข้อสอบพร้อมเฉลยอย่างละเอียด O net - วิทยาศาสตร์ข้อสอบพร้อมเฉลยอย่างละเอียด O net - วิทยาศาสตร์
ข้อสอบพร้อมเฉลยอย่างละเอียด O net - วิทยาศาสตร์Suriyawaranya Asatthasonthi
 

En vedette (19)

เอกสารประกอบคำบรรยายติวสอบ กลุ่มสาระการเรียนรู้วิทยาศาสตร์
เอกสารประกอบคำบรรยายติวสอบ กลุ่มสาระการเรียนรู้วิทยาศาสตร์เอกสารประกอบคำบรรยายติวสอบ กลุ่มสาระการเรียนรู้วิทยาศาสตร์
เอกสารประกอบคำบรรยายติวสอบ กลุ่มสาระการเรียนรู้วิทยาศาสตร์
 
Pisa science for จุฬาภรณ ข้อสอบ ชุด1
Pisa science for จุฬาภรณ ข้อสอบ ชุด1Pisa science for จุฬาภรณ ข้อสอบ ชุด1
Pisa science for จุฬาภรณ ข้อสอบ ชุด1
 
แนวข้อสอบเข้า ม.4 วิชาคณิตศาสตร์โรงเรียนมหิดลฯและโรงเรียนจุฬาภรณ์ฯ
แนวข้อสอบเข้า ม.4 วิชาคณิตศาสตร์โรงเรียนมหิดลฯและโรงเรียนจุฬาภรณ์ฯ แนวข้อสอบเข้า ม.4 วิชาคณิตศาสตร์โรงเรียนมหิดลฯและโรงเรียนจุฬาภรณ์ฯ
แนวข้อสอบเข้า ม.4 วิชาคณิตศาสตร์โรงเรียนมหิดลฯและโรงเรียนจุฬาภรณ์ฯ
 
วิทยาศาสตร์พื้นฐาน(โลกดาราศาสตร์อวกาศ)
วิทยาศาสตร์พื้นฐาน(โลกดาราศาสตร์อวกาศ)วิทยาศาสตร์พื้นฐาน(โลกดาราศาสตร์อวกาศ)
วิทยาศาสตร์พื้นฐาน(โลกดาราศาสตร์อวกาศ)
 
ดาราศาสตร์ ม.3 ระบบสุริยะจักรวาล
ดาราศาสตร์ ม.3 ระบบสุริยะจักรวาลดาราศาสตร์ ม.3 ระบบสุริยะจักรวาล
ดาราศาสตร์ ม.3 ระบบสุริยะจักรวาล
 
เฉลยข้อสอบ O-Net ดาราศาสตร์ ปีการศึกษา 2548
เฉลยข้อสอบ O-Net ดาราศาสตร์ ปีการศึกษา 2548เฉลยข้อสอบ O-Net ดาราศาสตร์ ปีการศึกษา 2548
เฉลยข้อสอบ O-Net ดาราศาสตร์ ปีการศึกษา 2548
 
หน่วยการเรียนรู้ที่ 2 เรื่อง ยีนและโครโมโซม
หน่วยการเรียนรู้ที่ 2 เรื่อง ยีนและโครโมโซมหน่วยการเรียนรู้ที่ 2 เรื่อง ยีนและโครโมโซม
หน่วยการเรียนรู้ที่ 2 เรื่อง ยีนและโครโมโซม
 
บทที่3การสืบพันธุ์เจริญเติบโตพืชดอก
บทที่3การสืบพันธุ์เจริญเติบโตพืชดอกบทที่3การสืบพันธุ์เจริญเติบโตพืชดอก
บทที่3การสืบพันธุ์เจริญเติบโตพืชดอก
 
Pptติวonetม3
Pptติวonetม3Pptติวonetม3
Pptติวonetม3
 
สรุป วิชาโลก ดาราศาสตร์ และอวกาศ
สรุป วิชาโลก ดาราศาสตร์ และอวกาศสรุป วิชาโลก ดาราศาสตร์ และอวกาศ
สรุป วิชาโลก ดาราศาสตร์ และอวกาศ
 
ข้อสอบวิทยาศาสตร์ O net (โลก ดาราศาสตร์ และอวกาศ)
ข้อสอบวิทยาศาสตร์ O net (โลก ดาราศาสตร์ และอวกาศ)ข้อสอบวิทยาศาสตร์ O net (โลก ดาราศาสตร์ และอวกาศ)
ข้อสอบวิทยาศาสตร์ O net (โลก ดาราศาสตร์ และอวกาศ)
 
เฉลยสอวนBio60
เฉลยสอวนBio60เฉลยสอวนBio60
เฉลยสอวนBio60
 
แบบทดสอบดาราศาสตร์ ม.3
แบบทดสอบดาราศาสตร์ ม.3แบบทดสอบดาราศาสตร์ ม.3
แบบทดสอบดาราศาสตร์ ม.3
 
แบบทดสอบ สาระที่ 7 ดาราศาสตร์และอวกาศ
แบบทดสอบ สาระที่ 7    ดาราศาสตร์และอวกาศแบบทดสอบ สาระที่ 7    ดาราศาสตร์และอวกาศ
แบบทดสอบ สาระที่ 7 ดาราศาสตร์และอวกาศ
 
แผนการเรียนรู้ที่1 เรื่อง ถ่ายทอดพันธุกรรม
แผนการเรียนรู้ที่1 เรื่อง ถ่ายทอดพันธุกรรมแผนการเรียนรู้ที่1 เรื่อง ถ่ายทอดพันธุกรรม
แผนการเรียนรู้ที่1 เรื่อง ถ่ายทอดพันธุกรรม
 
หน่วยการเรียนรู้ที่ 4 เรื่อง วิวัฒนาการ
หน่วยการเรียนรู้ที่ 4 เรื่อง วิวัฒนาการหน่วยการเรียนรู้ที่ 4 เรื่อง วิวัฒนาการ
หน่วยการเรียนรู้ที่ 4 เรื่อง วิวัฒนาการ
 
เอกสารประกอบการสรุปเข้ม O
เอกสารประกอบการสรุปเข้ม Oเอกสารประกอบการสรุปเข้ม O
เอกสารประกอบการสรุปเข้ม O
 
สรุปวิทยาศาสตร์พื้นฐาน
สรุปวิทยาศาสตร์พื้นฐานสรุปวิทยาศาสตร์พื้นฐาน
สรุปวิทยาศาสตร์พื้นฐาน
 
ข้อสอบพร้อมเฉลยอย่างละเอียด O net - วิทยาศาสตร์
ข้อสอบพร้อมเฉลยอย่างละเอียด O net - วิทยาศาสตร์ข้อสอบพร้อมเฉลยอย่างละเอียด O net - วิทยาศาสตร์
ข้อสอบพร้อมเฉลยอย่างละเอียด O net - วิทยาศาสตร์
 

Similaire à สรุปสูตร คณิตศาสตร์ ม.1

สรุปเข้มฯ#7 คณิตศาสตร์
สรุปเข้มฯ#7 คณิตศาสตร์สรุปเข้มฯ#7 คณิตศาสตร์
สรุปเข้มฯ#7 คณิตศาสตร์Pasit Suwanichkul
 
ระบบจำนวน
ระบบจำนวนระบบจำนวน
ระบบจำนวนguest89040d
 
บทที่ 1.ทบทวนคณิตศาสตร์
บทที่ 1.ทบทวนคณิตศาสตร์บทที่ 1.ทบทวนคณิตศาสตร์
บทที่ 1.ทบทวนคณิตศาสตร์PumPui Oranuch
 
เจาะลึกแนวข้อสอบPat1 พร้อมสรุปสูตรและทฤษฎีครบทุกบท
เจาะลึกแนวข้อสอบPat1 พร้อมสรุปสูตรและทฤษฎีครบทุกบทเจาะลึกแนวข้อสอบPat1 พร้อมสรุปสูตรและทฤษฎีครบทุกบท
เจาะลึกแนวข้อสอบPat1 พร้อมสรุปสูตรและทฤษฎีครบทุกบทTutor Ferry
 
เจาะลึกการออกข้อสอบ Pat1 คณิตศาสตร์พร้อมสรุปสูตรและทฤษฎีครบทุกบท
เจาะลึกการออกข้อสอบ Pat1 คณิตศาสตร์พร้อมสรุปสูตรและทฤษฎีครบทุกบทเจาะลึกการออกข้อสอบ Pat1 คณิตศาสตร์พร้อมสรุปสูตรและทฤษฎีครบทุกบท
เจาะลึกการออกข้อสอบ Pat1 คณิตศาสตร์พร้อมสรุปสูตรและทฤษฎีครบทุกบทChokchai Taveecharoenpun
 
สรุปเนื้อหา O- net ม.6
สรุปเนื้อหา O- net ม.6 สรุปเนื้อหา O- net ม.6
สรุปเนื้อหา O- net ม.6 sensehaza
 
คณิตศาสตร์ ม.ปลาย พค31001
คณิตศาสตร์ ม.ปลาย พค31001คณิตศาสตร์ ม.ปลาย พค31001
คณิตศาสตร์ ม.ปลาย พค31001Thidarat Termphon
 
การแยกตัวประกอบพหุนาม
การแยกตัวประกอบพหุนามการแยกตัวประกอบพหุนาม
การแยกตัวประกอบพหุนามAon Narinchoti
 
Factoring of polynomials2
Factoring of polynomials2Factoring of polynomials2
Factoring of polynomials2Aon Narinchoti
 
ปลุกจิตคณิต ม.4 - ทฤษฎีจำนวน
ปลุกจิตคณิต ม.4 - ทฤษฎีจำนวนปลุกจิตคณิต ม.4 - ทฤษฎีจำนวน
ปลุกจิตคณิต ม.4 - ทฤษฎีจำนวนphotmathawee
 

Similaire à สรุปสูตร คณิตศาสตร์ ม.1 (20)

Sk7 ma
Sk7 maSk7 ma
Sk7 ma
 
สรุปเข้มฯ#7 คณิตศาสตร์
สรุปเข้มฯ#7 คณิตศาสตร์สรุปเข้มฯ#7 คณิตศาสตร์
สรุปเข้มฯ#7 คณิตศาสตร์
 
Sk7 ma
Sk7 maSk7 ma
Sk7 ma
 
Realnumbers
RealnumbersRealnumbers
Realnumbers
 
ระบบจำนวน
ระบบจำนวนระบบจำนวน
ระบบจำนวน
 
บทที่ 1.ทบทวนคณิตศาสตร์
บทที่ 1.ทบทวนคณิตศาสตร์บทที่ 1.ทบทวนคณิตศาสตร์
บทที่ 1.ทบทวนคณิตศาสตร์
 
เจาะลึกแนวข้อสอบPat1 พร้อมสรุปสูตรและทฤษฎีครบทุกบท
เจาะลึกแนวข้อสอบPat1 พร้อมสรุปสูตรและทฤษฎีครบทุกบทเจาะลึกแนวข้อสอบPat1 พร้อมสรุปสูตรและทฤษฎีครบทุกบท
เจาะลึกแนวข้อสอบPat1 พร้อมสรุปสูตรและทฤษฎีครบทุกบท
 
เจาะลึกการออกข้อสอบ Pat1 คณิตศาสตร์พร้อมสรุปสูตรและทฤษฎีครบทุกบท
เจาะลึกการออกข้อสอบ Pat1 คณิตศาสตร์พร้อมสรุปสูตรและทฤษฎีครบทุกบทเจาะลึกการออกข้อสอบ Pat1 คณิตศาสตร์พร้อมสรุปสูตรและทฤษฎีครบทุกบท
เจาะลึกการออกข้อสอบ Pat1 คณิตศาสตร์พร้อมสรุปสูตรและทฤษฎีครบทุกบท
 
Real (1)
Real (1)Real (1)
Real (1)
 
Real (1)
Real (1)Real (1)
Real (1)
 
Real (1)
Real (1)Real (1)
Real (1)
 
Real (1)
Real (1)Real (1)
Real (1)
 
Real (1)
Real (1)Real (1)
Real (1)
 
สรุปเนื้อหา O- net ม.6
สรุปเนื้อหา O- net ม.6 สรุปเนื้อหา O- net ม.6
สรุปเนื้อหา O- net ม.6
 
คณิตศาสตร์ ม.ปลาย พค31001
คณิตศาสตร์ ม.ปลาย พค31001คณิตศาสตร์ ม.ปลาย พค31001
คณิตศาสตร์ ม.ปลาย พค31001
 
การแยกตัวประกอบพหุนาม
การแยกตัวประกอบพหุนามการแยกตัวประกอบพหุนาม
การแยกตัวประกอบพหุนาม
 
Basic m4-1-chapter3
Basic m4-1-chapter3Basic m4-1-chapter3
Basic m4-1-chapter3
 
Factoring of polynomials2
Factoring of polynomials2Factoring of polynomials2
Factoring of polynomials2
 
ปลุกจิตคณิต ม.4 - ทฤษฎีจำนวน
ปลุกจิตคณิต ม.4 - ทฤษฎีจำนวนปลุกจิตคณิต ม.4 - ทฤษฎีจำนวน
ปลุกจิตคณิต ม.4 - ทฤษฎีจำนวน
 
Real (1)
Real (1)Real (1)
Real (1)
 

Plus de อนุชิต ไชยชมพู

สรุปสูตรคณิตศาสตร์ ม.ปลาย (ม.4-6) ชุด 1
สรุปสูตรคณิตศาสตร์ ม.ปลาย (ม.4-6) ชุด 1สรุปสูตรคณิตศาสตร์ ม.ปลาย (ม.4-6) ชุด 1
สรุปสูตรคณิตศาสตร์ ม.ปลาย (ม.4-6) ชุด 1อนุชิต ไชยชมพู
 
ข้อสอบ เอกสาร แบรนด์ซัมเมอร์แคมป์ 2011 คณิต
ข้อสอบ เอกสาร แบรนด์ซัมเมอร์แคมป์ 2011 คณิตข้อสอบ เอกสาร แบรนด์ซัมเมอร์แคมป์ 2011 คณิต
ข้อสอบ เอกสาร แบรนด์ซัมเมอร์แคมป์ 2011 คณิตอนุชิต ไชยชมพู
 
คู่มือสร้างเว็บบล็อกด้วย Wordpress
คู่มือสร้างเว็บบล็อกด้วย Wordpressคู่มือสร้างเว็บบล็อกด้วย Wordpress
คู่มือสร้างเว็บบล็อกด้วย Wordpressอนุชิต ไชยชมพู
 

Plus de อนุชิต ไชยชมพู (9)

ข้อสอบ O-net ม.6 คณิตศาสตร์ 53
ข้อสอบ O-net ม.6 คณิตศาสตร์ 53ข้อสอบ O-net ม.6 คณิตศาสตร์ 53
ข้อสอบ O-net ม.6 คณิตศาสตร์ 53
 
เฉลย O-net คณิตศาสตร์ 54
เฉลย O-net คณิตศาสตร์ 54เฉลย O-net คณิตศาสตร์ 54
เฉลย O-net คณิตศาสตร์ 54
 
ข้อสอบ O-net คณิตศาสตร์ 54
ข้อสอบ O-net คณิตศาสตร์ 54ข้อสอบ O-net คณิตศาสตร์ 54
ข้อสอบ O-net คณิตศาสตร์ 54
 
สรุปสูตรคณิตศาสตร์ ม.ปลาย (ม.4-6) ชุด 1
สรุปสูตรคณิตศาสตร์ ม.ปลาย (ม.4-6) ชุด 1สรุปสูตรคณิตศาสตร์ ม.ปลาย (ม.4-6) ชุด 1
สรุปสูตรคณิตศาสตร์ ม.ปลาย (ม.4-6) ชุด 1
 
ข้อสอบ เอกสาร แบรนด์ซัมเมอร์แคมป์ 2011 คณิต
ข้อสอบ เอกสาร แบรนด์ซัมเมอร์แคมป์ 2011 คณิตข้อสอบ เอกสาร แบรนด์ซัมเมอร์แคมป์ 2011 คณิต
ข้อสอบ เอกสาร แบรนด์ซัมเมอร์แคมป์ 2011 คณิต
 
คู่มือสร้างเว็บบล็อกด้วย Wordpress
คู่มือสร้างเว็บบล็อกด้วย Wordpressคู่มือสร้างเว็บบล็อกด้วย Wordpress
คู่มือสร้างเว็บบล็อกด้วย Wordpress
 
GSP คณิตศาสตร์ ม.ปลาย ม.4-5-6
GSP คณิตศาสตร์ ม.ปลาย ม.4-5-6GSP คณิตศาสตร์ ม.ปลาย ม.4-5-6
GSP คณิตศาสตร์ ม.ปลาย ม.4-5-6
 
Gsp สำหรับประถม Geometer's Sketchpad
Gsp สำหรับประถม Geometer's SketchpadGsp สำหรับประถม Geometer's Sketchpad
Gsp สำหรับประถม Geometer's Sketchpad
 
Gsp สำหรับมัธยม Geometer's Sketchpad
Gsp สำหรับมัธยม Geometer's SketchpadGsp สำหรับมัธยม Geometer's Sketchpad
Gsp สำหรับมัธยม Geometer's Sketchpad
 

สรุปสูตร คณิตศาสตร์ ม.1

  • 1. รวบรวมสรุปสูตร โดย นายอนุชิต ไชยชมพู สรุปสูตรคณิตศาสตร์ ม.1 การบวก,ลบ,คูณ,หารของเศษส่วน หลักการ ทาตัวส่วนของเศษส่วนให้เท่ากัน แล้วนาตัวเศษมาบวกหรือลบกัน กล่าวคือ ถ้า และ แทนเศษส่วนใดๆจะได้ว่า เศษส่วน วิธีที่ 1 เปลี่ยนเศษส่วนจานวนคละให้เป็นเศษส่วนเกิน วิธีที่ 2 ใช้สมบัติการสลับที่และสมบัติการเปลี่ยนกลุ่ม ซึ่งเป็นวิธีท ี่นิยมใช ้เมื่อ เศษส่วน เป็นจานวน ที่มีค่ามาก หมายเหตุ การบวกและการลบเศษส่วนอาจทาได้โดยใช้วิธีลัด ตัวอย่าง ค.ร.น. ของ 3, 12 และ 20 เท่ากับ 60 1 สรุปสูตรคณิตศาสตร์ ระดับชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 1 โดย.......อนุชิต ไชยชมพู
  • 2. รวบรวมสรุปสูตร โดย นายอนุชิต ไชยชมพู การคูณและการหารเศษส่วน คุณสมบัติของเลขยกกาลัง 1. an = a x a x a x … x a (n ตัว)[เมื่อ n เป็นจานวนเต็มบวก] 2. a-n = 1 an [a 0] 3. a0 = 1 [a 0] 4. am x an = am+n [ฐานเหมือนกันคูณกันนากาลังบวกกัน ] 5. am an = am-n [ฐานเหมือนกัน หารกันนากาลังลบกัน ] 6. (am)n = am x n [กาลังซ้อนกันนากาลังไปคูณกัน ] 7. (a x b)n = an x bn [กาลังซ้อนกันนากาลังไปคูณกัน ] 8. [ ]n = an bn , b 0 [กาลังซ้อนกันนากาลังไปคูณกัน ] 9. (a b)m a m bm 10. an / m = ( )n 11. = x [a > 0, b > 0] คุณสมบัติของอัตราส่วน 1. a : b = c : d เมื่อ ad = bc 2. a : b = c : d เมื่อ 3. a : b = c : d เมื่อ 4. a : b = c : d เมื่อ 5. a : b = c : d เมื่อ 6. a : b = c : d เมื่อb : a = d : c 7. a : b และ b : c จะได้ a : b : c 2 สรุปสูตรคณิตศาสตร์ ระดับชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 1 โดย.......อนุชิต ไชยชมพู
  • 3. รวบรวมสรุปสูตร โดย นายอนุชิต ไชยชมพู ระบบจานวน การหา ห.ร.ม. 1.วิธีการแยกตัวประกอบ (1) แยกตัวประกอบของแต่ละจานวนให้เป็นตัวประกอบเฉพาะ (2) เลือกเอาตัวประกอบที่ซ้ากันของแต่ละจานวนมา 1 ตัว แล้วคูณกันเป็น ห.ร.ม. 2. วิธีการตั้งหารสั้น (1) นาตัวเลขที่ต้องการหา ห.ร.ม. มาตั้งหารสั้นโดยหาตัวหารที่เป็นจานวนเฉพาะมาหารและสามารถหารจานวน ทุกตัวที่หา ห.ร.ม. ลงตัวได้ทั้งหมด (2) นาตัวหารที่ได้มาคูณเป็น ห.ร.ม. ทั้งหมด การหา ค.ร.น. 1. วิธีการแยกตัวประกอบ (1) แยกตัวประกอบของแต่ละจานวนให้เป็นตัวประกอบเฉพาะ (2) เลือกเอาตัวประกอบที่ซ้ากันของแต่ละจานวนมา 1 ตัว พร้อมทั้งหาตัวที่ไม่ซ้ากันลงมาด้วยและนามาคูณกัน เป็น ค.ร.น. 2. วิธีการตั้งหารสั้น (1) นาตัวเลขที่ต้องการหา ค.ร.น. มาตั้งหารสั้นโดยหาตัวหารที่เป็นจานวนเฉพาะมาหารและสามารถหารได้ลง ตัวอย่างน้อย 2 ตัว หรือหากจานวนใดที่ไม่สามารถหารลงตัวก็ให้ดึงตัวเลขนั้นลงมาแล้วหารจนหารต่อไปไม่ได้ (2) นาตัวหารที่ได้มาคูณกันเป็น ค.ร.น. ทั้งหมด ความสัมพันธ์ของ ห.ร.ม. และ ค.ร.น. (1) ให้ a, b เป็นเลข 2 จานวน โดย c เป็น ห.ร.ม. และ d เป็น ค.ร.น. ของ a,b ก็จะได้ว่า a x b = cxd (2) ห.ร.ม. ของเศษส่วน= (3) ค.ร.น. ของเศษส่วน = การตรวจสอบการหารแบบลงตัวในบางจานวน 1. จานวนที่ 2 หารลงตัวจะเป็นจานวนที่มีหลักหน่วยเป็นเลขคู่ซึ่งจะรวม 0 ด้วย 2. จานวนที่ 3 หารลงตัวจะเป็นจานวนที่นาแต่ละหลักของเลขจานวนนั้นมาบวกเข้าด้อยกันทุกหลัก เมื่อผลบวกออกมา เป็นตัวเลขที่ 3 สามารถหารได้ลงตัวซึ่งนั่นคือจานวนที่ 3 สามารถหารได้ลงตัว แต่ถ้าผลบวกออกมาเป็นตัวเลขที่ 3 ไม่ สามารถหารได้ลงตัวก็คือจานวนนั้นสามารถที่จะนา 3 มาหารได้ลงตัว 3. จานวนที่ 5 หารลงตัว ซึ่งจะมีเพียงจานวนที่มีหลักหน่วยเป็นเลข 5, 0 เท่านั้น คุณสมบัติของ 0, 1 1. a + 0 = 0 + a = a 2. a x 0 = 0 x a = 0 3. a x 1 = 1 x a = a 4. a 0 จะไม่มีค่า เมื่อ a 0 โดยกาหนดให้ a แทนจานวนใดๆ คุณสมบัติการสลับที่ของการบวก, การคูณ 1. a + b = b + a 2. a x b = b x a 3 สรุปสูตรคณิตศาสตร์ ระดับชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 1 โดย.......อนุชิต ไชยชมพู
  • 4. รวบรวมสรุปสูตร โดย นายอนุชิต ไชยชมพู โดยกาหนดให้ a, b = จานวนใดๆ คุณสมบัติการเปลี่ยนกลุ่มของการบวก, การคูณ 1. (a + b) + c = a + (b + c) 2. (b + c) x c = a x (b x c) โดยกาหนด a, b, c = จานวนใดๆ คุณสมบัติการแจกแจง 1. a x (b +c) = (a x b) + (a x c) 2. (b + c) x a = (b x a) + (c x a) โดยกาหนดให้ a, b, c = จานวนใดๆ ข้อสังเกตในการบวกและคูณจานวนเลขคู่และเลขคี่ 1. จานวนคู่ + จานวนคู่ = จานวนคู่ 2. จานวนคี่ + จานวนคี่ = จานวนคู่ 3. จานวนคี่ + จานวนคู่ = จานวนคี่ 4. จานวนคู่ + จานวนคู่ = จานวนคี่ 5. จานวนคู่ x จานวนคู่ = จานวนคู่ 6. จานวนคี่ x จานวนคี่ = จานวนคี่ 7. จานวนคี่ x จานวนคู่ = จานวนคู่ 8. จานวนคู่ x จานวนคี่ = จานวนคู่ การหาผลบวกของจานวนเต็ม 1. การหาผลบวกของจานวนเต็มลบ จะได้ (-) + (-) = (-) 2. การหาผลบวกระหว่างจานวนเต็ม จะได้ 2.1 ถ้า |(+)| > |(-)| (+) + (-) = |(+)| - |(-)| = (+) 2.2 ถ้า |(+)| < |(-)| (+) +(-) = |(+)| - |(-)| = (-) การหาผลลบของจานวนเต็ม สูตร = ตัวตั้ง – ตัวลบ = ตัวตั้ง + จานวนตรงข้ามของตัวลบ หมายเหตุ จานวนตรงข้ามของ a เขียนด้วย –a จานวนตรงข้ามของ –a เขียนแทนด้วย –(-a) การหาผลคูณของจานวนเต็ม 1. การผลคูณของจานวนเต็มบวก จะได้ (+) x (+) = (+) 2. การผลคูณของจานวนเต็มลบ จะได้ (-) x (-) = (+) 3.การผลคูณของจานวนเต็มบวกและจานวนเต็มลบ จะได้ (+) x (-) = (-) 4.การหาผลคูณของจานวนเต็มลบและจานวนเต็มบวก จะได้ (-) x (+) = (-) การหาผลหารของจานวนเต็ม สูตร ตัวตั้ง ตัวหาร 1. การผลหารของจานวนเต็มบวก (+) (+) = (+) 2. การหาผลหารของจานวนเต็มลบ (-) (-) = (+) 3. การผลหารระหว่างจานวนต็มบวกและจานวนเต็มลบ (+) (-) = (-) 4 สรุปสูตรคณิตศาสตร์ ระดับชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 1 โดย.......อนุชิต ไชยชมพู
  • 5. รวบรวมสรุปสูตร โดย นายอนุชิต ไชยชมพู 4. การหาผลหารระหว่างจานวนเต็มลบและจานวนเต็มบวก (+) (-) = (-) คุณสมบัติของจานวนจริง 1. คุณสมบัติปิดของการบวก a + b เป็นจานวนจริง 2. คุณสมบัติของการคูณ a x b เป็นจานวนจริง 3. คุณสมบัติการเปลี่ยนกลุ่มได้ของการบวก (a + b) + c = a + (b + c) 4. คุณสมบัติการเปลี่ยนกลุ่มได้ของการคูณ (a +b) x c = a x (b x c) 5. คุณสมบัติการสลับที่ของการบวก a+b=b+a 6. คุณสมบัติการสลับที่ของการคูณ axb=bxa 7. เอกลักษณ์การบวก เอกลักษณ์ของการบวก คือ 0 0+a=a=a+0 8. เอกลักษณ์การคูณ เอกลักษณ์ของการคูณ คือ 1 1xa=a=ax1 9. อินเวอร์สการบวก อินเวอร์สการบวกของ a ได้แก่ –a (-a) + a = 0 = a + (-a) 10. อินเวอร์สการคูณ อินเวอร์สของการคูณของของ a คือ [a 0] xa=1=ax 11. คุณสมบัติการแจกแจง a x ( b+ c) = (a x b) + (a x c) 5 สรุปสูตรคณิตศาสตร์ ระดับชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 1 โดย.......อนุชิต ไชยชมพู