SlideShare une entreprise Scribd logo
1  sur  109
Télécharger pour lire hors ligne
ED Accreditation: 
What you need to know about 
HA,TQA,JCI 
Yuwares Sittichanbuncha.MD.,Assist Prof. 
Emergency Department 
Faculty of Medicine Ramathibodi 
Mahidol University
ห้องฉุกเฉิน...หนึ่งในหน่วยงานความเสี่ยงสูง...(มากๆๆ)
3
ความเสี่ยงส่วนมากป้องกนัได้ 
การศึกษาของมหาวิทยาลัย Harvard (HMPS,1984) 
สถานที่ที่เกิดภาวะไม่พึงประสงค์ที่สามารถป้องกันได้.. 
ER 
93.3% ป้องกันได้ 
ห้องคลอด 
78.7% ป้องกันได้ 
ห้องผ่าตัด 
71.4% ป้องกันได้ 
ICU 
70.3% ป้องกันได้
ทาไมต้อง พัฒนาคุณภาพ...เพื่อ ? 
คุณภาพ และความปลอดภัย แก่ ผู้รับบริการ ... 
โดย การรับรอง เป็นผลพลอยได้ 
และสร้างความย่งัยืนขององค์กร
การรับรอง(Accreditation) กับ รางวัล(Award) 
•การรับรอง (Accreditation) :HA,JCI 
•รางวัล (Award) :Performance Excellence eg.MBNQA,TQA
ระบบการพัฒนาคุณภาพสาคัญ 
•HA :Hospital Accreditation 
•JCIA :Joint Commission 
International Accreditation 
•TQA, EdPEx :Thailand Quality 
Award, Education Criteria for 
Performance Excellence 
7
8
HA in ER
มาตรฐาน HA กับการพัฒนาคุณภาพห้องฉุกเฉิน 
HA : เป็นกระบวนการรับรองคุณภาพสถานพยาบาลในประเทศไทย 
โดย สถาบันรับรองคุณภาพสถานพยาบาล องค์การมหาชน 
(Hospital Accreditation Institute of Thailand) 
โดยใช้เกณฑ์มาตรฐานโรงพยาบาลและบริการสุขภาพ 
(ฉบับเฉลิมพระเกียรติฉลองสิริราชสมบัติครบ 60 ปี)(HA)
แนวคิดพื้นฐานของกระบวนการ HA 
Self Improvement 
Educational 
Process 
Self Assessment 
External 
Evaluation Recognition 
Not an inspection 
Safety & Quality of Patient Care 
Hospital Accreditation (HA) คือ กระบวนการเรียนรู้ มิใช่การตรวจสอบ 
เพื่อกระตุ้นให้เกิดการพัฒนาระบบงานภายในของโรงพยาบาล 
โดยมีการพัฒนาอย่างเป็นระบบ และพัฒนาทั้งองค์กร 
ทา ให้องค์กรเกิดการเรียนรู้ มีการประเมินและพัฒนาตนเองอย่างต่อเนื่อง 
11
เข้าใจ HA รอบด้าน : 4 มิติ 
1) มิติของลา ดับขั้นการพัฒนา: บันไดสามขั้นสู่ HA 
2) มิติของพื้นที่การพัฒนา: กลุ่มของระบบย่อยในองค์กร 
3) มิติของกระบวนการพัฒนา: 3C-PDSA / 3P 
4) มิติของการประเมินผล 
12
1. มิติของลา ดับขั้นการพัฒนา 
บันไดสามขั้น : จังหวะก้าวของการพัฒนา > บริบท 
การเรียนรู้ เป็นลา ดับขั้น > พื้นฐาน > ต่อเนื่อง 
การสะสมความรู้ > นา กลับมาใช้ซ้า 
แบบจา ลอง>จุดเน้นในการพัฒนา 
13
หลักคิดในบันไดขั้นที่ 1 
ทา งานประจา ให้ดี 
รู้เป้าหมาย 
รู้ว่าจะทา ให้ดีได้อย่างไร 
รู้ว่าทา ได้ดีหรือไม่ 
มีอะไรให้คุยกัน ขยันทบทวน 
หลังทา กิจกรรม (AAR) 
เมื่อมีเหตุการณ์ 
ข้อมูลที่เป็นประโยชน์ 
คุยกันภายในหน่วยงาน 
คุยกันระหว่างหน่วยงาน 
คุยกันระหว่างวิชาชีพ 
เรียนรู้จากสิ่งรอบตัว เรียนรู้จากเหตุการณ์ เรียนร้จูากปัญหา 
สิ่งที่สังเกตเห็นได้รอบตัว 
ผู้ป่วย เวชระเบียน 
ระบบที่สา คัญ > การใช้ 
ยา การติดเชื้อ 
รุนแรงน้อย> รุนแรงมาก 
ข้อร้องเรียน> ผ้ปู่วยเสีย 
ชีวิต 
14
หลักคิดในบันไดขั้นที่ 2 
พัฒนาส่วนต่างๆ อย่างเป็นระบบ 
เป้าหมายชัด พิจารณาจากมิติคุณภาพต่างๆ 
วัดการบรรลุเป้าหมาย/พัฒนาจุดอ่อน 
วัดคุณภาพในกระบวนการทา งาน 
ทา ให้สมดุลกับการประเมินโดยไม่ตอ้งวัด 
ให้คุณค่าแก่ผ้ปู่วยและครอบครัว 
วัดผลได้ 
ให้คุณค่า 
อย่ายึดติด 
ไม่ติดรูปแบบ 
ใช้แว่นความงามจัดการกับระบบที่น่าเบื่อ 
จุดกา เนิดของนวตกรรม คือ คนขี้รา คาญ 
15
หลักคิดในบันไดขั้นที่ 3 
ผลลัพธ์ที่ดี Relative, absolute 
วัฒนธรรมคุณภาพ 
วัฒนธรรมความปลอดภัย 
วัฒนธรรมการเรียนรู้ 
ประเมิน ปฏิบัติ พัฒนา 
เรียบง่าย และได้ผล 
มีวัฒนธรรม 
นามาตรฐานมาใช้ 
การพัฒนา 
อย่าง 
ต่อเนื่อง 
และ 
ความยัง่ยืน 
16
ขนั้ที่ 1 ขนั้ที่ 2 ขนั้ที่ 3 
ภาพรวม ตัง้รบัแล้วใช้วิกฤติเป็น 
โอกาส 
วางระบบในเชิงรุก สร้างวัฒนธรรมคุณภาพ 
จุดเริ่ม นาปัญหามาทบทวนเพื่อ 
แก้ไขป้องกนั 
วิเคราะห์เป้าหมายและ 
กระบวนการอย่างเป็นระบบ 
ประเมินระดับการปฏิบตัิตาม 
มาตรฐาน HA และการวัด 
ผลลพัธ์ของงาน 
กระบวนการ 
คุณภาพ 
การทบทวนคุณภาพ/ปัญหา 
เหตุการณ์สาคัญ 
Plan-Do-Check-Act (QA) 
Check-Act-Plan-Do (CQI) 
การเรียนรู้ในทุกระดับ 
เครื่องชี้วัด 
ความสาเร็จ 
ปฏิบตัิตามแนวทางป้องกนั 
ปัญหาที่กา หนด 
QA/CQI ที่สอดคล้องกบั 
เป้าหมายหลกัของหน่วยงาน 
เครื่องชี้วัดคุณภาพที่ดีขึ้น 
มาตรฐาน 
HA 
ยงัไม่เน้นมาตรฐาน HA มาตรฐาน HA ที่จา เป็นและ 
ปฏิบตัิได้ไม่ยาก 
มาตรฐาน HA ครบถ้วน 
ประเมินตนเอง เพื่อป้องกนัความเสี่ยง 
(ไม่เน้นแบบฟอร์ม) 
เพื่อการหาโอกาสพัฒนา เพื่อสังเคราะห์ความพยายามใน 
การพัฒนา และผลที่ได้รบั 
ความ 
ครอบคลุม 
ครอบคลุมปัญหาที่เคย 
เกิดขึ้น 
ครอบคลุมกระบวนการสาคัญ 
ทัง้หมด 
เชื่อมโยงกระบวนการและ 
ระบบงาน 
หลักคิด 
สาคัญ 
ทางานประจา ให้ดี 
มีอะไรให้คุยกนั 
ขยบัทบทวน 
เป้าหมายชัด วัดผลได้ 
ให้คุณค่า อย่ายึดติด 
Core values 5 กลุ่ม (ทิศทางนา 
17 
ผ้รูบัผล คนทางาน 
การพัฒนา พาเรียนรู้)
ขั้นที่ 2 ประกันและพัฒนาคุณภาพ 
เริ่มด้วยการวิเคราะห์เป้าหมายและกระบวนการ 
ประกันและพัฒนาคุณภาพที่สอดคล้องกับเป้าหมายของหน่วย 
ครอบคลุมกระบวนการสาคัญทั้งหมด 
ปฏิบัติตามมาตรฐาน HA ในส่วนที่ไม่ยากเกินไป 
ขั้นที่ 1 สารวจและป้องกันความเสี่ยง 
นา ปัญหามาทบทวน เพื่อแก้ไขป้องกัน 
ปฏิบัติตามแนวทางป้องกันปัญหา 
ครอบคลุมปัญหาที่เคยเกิด/มีโอกาสเกิดสูง 
ขั้นที่ 3 วัฒนธรรมคุณภาพ 
เริ่มด้วยการประเมินตนเองตามมาตรฐาน HA 
พัฒนาอย่างเชื่อมโยง เป็นองค์กรเรียนรู้ 
ผลลัพธ์คุณภาพที่ดีขึ้น 
ปฏิบัติตามมาตรฐาน HA ได้ครบถ้วน 
บันไดสามขั้น สู่ HA
การวัด วิเคราะห์ และจัดการความรู้ 
การมุ่งเน้น 
ทรัพยากรบุคคล 
ความเสี่ยง ความปลอดภัย คุณภาพ 
การกา กับดูแลวิชาชีพ 
สิ่งแวดล้อมในการดูแลผู้ป่วย 
การป้องกันการติดเชื้อ 
ระบบเวชระเบียน 
ระบบจัดการด้านยา 
การตรวจทดสอบ 
การเฝ้าระวังโรคและภัยสุขภาพ 
การทา งานกับชุมชน 
กระบวนการดูแลผู้ป่วย 
ด้านการดูแลผู้ป่วย 
ด้านการมุ่งเน้นผู้รับผลงาน 
ด้านการเงิน 
ด้านทรัพยากรบุคคล 
ด้านระบบและกระบวนการสา คัญ 
ด้านการนา 
ด้านการสร้างเสริมสุขภาพ 
การเข้าถึงและเข้ารับบริการ 
การประเมินผู้ป่วย 
การวางแผน 
การดูแลผู้ป่วย 
การให้ข้อมูลและเสริมพลัง 
การดูแลต่อเนื่อง 
การนา 
การวางแผน 
กลยุทธ์ 
การมุ่งเน้นผู้ป่วย 
และสิทธิผู้ป่วย 
การจัดการ 
กระบวนการ 
ผลการ 
ดา เนินงาน 
ตอนที่ III 
กระบวนการดูแลผู้ป่วย 
ตอนที่ II ระบบงานสา คัญของ รพ. 
ตอนที่ IV ผลการดา เนินงาน 
ตอนที่ I ภาพรวมของการบริหารองค์กร 
บันไดขัน้ที่ 2 
บันไดขัน้ที่ 1 
การใช้มาตรฐานกับการพัฒนาที่เป็นลา ดับขั้น 
19
2. มิติของพื้นที่การพัฒนา 
หนน่่วยงงาาน 
หนน่่วยบรริิกกาาร กลลุุ่่มผผูู้ป้ป่่วย 
รระะบบงงาาน 
องค์กร 
พื้นที่การพัฒนา 4 วง: เพื่อความครอบคลุม/แต่ละส่วนย่อย 
ไม่สามารถทา ให้สา เร็จได้ด้วยตนเอง 
20
6 QI Tracks & 4 Domains 
1. Unit Optimization 2. Patient Safety 
3. Clinical Population 
4. Standard Implementation 
5. Strategic Management 
6. Self Assessment
การเชื่อมโยงระหว่างพื้นที่การพัฒนา 
บริการ กลุ่มผู้ป่วย 
ระบบงาน 
องค์กร 
ระบบงานทสี่นับสนุนการ 
ดูแลผู้ป่วย เช่น สารสนเทศ 
เครอื่งมือแพทย์ IC 
ระบบงานทสี่นับสนุนการ 
ปฏิบัติงานของหน่วยงาน 
เช่น ENV, HRM 
การทางานเป็นทีมและ 
กระบวนการดูแลผู้ป่วย
ED 
Patients 
1.Acute illness, 
trauma 
eg.AMI,Stroke 
2.Mass casualty 
,Disaster 
Related 
System: 
PCT, PTC, RM, 
IC, ENV, IT 
Hospital
3. มิติกระบวนการพัฒนา: 3C - PDSA 
หลักคิดสา คัญ 
หลักคิดสา คัญ 
(Core Values & Concepts) 
(Core Values & Concepts) 
Study/Learning 
Do 
Plan/Design 
Act/Improve 
ตัวชี้วัด 
เป้ าหมาย/ 
วัตถปุระสงค์ 
ผู้ป่วยเป็นศูนย์กลาง 
ความรับผิดชอบของ 
วิชาชีพ 
Evidence-based 
Practice 
การเรียนรู้ 
มาตรฐาน เป้ าหมาย/ 
บริบท 
วัตถปุระสงค์ 
ประเด็นสา คัญ 
ความเสี่ยงสา คัญ 
ความต้องการสา คัญ 
ลักษณะผู้ป่วย 
ลักษณะงาน 
คุณค่าและความท้าทาย 
Internal 
Survey 
24
การวัด วิเคราะห์ และจัดการความรู้ 
การมุ่งเน้น 
ทรัพยากรบุคคล 
ระบบงานสาคัญของ รพ. 
ความเสี่ยง ความปลอดภยั คุณภาพ 
การกา กบัดูแลวิชาชีพ 
สิ่งแวดล้อมในการดูแลผ้ปู่วย 
การป้องกนัการติดเชื้อ 
ระบบเวชระเบียน 
ระบบจดัการด้านยา 
การตรวจทดสอบ 
การเฝ้าระวังโรคและภยัสุขภาพ 
การทางานกบัชุมชน 
กระบวนการดูแลผ้ปู่วย 
ตอนที่ IV 
ด้านการดูแลผ้ปู่วย 
ด้านการมุ่งเน้นผ้รูบัผลงาน 
ด้านการเงิน 
ด้านทรพัยากรบุคคล 
ด้านประสิทธิผลของกระบวนการ 
ด้านการนา 
ด้านการสร้างเสริมสุขภาพ 
ตอนที่ III 
การเข้าถึงและเข้ารบับริการ 
การประเมินผ้ปู่วย 
การวางแผน 
การดูแลผ้ปู่วย 
การให้ข้อมูลและเสริมพลงั 
การดูแลต่อเนื่อง 
ตอนที่ II 
ตอนที่ I 
การนา 
การวางแผน 
กลยุทธ์ 
การมุ่งเน้นผู้ป่วย 
และสิทธิผู้ป่วย 
การจัดการ 
กระบวนการ 
ผลการ 
ดาเนินงาน 
กระบวนการดูแลผู้ป่วย 
มาตรฐานโรงพยาบาล 
และบริการสุขภาพ 
ฉบับเฉลิมพระเกียรติ 
ฉลองสิริราชสมบัติครบ 60 ปี 
25
3P (PDSA) คือ Basic Building Block 
ของการพัฒนาเพื่อบรรลุเป้าหมาย 
หรือ Process Management 
ทา ไมตอ้งมีเรา 
Plan/Design -> Do 
เราทา งานกันอย่างไร 
ทา ไปเพื่ออะไร ทา ได้ดีหรือไม่ 
Purpose Process Performance 
Study / Learn 
จะทา ให้ดีขึ้นได้อย่างไร 
Act/Improve 
เป้าหมายชัด 
วัดผลได้ 
ให้คุณค่า อย่ายึดติด 
27
แนวคิดสา คัญของกระบวนการ HA 
28
เกณฑ์มาตรฐานฯที่เกี่ยวข้องกับห้องฉุกเฉิน 
หมวดที่ I การนา ได้แก่ 
I-3.1 ความรู้เกี่ยวกับผู้ป่วย/ผู้รับผลงาน 
I-3.2 ความสัมพันธ์และความพึงพอใจของผู้รับผลงาน 
I-3.3 สิทธิผู้ป่วย 
I-4.1 การวัด วิเคราะห์และปรับปรุงผลงานขององค์กร 
I-4.2 การจัดการสารสนเทศ เทคโนโลยีสารสนเทศและการจัดการความรู้ 
I-6.1 การออกแบบระบบงาน 
I-6.1ค. ความพร้อมต่อภาวะฉุกเฉิน 
I-6.2 การจัดการและปรับปรุงกระบวนการทางาน 
I-3 การมุ่งเน้นผู้ป่วย/ 
ผู้รับผลงานและสิทธิ 
ผู้ป่วย 
I-4 การวัด วิเคราะห์ 
และจัดการความรู้ 
I-6 การจัดการ 
กระบวนการ
หมวดที่ II ระบบงานสาคัญของโรงพยาบาล 
II - 1.1 ภาพรวมของการพัฒนาคุณภาพ 
II - 1.2 ระบบบริหารความเสี่ยง ความปลอดภัย และคุณภาพ 
II - 3.1 สิ่งแวดล้อมทางกายภาพและความปลอดภัย 
II - 3.2 เครื่องมือและระบบสาธารณูปโภค 
II - 3.3 สิ่งแวดล้อมเพื่อการสร้างเสริมสุขภาพและการพิทักษ์สิ่งแวดล้อม 
II - 4.1 ระบบการควบคุมและป้องกันการติดเชื้อ 
II - 4.2 การป้องกันการติดเชื้อ 
II - 4.3 การเฝ้าระวัง ติดตามกากับ และควบคุมการระบาด
หมวดที่ II ระบบงานสาคัญของโรงพยาบาล 
II - 5.1 ระบบบริหารเวชระเบียน 
II - 5.2 เวชระเบียนผู้ป่วย 
II - 6.1 การวางแผน การจัดการ การเก็บและสารองยา 
II - 6.2 การใช้ยา 
II-7A บริการห้องปฏิบัติการทางการแพทย์ 
II-7C บริการรังสีวิทยาและ Medical Imaging 
II - 9.2 การเสริมพลังชุมชน
หมวดที่ III กระบวนการดูแลผู้ป่วย 
III-1 การเข้าถึงและเข้ารับบริการ 
III-2 การประเมินผู้ป่วย 
III-3.1 การวางแผนการดูแลผู้ป่วย 
III-3.2 การวางแผนจาหน่าย
หมวดที่ III กระบวนการดูแลผู้ป่วย 
III-4.1 การดูแลทั่วไป 
III-4.2 การดูแลผู้ป่วยและการให้บริการที่มีความเสี่ยงสูง 
III-4.3 การดูแลเฉพาะ ได้แก่ การจัดการความปวด , การผ่าตัด , 
การดูแลแบบประคับประคอง 
III-5 การให้ข้อมูลและเสริมพลังแก่ผู้ป่วย/ครอบครัว 
III-6 การดูแลต่อเนื่อง
ตอนที่ III กระบวนการดูแลผู้ป่วย 
III - 1 
การเข้าถึงและเข้ารับบริการ 
III - 2 
การประเมินผู้ป่วย 
III - 4 
การดูแลผู้ป่วย 
III - 5 
การให้ข้อมูลและ 
เสริมพลัง 
III - 6 
การดูแลต่อเนื่อง 
III - 3.1 
วางแผนดูแลผู้ป่วย 
III - 3.2 
วางแผนจาหน่าย
บริการ ER ที่ผู้คาดหวัง 
ทำสิ่งที่ควรทำได้ 
เข้ำถึงได้ 
ใส่ใจทุกควำมต้องกำร 
ถูกต้องเหมำะสม 
ทันกำรณ์ 
ดูแลด้วยหัวใจ 
ต่อเนื่อง พึงพอใจ, ครอบคลุม, เท่ำเทียม, 
คุ้มค่ำ, ได้ผลดี, ไม่มีของแถม, 
นพ.อนุวัฒน์ ศุภชุติกุล.สถาบันรับรองคุณภาพสถานพยาบาล (องค์การมหาชน).การประชุมวิชาการเวชศาสตร์ฉุกเฉิน คณะแพทย์ศาสตร์ รพ.รามาธิบดี 
“Beyond the Fast are Quality and Safety” โรงแรม Prince Palace .22 พฤศจิกายน 2555 10.50-12.00 น.
การรับรองขั้น 3 (Accreditation) 
• ร.พ.จะถูกประเมินโดยเกณฑ์การประเมิน 89 ข้อ ที่ครอบคลุมเนื้อหาของ 
มาตรฐานในหมวด 1-3 (HA Scoring Guideline 2011) 
• เกณฑ์แต่ละข้อจะมีระดับคะแนนตั้ง 1-5 ตามลาดับขั้นของการพัฒนาการคล้าย 
กับระบบการให้คะแนนของเกณฑ์รางวัลคุณภาพแห่งชาติ (Thailand Quality 
Award หรือ TQA) ซึ่งเป็นเกณฑ์ที่พัฒนามาจากเกณฑ์ MBNQA ของประเทศ 
สหรัฐอเมริกา 
• โรงพยาบาลที่ผ่านการรับรองต้องขอต่ออายุการรับรองทุก 2- 3 ปีแล้วแต่ 
สถานะของการรับรอง
37 
For Continuous Improvement to Excellence 
1 1.5 2 2.5 3 3.5 4 5 
กิจกรรม 
คุณภาพพื้นฐาน 
5 ส., ขอ้เสนอแนะ 
ตั้งทีม 
วางกรอบการทา งาน 
ปรับปรุงโครงสรา้ง 
แก้ไขเมื่อเกิดปัญหา 
Scoring Guideline: 
ออกแบบ 
กระบวนการ 
เหมาะสม 
บรรลุเป้าหมาย 
พื้นฐาน 
นา ไปปฏิบัติ 
ครอบคลุม 
ถูกตอ้ง 
ปรับปรุงระบบ 
บูรณาการ 
นวตกรรม 
ผลลัพธ์ดีเลิศ 
เป็นแบบอย่างที่ดี 
ของการปฏิบัติ 
มีวัฒนธรรม 
คุณภาพ 
ผลลัพธ์ดีกว่า 
ผลลัพธ์อยู่ใน ระดับเฉลี่ย 
ระดับเฉลี่ย 
ผลลัพธ์ไม่น่าพึงพอใจ 
ประเมินผล 
อย่างเป็นระบบ 
วัฒนธรรม 
เรียนรู้ 
สื่อสาร 
มีความเขา้ใจ 
สอดคล้องกับ 
บริบท 
เริ่มตน้ 
นา ไปปฏิบัติ 
พอใจกับผลงาน 
โดดเด่นพร้อมเล่า 
ยังต้องปรับปรุง 
เพิ่งเริ่มต้น ในประเด็นสา คัญ 
สังเกตความเชื่อมโยง 
ของแต่ละระดับขัน้ 
-> พัฒนาต่อเนื่อง
HA Scoring 
Guideline 2011
39
40
หมวดที่ IV ผลลัพธ์การดูแลผู้ป่วย 
• ผลลัพธ์การดูแลผู้ป่วยของห้องฉุกเฉิน จะต้องสอดคล้องกับ 
ตัวชี้วัดที่ได้กาหนดไว้ในตอนที่ I-4.1 
• ต้องมีการแสดงผลลัพธ์ทั้ง 
• ผลลัพธ์เชิงกระบวนการ (Process indicators) และ 
• ผลลัพธ์ทางคลินิก (Clinical Outcome indicators)
หมวดที่ IV ผลลัพธ์การดูแลผู้ป่วย 
• โรงพยาบาลที่ได้รับการต่ออายุการรับรอง 
(Re Accreditation) ควรสามารถแสดงผลลัพธ์ทางคลินิกที่ดีขึ้น 
อันเป็นผลสะท้อนจากการพัฒนาที่มีการหมุนวงรอบ PDCA และ 
มีการพัฒนาอย่างต่อเนื่อง (Continuous Quality 
Improvement ;CQI)
Access: Left-without-being-seen 
Good Samaritan Hospital 
• LWBS rate 2% 
• 87 % of LWBS patients were ESI Level 3 
• Highest in abdominal pain, flank pain, headache, 
pregnancy complication, vaginal bleeding, or vomiting. 
• Longer LOS, MD waiting time, 
• Reason: complaints too complex for fast track yet not 
serious enough for direct admission to the ED 
• Strategy : direct a subset of ESI 3 patients to a dedicated 
physician and nurse practitioner. 
http://www.ahrq.gov/qual/ptflow/ptflow4.htm 
นพ.อนุวัฒน์ ศุภชุติกุล.สถาบันรับรองคุณภาพสถานพยาบาล (องค์การมหาชน).การประชุมวิชาการเวชศาสตร์ฉุกเฉิน คณะแพทย์ศาสตร์ รพ.รามาธิบดี 
“Beyond the Fast are Quality and Safety” โรงแรม Prince Palace .22 พฤศจิกายน 2555 10.50-12.00 น.
การพัฒนาเพื่อให้การบริการของห้องฉุกเฉินสามารถตอบ 
สนองความคาดหวังของผู้รับการบริการได้ จึงต้องมีการพัฒนา 
คุณภาพการบริการของห้องฉุกเฉินโดยใช้เครื่องมือคุณภาพต่างๆเข้า 
มาช่วย เช่นการลดขั้นตอนด้วยกระบวนการ Lean operation, การ 
ลดของเสียหรือความเสียหายด้วยหลักการของ Six sigma การตาม 
รอยผู้ป่วย ตามรอยโรค และการประเมินตนเอง ฯลฯ รวมถึงการใช้ 
เกณฑ์มาตรฐาน HA ในการพัฒนาคุณภาพการบริการของห้องฉุกเฉิน
JCI กับการพัฒนาคุณภาพห้องฉุกเฉิน 
การรับรองตามมาตรฐาน JCI (Joint Commission International 
Accreditation หรือ JCIA) เป็นการรับรองสถานพยาบาลที่ใช้ได้กับ 
สถานพยาบาลทั่วโลก โดย Joint Commission International ซึ่ง 
เป็นหน่วยงานระหว่างประเทศ ภายใต้ JCAHO ของสหรัฐอเมริกา 
โดยสถานพยาบาลที่ขอการรับรองจะต้องผ่านการปะเมินทั้ง 4 ส่วน 
ได้แก่
I: Accreditation Participation Requirements 
(APR) 
คือส่วนที่แสดงการมีส่วนร่วมขององค์กรต่อกระบวนการรับรอง 
ซึ่งไม่ใช่ส่วนของมาตรฐาน ไม่คิดเป็นคะแนน (Score) ซึ่งองค์กร 
ที่ประสงค์จะเข้าสู่กระบวนการรับรองต้องให้ความร่วมมือต่อ 
กระบวนการประเมินของ JCI
II: Patient-Centered Standards 
ส่วนของมาตรฐานที่เกี่ยวข้องกับการมุ่งเน้นผู้ป่วย ได้แก่ 
 International Patient Safety Goals (IPSG) 
 Access to Care and Continuity of Care (ACC) 
 Patient and Family Rights (PFR) 
 Assessment of Patients (AOP) 
 Care of Patients (COP) 
 Anesthesia and Surgical Care (ASC) 
 Medication Management and Use (MMU) 
 Patient and Family Education (PFE)
III: Health Care Organization Management Standards 
ส่วนของมาตรฐานที่เกี่ยวข้องกับการบริหารจัดการขององค์กร หรือ 
ระบบงานสาคัญขององค์กร 
 Quality Improvement and Patient Safety (QPS) 
 Prevention and Control of Infections (PCI) 
 Governance, Leadership, and Direction (GLD) 
 Facility Management and Safety (FMS) 
 Staff Qualifications and Education (SQE) 
 Management of Information (MOI)
IV: Academic Medical Center Hospital Standards 
มาตรฐานที่เพิ่มเติมเข้ามาในเกณฑ์มาตรฐานฉบับล่าสุด ซึ่งเป็นฉบับที่ 5 
ที่จะเริ่มใช้ในเดือนเมษายน 2557 นี้ ซึ่งกล่าวถึงมาตรฐานการรับรอง 
สาหรับสถานพยาบาลที่เป็นโรงเรียนแพทย์ เป็นส่วนที่เพิ่มเติมขึ้นจากการ 
เกณฑ์มาตรฐาน JCI ฉบับก่อนๆ ได้แก่ 
 Medical Professional Education (MPE) 
 Human Subjects Research Programs (HRP)
• เกณฑ์มาตรฐาน JCI จะมีการทบทวนและปรับปรุงทุก 3 ปี 
สถานพยาบาลที่ผ่านการรับรองจะต้องขอต่ออายุการรับรองทุก 3 ปี 
โดยมีการรับรองเพียงรูปแบบเดียว (HA มี 3 ระดับขั้นของการ 
รับรอง) 
• การรับรองโดยเกณฑ์ JCI มีวัตถุประสงค์เพื่อส่งเสริมคุณภาพและ 
ความปลอดภัยในการให้บริการคล้ายคลึงกับเกณฑ์ HA แต่มี 
รายละเอียดของเกณฑ์มากว่าเกณฑ์ HA
• JCI กระบวนการรับรองเน้น การสร้าง นโยบาย (Policy) 
กระบวนการ โดยใช้หลักฐานเชิงประจักษ์ 
(Scientific Evidence Bases) ที่ทันยุคทันสมัย และให้ 
ความสาคัญกับความปลอดภัยของผู้ป่วยอย่างยิ่ง โดยกาหนดไว้ในหนึ่งใน 
เกณฑ์ของการผ่านการรับรอง ว่าองค์กรจะต้องไม่มีคะแนนข้อใดใน 
มาตรฐานหมวด IPSG (International Patient safety Goal) ที่ได้ 
คะแนนต่่ากว่า 5 (partial met) หรือ 0 (not met)
เกณฑ์การพิจารณาว่าไม่ผ่านการรับรองโดยมาตรฐาน JCI 
มี 9 ข้อดังต่อไปนี้ในมาตรฐานแต่ละข้อต้องได้คะแนนมากกว่าหรือ 
เท่ากับ 5 (วิธีการให้คะแนนแบ่งเป็น Met=10 คะแนน , Partial met=5 
คะแนน ,Not met=0 คะแนน) 
1. ในแต่ละหมวดของมาตรฐานต้องได้คะแนนมากว่าหรือเท่ากับ 8 
2. คะแนนเฉลี่ยรวมทุกมาตรฐานต้องได้คะแนนมากว่าหรือเท่ากับ 9 
3. จานวนข้อของมาตรฐานที่ได้คะแนน Partial met=5 คะแนน ,Not met=0 
คะแนน รวมกันต้องไม่เกินส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐานที่ 3 (3SD) จากค่าเฉลี่ย 
ของสถานพยาบาลทั้งหมดที่รับการสารวจในช่วง 24 เดือนที่ผ่านมาโดย JCI...
เกณฑ์การพิจารณาว่าไม่ผ่านการรับรองโดยมาตรฐาน JCI มี 9 ข้อ 
ดังต่อไปนี้ในมาตรฐานแต่ละข้อต้องได้คะแนนมากกว่าหรือเท่ากับ 5 (วิธีการให้ 
คะแนนแบ่งเป็น Met=10 คะแนน , Partial met=5 คะแนน ,Not met=0 
คะแนน) 
4. ต้องไม่มีมาตรฐานข้อใดใน หมวด IPSG(International Patient Safety Goal) 
ที่ได้คะแนน 0 (Not met) 
5. ผลการเยี่ยมเฉพาะส่วนที่มีปัญหา (Focused Survey) ไม่ผ่านเกณฑ์มาตรฐาน
6. องค์กรมีสภาวะความเสี่ยงมากกว่าหรือเท่ากับหนึ่งสภาวะ 
ที่จะไม่ผ่านการรับรอง ไม่ได้รับการแก้ไข ปรับปรุงเมื่อเข้าสู่ 
การเยี่ยมเฉพาะส่วนที่มีปัญหา (Focused Survey) 
สภาวะที่เสี่ยงต่อการไม่ผ่านการรับรอง ได้แก่ 
1.มีเหตุการณ์ความเสี่ยงที่รุนแรงที่เกิดขึ้นเฉียบพลัน ต่อผู้รับบริการ 
สาธารณะ หรือบุคลากร เกิดขึ้นภายในองค์กร (Immediate threat to 
Safety)
6. องค์กรมีสภาวะความเสี่ยงมากกว่าหรือเท่ากับหนึ่งสภาวะ 
ที่จะไม่ผ่านการรับรอง ไม่ได้รับการแก้ไข ปรับปรุงเมื่อเข้าสู่ 
การเยี่ยมเฉพาะส่วนที่มีปัญหา (Focused Survey) 
สภาวะที่เสี่ยงต่อการไม่ผ่านการรับรอง ได้แก่ 
1.องค์กรมีบุคลากรผู้ให้บริการที่ไม่ได้รับการขึ้นทะเบียนผู้ประกอบวิชาชีพ 
ไม่มีคุณสมบัติที่เหมาะสมที่จะให้บริการแก่ผู้รับบริการ 
(Unlicensed/registered/certified caregiver) 
2.องค์กรรายงานข้อมูลเท็จ คลาดเคลื่อนจากความจริง เพื่อให้ผ่านการ 
รับรอง(Misrepresentation)
8. องค์กรมีความประสงค์ที่จะถอนตัวจากกระบวนการรับรอง 
9. องค์กรไม่ให้ความร่วมมือต่อกระบวนการรับรองของ JCI
• นอกจากนี้ JCI ยังมีแหล่งข้อมูลสาหรับการกาหนดตัวชี้วัดใน 
กลุ่มโรคสาคัญๆที่รวบรวมจากงานวิจัยที่มีมาตรฐานระดับสากล 
(International Library of measures resource) เช่น Acute Myocardial 
Infarction (AMI) ,Heart Failure (HF) ,Stroke (STK) ,Children’s Asthma 
Care (CAC) , Hospital-Based Inpatient Psychiatric Service (HBIPS) , 
Nursing-Sensitive Care (NSC) , Perinatal Care (PC) , Pneumonia (PN) , 
Surgical Care Improvement Project (SCIP) และ Venous 
Thromboembolism (VTE) เป็นต้น ซึ่งหลายกลุ่มโรค/ภาวะ อาจพบที่ห้อง 
ฉุกเฉินได้ ห้องฉุกเฉินจึงสามารถใช้ตัวชี้วัดในกลุ่มโรคต่างๆนี้ในการพัฒนา 
คุณภาพการบริการในผู้ป่วยเหล่านี้ได้
TQA and ER
เริ่มต้นที่ Organizational Profile:เราคือใคร 
61
ภาควิชาเวชศาสตร์ฉุกเฉิน:พันธกิจ 
บริการ 
การศึกษา 
วิจัย 
บริการวิชาการ 
ป้องกัน ส่งเสริม ฟื้นฟู ดูแล 
รักษา ภาวะอุบัติเหตุ ฉุกเฉิน 
ตามบริบท โรงพยาบาล 
รามาธิบดี 
หลักสูตร ก่อนปริญญา: 
-RAID 512,613 
หลังปริญญา 
การศึกษาวิจัยทางเวช 
ศาสตร์ฉุกเฉิน 
การบริการวิชาการทาง 
เวชศาสตร์ฉุกเฉิน 
H 
A 
E 
d 
P 
E 
X 
/ 
T 
Q 
A
GAP Meaning 
Maturity of Organization 
Criteria based GAP 
Vision Achievement 
Organization or 
Context based GAP 
HA Criteria EdPEX /TQA 
Criteria 
GAP Closure 
GAP Closure 
Strategic 
Challenge
ระดับของการพัฒนาสู่ความเป็นเลิศขององค์กร
Systematic Approach 
ดูจาก “D-R-M-P” คือ 
•Definable : กระบวนการมีขัน้ตอนอย่างไร มีใคร 
รับผิดชอบ มีกรอบระยะเวลาอย่างไร มีปัจจัยนาเข้าอะไรบ้าง 
มีผลผลิตเป็นอะไร 
•Repeatable : สามารถทาซา้ได้ 
•Measurable : วัดได้ตรวจสอบได้ 
•Predictable : คาดการณ์ได้ 
67
EdPEX/TQA Criteria 
ที่เกี่ยวข้องกับหน่วยงาน 
•Process Item 3,5,6 
•Result Item 7.1,7.2,7.3
EdPEX Criteria 2011-2012 
•Process Item 3,5,6 – Systematic to Effective Systematic 
Process
วิธีการได้มาซึ่งสารสนเทศจากผู้เรียนและ 
ลูกค้าอื่นที่เป็นระบบมีประสิทธิผล 
Basic Requirement 
(Score 10-45%) 
Overall Requirement 
(Score 50-65%) 
Multiple Requirement 
(Score >70%)
วิธีการตอบสนองความต้องการของผู้เรียนและ 
ลูกค้าอื่นที่เป็นระบบเอือ้ให้เกิดความผูกพันและ 
เสริมสร้างความสัมพันธ์กับผู้เรียนและลูกค้า 
เหล่านั้น
-มีการสร้างสภาพแวดล้อมเพื่อให้เกิดการทางานที่มีประสิทธิผล 
-มีการสร้างสภาพแวดล้อมการทางานให้เกื้อหนุนบุคลากร
•มีการดา เนินการให้บุคลากรทุ่มเทให้กับ 
ความสา เร็จขององค์กรและส่วนบุคคล
-มีวิธีการออกแบบโปรแกรมการศึกษา บริการ และกระบวนการทางานที่เป็นระบบ 
-มีวิธีการจัดการกระบวนการทา งานที่เป็นระบบ 
-มีวิธีการปรับปรุงโปรแกรมการศึกษาและบริการและกระบวนการทางานที่เป็นระบบ
มีการจัดการ การปฏิบัติการขององค์กรที่มี 
ประสิทธิผลรองรับปัจจุบันและอนาคต
No 
System 
Early 
Systematic 
Effective 
Systematic
กลุ่มลูกค้า ช่องทางการรบัฟัง ความถี่ในการ 
ติดตาม,ทบทวน 
ผ้รูบัผิดชอบ 
1.ผ้รูบับริการที่ห้องฉุกเฉิน 
และหอสังเกตอาการ 
-การสุ่มสารวจความคิดเห็นโดย โรงพยาบาลรามาธิบดี 
-จดหมาย,หนังสือร้องเรียน 
-ทุกเดือน ,ทุกครัง้ที่มี 
จดหมายหรือหนังสือ 
ร้องเรียน 
ประธาน CLT และ 
ทีม 
2.นักศึกษาแพทย์ชัน้ ปีที่ 
5,6 ที่ศึกษาในรายวิชา 
รมคร 512 และ รมคร 613 
ทัง้วิชาหลกัและวิชาเลือก 
เสรี 
-การสอบถามความคิดเห็นของ นศ.ทาง website 
(e-evaluation) (ใช้กบั นศ.ทุกชนั้ปี) 
-แบบแสดงความคิดเห็นขณะเข้าสอบ(นศ.ชนั้ปีที่6) 
-ความคิดเห็นที่สะท้อนผ่านการพูดคุยกบัอาจารยท์ี่ 
ปรึกษา* 
ทุกรอบการหมุนเวียน 
ของ นศ.,ทุก 4สัปดาห์ 
สาหรับ นศ.ชนั้ปีที่ 6 
และ3 สัปดาห์สาหรับ 
นศ.ชนั้ปีที่ 5 
ประธานรายวิชา 
ร่วมกบัประธาน 
หลกัสูตร 
3.แพทย์ประจา บ้านหลกั 
สูตรเวชศาสตร์ฉุกเฉิน 
-การสอบถามความคิดเห็นผ่านทางแบบประเมิน 
Online 
-แบบสอบถามความคิดเห็นของคณะฯ 
ทุกปี ประธานหลกั สูตร 
การศึกษาหลงั 
ปริญญาและทีม 
4.ผ้ใูช้บณัฑิต ได้แก่ รพ. 
ต่างๆที่ บณัฑิต ของ 
ภาควิชาไปปฏิบตัิงาน 
แบบสอบถามส่งทางไปรษณีย์ ทุกปี ประธานหลกัสูตร 
การศึกษาหลงั 
ปริญญาและทีม 
5.ผ้เูข้ารบัการฝึกอบรม 
หลกัสูตรหรือกิจกรมทาง 
วิชาการที่ภาควิชาจดั 
แบบสอบถามความคิดเห็นต่อการจัดการฝึกอบรม ทุกครัง้ที่มีการจัดการ 
ฝึกอบรม 
คณะกรรมการ 
จัดการฝึกอบรม 
6.ผ้ใูห้ทุนวิจยั แบบสอบถามความคิดเห็นต่องานวิจัย ทุกครัง้ที่ได้รับทุนวิจัย ประธานกรรมการ 
วิจัยภาควิชา
GAP closure :Result 
• Improve Process 
•KPI&Data management
Process GAP&GAP closure 
OFI: Deployment 
GAP Closure: Improve deployment to 
all groups of customers
Result GAP&GAP closure 
OFI: I-Segmentation 
GAP Closure: improve Deployment of 
Systematic process to all mission
ภาควิชาเวชศาสตร์ฉุกเฉิน: 
พันธกิจบริการ 
บริการ 
ป้องกัน ส่งเสริม ฟื้นฟู ดูแล 
รักษา ภาวะอุบัติเหตุ ฉุกเฉิน 
ตามบริบท โรงพยาบาล 
รามาธิบดี 
H 
A 
E 
d 
P 
E 
X 
/ 
T 
Q 
A 
3 C (Context, 
Core Value 
,Criteria 
PDCA
พันธกิจบริการ:GAP Closure 
OFIs: Score < 3 
STs :Score > 3 
CQI to Up Score to 3 
(ดี/Average) 
CQI to Up Score to 4-5 
(ดีมาก,โดดเด่น/Best 
Practice) 
Identify OFIs,STs From HA 
Scoring Guideline 2011
HA GAP Closure and straight forward 
Most related criteria ‘s 
Score > 3 
NO related criteria ‘s 
Score < 2.5 
Score 4 
Score 5 
1.Disease 
Specific 
Certified 
Accreditation 
2.A-HA
Result Rama ED: Example
ผลการพัฒนาที่สาคัญตลอด 10 ปีที่ผ่านมา... 
•พันธกิจบริการ: 
•4 รางวัล กพร. ด้านบริการ (ER Tracking system,NIPPV 
inER,One Stop Service Palliative Care,Ramathibodi 
Paediatric card) , รางวัลผู้หล่อเลี้ยงคุณภาพ จาก สรพ.,รางวัล 
Healing Environment จาก สรพ. Disease Specify 
Certification ระบบการดูแล Stroke Fast Tract จาก สรพ., 
รางวัลคุณภาพ QC Acute Myocardial Infarction Fast Tract
ผลการพัฒนาที่สาคัญตลอด 10 ปีที่ผ่านมา... 
•พันธกิจการศึกษา: 
•เพิ่มจานวนแพทย์ประจาบ้าน จาก 6 คน เป็น 14 คนในปี 2557 
•มีรายวิชาเวชศาสตร์ฉุกเฉินทั้งหลัก สาหรับ นศพ.ปี 5และ 6 และ 
เลือก สาหรับ นศพ.ปี 4-6 ทั้งในประเทศและนานาชาติ 
•ผลลัพธ์ด้านการพัฒนาการศึกษาทุกระดับอยู่ในระดับชั้นนาของ 
คณะฯ 
•การเปิดหลักสูตรปริญญาตรี Paramedic ในปีการศึกษา 2558
ผลการพัฒนาที่สาคัญตลอด 10 ปีที่ผ่านมา... 
•พันธกิจวิจัย: 
•งานวิจัยระดับชาติ นานาชาติ สูงสุดในประเทศ
เราทาได้...ถ้าเราอยากจะทา... 
เราทาได้...ถ้าเราทาแล้ว...มีความสุข... 
ขอให้ทุกท่าน ค้นพบความสุขและคุณค่า... 
จากการพัฒนาคุณภาพและความปลอดภัย.... 
108
คิดถึง ER…คิดถึง รามาธิบดี...

Contenu connexe

Tendances

ทฤษฏีการสูงอายุและการประยุกต์ใช้ทางการพยาบาล
ทฤษฏีการสูงอายุและการประยุกต์ใช้ทางการพยาบาลทฤษฏีการสูงอายุและการประยุกต์ใช้ทางการพยาบาล
ทฤษฏีการสูงอายุและการประยุกต์ใช้ทางการพยาบาลChutchavarn Wongsaree
 
บันทึกทางการพยาบาล
บันทึกทางการพยาบาลบันทึกทางการพยาบาล
บันทึกทางการพยาบาลSutthiluck Kaewboonrurn
 
การพยาบาลผู้ป่วย CAD IHD & VHD edition 131059
การพยาบาลผู้ป่วย CAD IHD & VHD edition 131059การพยาบาลผู้ป่วย CAD IHD & VHD edition 131059
การพยาบาลผู้ป่วย CAD IHD & VHD edition 131059Aphisit Aunbusdumberdor
 
Ppt 12 กิจกรรมทบทวน
Ppt 12 กิจกรรมทบทวนPpt 12 กิจกรรมทบทวน
Ppt 12 กิจกรรมทบทวนPrachaya Sriswang
 
การบริหารจัดการความเสี่ยงสำหรับน้องๆหน้างาน - Suradet Sriangkoon
การบริหารจัดการความเสี่ยงสำหรับน้องๆหน้างาน - Suradet Sriangkoonการบริหารจัดการความเสี่ยงสำหรับน้องๆหน้างาน - Suradet Sriangkoon
การบริหารจัดการความเสี่ยงสำหรับน้องๆหน้างาน - Suradet SriangkoonSuradet Sriangkoon
 
12 กิจกรรมทบทวนภาคปฏิบัติ - Suradet Sriangkoon
12 กิจกรรมทบทวนภาคปฏิบัติ  - Suradet Sriangkoon12 กิจกรรมทบทวนภาคปฏิบัติ  - Suradet Sriangkoon
12 กิจกรรมทบทวนภาคปฏิบัติ - Suradet SriangkoonSuradet Sriangkoon
 
การบริหารความเสี่ยงคณะฯ (February 9, 2022)
การบริหารความเสี่ยงคณะฯ (February 9, 2022)การบริหารความเสี่ยงคณะฯ (February 9, 2022)
การบริหารความเสี่ยงคณะฯ (February 9, 2022)Nawanan Theera-Ampornpunt
 
12 กิจกรรมทบทวน
12 กิจกรรมทบทวน12 กิจกรรมทบทวน
12 กิจกรรมทบทวนSuradet Sriangkoon
 
Risk management กับ CQI - Suradet Sriangkoon
Risk management กับ CQI - Suradet SriangkoonRisk management กับ CQI - Suradet Sriangkoon
Risk management กับ CQI - Suradet SriangkoonSuradet Sriangkoon
 
แนวทางการดูแลผู้ป่วยสติปัญญาบกพร่อง ออทิสติก สมาธิสั้น และภาวะบกพร่องทางการเร...
แนวทางการดูแลผู้ป่วยสติปัญญาบกพร่อง ออทิสติก สมาธิสั้น และภาวะบกพร่องทางการเร...แนวทางการดูแลผู้ป่วยสติปัญญาบกพร่อง ออทิสติก สมาธิสั้น และภาวะบกพร่องทางการเร...
แนวทางการดูแลผู้ป่วยสติปัญญาบกพร่อง ออทิสติก สมาธิสั้น และภาวะบกพร่องทางการเร...Utai Sukviwatsirikul
 
สรุประดับความรุนแรงของความเสี่ยงทางคลินิก และทางกายภาพ
สรุประดับความรุนแรงของความเสี่ยงทางคลินิก และทางกายภาพสรุประดับความรุนแรงของความเสี่ยงทางคลินิก และทางกายภาพ
สรุประดับความรุนแรงของความเสี่ยงทางคลินิก และทางกายภาพSuradet Sriangkoon
 
คู่มือ Trigger tool โรงพยาบาลท่าฉาง
คู่มือ Trigger tool โรงพยาบาลท่าฉางคู่มือ Trigger tool โรงพยาบาลท่าฉาง
คู่มือ Trigger tool โรงพยาบาลท่าฉางSuradet Sriangkoon
 
การประเมินการบริหารจัดการความเสี่ยงด้วยมิติคุณภาพ
การประเมินการบริหารจัดการความเสี่ยงด้วยมิติคุณภาพการประเมินการบริหารจัดการความเสี่ยงด้วยมิติคุณภาพ
การประเมินการบริหารจัดการความเสี่ยงด้วยมิติคุณภาพSuradet Sriangkoon
 
9 การให้สุขศึกษา
9 การให้สุขศึกษา9 การให้สุขศึกษา
9 การให้สุขศึกษาWC Triumph
 

Tendances (20)

ทฤษฏีการสูงอายุและการประยุกต์ใช้ทางการพยาบาล
ทฤษฏีการสูงอายุและการประยุกต์ใช้ทางการพยาบาลทฤษฏีการสูงอายุและการประยุกต์ใช้ทางการพยาบาล
ทฤษฏีการสูงอายุและการประยุกต์ใช้ทางการพยาบาล
 
Risk matrix VS Risk profile
Risk matrix VS Risk profileRisk matrix VS Risk profile
Risk matrix VS Risk profile
 
Ppt.ha
Ppt.haPpt.ha
Ppt.ha
 
บันทึกทางการพยาบาล
บันทึกทางการพยาบาลบันทึกทางการพยาบาล
บันทึกทางการพยาบาล
 
การพยาบาลผู้ป่วย CAD IHD & VHD edition 131059
การพยาบาลผู้ป่วย CAD IHD & VHD edition 131059การพยาบาลผู้ป่วย CAD IHD & VHD edition 131059
การพยาบาลผู้ป่วย CAD IHD & VHD edition 131059
 
Ppt 12 กิจกรรมทบทวน
Ppt 12 กิจกรรมทบทวนPpt 12 กิจกรรมทบทวน
Ppt 12 กิจกรรมทบทวน
 
จำแนกประเภท
จำแนกประเภทจำแนกประเภท
จำแนกประเภท
 
2 p safety kanniga 60
2 p safety kanniga 602 p safety kanniga 60
2 p safety kanniga 60
 
เกณฑ์การวัดสมรรถนะระดับปฏิบัติการ
เกณฑ์การวัดสมรรถนะระดับปฏิบัติการเกณฑ์การวัดสมรรถนะระดับปฏิบัติการ
เกณฑ์การวัดสมรรถนะระดับปฏิบัติการ
 
การบริหารจัดการความเสี่ยงสำหรับน้องๆหน้างาน - Suradet Sriangkoon
การบริหารจัดการความเสี่ยงสำหรับน้องๆหน้างาน - Suradet Sriangkoonการบริหารจัดการความเสี่ยงสำหรับน้องๆหน้างาน - Suradet Sriangkoon
การบริหารจัดการความเสี่ยงสำหรับน้องๆหน้างาน - Suradet Sriangkoon
 
12 กิจกรรมทบทวนภาคปฏิบัติ - Suradet Sriangkoon
12 กิจกรรมทบทวนภาคปฏิบัติ  - Suradet Sriangkoon12 กิจกรรมทบทวนภาคปฏิบัติ  - Suradet Sriangkoon
12 กิจกรรมทบทวนภาคปฏิบัติ - Suradet Sriangkoon
 
การบริหารความเสี่ยงคณะฯ (February 9, 2022)
การบริหารความเสี่ยงคณะฯ (February 9, 2022)การบริหารความเสี่ยงคณะฯ (February 9, 2022)
การบริหารความเสี่ยงคณะฯ (February 9, 2022)
 
12 กิจกรรมทบทวน
12 กิจกรรมทบทวน12 กิจกรรมทบทวน
12 กิจกรรมทบทวน
 
Risk management กับ CQI - Suradet Sriangkoon
Risk management กับ CQI - Suradet SriangkoonRisk management กับ CQI - Suradet Sriangkoon
Risk management กับ CQI - Suradet Sriangkoon
 
แนวทางการดูแลผู้ป่วยสติปัญญาบกพร่อง ออทิสติก สมาธิสั้น และภาวะบกพร่องทางการเร...
แนวทางการดูแลผู้ป่วยสติปัญญาบกพร่อง ออทิสติก สมาธิสั้น และภาวะบกพร่องทางการเร...แนวทางการดูแลผู้ป่วยสติปัญญาบกพร่อง ออทิสติก สมาธิสั้น และภาวะบกพร่องทางการเร...
แนวทางการดูแลผู้ป่วยสติปัญญาบกพร่อง ออทิสติก สมาธิสั้น และภาวะบกพร่องทางการเร...
 
สรุประดับความรุนแรงของความเสี่ยงทางคลินิก และทางกายภาพ
สรุประดับความรุนแรงของความเสี่ยงทางคลินิก และทางกายภาพสรุประดับความรุนแรงของความเสี่ยงทางคลินิก และทางกายภาพ
สรุประดับความรุนแรงของความเสี่ยงทางคลินิก และทางกายภาพ
 
คู่มือ Trigger tool โรงพยาบาลท่าฉาง
คู่มือ Trigger tool โรงพยาบาลท่าฉางคู่มือ Trigger tool โรงพยาบาลท่าฉาง
คู่มือ Trigger tool โรงพยาบาลท่าฉาง
 
การประเมินการบริหารจัดการความเสี่ยงด้วยมิติคุณภาพ
การประเมินการบริหารจัดการความเสี่ยงด้วยมิติคุณภาพการประเมินการบริหารจัดการความเสี่ยงด้วยมิติคุณภาพ
การประเมินการบริหารจัดการความเสี่ยงด้วยมิติคุณภาพ
 
Nurse workload
Nurse workloadNurse workload
Nurse workload
 
9 การให้สุขศึกษา
9 การให้สุขศึกษา9 การให้สุขศึกษา
9 การให้สุขศึกษา
 

En vedette

ACTEP2014: How to set up guideline for MCI
ACTEP2014: How to set up guideline for MCIACTEP2014: How to set up guideline for MCI
ACTEP2014: How to set up guideline for MCItaem
 
ACTEP2014: Symp Experience in STEMI & NSTEMI & UA ACS cases in ED Ramathibodi...
ACTEP2014: Symp Experience in STEMI & NSTEMI & UA ACS cases in ED Ramathibodi...ACTEP2014: Symp Experience in STEMI & NSTEMI & UA ACS cases in ED Ramathibodi...
ACTEP2014: Symp Experience in STEMI & NSTEMI & UA ACS cases in ED Ramathibodi...taem
 
ACTEP2014: ED design
ACTEP2014: ED designACTEP2014: ED design
ACTEP2014: ED designtaem
 
ACTEP2014: What is simulation
ACTEP2014: What is simulationACTEP2014: What is simulation
ACTEP2014: What is simulationtaem
 
ACTEP2014: Aero medical transportation from experience to innovation
ACTEP2014: Aero medical transportation from experience to innovationACTEP2014: Aero medical transportation from experience to innovation
ACTEP2014: Aero medical transportation from experience to innovationtaem
 
ACTEP2014: Ceiling supply unit in ED
ACTEP2014: Ceiling supply unit in EDACTEP2014: Ceiling supply unit in ED
ACTEP2014: Ceiling supply unit in EDtaem
 
ACTEP2014: Hot zone
ACTEP2014: Hot zoneACTEP2014: Hot zone
ACTEP2014: Hot zonetaem
 
ACTEP2014: Sepsis management has anything change
ACTEP2014: Sepsis management has anything change ACTEP2014: Sepsis management has anything change
ACTEP2014: Sepsis management has anything change taem
 
ACTEP2014: 21 century teaching skill
ACTEP2014: 21 century teaching skillACTEP2014: 21 century teaching skill
ACTEP2014: 21 century teaching skilltaem
 
ACTEP2014: What's new in endocrine emergency
ACTEP2014: What's new in endocrine emergencyACTEP2014: What's new in endocrine emergency
ACTEP2014: What's new in endocrine emergencytaem
 
Clinical tracer highlight 2013
Clinical tracer highlight 2013Clinical tracer highlight 2013
Clinical tracer highlight 2013Warunee Eauchai
 
การจัดการความรู้ระดับอุดมศึกษา
การจัดการความรู้ระดับอุดมศึกษาการจัดการความรู้ระดับอุดมศึกษา
การจัดการความรู้ระดับอุดมศึกษาPrachyanun Nilsook
 
การพัฒนาคุณภาพงานอย่างต่อเนื่อง
การพัฒนาคุณภาพงานอย่างต่อเนื่องการพัฒนาคุณภาพงานอย่างต่อเนื่อง
การพัฒนาคุณภาพงานอย่างต่อเนื่องCuproperty
 
องค์กรแห่งการเรียนรู้
องค์กรแห่งการเรียนรู้องค์กรแห่งการเรียนรู้
องค์กรแห่งการเรียนรู้looktao
 
Ergonomics patient care unit
Ergonomics patient care unitErgonomics patient care unit
Ergonomics patient care unitAakash Varma
 
ACTEP2014: Sepsis marker in clinical use
ACTEP2014: Sepsis marker in clinical useACTEP2014: Sepsis marker in clinical use
ACTEP2014: Sepsis marker in clinical usetaem
 

En vedette (20)

ACTEP2014: How to set up guideline for MCI
ACTEP2014: How to set up guideline for MCIACTEP2014: How to set up guideline for MCI
ACTEP2014: How to set up guideline for MCI
 
ACTEP2014: Symp Experience in STEMI & NSTEMI & UA ACS cases in ED Ramathibodi...
ACTEP2014: Symp Experience in STEMI & NSTEMI & UA ACS cases in ED Ramathibodi...ACTEP2014: Symp Experience in STEMI & NSTEMI & UA ACS cases in ED Ramathibodi...
ACTEP2014: Symp Experience in STEMI & NSTEMI & UA ACS cases in ED Ramathibodi...
 
ACTEP2014: ED design
ACTEP2014: ED designACTEP2014: ED design
ACTEP2014: ED design
 
ACTEP2014: What is simulation
ACTEP2014: What is simulationACTEP2014: What is simulation
ACTEP2014: What is simulation
 
ACTEP2014: Aero medical transportation from experience to innovation
ACTEP2014: Aero medical transportation from experience to innovationACTEP2014: Aero medical transportation from experience to innovation
ACTEP2014: Aero medical transportation from experience to innovation
 
ACTEP2014: Ceiling supply unit in ED
ACTEP2014: Ceiling supply unit in EDACTEP2014: Ceiling supply unit in ED
ACTEP2014: Ceiling supply unit in ED
 
ACTEP2014: Hot zone
ACTEP2014: Hot zoneACTEP2014: Hot zone
ACTEP2014: Hot zone
 
ACTEP2014: Sepsis management has anything change
ACTEP2014: Sepsis management has anything change ACTEP2014: Sepsis management has anything change
ACTEP2014: Sepsis management has anything change
 
ACTEP2014: 21 century teaching skill
ACTEP2014: 21 century teaching skillACTEP2014: 21 century teaching skill
ACTEP2014: 21 century teaching skill
 
ACTEP2014: What's new in endocrine emergency
ACTEP2014: What's new in endocrine emergencyACTEP2014: What's new in endocrine emergency
ACTEP2014: What's new in endocrine emergency
 
Ppt. cqi
Ppt. cqiPpt. cqi
Ppt. cqi
 
Learning Organization
Learning OrganizationLearning Organization
Learning Organization
 
Clinical tracer highlight 2013
Clinical tracer highlight 2013Clinical tracer highlight 2013
Clinical tracer highlight 2013
 
การจัดการความรู้ระดับอุดมศึกษา
การจัดการความรู้ระดับอุดมศึกษาการจัดการความรู้ระดับอุดมศึกษา
การจัดการความรู้ระดับอุดมศึกษา
 
Ha overview.1
Ha overview.1Ha overview.1
Ha overview.1
 
การพัฒนาคุณภาพงานอย่างต่อเนื่อง
การพัฒนาคุณภาพงานอย่างต่อเนื่องการพัฒนาคุณภาพงานอย่างต่อเนื่อง
การพัฒนาคุณภาพงานอย่างต่อเนื่อง
 
องค์กรแห่งการเรียนรู้
องค์กรแห่งการเรียนรู้องค์กรแห่งการเรียนรู้
องค์กรแห่งการเรียนรู้
 
Ergonomics patient care unit
Ergonomics patient care unitErgonomics patient care unit
Ergonomics patient care unit
 
ACTEP2014: Sepsis marker in clinical use
ACTEP2014: Sepsis marker in clinical useACTEP2014: Sepsis marker in clinical use
ACTEP2014: Sepsis marker in clinical use
 
Research Format
Research FormatResearch Format
Research Format
 

Similaire à ACTEP2014: ED accreditation HA JCI TQA

Re accredit hospital profile presentation 25 เม.ย.55
Re accredit hospital profile presentation 25 เม.ย.55Re accredit hospital profile presentation 25 เม.ย.55
Re accredit hospital profile presentation 25 เม.ย.55Isara Chiawiriyabunya
 
Social Media Guidelines for Health Professionals Progress Report to National ...
Social Media Guidelines for Health Professionals Progress Report to National ...Social Media Guidelines for Health Professionals Progress Report to National ...
Social Media Guidelines for Health Professionals Progress Report to National ...Nawanan Theera-Ampornpunt
 
Referral Center สู่ยุค IT 3.0-4.0
Referral Center สู่ยุค IT 3.0-4.0Referral Center สู่ยุค IT 3.0-4.0
Referral Center สู่ยุค IT 3.0-4.0Nawanan Theera-Ampornpunt
 
การบริหารจัดการความเสี่ยงจากมาตรฐานสู่การปฏิบัติ Suradet sri
การบริหารจัดการความเสี่ยงจากมาตรฐานสู่การปฏิบัติ   Suradet sriการบริหารจัดการความเสี่ยงจากมาตรฐานสู่การปฏิบัติ   Suradet sri
การบริหารจัดการความเสี่ยงจากมาตรฐานสู่การปฏิบัติ Suradet sriSuradet Sriangkoon
 
รูปแบบการบริหารการป้องกันนักเรียนกลุ่มเสี่ยง ในโรงเรียนขยายโอกาส สังกัดสำนักง...
รูปแบบการบริหารการป้องกันนักเรียนกลุ่มเสี่ยง ในโรงเรียนขยายโอกาส สังกัดสำนักง...รูปแบบการบริหารการป้องกันนักเรียนกลุ่มเสี่ยง ในโรงเรียนขยายโอกาส สังกัดสำนักง...
รูปแบบการบริหารการป้องกันนักเรียนกลุ่มเสี่ยง ในโรงเรียนขยายโอกาส สังกัดสำนักง...ณรงค์ พร้อมบัวป่า
 
Unit8.ppt (read only)
Unit8.ppt (read only)Unit8.ppt (read only)
Unit8.ppt (read only)sirinyabh
 
ทิศทางการพัฒนาด้านสารสนเทศสุขภาพ Health Information 4.0
ทิศทางการพัฒนาด้านสารสนเทศสุขภาพ Health Information 4.0ทิศทางการพัฒนาด้านสารสนเทศสุขภาพ Health Information 4.0
ทิศทางการพัฒนาด้านสารสนเทศสุขภาพ Health Information 4.0Nawanan Theera-Ampornpunt
 
Health Informatics for Health Service Systems (March 11, 2024)
Health Informatics for Health Service Systems (March 11, 2024)Health Informatics for Health Service Systems (March 11, 2024)
Health Informatics for Health Service Systems (March 11, 2024)Nawanan Theera-Ampornpunt
 
Journal Of Km Lerdsin Hospittal V 2 n 2 2009
Journal Of Km Lerdsin Hospittal V 2 n 2 2009Journal Of Km Lerdsin Hospittal V 2 n 2 2009
Journal Of Km Lerdsin Hospittal V 2 n 2 2009DMS Library
 
ก้าวต่อไปกับการพัฒนาระบบบริการปฐม
ก้าวต่อไปกับการพัฒนาระบบบริการปฐมก้าวต่อไปกับการพัฒนาระบบบริการปฐม
ก้าวต่อไปกับการพัฒนาระบบบริการปฐมโรงพยาบาลสารภี
 
มาตรฐานรพ ฉบับที่ 5.pdf
มาตรฐานรพ ฉบับที่ 5.pdfมาตรฐานรพ ฉบับที่ 5.pdf
มาตรฐานรพ ฉบับที่ 5.pdfOldcat4
 
Ha & army hospitals มุมมองโรงพยาบาลกองทัพบกกับ HA
Ha & army hospitals มุมมองโรงพยาบาลกองทัพบกกับ HAHa & army hospitals มุมมองโรงพยาบาลกองทัพบกกับ HA
Ha & army hospitals มุมมองโรงพยาบาลกองทัพบกกับ HAmaruay songtanin
 
ชุติธรรม_รพ.สีชมพู.pptx
ชุติธรรม_รพ.สีชมพู.pptxชุติธรรม_รพ.สีชมพู.pptx
ชุติธรรม_รพ.สีชมพู.pptxchutithamnillaphat
 

Similaire à ACTEP2014: ED accreditation HA JCI TQA (20)

Re accredit hospital profile presentation 25 เม.ย.55
Re accredit hospital profile presentation 25 เม.ย.55Re accredit hospital profile presentation 25 เม.ย.55
Re accredit hospital profile presentation 25 เม.ย.55
 
Social Media Guidelines for Health Professionals Progress Report to National ...
Social Media Guidelines for Health Professionals Progress Report to National ...Social Media Guidelines for Health Professionals Progress Report to National ...
Social Media Guidelines for Health Professionals Progress Report to National ...
 
L1
L1L1
L1
 
Referral Center สู่ยุค IT 3.0-4.0
Referral Center สู่ยุค IT 3.0-4.0Referral Center สู่ยุค IT 3.0-4.0
Referral Center สู่ยุค IT 3.0-4.0
 
การบริหารจัดการความเสี่ยงจากมาตรฐานสู่การปฏิบัติ Suradet sri
การบริหารจัดการความเสี่ยงจากมาตรฐานสู่การปฏิบัติ   Suradet sriการบริหารจัดการความเสี่ยงจากมาตรฐานสู่การปฏิบัติ   Suradet sri
การบริหารจัดการความเสี่ยงจากมาตรฐานสู่การปฏิบัติ Suradet sri
 
รูปแบบการบริหารการป้องกันนักเรียนกลุ่มเสี่ยง ในโรงเรียนขยายโอกาส สังกัดสำนักง...
รูปแบบการบริหารการป้องกันนักเรียนกลุ่มเสี่ยง ในโรงเรียนขยายโอกาส สังกัดสำนักง...รูปแบบการบริหารการป้องกันนักเรียนกลุ่มเสี่ยง ในโรงเรียนขยายโอกาส สังกัดสำนักง...
รูปแบบการบริหารการป้องกันนักเรียนกลุ่มเสี่ยง ในโรงเรียนขยายโอกาส สังกัดสำนักง...
 
Ppt.clinical tracer
Ppt.clinical tracerPpt.clinical tracer
Ppt.clinical tracer
 
(16 มิ.ย. 56) service profile update
(16 มิ.ย. 56) service profile update(16 มิ.ย. 56) service profile update
(16 มิ.ย. 56) service profile update
 
File1
File1File1
File1
 
Thailand 4.0 and Thailand's Public Health
Thailand 4.0 and Thailand's Public HealthThailand 4.0 and Thailand's Public Health
Thailand 4.0 and Thailand's Public Health
 
Unit8.ppt (read only)
Unit8.ppt (read only)Unit8.ppt (read only)
Unit8.ppt (read only)
 
ทิศทางการพัฒนาด้านสารสนเทศสุขภาพ Health Information 4.0
ทิศทางการพัฒนาด้านสารสนเทศสุขภาพ Health Information 4.0ทิศทางการพัฒนาด้านสารสนเทศสุขภาพ Health Information 4.0
ทิศทางการพัฒนาด้านสารสนเทศสุขภาพ Health Information 4.0
 
Utilization management
Utilization managementUtilization management
Utilization management
 
Health Informatics for Health Service Systems (March 11, 2024)
Health Informatics for Health Service Systems (March 11, 2024)Health Informatics for Health Service Systems (March 11, 2024)
Health Informatics for Health Service Systems (March 11, 2024)
 
Journal Of Km Lerdsin Hospittal V 2 n 2 2009
Journal Of Km Lerdsin Hospittal V 2 n 2 2009Journal Of Km Lerdsin Hospittal V 2 n 2 2009
Journal Of Km Lerdsin Hospittal V 2 n 2 2009
 
ก้าวต่อไปกับการพัฒนาระบบบริการปฐม
ก้าวต่อไปกับการพัฒนาระบบบริการปฐมก้าวต่อไปกับการพัฒนาระบบบริการปฐม
ก้าวต่อไปกับการพัฒนาระบบบริการปฐม
 
มาตรฐานรพ ฉบับที่ 5.pdf
มาตรฐานรพ ฉบับที่ 5.pdfมาตรฐานรพ ฉบับที่ 5.pdf
มาตรฐานรพ ฉบับที่ 5.pdf
 
Ha & army hospitals มุมมองโรงพยาบาลกองทัพบกกับ HA
Ha & army hospitals มุมมองโรงพยาบาลกองทัพบกกับ HAHa & army hospitals มุมมองโรงพยาบาลกองทัพบกกับ HA
Ha & army hospitals มุมมองโรงพยาบาลกองทัพบกกับ HA
 
Health Systems IV: Health Informatics
Health Systems IV: Health InformaticsHealth Systems IV: Health Informatics
Health Systems IV: Health Informatics
 
ชุติธรรม_รพ.สีชมพู.pptx
ชุติธรรม_รพ.สีชมพู.pptxชุติธรรม_รพ.สีชมพู.pptx
ชุติธรรม_รพ.สีชมพู.pptx
 

Plus de taem

ประชุมใหญ่สามัญประจำปี วิทยาลัยแพทย์ฉุกเฉินแห่งประเทศไทย 2562-2563
ประชุมใหญ่สามัญประจำปี วิทยาลัยแพทย์ฉุกเฉินแห่งประเทศไทย 2562-2563ประชุมใหญ่สามัญประจำปี วิทยาลัยแพทย์ฉุกเฉินแห่งประเทศไทย 2562-2563
ประชุมใหญ่สามัญประจำปี วิทยาลัยแพทย์ฉุกเฉินแห่งประเทศไทย 2562-2563taem
 
Thai EMS legislation
Thai EMS legislationThai EMS legislation
Thai EMS legislationtaem
 
ACTEP2014 Agenda
ACTEP2014 AgendaACTEP2014 Agenda
ACTEP2014 Agendataem
 
ACTEP2014: Upcoming trend of lung ultrasound
ACTEP2014: Upcoming trend of lung ultrasoundACTEP2014: Upcoming trend of lung ultrasound
ACTEP2014: Upcoming trend of lung ultrasoundtaem
 
ACTEP2014: The routine to research R2R concept your way out of a research dea...
ACTEP2014: The routine to research R2R concept your way out of a research dea...ACTEP2014: The routine to research R2R concept your way out of a research dea...
ACTEP2014: The routine to research R2R concept your way out of a research dea...taem
 
ACTEP2014: Therapeutic hypothermia for ACTEP 2014
ACTEP2014: Therapeutic hypothermia for ACTEP 2014ACTEP2014: Therapeutic hypothermia for ACTEP 2014
ACTEP2014: Therapeutic hypothermia for ACTEP 2014taem
 
ACTEP2014: Patient safety & risk management
ACTEP2014: Patient safety & risk managementACTEP2014: Patient safety & risk management
ACTEP2014: Patient safety & risk managementtaem
 
ACTEP2014: How to maximise resuscitation in trauma 2014
ACTEP2014: How to maximise resuscitation in trauma 2014ACTEP2014: How to maximise resuscitation in trauma 2014
ACTEP2014: How to maximise resuscitation in trauma 2014taem
 
ACTEP2014: Hemodynamic US in critical care
ACTEP2014: Hemodynamic US in critical careACTEP2014: Hemodynamic US in critical care
ACTEP2014: Hemodynamic US in critical caretaem
 
ACTEP2014: Fast track
ACTEP2014: Fast trackACTEP2014: Fast track
ACTEP2014: Fast tracktaem
 
ACTEP2014 ED director
ACTEP2014 ED directorACTEP2014 ED director
ACTEP2014 ED directortaem
 
ACTEP2014: ASCC challenges in EM
ACTEP2014: ASCC challenges in EMACTEP2014: ASCC challenges in EM
ACTEP2014: ASCC challenges in EMtaem
 
Sedation monitoring and post sedation recovery and discharge
Sedation monitoring and post sedation recovery and dischargeSedation monitoring and post sedation recovery and discharge
Sedation monitoring and post sedation recovery and dischargetaem
 
Procedural analgesia and sedation adverse event
Procedural analgesia and sedation adverse eventProcedural analgesia and sedation adverse event
Procedural analgesia and sedation adverse eventtaem
 
Presedation assessment
Presedation assessmentPresedation assessment
Presedation assessmenttaem
 
Approach to procedural sedation and analgesia
Approach to procedural sedation and analgesiaApproach to procedural sedation and analgesia
Approach to procedural sedation and analgesiataem
 
Multiple trauma in special situations
Multiple trauma in special situationsMultiple trauma in special situations
Multiple trauma in special situationstaem
 
Mass gathering
Mass gatheringMass gathering
Mass gatheringtaem
 
การแพทย์ฉุกเฉินในสถานการณ์พิเศษ
การแพทย์ฉุกเฉินในสถานการณ์พิเศษการแพทย์ฉุกเฉินในสถานการณ์พิเศษ
การแพทย์ฉุกเฉินในสถานการณ์พิเศษtaem
 

Plus de taem (19)

ประชุมใหญ่สามัญประจำปี วิทยาลัยแพทย์ฉุกเฉินแห่งประเทศไทย 2562-2563
ประชุมใหญ่สามัญประจำปี วิทยาลัยแพทย์ฉุกเฉินแห่งประเทศไทย 2562-2563ประชุมใหญ่สามัญประจำปี วิทยาลัยแพทย์ฉุกเฉินแห่งประเทศไทย 2562-2563
ประชุมใหญ่สามัญประจำปี วิทยาลัยแพทย์ฉุกเฉินแห่งประเทศไทย 2562-2563
 
Thai EMS legislation
Thai EMS legislationThai EMS legislation
Thai EMS legislation
 
ACTEP2014 Agenda
ACTEP2014 AgendaACTEP2014 Agenda
ACTEP2014 Agenda
 
ACTEP2014: Upcoming trend of lung ultrasound
ACTEP2014: Upcoming trend of lung ultrasoundACTEP2014: Upcoming trend of lung ultrasound
ACTEP2014: Upcoming trend of lung ultrasound
 
ACTEP2014: The routine to research R2R concept your way out of a research dea...
ACTEP2014: The routine to research R2R concept your way out of a research dea...ACTEP2014: The routine to research R2R concept your way out of a research dea...
ACTEP2014: The routine to research R2R concept your way out of a research dea...
 
ACTEP2014: Therapeutic hypothermia for ACTEP 2014
ACTEP2014: Therapeutic hypothermia for ACTEP 2014ACTEP2014: Therapeutic hypothermia for ACTEP 2014
ACTEP2014: Therapeutic hypothermia for ACTEP 2014
 
ACTEP2014: Patient safety & risk management
ACTEP2014: Patient safety & risk managementACTEP2014: Patient safety & risk management
ACTEP2014: Patient safety & risk management
 
ACTEP2014: How to maximise resuscitation in trauma 2014
ACTEP2014: How to maximise resuscitation in trauma 2014ACTEP2014: How to maximise resuscitation in trauma 2014
ACTEP2014: How to maximise resuscitation in trauma 2014
 
ACTEP2014: Hemodynamic US in critical care
ACTEP2014: Hemodynamic US in critical careACTEP2014: Hemodynamic US in critical care
ACTEP2014: Hemodynamic US in critical care
 
ACTEP2014: Fast track
ACTEP2014: Fast trackACTEP2014: Fast track
ACTEP2014: Fast track
 
ACTEP2014 ED director
ACTEP2014 ED directorACTEP2014 ED director
ACTEP2014 ED director
 
ACTEP2014: ASCC challenges in EM
ACTEP2014: ASCC challenges in EMACTEP2014: ASCC challenges in EM
ACTEP2014: ASCC challenges in EM
 
Sedation monitoring and post sedation recovery and discharge
Sedation monitoring and post sedation recovery and dischargeSedation monitoring and post sedation recovery and discharge
Sedation monitoring and post sedation recovery and discharge
 
Procedural analgesia and sedation adverse event
Procedural analgesia and sedation adverse eventProcedural analgesia and sedation adverse event
Procedural analgesia and sedation adverse event
 
Presedation assessment
Presedation assessmentPresedation assessment
Presedation assessment
 
Approach to procedural sedation and analgesia
Approach to procedural sedation and analgesiaApproach to procedural sedation and analgesia
Approach to procedural sedation and analgesia
 
Multiple trauma in special situations
Multiple trauma in special situationsMultiple trauma in special situations
Multiple trauma in special situations
 
Mass gathering
Mass gatheringMass gathering
Mass gathering
 
การแพทย์ฉุกเฉินในสถานการณ์พิเศษ
การแพทย์ฉุกเฉินในสถานการณ์พิเศษการแพทย์ฉุกเฉินในสถานการณ์พิเศษ
การแพทย์ฉุกเฉินในสถานการณ์พิเศษ
 

ACTEP2014: ED accreditation HA JCI TQA

  • 1. ED Accreditation: What you need to know about HA,TQA,JCI Yuwares Sittichanbuncha.MD.,Assist Prof. Emergency Department Faculty of Medicine Ramathibodi Mahidol University
  • 3. 3
  • 4. ความเสี่ยงส่วนมากป้องกนัได้ การศึกษาของมหาวิทยาลัย Harvard (HMPS,1984) สถานที่ที่เกิดภาวะไม่พึงประสงค์ที่สามารถป้องกันได้.. ER 93.3% ป้องกันได้ ห้องคลอด 78.7% ป้องกันได้ ห้องผ่าตัด 71.4% ป้องกันได้ ICU 70.3% ป้องกันได้
  • 5. ทาไมต้อง พัฒนาคุณภาพ...เพื่อ ? คุณภาพ และความปลอดภัย แก่ ผู้รับบริการ ... โดย การรับรอง เป็นผลพลอยได้ และสร้างความย่งัยืนขององค์กร
  • 6. การรับรอง(Accreditation) กับ รางวัล(Award) •การรับรอง (Accreditation) :HA,JCI •รางวัล (Award) :Performance Excellence eg.MBNQA,TQA
  • 7. ระบบการพัฒนาคุณภาพสาคัญ •HA :Hospital Accreditation •JCIA :Joint Commission International Accreditation •TQA, EdPEx :Thailand Quality Award, Education Criteria for Performance Excellence 7
  • 8. 8
  • 10. มาตรฐาน HA กับการพัฒนาคุณภาพห้องฉุกเฉิน HA : เป็นกระบวนการรับรองคุณภาพสถานพยาบาลในประเทศไทย โดย สถาบันรับรองคุณภาพสถานพยาบาล องค์การมหาชน (Hospital Accreditation Institute of Thailand) โดยใช้เกณฑ์มาตรฐานโรงพยาบาลและบริการสุขภาพ (ฉบับเฉลิมพระเกียรติฉลองสิริราชสมบัติครบ 60 ปี)(HA)
  • 11. แนวคิดพื้นฐานของกระบวนการ HA Self Improvement Educational Process Self Assessment External Evaluation Recognition Not an inspection Safety & Quality of Patient Care Hospital Accreditation (HA) คือ กระบวนการเรียนรู้ มิใช่การตรวจสอบ เพื่อกระตุ้นให้เกิดการพัฒนาระบบงานภายในของโรงพยาบาล โดยมีการพัฒนาอย่างเป็นระบบ และพัฒนาทั้งองค์กร ทา ให้องค์กรเกิดการเรียนรู้ มีการประเมินและพัฒนาตนเองอย่างต่อเนื่อง 11
  • 12. เข้าใจ HA รอบด้าน : 4 มิติ 1) มิติของลา ดับขั้นการพัฒนา: บันไดสามขั้นสู่ HA 2) มิติของพื้นที่การพัฒนา: กลุ่มของระบบย่อยในองค์กร 3) มิติของกระบวนการพัฒนา: 3C-PDSA / 3P 4) มิติของการประเมินผล 12
  • 13. 1. มิติของลา ดับขั้นการพัฒนา บันไดสามขั้น : จังหวะก้าวของการพัฒนา > บริบท การเรียนรู้ เป็นลา ดับขั้น > พื้นฐาน > ต่อเนื่อง การสะสมความรู้ > นา กลับมาใช้ซ้า แบบจา ลอง>จุดเน้นในการพัฒนา 13
  • 14. หลักคิดในบันไดขั้นที่ 1 ทา งานประจา ให้ดี รู้เป้าหมาย รู้ว่าจะทา ให้ดีได้อย่างไร รู้ว่าทา ได้ดีหรือไม่ มีอะไรให้คุยกัน ขยันทบทวน หลังทา กิจกรรม (AAR) เมื่อมีเหตุการณ์ ข้อมูลที่เป็นประโยชน์ คุยกันภายในหน่วยงาน คุยกันระหว่างหน่วยงาน คุยกันระหว่างวิชาชีพ เรียนรู้จากสิ่งรอบตัว เรียนรู้จากเหตุการณ์ เรียนร้จูากปัญหา สิ่งที่สังเกตเห็นได้รอบตัว ผู้ป่วย เวชระเบียน ระบบที่สา คัญ > การใช้ ยา การติดเชื้อ รุนแรงน้อย> รุนแรงมาก ข้อร้องเรียน> ผ้ปู่วยเสีย ชีวิต 14
  • 15. หลักคิดในบันไดขั้นที่ 2 พัฒนาส่วนต่างๆ อย่างเป็นระบบ เป้าหมายชัด พิจารณาจากมิติคุณภาพต่างๆ วัดการบรรลุเป้าหมาย/พัฒนาจุดอ่อน วัดคุณภาพในกระบวนการทา งาน ทา ให้สมดุลกับการประเมินโดยไม่ตอ้งวัด ให้คุณค่าแก่ผ้ปู่วยและครอบครัว วัดผลได้ ให้คุณค่า อย่ายึดติด ไม่ติดรูปแบบ ใช้แว่นความงามจัดการกับระบบที่น่าเบื่อ จุดกา เนิดของนวตกรรม คือ คนขี้รา คาญ 15
  • 16. หลักคิดในบันไดขั้นที่ 3 ผลลัพธ์ที่ดี Relative, absolute วัฒนธรรมคุณภาพ วัฒนธรรมความปลอดภัย วัฒนธรรมการเรียนรู้ ประเมิน ปฏิบัติ พัฒนา เรียบง่าย และได้ผล มีวัฒนธรรม นามาตรฐานมาใช้ การพัฒนา อย่าง ต่อเนื่อง และ ความยัง่ยืน 16
  • 17. ขนั้ที่ 1 ขนั้ที่ 2 ขนั้ที่ 3 ภาพรวม ตัง้รบัแล้วใช้วิกฤติเป็น โอกาส วางระบบในเชิงรุก สร้างวัฒนธรรมคุณภาพ จุดเริ่ม นาปัญหามาทบทวนเพื่อ แก้ไขป้องกนั วิเคราะห์เป้าหมายและ กระบวนการอย่างเป็นระบบ ประเมินระดับการปฏิบตัิตาม มาตรฐาน HA และการวัด ผลลพัธ์ของงาน กระบวนการ คุณภาพ การทบทวนคุณภาพ/ปัญหา เหตุการณ์สาคัญ Plan-Do-Check-Act (QA) Check-Act-Plan-Do (CQI) การเรียนรู้ในทุกระดับ เครื่องชี้วัด ความสาเร็จ ปฏิบตัิตามแนวทางป้องกนั ปัญหาที่กา หนด QA/CQI ที่สอดคล้องกบั เป้าหมายหลกัของหน่วยงาน เครื่องชี้วัดคุณภาพที่ดีขึ้น มาตรฐาน HA ยงัไม่เน้นมาตรฐาน HA มาตรฐาน HA ที่จา เป็นและ ปฏิบตัิได้ไม่ยาก มาตรฐาน HA ครบถ้วน ประเมินตนเอง เพื่อป้องกนัความเสี่ยง (ไม่เน้นแบบฟอร์ม) เพื่อการหาโอกาสพัฒนา เพื่อสังเคราะห์ความพยายามใน การพัฒนา และผลที่ได้รบั ความ ครอบคลุม ครอบคลุมปัญหาที่เคย เกิดขึ้น ครอบคลุมกระบวนการสาคัญ ทัง้หมด เชื่อมโยงกระบวนการและ ระบบงาน หลักคิด สาคัญ ทางานประจา ให้ดี มีอะไรให้คุยกนั ขยบัทบทวน เป้าหมายชัด วัดผลได้ ให้คุณค่า อย่ายึดติด Core values 5 กลุ่ม (ทิศทางนา 17 ผ้รูบัผล คนทางาน การพัฒนา พาเรียนรู้)
  • 18. ขั้นที่ 2 ประกันและพัฒนาคุณภาพ เริ่มด้วยการวิเคราะห์เป้าหมายและกระบวนการ ประกันและพัฒนาคุณภาพที่สอดคล้องกับเป้าหมายของหน่วย ครอบคลุมกระบวนการสาคัญทั้งหมด ปฏิบัติตามมาตรฐาน HA ในส่วนที่ไม่ยากเกินไป ขั้นที่ 1 สารวจและป้องกันความเสี่ยง นา ปัญหามาทบทวน เพื่อแก้ไขป้องกัน ปฏิบัติตามแนวทางป้องกันปัญหา ครอบคลุมปัญหาที่เคยเกิด/มีโอกาสเกิดสูง ขั้นที่ 3 วัฒนธรรมคุณภาพ เริ่มด้วยการประเมินตนเองตามมาตรฐาน HA พัฒนาอย่างเชื่อมโยง เป็นองค์กรเรียนรู้ ผลลัพธ์คุณภาพที่ดีขึ้น ปฏิบัติตามมาตรฐาน HA ได้ครบถ้วน บันไดสามขั้น สู่ HA
  • 19. การวัด วิเคราะห์ และจัดการความรู้ การมุ่งเน้น ทรัพยากรบุคคล ความเสี่ยง ความปลอดภัย คุณภาพ การกา กับดูแลวิชาชีพ สิ่งแวดล้อมในการดูแลผู้ป่วย การป้องกันการติดเชื้อ ระบบเวชระเบียน ระบบจัดการด้านยา การตรวจทดสอบ การเฝ้าระวังโรคและภัยสุขภาพ การทา งานกับชุมชน กระบวนการดูแลผู้ป่วย ด้านการดูแลผู้ป่วย ด้านการมุ่งเน้นผู้รับผลงาน ด้านการเงิน ด้านทรัพยากรบุคคล ด้านระบบและกระบวนการสา คัญ ด้านการนา ด้านการสร้างเสริมสุขภาพ การเข้าถึงและเข้ารับบริการ การประเมินผู้ป่วย การวางแผน การดูแลผู้ป่วย การให้ข้อมูลและเสริมพลัง การดูแลต่อเนื่อง การนา การวางแผน กลยุทธ์ การมุ่งเน้นผู้ป่วย และสิทธิผู้ป่วย การจัดการ กระบวนการ ผลการ ดา เนินงาน ตอนที่ III กระบวนการดูแลผู้ป่วย ตอนที่ II ระบบงานสา คัญของ รพ. ตอนที่ IV ผลการดา เนินงาน ตอนที่ I ภาพรวมของการบริหารองค์กร บันไดขัน้ที่ 2 บันไดขัน้ที่ 1 การใช้มาตรฐานกับการพัฒนาที่เป็นลา ดับขั้น 19
  • 20. 2. มิติของพื้นที่การพัฒนา หนน่่วยงงาาน หนน่่วยบรริิกกาาร กลลุุ่่มผผูู้ป้ป่่วย รระะบบงงาาน องค์กร พื้นที่การพัฒนา 4 วง: เพื่อความครอบคลุม/แต่ละส่วนย่อย ไม่สามารถทา ให้สา เร็จได้ด้วยตนเอง 20
  • 21. 6 QI Tracks & 4 Domains 1. Unit Optimization 2. Patient Safety 3. Clinical Population 4. Standard Implementation 5. Strategic Management 6. Self Assessment
  • 22. การเชื่อมโยงระหว่างพื้นที่การพัฒนา บริการ กลุ่มผู้ป่วย ระบบงาน องค์กร ระบบงานทสี่นับสนุนการ ดูแลผู้ป่วย เช่น สารสนเทศ เครอื่งมือแพทย์ IC ระบบงานทสี่นับสนุนการ ปฏิบัติงานของหน่วยงาน เช่น ENV, HRM การทางานเป็นทีมและ กระบวนการดูแลผู้ป่วย
  • 23. ED Patients 1.Acute illness, trauma eg.AMI,Stroke 2.Mass casualty ,Disaster Related System: PCT, PTC, RM, IC, ENV, IT Hospital
  • 24. 3. มิติกระบวนการพัฒนา: 3C - PDSA หลักคิดสา คัญ หลักคิดสา คัญ (Core Values & Concepts) (Core Values & Concepts) Study/Learning Do Plan/Design Act/Improve ตัวชี้วัด เป้ าหมาย/ วัตถปุระสงค์ ผู้ป่วยเป็นศูนย์กลาง ความรับผิดชอบของ วิชาชีพ Evidence-based Practice การเรียนรู้ มาตรฐาน เป้ าหมาย/ บริบท วัตถปุระสงค์ ประเด็นสา คัญ ความเสี่ยงสา คัญ ความต้องการสา คัญ ลักษณะผู้ป่วย ลักษณะงาน คุณค่าและความท้าทาย Internal Survey 24
  • 25. การวัด วิเคราะห์ และจัดการความรู้ การมุ่งเน้น ทรัพยากรบุคคล ระบบงานสาคัญของ รพ. ความเสี่ยง ความปลอดภยั คุณภาพ การกา กบัดูแลวิชาชีพ สิ่งแวดล้อมในการดูแลผ้ปู่วย การป้องกนัการติดเชื้อ ระบบเวชระเบียน ระบบจดัการด้านยา การตรวจทดสอบ การเฝ้าระวังโรคและภยัสุขภาพ การทางานกบัชุมชน กระบวนการดูแลผ้ปู่วย ตอนที่ IV ด้านการดูแลผ้ปู่วย ด้านการมุ่งเน้นผ้รูบัผลงาน ด้านการเงิน ด้านทรพัยากรบุคคล ด้านประสิทธิผลของกระบวนการ ด้านการนา ด้านการสร้างเสริมสุขภาพ ตอนที่ III การเข้าถึงและเข้ารบับริการ การประเมินผ้ปู่วย การวางแผน การดูแลผ้ปู่วย การให้ข้อมูลและเสริมพลงั การดูแลต่อเนื่อง ตอนที่ II ตอนที่ I การนา การวางแผน กลยุทธ์ การมุ่งเน้นผู้ป่วย และสิทธิผู้ป่วย การจัดการ กระบวนการ ผลการ ดาเนินงาน กระบวนการดูแลผู้ป่วย มาตรฐานโรงพยาบาล และบริการสุขภาพ ฉบับเฉลิมพระเกียรติ ฉลองสิริราชสมบัติครบ 60 ปี 25
  • 26.
  • 27. 3P (PDSA) คือ Basic Building Block ของการพัฒนาเพื่อบรรลุเป้าหมาย หรือ Process Management ทา ไมตอ้งมีเรา Plan/Design -> Do เราทา งานกันอย่างไร ทา ไปเพื่ออะไร ทา ได้ดีหรือไม่ Purpose Process Performance Study / Learn จะทา ให้ดีขึ้นได้อย่างไร Act/Improve เป้าหมายชัด วัดผลได้ ให้คุณค่า อย่ายึดติด 27
  • 29. เกณฑ์มาตรฐานฯที่เกี่ยวข้องกับห้องฉุกเฉิน หมวดที่ I การนา ได้แก่ I-3.1 ความรู้เกี่ยวกับผู้ป่วย/ผู้รับผลงาน I-3.2 ความสัมพันธ์และความพึงพอใจของผู้รับผลงาน I-3.3 สิทธิผู้ป่วย I-4.1 การวัด วิเคราะห์และปรับปรุงผลงานขององค์กร I-4.2 การจัดการสารสนเทศ เทคโนโลยีสารสนเทศและการจัดการความรู้ I-6.1 การออกแบบระบบงาน I-6.1ค. ความพร้อมต่อภาวะฉุกเฉิน I-6.2 การจัดการและปรับปรุงกระบวนการทางาน I-3 การมุ่งเน้นผู้ป่วย/ ผู้รับผลงานและสิทธิ ผู้ป่วย I-4 การวัด วิเคราะห์ และจัดการความรู้ I-6 การจัดการ กระบวนการ
  • 30. หมวดที่ II ระบบงานสาคัญของโรงพยาบาล II - 1.1 ภาพรวมของการพัฒนาคุณภาพ II - 1.2 ระบบบริหารความเสี่ยง ความปลอดภัย และคุณภาพ II - 3.1 สิ่งแวดล้อมทางกายภาพและความปลอดภัย II - 3.2 เครื่องมือและระบบสาธารณูปโภค II - 3.3 สิ่งแวดล้อมเพื่อการสร้างเสริมสุขภาพและการพิทักษ์สิ่งแวดล้อม II - 4.1 ระบบการควบคุมและป้องกันการติดเชื้อ II - 4.2 การป้องกันการติดเชื้อ II - 4.3 การเฝ้าระวัง ติดตามกากับ และควบคุมการระบาด
  • 31. หมวดที่ II ระบบงานสาคัญของโรงพยาบาล II - 5.1 ระบบบริหารเวชระเบียน II - 5.2 เวชระเบียนผู้ป่วย II - 6.1 การวางแผน การจัดการ การเก็บและสารองยา II - 6.2 การใช้ยา II-7A บริการห้องปฏิบัติการทางการแพทย์ II-7C บริการรังสีวิทยาและ Medical Imaging II - 9.2 การเสริมพลังชุมชน
  • 32. หมวดที่ III กระบวนการดูแลผู้ป่วย III-1 การเข้าถึงและเข้ารับบริการ III-2 การประเมินผู้ป่วย III-3.1 การวางแผนการดูแลผู้ป่วย III-3.2 การวางแผนจาหน่าย
  • 33. หมวดที่ III กระบวนการดูแลผู้ป่วย III-4.1 การดูแลทั่วไป III-4.2 การดูแลผู้ป่วยและการให้บริการที่มีความเสี่ยงสูง III-4.3 การดูแลเฉพาะ ได้แก่ การจัดการความปวด , การผ่าตัด , การดูแลแบบประคับประคอง III-5 การให้ข้อมูลและเสริมพลังแก่ผู้ป่วย/ครอบครัว III-6 การดูแลต่อเนื่อง
  • 34. ตอนที่ III กระบวนการดูแลผู้ป่วย III - 1 การเข้าถึงและเข้ารับบริการ III - 2 การประเมินผู้ป่วย III - 4 การดูแลผู้ป่วย III - 5 การให้ข้อมูลและ เสริมพลัง III - 6 การดูแลต่อเนื่อง III - 3.1 วางแผนดูแลผู้ป่วย III - 3.2 วางแผนจาหน่าย
  • 35. บริการ ER ที่ผู้คาดหวัง ทำสิ่งที่ควรทำได้ เข้ำถึงได้ ใส่ใจทุกควำมต้องกำร ถูกต้องเหมำะสม ทันกำรณ์ ดูแลด้วยหัวใจ ต่อเนื่อง พึงพอใจ, ครอบคลุม, เท่ำเทียม, คุ้มค่ำ, ได้ผลดี, ไม่มีของแถม, นพ.อนุวัฒน์ ศุภชุติกุล.สถาบันรับรองคุณภาพสถานพยาบาล (องค์การมหาชน).การประชุมวิชาการเวชศาสตร์ฉุกเฉิน คณะแพทย์ศาสตร์ รพ.รามาธิบดี “Beyond the Fast are Quality and Safety” โรงแรม Prince Palace .22 พฤศจิกายน 2555 10.50-12.00 น.
  • 36. การรับรองขั้น 3 (Accreditation) • ร.พ.จะถูกประเมินโดยเกณฑ์การประเมิน 89 ข้อ ที่ครอบคลุมเนื้อหาของ มาตรฐานในหมวด 1-3 (HA Scoring Guideline 2011) • เกณฑ์แต่ละข้อจะมีระดับคะแนนตั้ง 1-5 ตามลาดับขั้นของการพัฒนาการคล้าย กับระบบการให้คะแนนของเกณฑ์รางวัลคุณภาพแห่งชาติ (Thailand Quality Award หรือ TQA) ซึ่งเป็นเกณฑ์ที่พัฒนามาจากเกณฑ์ MBNQA ของประเทศ สหรัฐอเมริกา • โรงพยาบาลที่ผ่านการรับรองต้องขอต่ออายุการรับรองทุก 2- 3 ปีแล้วแต่ สถานะของการรับรอง
  • 37. 37 For Continuous Improvement to Excellence 1 1.5 2 2.5 3 3.5 4 5 กิจกรรม คุณภาพพื้นฐาน 5 ส., ขอ้เสนอแนะ ตั้งทีม วางกรอบการทา งาน ปรับปรุงโครงสรา้ง แก้ไขเมื่อเกิดปัญหา Scoring Guideline: ออกแบบ กระบวนการ เหมาะสม บรรลุเป้าหมาย พื้นฐาน นา ไปปฏิบัติ ครอบคลุม ถูกตอ้ง ปรับปรุงระบบ บูรณาการ นวตกรรม ผลลัพธ์ดีเลิศ เป็นแบบอย่างที่ดี ของการปฏิบัติ มีวัฒนธรรม คุณภาพ ผลลัพธ์ดีกว่า ผลลัพธ์อยู่ใน ระดับเฉลี่ย ระดับเฉลี่ย ผลลัพธ์ไม่น่าพึงพอใจ ประเมินผล อย่างเป็นระบบ วัฒนธรรม เรียนรู้ สื่อสาร มีความเขา้ใจ สอดคล้องกับ บริบท เริ่มตน้ นา ไปปฏิบัติ พอใจกับผลงาน โดดเด่นพร้อมเล่า ยังต้องปรับปรุง เพิ่งเริ่มต้น ในประเด็นสา คัญ สังเกตความเชื่อมโยง ของแต่ละระดับขัน้ -> พัฒนาต่อเนื่อง
  • 39. 39
  • 40. 40
  • 41.
  • 42. หมวดที่ IV ผลลัพธ์การดูแลผู้ป่วย • ผลลัพธ์การดูแลผู้ป่วยของห้องฉุกเฉิน จะต้องสอดคล้องกับ ตัวชี้วัดที่ได้กาหนดไว้ในตอนที่ I-4.1 • ต้องมีการแสดงผลลัพธ์ทั้ง • ผลลัพธ์เชิงกระบวนการ (Process indicators) และ • ผลลัพธ์ทางคลินิก (Clinical Outcome indicators)
  • 43. หมวดที่ IV ผลลัพธ์การดูแลผู้ป่วย • โรงพยาบาลที่ได้รับการต่ออายุการรับรอง (Re Accreditation) ควรสามารถแสดงผลลัพธ์ทางคลินิกที่ดีขึ้น อันเป็นผลสะท้อนจากการพัฒนาที่มีการหมุนวงรอบ PDCA และ มีการพัฒนาอย่างต่อเนื่อง (Continuous Quality Improvement ;CQI)
  • 44. Access: Left-without-being-seen Good Samaritan Hospital • LWBS rate 2% • 87 % of LWBS patients were ESI Level 3 • Highest in abdominal pain, flank pain, headache, pregnancy complication, vaginal bleeding, or vomiting. • Longer LOS, MD waiting time, • Reason: complaints too complex for fast track yet not serious enough for direct admission to the ED • Strategy : direct a subset of ESI 3 patients to a dedicated physician and nurse practitioner. http://www.ahrq.gov/qual/ptflow/ptflow4.htm นพ.อนุวัฒน์ ศุภชุติกุล.สถาบันรับรองคุณภาพสถานพยาบาล (องค์การมหาชน).การประชุมวิชาการเวชศาสตร์ฉุกเฉิน คณะแพทย์ศาสตร์ รพ.รามาธิบดี “Beyond the Fast are Quality and Safety” โรงแรม Prince Palace .22 พฤศจิกายน 2555 10.50-12.00 น.
  • 45. การพัฒนาเพื่อให้การบริการของห้องฉุกเฉินสามารถตอบ สนองความคาดหวังของผู้รับการบริการได้ จึงต้องมีการพัฒนา คุณภาพการบริการของห้องฉุกเฉินโดยใช้เครื่องมือคุณภาพต่างๆเข้า มาช่วย เช่นการลดขั้นตอนด้วยกระบวนการ Lean operation, การ ลดของเสียหรือความเสียหายด้วยหลักการของ Six sigma การตาม รอยผู้ป่วย ตามรอยโรค และการประเมินตนเอง ฯลฯ รวมถึงการใช้ เกณฑ์มาตรฐาน HA ในการพัฒนาคุณภาพการบริการของห้องฉุกเฉิน
  • 46.
  • 47. JCI กับการพัฒนาคุณภาพห้องฉุกเฉิน การรับรองตามมาตรฐาน JCI (Joint Commission International Accreditation หรือ JCIA) เป็นการรับรองสถานพยาบาลที่ใช้ได้กับ สถานพยาบาลทั่วโลก โดย Joint Commission International ซึ่ง เป็นหน่วยงานระหว่างประเทศ ภายใต้ JCAHO ของสหรัฐอเมริกา โดยสถานพยาบาลที่ขอการรับรองจะต้องผ่านการปะเมินทั้ง 4 ส่วน ได้แก่
  • 48. I: Accreditation Participation Requirements (APR) คือส่วนที่แสดงการมีส่วนร่วมขององค์กรต่อกระบวนการรับรอง ซึ่งไม่ใช่ส่วนของมาตรฐาน ไม่คิดเป็นคะแนน (Score) ซึ่งองค์กร ที่ประสงค์จะเข้าสู่กระบวนการรับรองต้องให้ความร่วมมือต่อ กระบวนการประเมินของ JCI
  • 49. II: Patient-Centered Standards ส่วนของมาตรฐานที่เกี่ยวข้องกับการมุ่งเน้นผู้ป่วย ได้แก่  International Patient Safety Goals (IPSG)  Access to Care and Continuity of Care (ACC)  Patient and Family Rights (PFR)  Assessment of Patients (AOP)  Care of Patients (COP)  Anesthesia and Surgical Care (ASC)  Medication Management and Use (MMU)  Patient and Family Education (PFE)
  • 50. III: Health Care Organization Management Standards ส่วนของมาตรฐานที่เกี่ยวข้องกับการบริหารจัดการขององค์กร หรือ ระบบงานสาคัญขององค์กร  Quality Improvement and Patient Safety (QPS)  Prevention and Control of Infections (PCI)  Governance, Leadership, and Direction (GLD)  Facility Management and Safety (FMS)  Staff Qualifications and Education (SQE)  Management of Information (MOI)
  • 51. IV: Academic Medical Center Hospital Standards มาตรฐานที่เพิ่มเติมเข้ามาในเกณฑ์มาตรฐานฉบับล่าสุด ซึ่งเป็นฉบับที่ 5 ที่จะเริ่มใช้ในเดือนเมษายน 2557 นี้ ซึ่งกล่าวถึงมาตรฐานการรับรอง สาหรับสถานพยาบาลที่เป็นโรงเรียนแพทย์ เป็นส่วนที่เพิ่มเติมขึ้นจากการ เกณฑ์มาตรฐาน JCI ฉบับก่อนๆ ได้แก่  Medical Professional Education (MPE)  Human Subjects Research Programs (HRP)
  • 52. • เกณฑ์มาตรฐาน JCI จะมีการทบทวนและปรับปรุงทุก 3 ปี สถานพยาบาลที่ผ่านการรับรองจะต้องขอต่ออายุการรับรองทุก 3 ปี โดยมีการรับรองเพียงรูปแบบเดียว (HA มี 3 ระดับขั้นของการ รับรอง) • การรับรองโดยเกณฑ์ JCI มีวัตถุประสงค์เพื่อส่งเสริมคุณภาพและ ความปลอดภัยในการให้บริการคล้ายคลึงกับเกณฑ์ HA แต่มี รายละเอียดของเกณฑ์มากว่าเกณฑ์ HA
  • 53. • JCI กระบวนการรับรองเน้น การสร้าง นโยบาย (Policy) กระบวนการ โดยใช้หลักฐานเชิงประจักษ์ (Scientific Evidence Bases) ที่ทันยุคทันสมัย และให้ ความสาคัญกับความปลอดภัยของผู้ป่วยอย่างยิ่ง โดยกาหนดไว้ในหนึ่งใน เกณฑ์ของการผ่านการรับรอง ว่าองค์กรจะต้องไม่มีคะแนนข้อใดใน มาตรฐานหมวด IPSG (International Patient safety Goal) ที่ได้ คะแนนต่่ากว่า 5 (partial met) หรือ 0 (not met)
  • 54. เกณฑ์การพิจารณาว่าไม่ผ่านการรับรองโดยมาตรฐาน JCI มี 9 ข้อดังต่อไปนี้ในมาตรฐานแต่ละข้อต้องได้คะแนนมากกว่าหรือ เท่ากับ 5 (วิธีการให้คะแนนแบ่งเป็น Met=10 คะแนน , Partial met=5 คะแนน ,Not met=0 คะแนน) 1. ในแต่ละหมวดของมาตรฐานต้องได้คะแนนมากว่าหรือเท่ากับ 8 2. คะแนนเฉลี่ยรวมทุกมาตรฐานต้องได้คะแนนมากว่าหรือเท่ากับ 9 3. จานวนข้อของมาตรฐานที่ได้คะแนน Partial met=5 คะแนน ,Not met=0 คะแนน รวมกันต้องไม่เกินส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐานที่ 3 (3SD) จากค่าเฉลี่ย ของสถานพยาบาลทั้งหมดที่รับการสารวจในช่วง 24 เดือนที่ผ่านมาโดย JCI...
  • 55. เกณฑ์การพิจารณาว่าไม่ผ่านการรับรองโดยมาตรฐาน JCI มี 9 ข้อ ดังต่อไปนี้ในมาตรฐานแต่ละข้อต้องได้คะแนนมากกว่าหรือเท่ากับ 5 (วิธีการให้ คะแนนแบ่งเป็น Met=10 คะแนน , Partial met=5 คะแนน ,Not met=0 คะแนน) 4. ต้องไม่มีมาตรฐานข้อใดใน หมวด IPSG(International Patient Safety Goal) ที่ได้คะแนน 0 (Not met) 5. ผลการเยี่ยมเฉพาะส่วนที่มีปัญหา (Focused Survey) ไม่ผ่านเกณฑ์มาตรฐาน
  • 56. 6. องค์กรมีสภาวะความเสี่ยงมากกว่าหรือเท่ากับหนึ่งสภาวะ ที่จะไม่ผ่านการรับรอง ไม่ได้รับการแก้ไข ปรับปรุงเมื่อเข้าสู่ การเยี่ยมเฉพาะส่วนที่มีปัญหา (Focused Survey) สภาวะที่เสี่ยงต่อการไม่ผ่านการรับรอง ได้แก่ 1.มีเหตุการณ์ความเสี่ยงที่รุนแรงที่เกิดขึ้นเฉียบพลัน ต่อผู้รับบริการ สาธารณะ หรือบุคลากร เกิดขึ้นภายในองค์กร (Immediate threat to Safety)
  • 57. 6. องค์กรมีสภาวะความเสี่ยงมากกว่าหรือเท่ากับหนึ่งสภาวะ ที่จะไม่ผ่านการรับรอง ไม่ได้รับการแก้ไข ปรับปรุงเมื่อเข้าสู่ การเยี่ยมเฉพาะส่วนที่มีปัญหา (Focused Survey) สภาวะที่เสี่ยงต่อการไม่ผ่านการรับรอง ได้แก่ 1.องค์กรมีบุคลากรผู้ให้บริการที่ไม่ได้รับการขึ้นทะเบียนผู้ประกอบวิชาชีพ ไม่มีคุณสมบัติที่เหมาะสมที่จะให้บริการแก่ผู้รับบริการ (Unlicensed/registered/certified caregiver) 2.องค์กรรายงานข้อมูลเท็จ คลาดเคลื่อนจากความจริง เพื่อให้ผ่านการ รับรอง(Misrepresentation)
  • 58. 8. องค์กรมีความประสงค์ที่จะถอนตัวจากกระบวนการรับรอง 9. องค์กรไม่ให้ความร่วมมือต่อกระบวนการรับรองของ JCI
  • 59. • นอกจากนี้ JCI ยังมีแหล่งข้อมูลสาหรับการกาหนดตัวชี้วัดใน กลุ่มโรคสาคัญๆที่รวบรวมจากงานวิจัยที่มีมาตรฐานระดับสากล (International Library of measures resource) เช่น Acute Myocardial Infarction (AMI) ,Heart Failure (HF) ,Stroke (STK) ,Children’s Asthma Care (CAC) , Hospital-Based Inpatient Psychiatric Service (HBIPS) , Nursing-Sensitive Care (NSC) , Perinatal Care (PC) , Pneumonia (PN) , Surgical Care Improvement Project (SCIP) และ Venous Thromboembolism (VTE) เป็นต้น ซึ่งหลายกลุ่มโรค/ภาวะ อาจพบที่ห้อง ฉุกเฉินได้ ห้องฉุกเฉินจึงสามารถใช้ตัวชี้วัดในกลุ่มโรคต่างๆนี้ในการพัฒนา คุณภาพการบริการในผู้ป่วยเหล่านี้ได้
  • 62.
  • 63. ภาควิชาเวชศาสตร์ฉุกเฉิน:พันธกิจ บริการ การศึกษา วิจัย บริการวิชาการ ป้องกัน ส่งเสริม ฟื้นฟู ดูแล รักษา ภาวะอุบัติเหตุ ฉุกเฉิน ตามบริบท โรงพยาบาล รามาธิบดี หลักสูตร ก่อนปริญญา: -RAID 512,613 หลังปริญญา การศึกษาวิจัยทางเวช ศาสตร์ฉุกเฉิน การบริการวิชาการทาง เวชศาสตร์ฉุกเฉิน H A E d P E X / T Q A
  • 64. GAP Meaning Maturity of Organization Criteria based GAP Vision Achievement Organization or Context based GAP HA Criteria EdPEX /TQA Criteria GAP Closure GAP Closure Strategic Challenge
  • 65.
  • 67. Systematic Approach ดูจาก “D-R-M-P” คือ •Definable : กระบวนการมีขัน้ตอนอย่างไร มีใคร รับผิดชอบ มีกรอบระยะเวลาอย่างไร มีปัจจัยนาเข้าอะไรบ้าง มีผลผลิตเป็นอะไร •Repeatable : สามารถทาซา้ได้ •Measurable : วัดได้ตรวจสอบได้ •Predictable : คาดการณ์ได้ 67
  • 69. EdPEX Criteria 2011-2012 •Process Item 3,5,6 – Systematic to Effective Systematic Process
  • 74. -มีวิธีการออกแบบโปรแกรมการศึกษา บริการ และกระบวนการทางานที่เป็นระบบ -มีวิธีการจัดการกระบวนการทา งานที่เป็นระบบ -มีวิธีการปรับปรุงโปรแกรมการศึกษาและบริการและกระบวนการทางานที่เป็นระบบ
  • 76. No System Early Systematic Effective Systematic
  • 77.
  • 78. กลุ่มลูกค้า ช่องทางการรบัฟัง ความถี่ในการ ติดตาม,ทบทวน ผ้รูบัผิดชอบ 1.ผ้รูบับริการที่ห้องฉุกเฉิน และหอสังเกตอาการ -การสุ่มสารวจความคิดเห็นโดย โรงพยาบาลรามาธิบดี -จดหมาย,หนังสือร้องเรียน -ทุกเดือน ,ทุกครัง้ที่มี จดหมายหรือหนังสือ ร้องเรียน ประธาน CLT และ ทีม 2.นักศึกษาแพทย์ชัน้ ปีที่ 5,6 ที่ศึกษาในรายวิชา รมคร 512 และ รมคร 613 ทัง้วิชาหลกัและวิชาเลือก เสรี -การสอบถามความคิดเห็นของ นศ.ทาง website (e-evaluation) (ใช้กบั นศ.ทุกชนั้ปี) -แบบแสดงความคิดเห็นขณะเข้าสอบ(นศ.ชนั้ปีที่6) -ความคิดเห็นที่สะท้อนผ่านการพูดคุยกบัอาจารยท์ี่ ปรึกษา* ทุกรอบการหมุนเวียน ของ นศ.,ทุก 4สัปดาห์ สาหรับ นศ.ชนั้ปีที่ 6 และ3 สัปดาห์สาหรับ นศ.ชนั้ปีที่ 5 ประธานรายวิชา ร่วมกบัประธาน หลกัสูตร 3.แพทย์ประจา บ้านหลกั สูตรเวชศาสตร์ฉุกเฉิน -การสอบถามความคิดเห็นผ่านทางแบบประเมิน Online -แบบสอบถามความคิดเห็นของคณะฯ ทุกปี ประธานหลกั สูตร การศึกษาหลงั ปริญญาและทีม 4.ผ้ใูช้บณัฑิต ได้แก่ รพ. ต่างๆที่ บณัฑิต ของ ภาควิชาไปปฏิบตัิงาน แบบสอบถามส่งทางไปรษณีย์ ทุกปี ประธานหลกัสูตร การศึกษาหลงั ปริญญาและทีม 5.ผ้เูข้ารบัการฝึกอบรม หลกัสูตรหรือกิจกรมทาง วิชาการที่ภาควิชาจดั แบบสอบถามความคิดเห็นต่อการจัดการฝึกอบรม ทุกครัง้ที่มีการจัดการ ฝึกอบรม คณะกรรมการ จัดการฝึกอบรม 6.ผ้ใูห้ทุนวิจยั แบบสอบถามความคิดเห็นต่องานวิจัย ทุกครัง้ที่ได้รับทุนวิจัย ประธานกรรมการ วิจัยภาควิชา
  • 79.
  • 80.
  • 81.
  • 82.
  • 83.
  • 84. GAP closure :Result • Improve Process •KPI&Data management
  • 85. Process GAP&GAP closure OFI: Deployment GAP Closure: Improve deployment to all groups of customers
  • 86. Result GAP&GAP closure OFI: I-Segmentation GAP Closure: improve Deployment of Systematic process to all mission
  • 87.
  • 88.
  • 89.
  • 90.
  • 91.
  • 92.
  • 93.
  • 94. ภาควิชาเวชศาสตร์ฉุกเฉิน: พันธกิจบริการ บริการ ป้องกัน ส่งเสริม ฟื้นฟู ดูแล รักษา ภาวะอุบัติเหตุ ฉุกเฉิน ตามบริบท โรงพยาบาล รามาธิบดี H A E d P E X / T Q A 3 C (Context, Core Value ,Criteria PDCA
  • 95. พันธกิจบริการ:GAP Closure OFIs: Score < 3 STs :Score > 3 CQI to Up Score to 3 (ดี/Average) CQI to Up Score to 4-5 (ดีมาก,โดดเด่น/Best Practice) Identify OFIs,STs From HA Scoring Guideline 2011
  • 96. HA GAP Closure and straight forward Most related criteria ‘s Score > 3 NO related criteria ‘s Score < 2.5 Score 4 Score 5 1.Disease Specific Certified Accreditation 2.A-HA
  • 97. Result Rama ED: Example
  • 98.
  • 99.
  • 100.
  • 101.
  • 102.
  • 103. ผลการพัฒนาที่สาคัญตลอด 10 ปีที่ผ่านมา... •พันธกิจบริการ: •4 รางวัล กพร. ด้านบริการ (ER Tracking system,NIPPV inER,One Stop Service Palliative Care,Ramathibodi Paediatric card) , รางวัลผู้หล่อเลี้ยงคุณภาพ จาก สรพ.,รางวัล Healing Environment จาก สรพ. Disease Specify Certification ระบบการดูแล Stroke Fast Tract จาก สรพ., รางวัลคุณภาพ QC Acute Myocardial Infarction Fast Tract
  • 104. ผลการพัฒนาที่สาคัญตลอด 10 ปีที่ผ่านมา... •พันธกิจการศึกษา: •เพิ่มจานวนแพทย์ประจาบ้าน จาก 6 คน เป็น 14 คนในปี 2557 •มีรายวิชาเวชศาสตร์ฉุกเฉินทั้งหลัก สาหรับ นศพ.ปี 5และ 6 และ เลือก สาหรับ นศพ.ปี 4-6 ทั้งในประเทศและนานาชาติ •ผลลัพธ์ด้านการพัฒนาการศึกษาทุกระดับอยู่ในระดับชั้นนาของ คณะฯ •การเปิดหลักสูตรปริญญาตรี Paramedic ในปีการศึกษา 2558
  • 105. ผลการพัฒนาที่สาคัญตลอด 10 ปีที่ผ่านมา... •พันธกิจวิจัย: •งานวิจัยระดับชาติ นานาชาติ สูงสุดในประเทศ
  • 106.
  • 107.
  • 108. เราทาได้...ถ้าเราอยากจะทา... เราทาได้...ถ้าเราทาแล้ว...มีความสุข... ขอให้ทุกท่าน ค้นพบความสุขและคุณค่า... จากการพัฒนาคุณภาพและความปลอดภัย.... 108