SlideShare une entreprise Scribd logo
1  sur  46
Télécharger pour lire hors ligne
โดย พลเอก เอกชัย ศรีวิลาศ 
ผู้อานวยการสานักสันติวิธีและธรรมาภิบาล 
สถาบันพระปกเกล้า 
www.elifesara.com ekkachais@hotmail.com 
การบริหารงานโดยยึดหลักธรรมาภิบาล และความโปร่งใส
3 
การปลูกฝังคุณธรรมในสังคมอังกฤษ 
•การปลูกฝังคติธรรม ๗ ประการตั้งแต่วัยเยาว์ 
๑. สัจจะ พูดความจริง (Truth) 
๒. ความซื่อสัตย์สุจริต (Honesty) 
๓. ความระลึกในหน้าที่ (Sense of duty) 
๔. ความอดกลั้น (Patience) 
๕. ความเป็นธรรม(Fair play) 
๖. ความเอาใจเขามาใส่ใจเรา (Consideration for others) 
๗. เมตตาธรรม(Kindness)
•ตามระบบกฎหมายโดยทั่วไป มี บุคคล 3 กลุ่มที่มีบทบาทมสาคัญ ในด้านและการสอดส่องดูแลกิจการ ได้แก่กรรมการ เจ้าหน้าที่บริหาร ของบริษัท เรียกรวมว่าฝ่ายจัดการ และกลุ่มของผู้ถือหุ้นของบริษัททั้ง 3 กลุ่ม ต่างมีบทบาทแตกต่างกัน ภายในกิจการ 
ความสัมพันธ์ของผู้ถือหุ้น คณะกรรมการ และฝ่ายบริหาร 
ผู้ถือหุ้น 
กรรมการ 
ฝ่ายจัดการ
•ภาวะผู้นา ควบคุม และกาหนดนโยบาย 
•ปฏิบัติงานด้วยความสุจริตและระมัดระวัง 
•มอบหมายให้ฝ่ายจัดการเป็นตัวแทน 
บทบาทของคณะกรรมการ
•ปฏิบัติงานตามนโยบายของคณะกรรมการ 
•ให้ความมั่นใจว่าการปฏิบัติงานสอดคล้องและเหมาะสมตาม หลักการบริหารที่ดี 
•ปฏิบัติงานด้วยความสุจริตและระมัดระวัง 
บทบาทของเจ้าหน้าที่บริหารหรือฝ่ายจัดการของบริษัท
•มอบหมายคณะกรรมการให้เป็นตัวแทน 
•ติดตามประเมินผลของคณะกรรมการ 
•เข้าร่วมการประชุมผู้ถือหุ้น 
บทบาทของผู้ถือหุ้น
•นอกจาก 3 กลุ่มแล้วยังมี กลุ่มผู้มีส่วนได้เสียอื่นๆด้วย ได้แก่ ลูกค้า คู่ค้า นายธนาคาร ลูกจ้าง และประชาคม 
•นอกจากนั้นก็ยังมีกลุ่มผู้คอยกากับและควบคุมการแสดง ได้แก่ ภาครัฐ และผู้สอบ บัญชีอิสระ รวมไปถึงสังคมโดยรวม 
•จึงมีความสาคัญที่ต้องรู้ถึงสิทธิและหน้าที่ของผู้ที่เกี่ยวข้องทั้งหลายในบริษัท ซึ่งได้แก่ ผู้ถือหุ้น คณะกรรมการ ฝ่ายจัดการ ผู้มีส่วนได้เสียอื่น และผู้กากับตรวจสอบ 
•คณะกรรมการจึงมีบทบาทสาคัญในการตรวจตรา (Monitor) ให้ฝ่ายจัดการ บริหารจัดการให้ตอบสนองต่อกลุ่มผู้มีส่วนได้ส่วนเสียอย่างถูกต้องเหมาะสม 
ความสัมพันธ์ระหว่างบุคคลทั้ง 3 กลุ่ม
คณะกรรมการ 
(Board of Directors) 
ฝ่ายจัดการผู้ถือหุ้น 
ประชาคม/สังคม 
ลูกค้า 
คู่ค้า/เจ้าหนี้ 
พนักงาน
•ระบบที่จัดให้มีโครงสร้าง และกระบวนการ ของความสัมพันธ์ระหว่าง คณะกรรมการ ฝ่ายจัดการ และผู้ถือหุ้น 
•เพื่อสร้างความสามารถในการแข่งขัน นาไปสู่ความเจริญเติบโตและเพิ่ม มูลค่าให้กับผู้ถือหุ้นในระยะยาว 
•โดยคานึงถึงผู้มีส่วนได้ส่วนเสียอื่น 
คานิยาม “บรรษัทภิบาล” หรือ “การกากับดูแลกิจการ 
•ตลาดหลักทรัพย์แห่งประเทศไทย “หลักการกากับดูแลกิจการที่ดีสาหรับบริษัทจดทะเบียนปี 2549” หน้า 2
•รูปแบบของบรรษัทภิบาลในแต่ละประเทศจะแตกต่างกันในแต่ละประเทศ 
•โครงสร้างทางการเงินของภาคธุรกิจ 
•โครงสร้างผู้ถือหุ้น 
•วัฒนธรรมทางธุรกิจ (corporate culture) และ 
•กฎหมายบริษัท (corporate law) ในแต่ละประเทศ 
ปัจจัยในการกาหนดรูปแบบบรรษัทภิบาล
•กฎหมายในสหรัฐอเมริกาให้ความคุ้มครองผู้ถือหุ้นสูง ทาให้ตลาดทุนมีความก้าวหน้า เป็นพิเศษ โครงสร้างทางการเงินจะเน้นการระดมทุนมากกว่าการก่อหนี้ 
•ความคุ้มครองผู้ถือหุ้นรายย่อยสูง ทาให้โครงสร้างผู้ถือหุ้นกระจายตัวมาก 
•ส่งผลให้ไม่มีเจ้าหนี้หรือผู้ถือหุ้นรายใหญ่ เข้ามามีบทบาทในการร่วมบริหารธุรกิจ อานาจการบริหารจะเบ็ดเสร็จอยู่กับผู้บริหาร ทาให้เกิดปัญหาในการแสวงหา ผลประโยชน์ต่อตนเองได้ง่าย (Self-dealing) 
กรณีสหรัฐอเมริกา และ อังกฤษ
•ปัญหาหลักของบรรษัทภิบาลในญี่ปุ่น คือ การคุ้มครองผู้ถือหุ้นรายย่อย 
•กฎเกณฑ์คุ้มครองเจ้าหนี้มากกว่าผู้ถือหุ้น 
•โครงสร้างเงินทุนจะนิยมการระดมทุนด้วยการก่อหนี้มากกว่าการออกหุ้นสามัญ 
•เจ้าหนี้ (ธนาคารพาณิชย์) มีบทบาทสาคัญในการบริหารธุรกิจของบริษัททั่วไป (บริษัทลูกหนี้) 
•ส่งผลให้การบริหารงานของลูกหนี้มีการตรวจสอบและโปร่งใสมากขึ้น 
กรณีญี่ปุ่น หรือ เยอรมัน
•ญี่ปุ่นมีวัฒนธรรมจ้างงานแบบถาวร การปลดพนักงานจึงไม่เป็นที่ แพร่หลาย 
•สหรัฐอเมริกา การปรับลดอัตรากาลัง หรือโยกย้ายแหล่งที่ทางาน เป็นเรื่องธรรมดา 
•ดังนั้น พนักงานบริษัทในญี่ปุ่นจะมีบทบาทในการกาหนดรูปแบบของ บรรษัทภิบาลภาคเอกชน มากกว่า พนักงานบริษัทในสหรัฐอเมริกา 
วัฒนธรรมทางธุรกิจ
•กฎหมายว่าด้วย insider trading ในสหรัฐเข้มงวดมาก ทาให้ผู้บริหารหรือ กรรมการต้องระมัดระวังในการเปิดเผยข้อมูล ส่งผลให้ผู้ถือหุ้นไม่สามารถตรวจสอบ ความเหมาะสมของการบริหารงานและการตัดสินใจของผู้บริหารได้เท่าที่ควร 
•กฎหมายของสหรัฐในการจากัดอานาจและบทบาทของธนาคารพาณิชย์และสถาบัน การเงินอื่น ๆ ในการเข้ามีส่วนร่วมในการบริหารธุรกิจของลูกหนี้หรือบริษัทที่มี หุ้นส่วนทาให้บรรษัทภิบาลของสหรัฐขาดระบบการคานอานาจของผู้บริหาร 
กฎหมายและกฎระเบียบทางธุรกิจ
•รูปแบบของบรรษัทภิบาลที่แตกต่างกันมีผลต่อประสิทธิภาพในการประกอบกิจการ 
•ธุรกิจที่มีโครงสร้างผู้ถือหุ้นกระจัดกระจาย จะขาดความยั่งยืน ขาดผู้เป็นเจ้าของที่ชัดเจน อานาจในการบริหารเป็นของฝ่ายจัดการอย่างสมบูรณ์ ผู้บริหารมักจะไม่มีความยินดียิน ร้ายกับการเปลี่ยนแปลงความเป็นเจ้าของ ตราบใดที่ไม่กระทบต่ออานาจบริหารที่เป็นอยู่ ของตน 
•ธุรกิจที่เน้นการจ้างงานระยะยาว เช่น ในญี่ปุ่น จะมีขีดความสามารถในการพัฒนา บุคลากรได้ดีกว่า แต่มีจุดอ่อน เรื่องการปรับตัวในภาวะเศรษฐกิจตกต่า 
รูปแบบของบรรษัทภิบาลกับประสิทธิภาพ
•รูปแบบของบรรษัทภิบาลที่แตกต่างกัน 
•ส่งผลให้แต่ละบริษัทมีจุดอ่อนและจุดแข็งที่แตกต่างกัน
•ตระหนักในหน้าที่ 
•กาหนดภารกิจของแต่ละฝ่ายอย่างชัดเจน 
•ปฏิบัติกับผู้มีส่วนได้ส่วนเสียทุกกลุ่มอย่างยุติธรรม 
•ดาเนินงานอย่างโปร่งใส สามารถตรวจสอบได้ 
•มองการณ์ไกล คานึงถึงผลประโยชน์ระยะยาว 
•ส่งเสริมให้การปฏิบัติงานทุกด้านสู่ความเป็นเลิศ หลักการของบรรษัทภิบาลที่ดี
•วิกฤติการณ์ทางเศรษฐกิจ พ.ศ.2540 บทเรียนสาหรับการร้องหาการกากับ ดูแลกิจการที่ดี 
•การดาเนินการปรับปรุงมาตรฐานบัญชี และการตรวจสอบบัญชีให้มีความ น่าเชื่อถือมากขึ้น เพื่อให้ข้อมูลทางบัญชีสามารถสะท้อนความเป็นจริง ทางด้านการเงินของบริษัท 
•พัฒนาระบบการควบคุมภายใน (internal control) ที่มีประสิทธิภาพ และ มีการตรวจสอบการบริหาร (monitoring) จากภายนอกมากขึ้น 
แนวทางการสร้างบรรษัทภิบาลที่ดีในไทย
•สิทธิของผู้ถือหุ้น 
•การปฏิบัติต่อผู้ถือหุ้นอย่างเท่าเทียมกัน 
•บทบาทของผู้มีส่วนได้ส่วนเสีย 
•การเปิดเผยข้อมูลและความโปร่งใส 
•ความรับผิดชอบของคณะกรรมการ 
หลักการกากับดูแลกิจการที่ดีสาหรับบริษัทจดทะเบียนปี 2549
Thailand Corruption Perceptions Index 2012
“ คอรัปชั่น ” (Corruption) 
การใช้อานาจที่ได้มาโดยหน้าที่ในการหาประโยชน์ส่วนตัว โดยองค์กรความโปร่งใส สากลได้ระบุถึงกรณีต่างๆที่จะสามารถเกิดขึ้นในการคอรัปชั่นของภาครัฐได้ ดังนี้
การคอรัปชั่นของภาครัฐ 
การคอรัปชั่นขนาดใหญ่ (Grand corruption)เป็นการกระทาของเจ้าหน้าที่ รัฐระดับสูงเพื่อบิดเบือนนโยบายหรือใช้อานาจรัฐในทางมิชอบ เพื่อให้ผู้นาหรือ ผู้บริหารประเทศได้รับผลประโยชน์จากการใช้ทรัพยากรของชาติ 
การคอรัปชั่นขนาดเล็ก (Petty corruption) เป็นการกระทาของ เจ้าหน้าที่รัฐระดับกลางและระดับล่างต่อประชาชนทั่วไป โดยการใช้อานาจที่ได้รับ มอบไปในทางมิชอบ 
องค์กรความโปร่งใสสากล(Transparency International –TI)
การคอรัปชั่นของภาครัฐ 
การติดสินบน (Bribery)เป็นการเสนอ การให้หรือสัญญาว่าจะให้ผลประโยชน์ ทั้งรูปของเงิน สิ่งของ และสิ่งตอบแทนต่างๆ เพื่อเป็นแรงจูงใจให้เกิดการทาผิด กฎหมายหรือศีลธรรมอันดี 
การยักยอก (Embezzlement)คือการที่คนในองค์กรนาเงินหรือสิ่งของที่ได้รับ มอบให้ใช้ในราชการ มาใช้เพื่อประโยชน์ส่วนตัวหรือเพื่อกิจกรรมอื่นที่ไม่เกี่ยวข้อง รัฐ 
องค์กรความโปร่งใสสากล(Transparency International –TI)
การคอรัปชั่นของภาครัฐ 
การอุปถัมภ์(Patronage) เป็นรูปแบบของการเล่นพรรคเล่นพวก ด้วยการคัดเลือกคนจาก ความสัมพันธ์ทางการเมืองหรือรู้จักกัน เข้ามาทางานหรือรับผลประโยชน์ โดยดูคุณสมบัติและ ความเหมาะสม 
การเลือกที่รักมักที่ชัง (Nepotism)เป็นรูปแบบหนึ่งของการเล่นพรรคเล่นพวก โดย เจ้าหน้าที่ของรัฐจะใช้อานาจที่มี ในการให้ผลประโยชน์หรือให้หน้าที่การงานแก่เพื่อน ครอบครัวหรือบุคคลใกล้ชิด โดยไม่คานึงถึงคุณสมบัติและความเหมาะสม องค์กรความโปร่งใสสากล(Transparency International –TI)
การคอรัปชั่นของภาครัฐ 
•ผลประโยชน์ทับซ้อน (Conflict of interest)คือการขัดกันระหว่าง ผลประโยชน์ส่วนตัว กับผลประโยชน์ส่วนรวม องค์กรความโปร่งใสสากล(Transparency International –TI)
•การที่ฝ่ายบริหารกาหนดนโยบายโดยขาดการวางแผนไม่คานึงถึงประโยชน์ ของประชาชน 
•เจ้าหน้าที่ของรัฐขาดความรับผิดชอบ ไม่มีการปฏิบัติตามหลักนิติธรรม 
•ใช้อานาจในทางที่มิชอบ 
•ประชาชนไม่มีส่วนร่วมในกิจการสาธารณะ 
•มีการฉ้อราษฎร์บังหลวงอยู่ทั่วไป การบริหารงานที่ขาดหลักธรรมาภิบาล (Bad Governance)
การบริหารงานที่ขาดหลักธรรมาภิบาล (Bad Governance) 
1.ประชาชนได้รับบริการสาธารณะจากราชการหรือรัฐวิสาหกิจที่ไม่มีคุณภาพ 
2.ประเทศขาดศักยภาพในการกาหนด หรือดาเนินนโยบาย หรือการตัดสินใจด้านนโยบาย ผิดพลาดและสับสนไม่ได้อยู่บนพื้นฐานทางวิชาการและเหตุผล 
3.การบริหารการคลังของประเทศล้มเหลว ซึ่งรวมถึงปัญหาการเงินการคลังของประเทศ และกาหนดงบประมาณที่ไม่สอดคล้องกับสภาพความเป็นจริง 
4.การกาหนดกฎระเบียบที่ไม่สามารถปฏิบัติได้อย่างจริงจัง 
5.ความไม่โปร่งใสของกระบวนการตัดสินใจ มีการทุจริตและแสวงหาผลประโยชน์จาก ทรัพย์สินสาธารณะและพบการทุจริตคอรัปชั่นของนักการเมืองและข้าราชการ จากรายงานขององค์การพัฒนาแห่งสหประชาชาติ(United Nation Development Programmed : UNDP)
Good Governance 
1) การมีส่วนร่วมของสาธารณชน(Public participation) เป็นกลไกที่ประชาชนมีส่วนร่วมในการ ตัดสินใจอย่างเท่าเทียมกัน (Equity) การให้เสรีภาพแก่สื่อมวลชนและให้เสรีภาพแก่สาธารณชนในการ แสดงความคิดเห็นอย่างสร้างสรรค์ 
2) ความสุจริตและโปร่งใส (Honesty and transparency) เป็นกลไกที่มีระบบกติกา และการ ดาเนินการที่เปิดเผย โดยประชาชนสามารถเข้าถึงและได้รับข้อมูลข่าวสารอย่างเสรีเป็นธรรม ถูกต้องและ มีประสิทธิภาพ ตรวจสอบการบริหารและติดตามผลได้ 
3) พันธะความรับผิดชอบต่อสังคม (Responsiveness and accountability) เป็นกลไกที่มีความ รับผิดชอบมีหน้าที่ต่อสาธารณชน มีการดาเนินงานเพื่อตอบสนองความต้องการของกลุ่มต่างๆ ในสังคม อย่างเป็นธรรม รวมถึงการมีความรับผิดชอบที่มีต่อประชาชนสังคมโดยรวม
Good Governance 
4) กลไกทางการเมืองที่ชอบธรรม (Political legitimacy) เป็นกลไกที่มีองค์ประกอบของผู้ที่เป็น รัฐบาลหรือผู้ที่เข้าร่วมบริหารประเทศที่มีความชอบธรรมเป็นที่ยอมรับของคนในสังคมโดยรวมไม่ว่าจะโดย การแต่งตั้งหรือเลือกตั้ง 
5) กฎเกณฑ์ที่ยุติธรรมและชัดเจน (Fair legal framework and predictability) คือมี กรอบของกฎหมายที่ยุติธรรมและเป็นธรรมสาหรับกลุ่มคนต่างๆ ในสังคม ซึ่งกฎเกณฑ์มีการบังคับใช้และ สามารถใช้บังคับได้ 
6) ประสิทธิภาพและประสิทธิผล (Efficiency and effectiveness) คือเป็นกลไกที่มี ประสิทธิภาพในการดาเนินงานไม่ว่าจะเป็นด้านการจัดกระบวนการทางาน การจัดองค์กร การจัดสรร บุคคลากร และมีการควบคุมการใช้ทรัพยากรสาธารณะต่างๆ อย่างคุ้มค่าและเหมาะสม มีการดาเนินการและ ให้บริการสาธารณะที่ให้ผลลัพธ์อย่างคุ้มค่า
อันดับการทุจริตคอรัปชั่น 
352012:คะแนน 3.7 อันดับ 88
36 
3.72012
Price Water-House Coopers 
การทุจริต ผู้ถูกสารวจบอกว่าแนวโน้มอนาคตจะมีมากขึ้น 
อายุ 36-55 70% 
เพศ ชาย 85 % 
ลักษณะการทุจริต ทาคนเดียว 68 % 
ตาแหน่งในองค์กร ผู้บริหารขึ้นไป 86 % 
อายุงานในองค์กร 2-5 ปี 36 % มากกว่า 10 ปี 22% 
หน้าที่การงาน 1.ฝ่ายการเงิน 2. ฝ่ายปฏิบัติการ 3. ฝ่ายขาย 
ที่มาสารวจอาชญากรรมเศรษฐกิจทั่วโลก(Global Economic Crime Survey)
การทุจริต กับการบริหารผิดพลาด 
•การบริหารผิดพลาดมีความเสียหายมากกว่า อาจถึงขั้นเลิกกิจการ 
•คนที่มีโอกาสโกง คือคนที่มีอานาจ ใกล้ชิดช่องทางใช้เงิน ซื้อตาแหน่ง 
•ต้องสร้างสภาพแวดล้อมและการควบคุมที่ดี 
•มีการประเมินความเสี่ยง 
•มีกิจกรรมควบคุมชัดเจน 
•มีระบบข้อมูล รายงานการสื่อสารที่สามารถติดตามประเมินผล
จากการสารวจคนไทย 
 จานวนไม่น้อยกาลังสร้างค่านิยมวัฒนธรรมที่ผิดๆ พยายามส่ง ทัศนคติที่ว่า “การทุจริตโกงกินไม่เป็นไร ขอให้กินแล้วแบ่งปันให้บ้างก็ ใช้ได้ 
 ค่านิยมคนไทยนิยมคนรวย 
 การโกงกินมาจากการเอารัดเอาเปรียบ หลบเลี่ยงภาษีที่ต้องจ่ายรัฐ 
 ประเภททุจริตฉ้อโกงการใช้ทรัพย์สินในทางที่ผิด
“คน” เป็นต้นตอปัญหาความไม่โปร่งใส การทุจริต 
•พฤติกรรมของคน รับอิทธิพลจากความรู้สึกนึกคิด ค่านิยมของตัวและสังคมการ ปฎิบัติหลายประการที่สืบสานกันมาตั้งแต่ครั้งโบราณ เช่น 
•ความเกรงใจ 
•ความรู้สึกเป็นหนี้บุญคุณบุญคุณต้องตอบแทน 
•เกรงกลัวผู้มีอานาจและอิทธิพล 
•ระบบอุปถัมภ์เป็นผู้ใหญ่ต้องเลี้ยงลูกน้อง 
•กลัวเสียหน้า 
•เอาหูไปนาเอาตาไปไร่ 
•สินน้าใจของฝากติดไม้ติดมือ 
www.elifesara.com 
KPI
ระบบเป็นปัจจัยที่ก่อความไม่โปร่งใสและการทุจริตคอรัปชั่น 
•“ระบบ” ที่กาหนดขึ้นเพื่อให้เกิดระเบียบในสังคม และองค์กรโดยเฉพาะ “ระบบราชการและ หน่วยงานของรัฐ” เป็นจุดอ่อน เช่นกฏหมาย ระเบียบ ข้อบังคับ มีขั้นตอนมาก มีช่องว่างและความ ล้าสมัย 
•ผู้บริหารมีอานาจมากใช้ช่องว่างจากกฎระเบียบ 
•การบริหารจัดการไม่ได้ใช้ข้อมูลเพื่อการตัดสินใจขาดระบบข้อมูลที่ทันสมัยและขาดการเผยแพร่ ข้อมูลอย่างเปิดเผย 
•ระบบเงินเดือนที่ไม่เอื้อต่อการดารงชีวิต 
•ระบบการพัฒนาคุณภาพคนล้มเหลว 
•ระบบอุปถัมภ์เข้มแข็งกว่าระบบคุณธรรม การลงโทษผู้กระทาผิด ไม่ศักดิ์สิทธิ์ 
•ขาดกลไกการติดตาม การประเมินผล 
www.elifesara.com 
KPI
การสัมมนา World Conference on Governance ณกรุงมะนิลา ประเทศฟิลิปปินส์ ปี 2542 
•ให้ความหมายของคอรัปชั่นว่า หมายถึงการทุจริต การฉ้อราษฎรบังหลวง มีหลายลักษณะ เช่น 
•การเสนอโครงการหรือเลือกโครงการ ที่ไม่ให้ผลตอบแทนทางเศรษฐกิจมากนักแต่มีโอกาสได้เงินใต้ โต๊ะมาก 
•การจัดซื้อวัสดุอุปกรณ์ที่ต่ากว่ามาตรฐาน หรือราคาสูงกว่าความเป็นจริง 
•การจ่ายเงินให้เจ้าหน้าที่เพื่อยกเว้นกฎระเบียบ โดยเฉพาะส่วนที่เกี่ยวข้องกับการจัดเก็บภาษีอากร 
•การจ่ายเงินให้เจ้าหน้าที่เพื่อให้มีโอกาสบริการสาธารณะบางประการ 
•การยักยอกทรัพย์สินของรัฐไปเป็นของตนเอง 
•การซื้อขายตาแหน่ง หรือการกระทาที่มีผลกระทบต่อระบบคุณธรรมของราชการ 
www.elifesara.com 
KPI
การแก้ไขปัญหาคอร์รัปชั่นต้องยึดหลักการบริหารจัดการที่ดี 
1.การมีส่วนร่วมของทุกส่วนในสังคมเป็นหน้าที่ของทุกคนที่ต้องร่วมมือกันใน การรายงานข้อมูล การติดตามตรวจสอบและนาเผยแพร่ต่อสาธารณะ การ เอาผู้กระทาผิดไปลงโทษตามกระบวนการยุติธรรม 
2. การทาให้การบริหารงานมีความโปร่งใส เปิดเผยขั้นตอนการทางานให้ผู้ติดต่อ ทราบ มีระยะเวลากากับงานในขั้นตอนต่าง ๆ มีกฎระเบียบน้อยที่สุดไม่ให้เกิด ความยุ่งยาก และให้มีการใช้ดุลยพินิจของเจ้าหน้าที่น้อยที่สุด ปิดโอกาสที่ เจ้าหน้าที่จะเรียกร้องผลประโยชน์ตอบแทนจากผู้ใช้บริการ www.elifesara.comWorld Conference on Governance
การแก้ไขปัญหาคอร์รัปชั่นต้องยึดหลักการบริหารจัดการที่ดี 
3. ผู้ปฏิบัติหน้าที่มีความรับผิดชอบที่ตรวจสอบได้ทั้งจากภายในและภายนอกองค์การ กาหนดให้ผู้ดารงตาแหน่งมีโอกาสจะใช้อานาจไปในทางมิชอบต้องแจ้งบัญชีทรัพย์สินทั้ง ก่อนและหลังดารงตาแหน่งต่อหน่วยงานที่รับผิดชอบ รวมทั้งเปิดให้มีการตรวจสอบจาก สาธารณะ และการมีองค์กรอิสระที่มีอานาจเพียงพอในการติดตามตรวจสอบผู้กระทาการ คอรัปชั่นเพื่อนามาลงโทษตามกระบวนการยุติธรรม 
4. ยึดหลักนิติธรรมการบริหารงานที่ยึดหลักกฎหมายที่มีความชอบธรรมและมีความเป็น สากล 
5. การปฏิบัติงานของเจ้าหน้าที่ต้องเป็นไปโดยเสมอภาค ไม่เลือกปฏิบัติต่อกลุ่มบุคคล หรือ บุคคลเป็นการเฉพาะ เช่นการนาระบบคอมพิวเตอร์มาใช้ในการบริหารเกี่ยวกับที่ดิน หรือ งานศุลกากร 
www.elifesara.com 
World Conference on Governance
“การคอรัปชั่นภาคธุรกิจกับบรรษัทภิบาลในไทย” 
•ลักษณะคอรัปชั่นในภาคธุรกิจมีหลายลักษณะ เช่น 
•เกิดจากการบริหารจัดการแบบเบ็ดเสร็จไม่โปร่งใส 
•ขาดการควบคุมภายในที่มีประสิทธิภาพ เจ้าของดาเนินการผิดพลาด หรือเอาเปรียบผู้ถือหุ้นรายย่อย 
•ผู้บริหารใช้อานาจตามตาแหน่งหน้าที่แสวงหาผลประโยชน์ส่วนตนมากกว่าผลประโยชน์ของบริษัท ซึ่ง ผู้ถือหุ้นทุกหุ้นเป็นเจ้าของเป็นปัญหาที่รุนแรงที่สุด 
•คอรัปชั่นโดยถ่ายโอนกาไรจากบริษัทที่มีผู้ถือหุ้นหลายรายไปบริษัทที่ผู้ถือหุ้นใหญ่เป็นเจ้าของทาให้ไม่ ต้องแบ่งผลกาไรให้แก่ผู้ถือหุ้นหรือผู้ร่วมลงทุน 
•การใช้ข้อมูลเพื่อประโยชน์ในการค้ากาไรมีตัวอย่างในตลาดหลักทรัพย์ ที่ผู้ถือหุ้นรายใหญ่เทขายหุ้น โดยที่ผู้ถือหุ้นรายย่อยไม่รู้ตัว 
•กฏหมายในประเทศไทยให้การคุ้มครองผู้ถือหุ้นค่อนข้างน้อยเกิดจากปัญหาการบริหารจัดการ และ กลไกการตรวจสอบการบริหารจัดการธุรกิจในประเทศไทยอ่อนแอ บริษัทบางรายไม่โปร่งใสและเสี่ยง ต่อการฉ้อโกง 
• www.elifesara.com 
จากบทความเรื่องกรุงเทพทัศนะ เขียนโดย ดร.เดือนเด่น นิคมบริรักษ์ และรจิตกนก จิตมั่นชัยธรรม(2544)
ขอบคุณครับ แลกเปลี่ยนความคิดเห็น หรือถามคาถามเพิ่มเติมได้ที่ www.facebook.com/ekkachai.srivilaswww.elifesara.com

Contenu connexe

En vedette

การทุจริตอรัปชั่นของไทย
การทุจริตอรัปชั่นของไทยการทุจริตอรัปชั่นของไทย
การทุจริตอรัปชั่นของไทยTaraya Srivilas
 
การประกอบการ
การประกอบการการประกอบการ
การประกอบการPa'rig Prig
 
ธรรมาภิบาลกับปัญหาคอรัปชั่นในประเทศไทย
ธรรมาภิบาลกับปัญหาคอรัปชั่นในประเทศไทยธรรมาภิบาลกับปัญหาคอรัปชั่นในประเทศไทย
ธรรมาภิบาลกับปัญหาคอรัปชั่นในประเทศไทยPadvee Academy
 
บทบาทของผู้ประกอบการเกี่ยวกับการเปลี่ยนแปลงสภาพภูมิอากาศของโลก
บทบาทของผู้ประกอบการเกี่ยวกับการเปลี่ยนแปลงสภาพภูมิอากาศของโลกบทบาทของผู้ประกอบการเกี่ยวกับการเปลี่ยนแปลงสภาพภูมิอากาศของโลก
บทบาทของผู้ประกอบการเกี่ยวกับการเปลี่ยนแปลงสภาพภูมิอากาศของโลกChacrit Sitdhiwej
 
Econ presentation 1
Econ presentation 1Econ presentation 1
Econ presentation 1wowwilawanph
 
การค้าระหว่างประเทศ
การค้าระหว่างประเทศการค้าระหว่างประเทศ
การค้าระหว่างประเทศAmarin Unchanum
 
เศรษฐศาสตร์ระหว่างประเทศ
 เศรษฐศาสตร์ระหว่างประเทศ เศรษฐศาสตร์ระหว่างประเทศ
เศรษฐศาสตร์ระหว่างประเทศtumetr1
 
Ch 05 สภาพแวดล้อมทางการตลาด
Ch 05 สภาพแวดล้อมทางการตลาดCh 05 สภาพแวดล้อมทางการตลาด
Ch 05 สภาพแวดล้อมทางการตลาดSarayuth Intanai
 

En vedette (10)

การทุจริตอรัปชั่นของไทย
การทุจริตอรัปชั่นของไทยการทุจริตอรัปชั่นของไทย
การทุจริตอรัปชั่นของไทย
 
การประกอบการ
การประกอบการการประกอบการ
การประกอบการ
 
ธรรมาภิบาลกับปัญหาคอรัปชั่นในประเทศไทย
ธรรมาภิบาลกับปัญหาคอรัปชั่นในประเทศไทยธรรมาภิบาลกับปัญหาคอรัปชั่นในประเทศไทย
ธรรมาภิบาลกับปัญหาคอรัปชั่นในประเทศไทย
 
บทบาทของผู้ประกอบการเกี่ยวกับการเปลี่ยนแปลงสภาพภูมิอากาศของโลก
บทบาทของผู้ประกอบการเกี่ยวกับการเปลี่ยนแปลงสภาพภูมิอากาศของโลกบทบาทของผู้ประกอบการเกี่ยวกับการเปลี่ยนแปลงสภาพภูมิอากาศของโลก
บทบาทของผู้ประกอบการเกี่ยวกับการเปลี่ยนแปลงสภาพภูมิอากาศของโลก
 
Econ presentation 1
Econ presentation 1Econ presentation 1
Econ presentation 1
 
Ba.453 ch5
Ba.453 ch5Ba.453 ch5
Ba.453 ch5
 
การค้าระหว่างประเทศ
การค้าระหว่างประเทศการค้าระหว่างประเทศ
การค้าระหว่างประเทศ
 
เศรษฐศาสตร์ระหว่างประเทศ
 เศรษฐศาสตร์ระหว่างประเทศ เศรษฐศาสตร์ระหว่างประเทศ
เศรษฐศาสตร์ระหว่างประเทศ
 
Bridgestone
Bridgestone Bridgestone
Bridgestone
 
Ch 05 สภาพแวดล้อมทางการตลาด
Ch 05 สภาพแวดล้อมทางการตลาดCh 05 สภาพแวดล้อมทางการตลาด
Ch 05 สภาพแวดล้อมทางการตลาด
 

Similaire à การบริหารงานโดยยึดหลักธรรมาภิบาล และความโปร่งใส

Business ethics 2013 part2
Business ethics 2013 part2 Business ethics 2013 part2
Business ethics 2013 part2 Wai Chamornmarn
 
สาระสำคัญ พรบ.2551
สาระสำคัญ พรบ.2551สาระสำคัญ พรบ.2551
สาระสำคัญ พรบ.2551pthaiwong
 
งานนำเสนอ1
งานนำเสนอ1งานนำเสนอ1
งานนำเสนอ1Pornpichit55
 
ธรรมาภิบาล สถาบันพัฒนาครู คณาจารย์ และบุคลากรทางการศึกษา
ธรรมาภิบาล สถาบันพัฒนาครู คณาจารย์ และบุคลากรทางการศึกษาธรรมาภิบาล สถาบันพัฒนาครู คณาจารย์ และบุคลากรทางการศึกษา
ธรรมาภิบาล สถาบันพัฒนาครู คณาจารย์ และบุคลากรทางการศึกษาTaraya Srivilas
 
สันติวิธีในการจัดการความขัดแย้ง สจว แจก
สันติวิธีในการจัดการความขัดแย้ง สจว  แจกสันติวิธีในการจัดการความขัดแย้ง สจว  แจก
สันติวิธีในการจัดการความขัดแย้ง สจว แจกTaraya Srivilas
 
การพัฒนาทรัพยากรมนุษย์ 8กค53-กรมการเงินทหารบก
การพัฒนาทรัพยากรมนุษย์ 8กค53-กรมการเงินทหารบกการพัฒนาทรัพยากรมนุษย์ 8กค53-กรมการเงินทหารบก
การพัฒนาทรัพยากรมนุษย์ 8กค53-กรมการเงินทหารบกLink Standalone
 
การเรียนรู้ตามรอยพระยุคลบาท การพัฒนาคุณธรรมและจริยธรรมในการทำงาน
การเรียนรู้ตามรอยพระยุคลบาท การพัฒนาคุณธรรมและจริยธรรมในการทำงานการเรียนรู้ตามรอยพระยุคลบาท การพัฒนาคุณธรรมและจริยธรรมในการทำงาน
การเรียนรู้ตามรอยพระยุคลบาท การพัฒนาคุณธรรมและจริยธรรมในการทำงานTaraya Srivilas
 
11 ethics and lifestyle
11 ethics and lifestyle11 ethics and lifestyle
11 ethics and lifestyleetcenterrbru
 

Similaire à การบริหารงานโดยยึดหลักธรรมาภิบาล และความโปร่งใส (9)

Business ethics 2013 part2
Business ethics 2013 part2 Business ethics 2013 part2
Business ethics 2013 part2
 
สาระสำคัญ พรบ.2551
สาระสำคัญ พรบ.2551สาระสำคัญ พรบ.2551
สาระสำคัญ พรบ.2551
 
งานนำเสนอ1
งานนำเสนอ1งานนำเสนอ1
งานนำเสนอ1
 
ธรรมาภิบาล สถาบันพัฒนาครู คณาจารย์ และบุคลากรทางการศึกษา
ธรรมาภิบาล สถาบันพัฒนาครู คณาจารย์ และบุคลากรทางการศึกษาธรรมาภิบาล สถาบันพัฒนาครู คณาจารย์ และบุคลากรทางการศึกษา
ธรรมาภิบาล สถาบันพัฒนาครู คณาจารย์ และบุคลากรทางการศึกษา
 
สันติวิธีในการจัดการความขัดแย้ง สจว แจก
สันติวิธีในการจัดการความขัดแย้ง สจว  แจกสันติวิธีในการจัดการความขัดแย้ง สจว  แจก
สันติวิธีในการจัดการความขัดแย้ง สจว แจก
 
การพัฒนาทรัพยากรมนุษย์ 8กค53-กรมการเงินทหารบก
การพัฒนาทรัพยากรมนุษย์ 8กค53-กรมการเงินทหารบกการพัฒนาทรัพยากรมนุษย์ 8กค53-กรมการเงินทหารบก
การพัฒนาทรัพยากรมนุษย์ 8กค53-กรมการเงินทหารบก
 
Ba.453 ch8
Ba.453 ch8 Ba.453 ch8
Ba.453 ch8
 
การเรียนรู้ตามรอยพระยุคลบาท การพัฒนาคุณธรรมและจริยธรรมในการทำงาน
การเรียนรู้ตามรอยพระยุคลบาท การพัฒนาคุณธรรมและจริยธรรมในการทำงานการเรียนรู้ตามรอยพระยุคลบาท การพัฒนาคุณธรรมและจริยธรรมในการทำงาน
การเรียนรู้ตามรอยพระยุคลบาท การพัฒนาคุณธรรมและจริยธรรมในการทำงาน
 
11 ethics and lifestyle
11 ethics and lifestyle11 ethics and lifestyle
11 ethics and lifestyle
 

Plus de Taraya Srivilas

การบริหารความขัดแย้ง บยส แจก
การบริหารความขัดแย้ง บยส แจกการบริหารความขัดแย้ง บยส แจก
การบริหารความขัดแย้ง บยส แจกTaraya Srivilas
 
นโยบายการจัดการความขัดแย้งด้วยสันติวิธี วทอ แจก
นโยบายการจัดการความขัดแย้งด้วยสันติวิธี วทอ แจกนโยบายการจัดการความขัดแย้งด้วยสันติวิธี วทอ แจก
นโยบายการจัดการความขัดแย้งด้วยสันติวิธี วทอ แจกTaraya Srivilas
 
โปสเตอร์สัญญาประชาคม
โปสเตอร์สัญญาประชาคมโปสเตอร์สัญญาประชาคม
โปสเตอร์สัญญาประชาคมTaraya Srivilas
 
จริยธรรมทางการแพทย์ 75 ปธพ.6
จริยธรรมทางการแพทย์ 75 ปธพ.6จริยธรรมทางการแพทย์ 75 ปธพ.6
จริยธรรมทางการแพทย์ 75 ปธพ.6Taraya Srivilas
 
แนวทางในการเรียนรู้ร่วมกันเพื่อลดความขัดแย้งในการจัดการป่าม้ระดับชุมชน
แนวทางในการเรียนรู้ร่วมกันเพื่อลดความขัดแย้งในการจัดการป่าม้ระดับชุมชนแนวทางในการเรียนรู้ร่วมกันเพื่อลดความขัดแย้งในการจัดการป่าม้ระดับชุมชน
แนวทางในการเรียนรู้ร่วมกันเพื่อลดความขัดแย้งในการจัดการป่าม้ระดับชุมชนTaraya Srivilas
 
ค้นหาตัวเอง อุซะ usa 69
ค้นหาตัวเอง อุซะ usa 69ค้นหาตัวเอง อุซะ usa 69
ค้นหาตัวเอง อุซะ usa 69Taraya Srivilas
 
สันติวิธีในการจัดการความขัดแย้ง วิทยาลัยตำรวจ
สันติวิธีในการจัดการความขัดแย้ง วิทยาลัยตำรวจสันติวิธีในการจัดการความขัดแย้ง วิทยาลัยตำรวจ
สันติวิธีในการจัดการความขัดแย้ง วิทยาลัยตำรวจTaraya Srivilas
 
สถานการณ์ความขัดแย้งจากสังคมโลกสู่รากหญ้า สสสส8 web
สถานการณ์ความขัดแย้งจากสังคมโลกสู่รากหญ้า สสสส8 webสถานการณ์ความขัดแย้งจากสังคมโลกสู่รากหญ้า สสสส8 web
สถานการณ์ความขัดแย้งจากสังคมโลกสู่รากหญ้า สสสส8 webTaraya Srivilas
 
สถานการณ์ความขัดแย้งจากสังคมโลกสู่รากหญ้า สสสส8 web
สถานการณ์ความขัดแย้งจากสังคมโลกสู่รากหญ้า สสสส8 webสถานการณ์ความขัดแย้งจากสังคมโลกสู่รากหญ้า สสสส8 web
สถานการณ์ความขัดแย้งจากสังคมโลกสู่รากหญ้า สสสส8 webTaraya Srivilas
 
สถานการณ์ความขัดแย้งจากสังคมโลกสู่รากหญ้า สสสส8
สถานการณ์ความขัดแย้งจากสังคมโลกสู่รากหญ้า สสสส8 สถานการณ์ความขัดแย้งจากสังคมโลกสู่รากหญ้า สสสส8
สถานการณ์ความขัดแย้งจากสังคมโลกสู่รากหญ้า สสสส8 Taraya Srivilas
 
การสร้างความสามัคคีปรองดอง ปยป. และ ความสมานฉันท์ในสังคมไทย
การสร้างความสามัคคีปรองดอง ปยป. และ ความสมานฉันท์ในสังคมไทยการสร้างความสามัคคีปรองดอง ปยป. และ ความสมานฉันท์ในสังคมไทย
การสร้างความสามัคคีปรองดอง ปยป. และ ความสมานฉันท์ในสังคมไทยTaraya Srivilas
 
สถิติเกี่ยวกับผู้หญิง
สถิติเกี่ยวกับผู้หญิงสถิติเกี่ยวกับผู้หญิง
สถิติเกี่ยวกับผู้หญิงTaraya Srivilas
 
บทบาทสตรีสันติภาพชายแดนใต้
บทบาทสตรีสันติภาพชายแดนใต้บทบาทสตรีสันติภาพชายแดนใต้
บทบาทสตรีสันติภาพชายแดนใต้Taraya Srivilas
 
บทบาทสตรีในอนาคต
บทบาทสตรีในอนาคตบทบาทสตรีในอนาคต
บทบาทสตรีในอนาคตTaraya Srivilas
 
บทบาทสตรีกับการสร้างสรรค์สังคมสันติสุข
บทบาทสตรีกับการสร้างสรรค์สังคมสันติสุขบทบาทสตรีกับการสร้างสรรค์สังคมสันติสุข
บทบาทสตรีกับการสร้างสรรค์สังคมสันติสุขTaraya Srivilas
 
การจัดการความขัดแย้งในพื้นที่
การจัดการความขัดแย้งในพื้นที่การจัดการความขัดแย้งในพื้นที่
การจัดการความขัดแย้งในพื้นที่Taraya Srivilas
 
การสร้างความปรองดองแห่งชาติ สถาบันพระปกเกล้า
การสร้างความปรองดองแห่งชาติ สถาบันพระปกเกล้าการสร้างความปรองดองแห่งชาติ สถาบันพระปกเกล้า
การสร้างความปรองดองแห่งชาติ สถาบันพระปกเกล้าTaraya Srivilas
 
เอกสารการสร้างความปรองดอง และสมานฉันท์ ผลงาน คสช
เอกสารการสร้างความปรองดอง และสมานฉันท์ ผลงาน คสชเอกสารการสร้างความปรองดอง และสมานฉันท์ ผลงาน คสช
เอกสารการสร้างความปรองดอง และสมานฉันท์ ผลงาน คสชTaraya Srivilas
 
การสร้างความปรองดองแห่งชาติ สถาบันพระปกเกล้า
การสร้างความปรองดองแห่งชาติ สถาบันพระปกเกล้าการสร้างความปรองดองแห่งชาติ สถาบันพระปกเกล้า
การสร้างความปรองดองแห่งชาติ สถาบันพระปกเกล้าTaraya Srivilas
 

Plus de Taraya Srivilas (20)

การบริหารความขัดแย้ง บยส แจก
การบริหารความขัดแย้ง บยส แจกการบริหารความขัดแย้ง บยส แจก
การบริหารความขัดแย้ง บยส แจก
 
นโยบายการจัดการความขัดแย้งด้วยสันติวิธี วทอ แจก
นโยบายการจัดการความขัดแย้งด้วยสันติวิธี วทอ แจกนโยบายการจัดการความขัดแย้งด้วยสันติวิธี วทอ แจก
นโยบายการจัดการความขัดแย้งด้วยสันติวิธี วทอ แจก
 
โปสเตอร์สัญญาประชาคม
โปสเตอร์สัญญาประชาคมโปสเตอร์สัญญาประชาคม
โปสเตอร์สัญญาประชาคม
 
จริยธรรมทางการแพทย์ 75 ปธพ.6
จริยธรรมทางการแพทย์ 75 ปธพ.6จริยธรรมทางการแพทย์ 75 ปธพ.6
จริยธรรมทางการแพทย์ 75 ปธพ.6
 
แนวทางในการเรียนรู้ร่วมกันเพื่อลดความขัดแย้งในการจัดการป่าม้ระดับชุมชน
แนวทางในการเรียนรู้ร่วมกันเพื่อลดความขัดแย้งในการจัดการป่าม้ระดับชุมชนแนวทางในการเรียนรู้ร่วมกันเพื่อลดความขัดแย้งในการจัดการป่าม้ระดับชุมชน
แนวทางในการเรียนรู้ร่วมกันเพื่อลดความขัดแย้งในการจัดการป่าม้ระดับชุมชน
 
ค้นหาตัวเอง อุซะ usa 69
ค้นหาตัวเอง อุซะ usa 69ค้นหาตัวเอง อุซะ usa 69
ค้นหาตัวเอง อุซะ usa 69
 
สันติวิธีในการจัดการความขัดแย้ง วิทยาลัยตำรวจ
สันติวิธีในการจัดการความขัดแย้ง วิทยาลัยตำรวจสันติวิธีในการจัดการความขัดแย้ง วิทยาลัยตำรวจ
สันติวิธีในการจัดการความขัดแย้ง วิทยาลัยตำรวจ
 
สถานการณ์ความขัดแย้งจากสังคมโลกสู่รากหญ้า สสสส8 web
สถานการณ์ความขัดแย้งจากสังคมโลกสู่รากหญ้า สสสส8 webสถานการณ์ความขัดแย้งจากสังคมโลกสู่รากหญ้า สสสส8 web
สถานการณ์ความขัดแย้งจากสังคมโลกสู่รากหญ้า สสสส8 web
 
สถานการณ์ความขัดแย้งจากสังคมโลกสู่รากหญ้า สสสส8 web
สถานการณ์ความขัดแย้งจากสังคมโลกสู่รากหญ้า สสสส8 webสถานการณ์ความขัดแย้งจากสังคมโลกสู่รากหญ้า สสสส8 web
สถานการณ์ความขัดแย้งจากสังคมโลกสู่รากหญ้า สสสส8 web
 
สถานการณ์ความขัดแย้งจากสังคมโลกสู่รากหญ้า สสสส8
สถานการณ์ความขัดแย้งจากสังคมโลกสู่รากหญ้า สสสส8 สถานการณ์ความขัดแย้งจากสังคมโลกสู่รากหญ้า สสสส8
สถานการณ์ความขัดแย้งจากสังคมโลกสู่รากหญ้า สสสส8
 
American first muslim
American first muslimAmerican first muslim
American first muslim
 
การสร้างความสามัคคีปรองดอง ปยป. และ ความสมานฉันท์ในสังคมไทย
การสร้างความสามัคคีปรองดอง ปยป. และ ความสมานฉันท์ในสังคมไทยการสร้างความสามัคคีปรองดอง ปยป. และ ความสมานฉันท์ในสังคมไทย
การสร้างความสามัคคีปรองดอง ปยป. และ ความสมานฉันท์ในสังคมไทย
 
สถิติเกี่ยวกับผู้หญิง
สถิติเกี่ยวกับผู้หญิงสถิติเกี่ยวกับผู้หญิง
สถิติเกี่ยวกับผู้หญิง
 
บทบาทสตรีสันติภาพชายแดนใต้
บทบาทสตรีสันติภาพชายแดนใต้บทบาทสตรีสันติภาพชายแดนใต้
บทบาทสตรีสันติภาพชายแดนใต้
 
บทบาทสตรีในอนาคต
บทบาทสตรีในอนาคตบทบาทสตรีในอนาคต
บทบาทสตรีในอนาคต
 
บทบาทสตรีกับการสร้างสรรค์สังคมสันติสุข
บทบาทสตรีกับการสร้างสรรค์สังคมสันติสุขบทบาทสตรีกับการสร้างสรรค์สังคมสันติสุข
บทบาทสตรีกับการสร้างสรรค์สังคมสันติสุข
 
การจัดการความขัดแย้งในพื้นที่
การจัดการความขัดแย้งในพื้นที่การจัดการความขัดแย้งในพื้นที่
การจัดการความขัดแย้งในพื้นที่
 
การสร้างความปรองดองแห่งชาติ สถาบันพระปกเกล้า
การสร้างความปรองดองแห่งชาติ สถาบันพระปกเกล้าการสร้างความปรองดองแห่งชาติ สถาบันพระปกเกล้า
การสร้างความปรองดองแห่งชาติ สถาบันพระปกเกล้า
 
เอกสารการสร้างความปรองดอง และสมานฉันท์ ผลงาน คสช
เอกสารการสร้างความปรองดอง และสมานฉันท์ ผลงาน คสชเอกสารการสร้างความปรองดอง และสมานฉันท์ ผลงาน คสช
เอกสารการสร้างความปรองดอง และสมานฉันท์ ผลงาน คสช
 
การสร้างความปรองดองแห่งชาติ สถาบันพระปกเกล้า
การสร้างความปรองดองแห่งชาติ สถาบันพระปกเกล้าการสร้างความปรองดองแห่งชาติ สถาบันพระปกเกล้า
การสร้างความปรองดองแห่งชาติ สถาบันพระปกเกล้า
 

การบริหารงานโดยยึดหลักธรรมาภิบาล และความโปร่งใส

  • 1. โดย พลเอก เอกชัย ศรีวิลาศ ผู้อานวยการสานักสันติวิธีและธรรมาภิบาล สถาบันพระปกเกล้า www.elifesara.com ekkachais@hotmail.com การบริหารงานโดยยึดหลักธรรมาภิบาล และความโปร่งใส
  • 2.
  • 3. 3 การปลูกฝังคุณธรรมในสังคมอังกฤษ •การปลูกฝังคติธรรม ๗ ประการตั้งแต่วัยเยาว์ ๑. สัจจะ พูดความจริง (Truth) ๒. ความซื่อสัตย์สุจริต (Honesty) ๓. ความระลึกในหน้าที่ (Sense of duty) ๔. ความอดกลั้น (Patience) ๕. ความเป็นธรรม(Fair play) ๖. ความเอาใจเขามาใส่ใจเรา (Consideration for others) ๗. เมตตาธรรม(Kindness)
  • 4.
  • 5.
  • 6.
  • 7.
  • 8. •ตามระบบกฎหมายโดยทั่วไป มี บุคคล 3 กลุ่มที่มีบทบาทมสาคัญ ในด้านและการสอดส่องดูแลกิจการ ได้แก่กรรมการ เจ้าหน้าที่บริหาร ของบริษัท เรียกรวมว่าฝ่ายจัดการ และกลุ่มของผู้ถือหุ้นของบริษัททั้ง 3 กลุ่ม ต่างมีบทบาทแตกต่างกัน ภายในกิจการ ความสัมพันธ์ของผู้ถือหุ้น คณะกรรมการ และฝ่ายบริหาร ผู้ถือหุ้น กรรมการ ฝ่ายจัดการ
  • 9. •ภาวะผู้นา ควบคุม และกาหนดนโยบาย •ปฏิบัติงานด้วยความสุจริตและระมัดระวัง •มอบหมายให้ฝ่ายจัดการเป็นตัวแทน บทบาทของคณะกรรมการ
  • 10. •ปฏิบัติงานตามนโยบายของคณะกรรมการ •ให้ความมั่นใจว่าการปฏิบัติงานสอดคล้องและเหมาะสมตาม หลักการบริหารที่ดี •ปฏิบัติงานด้วยความสุจริตและระมัดระวัง บทบาทของเจ้าหน้าที่บริหารหรือฝ่ายจัดการของบริษัท
  • 12. •นอกจาก 3 กลุ่มแล้วยังมี กลุ่มผู้มีส่วนได้เสียอื่นๆด้วย ได้แก่ ลูกค้า คู่ค้า นายธนาคาร ลูกจ้าง และประชาคม •นอกจากนั้นก็ยังมีกลุ่มผู้คอยกากับและควบคุมการแสดง ได้แก่ ภาครัฐ และผู้สอบ บัญชีอิสระ รวมไปถึงสังคมโดยรวม •จึงมีความสาคัญที่ต้องรู้ถึงสิทธิและหน้าที่ของผู้ที่เกี่ยวข้องทั้งหลายในบริษัท ซึ่งได้แก่ ผู้ถือหุ้น คณะกรรมการ ฝ่ายจัดการ ผู้มีส่วนได้เสียอื่น และผู้กากับตรวจสอบ •คณะกรรมการจึงมีบทบาทสาคัญในการตรวจตรา (Monitor) ให้ฝ่ายจัดการ บริหารจัดการให้ตอบสนองต่อกลุ่มผู้มีส่วนได้ส่วนเสียอย่างถูกต้องเหมาะสม ความสัมพันธ์ระหว่างบุคคลทั้ง 3 กลุ่ม
  • 13. คณะกรรมการ (Board of Directors) ฝ่ายจัดการผู้ถือหุ้น ประชาคม/สังคม ลูกค้า คู่ค้า/เจ้าหนี้ พนักงาน
  • 14. •ระบบที่จัดให้มีโครงสร้าง และกระบวนการ ของความสัมพันธ์ระหว่าง คณะกรรมการ ฝ่ายจัดการ และผู้ถือหุ้น •เพื่อสร้างความสามารถในการแข่งขัน นาไปสู่ความเจริญเติบโตและเพิ่ม มูลค่าให้กับผู้ถือหุ้นในระยะยาว •โดยคานึงถึงผู้มีส่วนได้ส่วนเสียอื่น คานิยาม “บรรษัทภิบาล” หรือ “การกากับดูแลกิจการ •ตลาดหลักทรัพย์แห่งประเทศไทย “หลักการกากับดูแลกิจการที่ดีสาหรับบริษัทจดทะเบียนปี 2549” หน้า 2
  • 15. •รูปแบบของบรรษัทภิบาลในแต่ละประเทศจะแตกต่างกันในแต่ละประเทศ •โครงสร้างทางการเงินของภาคธุรกิจ •โครงสร้างผู้ถือหุ้น •วัฒนธรรมทางธุรกิจ (corporate culture) และ •กฎหมายบริษัท (corporate law) ในแต่ละประเทศ ปัจจัยในการกาหนดรูปแบบบรรษัทภิบาล
  • 16. •กฎหมายในสหรัฐอเมริกาให้ความคุ้มครองผู้ถือหุ้นสูง ทาให้ตลาดทุนมีความก้าวหน้า เป็นพิเศษ โครงสร้างทางการเงินจะเน้นการระดมทุนมากกว่าการก่อหนี้ •ความคุ้มครองผู้ถือหุ้นรายย่อยสูง ทาให้โครงสร้างผู้ถือหุ้นกระจายตัวมาก •ส่งผลให้ไม่มีเจ้าหนี้หรือผู้ถือหุ้นรายใหญ่ เข้ามามีบทบาทในการร่วมบริหารธุรกิจ อานาจการบริหารจะเบ็ดเสร็จอยู่กับผู้บริหาร ทาให้เกิดปัญหาในการแสวงหา ผลประโยชน์ต่อตนเองได้ง่าย (Self-dealing) กรณีสหรัฐอเมริกา และ อังกฤษ
  • 17. •ปัญหาหลักของบรรษัทภิบาลในญี่ปุ่น คือ การคุ้มครองผู้ถือหุ้นรายย่อย •กฎเกณฑ์คุ้มครองเจ้าหนี้มากกว่าผู้ถือหุ้น •โครงสร้างเงินทุนจะนิยมการระดมทุนด้วยการก่อหนี้มากกว่าการออกหุ้นสามัญ •เจ้าหนี้ (ธนาคารพาณิชย์) มีบทบาทสาคัญในการบริหารธุรกิจของบริษัททั่วไป (บริษัทลูกหนี้) •ส่งผลให้การบริหารงานของลูกหนี้มีการตรวจสอบและโปร่งใสมากขึ้น กรณีญี่ปุ่น หรือ เยอรมัน
  • 18. •ญี่ปุ่นมีวัฒนธรรมจ้างงานแบบถาวร การปลดพนักงานจึงไม่เป็นที่ แพร่หลาย •สหรัฐอเมริกา การปรับลดอัตรากาลัง หรือโยกย้ายแหล่งที่ทางาน เป็นเรื่องธรรมดา •ดังนั้น พนักงานบริษัทในญี่ปุ่นจะมีบทบาทในการกาหนดรูปแบบของ บรรษัทภิบาลภาคเอกชน มากกว่า พนักงานบริษัทในสหรัฐอเมริกา วัฒนธรรมทางธุรกิจ
  • 19. •กฎหมายว่าด้วย insider trading ในสหรัฐเข้มงวดมาก ทาให้ผู้บริหารหรือ กรรมการต้องระมัดระวังในการเปิดเผยข้อมูล ส่งผลให้ผู้ถือหุ้นไม่สามารถตรวจสอบ ความเหมาะสมของการบริหารงานและการตัดสินใจของผู้บริหารได้เท่าที่ควร •กฎหมายของสหรัฐในการจากัดอานาจและบทบาทของธนาคารพาณิชย์และสถาบัน การเงินอื่น ๆ ในการเข้ามีส่วนร่วมในการบริหารธุรกิจของลูกหนี้หรือบริษัทที่มี หุ้นส่วนทาให้บรรษัทภิบาลของสหรัฐขาดระบบการคานอานาจของผู้บริหาร กฎหมายและกฎระเบียบทางธุรกิจ
  • 20. •รูปแบบของบรรษัทภิบาลที่แตกต่างกันมีผลต่อประสิทธิภาพในการประกอบกิจการ •ธุรกิจที่มีโครงสร้างผู้ถือหุ้นกระจัดกระจาย จะขาดความยั่งยืน ขาดผู้เป็นเจ้าของที่ชัดเจน อานาจในการบริหารเป็นของฝ่ายจัดการอย่างสมบูรณ์ ผู้บริหารมักจะไม่มีความยินดียิน ร้ายกับการเปลี่ยนแปลงความเป็นเจ้าของ ตราบใดที่ไม่กระทบต่ออานาจบริหารที่เป็นอยู่ ของตน •ธุรกิจที่เน้นการจ้างงานระยะยาว เช่น ในญี่ปุ่น จะมีขีดความสามารถในการพัฒนา บุคลากรได้ดีกว่า แต่มีจุดอ่อน เรื่องการปรับตัวในภาวะเศรษฐกิจตกต่า รูปแบบของบรรษัทภิบาลกับประสิทธิภาพ
  • 22. •ตระหนักในหน้าที่ •กาหนดภารกิจของแต่ละฝ่ายอย่างชัดเจน •ปฏิบัติกับผู้มีส่วนได้ส่วนเสียทุกกลุ่มอย่างยุติธรรม •ดาเนินงานอย่างโปร่งใส สามารถตรวจสอบได้ •มองการณ์ไกล คานึงถึงผลประโยชน์ระยะยาว •ส่งเสริมให้การปฏิบัติงานทุกด้านสู่ความเป็นเลิศ หลักการของบรรษัทภิบาลที่ดี
  • 23. •วิกฤติการณ์ทางเศรษฐกิจ พ.ศ.2540 บทเรียนสาหรับการร้องหาการกากับ ดูแลกิจการที่ดี •การดาเนินการปรับปรุงมาตรฐานบัญชี และการตรวจสอบบัญชีให้มีความ น่าเชื่อถือมากขึ้น เพื่อให้ข้อมูลทางบัญชีสามารถสะท้อนความเป็นจริง ทางด้านการเงินของบริษัท •พัฒนาระบบการควบคุมภายใน (internal control) ที่มีประสิทธิภาพ และ มีการตรวจสอบการบริหาร (monitoring) จากภายนอกมากขึ้น แนวทางการสร้างบรรษัทภิบาลที่ดีในไทย
  • 24. •สิทธิของผู้ถือหุ้น •การปฏิบัติต่อผู้ถือหุ้นอย่างเท่าเทียมกัน •บทบาทของผู้มีส่วนได้ส่วนเสีย •การเปิดเผยข้อมูลและความโปร่งใส •ความรับผิดชอบของคณะกรรมการ หลักการกากับดูแลกิจการที่ดีสาหรับบริษัทจดทะเบียนปี 2549
  • 26. “ คอรัปชั่น ” (Corruption) การใช้อานาจที่ได้มาโดยหน้าที่ในการหาประโยชน์ส่วนตัว โดยองค์กรความโปร่งใส สากลได้ระบุถึงกรณีต่างๆที่จะสามารถเกิดขึ้นในการคอรัปชั่นของภาครัฐได้ ดังนี้
  • 27. การคอรัปชั่นของภาครัฐ การคอรัปชั่นขนาดใหญ่ (Grand corruption)เป็นการกระทาของเจ้าหน้าที่ รัฐระดับสูงเพื่อบิดเบือนนโยบายหรือใช้อานาจรัฐในทางมิชอบ เพื่อให้ผู้นาหรือ ผู้บริหารประเทศได้รับผลประโยชน์จากการใช้ทรัพยากรของชาติ การคอรัปชั่นขนาดเล็ก (Petty corruption) เป็นการกระทาของ เจ้าหน้าที่รัฐระดับกลางและระดับล่างต่อประชาชนทั่วไป โดยการใช้อานาจที่ได้รับ มอบไปในทางมิชอบ องค์กรความโปร่งใสสากล(Transparency International –TI)
  • 28. การคอรัปชั่นของภาครัฐ การติดสินบน (Bribery)เป็นการเสนอ การให้หรือสัญญาว่าจะให้ผลประโยชน์ ทั้งรูปของเงิน สิ่งของ และสิ่งตอบแทนต่างๆ เพื่อเป็นแรงจูงใจให้เกิดการทาผิด กฎหมายหรือศีลธรรมอันดี การยักยอก (Embezzlement)คือการที่คนในองค์กรนาเงินหรือสิ่งของที่ได้รับ มอบให้ใช้ในราชการ มาใช้เพื่อประโยชน์ส่วนตัวหรือเพื่อกิจกรรมอื่นที่ไม่เกี่ยวข้อง รัฐ องค์กรความโปร่งใสสากล(Transparency International –TI)
  • 29. การคอรัปชั่นของภาครัฐ การอุปถัมภ์(Patronage) เป็นรูปแบบของการเล่นพรรคเล่นพวก ด้วยการคัดเลือกคนจาก ความสัมพันธ์ทางการเมืองหรือรู้จักกัน เข้ามาทางานหรือรับผลประโยชน์ โดยดูคุณสมบัติและ ความเหมาะสม การเลือกที่รักมักที่ชัง (Nepotism)เป็นรูปแบบหนึ่งของการเล่นพรรคเล่นพวก โดย เจ้าหน้าที่ของรัฐจะใช้อานาจที่มี ในการให้ผลประโยชน์หรือให้หน้าที่การงานแก่เพื่อน ครอบครัวหรือบุคคลใกล้ชิด โดยไม่คานึงถึงคุณสมบัติและความเหมาะสม องค์กรความโปร่งใสสากล(Transparency International –TI)
  • 30. การคอรัปชั่นของภาครัฐ •ผลประโยชน์ทับซ้อน (Conflict of interest)คือการขัดกันระหว่าง ผลประโยชน์ส่วนตัว กับผลประโยชน์ส่วนรวม องค์กรความโปร่งใสสากล(Transparency International –TI)
  • 31. •การที่ฝ่ายบริหารกาหนดนโยบายโดยขาดการวางแผนไม่คานึงถึงประโยชน์ ของประชาชน •เจ้าหน้าที่ของรัฐขาดความรับผิดชอบ ไม่มีการปฏิบัติตามหลักนิติธรรม •ใช้อานาจในทางที่มิชอบ •ประชาชนไม่มีส่วนร่วมในกิจการสาธารณะ •มีการฉ้อราษฎร์บังหลวงอยู่ทั่วไป การบริหารงานที่ขาดหลักธรรมาภิบาล (Bad Governance)
  • 32. การบริหารงานที่ขาดหลักธรรมาภิบาล (Bad Governance) 1.ประชาชนได้รับบริการสาธารณะจากราชการหรือรัฐวิสาหกิจที่ไม่มีคุณภาพ 2.ประเทศขาดศักยภาพในการกาหนด หรือดาเนินนโยบาย หรือการตัดสินใจด้านนโยบาย ผิดพลาดและสับสนไม่ได้อยู่บนพื้นฐานทางวิชาการและเหตุผล 3.การบริหารการคลังของประเทศล้มเหลว ซึ่งรวมถึงปัญหาการเงินการคลังของประเทศ และกาหนดงบประมาณที่ไม่สอดคล้องกับสภาพความเป็นจริง 4.การกาหนดกฎระเบียบที่ไม่สามารถปฏิบัติได้อย่างจริงจัง 5.ความไม่โปร่งใสของกระบวนการตัดสินใจ มีการทุจริตและแสวงหาผลประโยชน์จาก ทรัพย์สินสาธารณะและพบการทุจริตคอรัปชั่นของนักการเมืองและข้าราชการ จากรายงานขององค์การพัฒนาแห่งสหประชาชาติ(United Nation Development Programmed : UNDP)
  • 33. Good Governance 1) การมีส่วนร่วมของสาธารณชน(Public participation) เป็นกลไกที่ประชาชนมีส่วนร่วมในการ ตัดสินใจอย่างเท่าเทียมกัน (Equity) การให้เสรีภาพแก่สื่อมวลชนและให้เสรีภาพแก่สาธารณชนในการ แสดงความคิดเห็นอย่างสร้างสรรค์ 2) ความสุจริตและโปร่งใส (Honesty and transparency) เป็นกลไกที่มีระบบกติกา และการ ดาเนินการที่เปิดเผย โดยประชาชนสามารถเข้าถึงและได้รับข้อมูลข่าวสารอย่างเสรีเป็นธรรม ถูกต้องและ มีประสิทธิภาพ ตรวจสอบการบริหารและติดตามผลได้ 3) พันธะความรับผิดชอบต่อสังคม (Responsiveness and accountability) เป็นกลไกที่มีความ รับผิดชอบมีหน้าที่ต่อสาธารณชน มีการดาเนินงานเพื่อตอบสนองความต้องการของกลุ่มต่างๆ ในสังคม อย่างเป็นธรรม รวมถึงการมีความรับผิดชอบที่มีต่อประชาชนสังคมโดยรวม
  • 34. Good Governance 4) กลไกทางการเมืองที่ชอบธรรม (Political legitimacy) เป็นกลไกที่มีองค์ประกอบของผู้ที่เป็น รัฐบาลหรือผู้ที่เข้าร่วมบริหารประเทศที่มีความชอบธรรมเป็นที่ยอมรับของคนในสังคมโดยรวมไม่ว่าจะโดย การแต่งตั้งหรือเลือกตั้ง 5) กฎเกณฑ์ที่ยุติธรรมและชัดเจน (Fair legal framework and predictability) คือมี กรอบของกฎหมายที่ยุติธรรมและเป็นธรรมสาหรับกลุ่มคนต่างๆ ในสังคม ซึ่งกฎเกณฑ์มีการบังคับใช้และ สามารถใช้บังคับได้ 6) ประสิทธิภาพและประสิทธิผล (Efficiency and effectiveness) คือเป็นกลไกที่มี ประสิทธิภาพในการดาเนินงานไม่ว่าจะเป็นด้านการจัดกระบวนการทางาน การจัดองค์กร การจัดสรร บุคคลากร และมีการควบคุมการใช้ทรัพยากรสาธารณะต่างๆ อย่างคุ้มค่าและเหมาะสม มีการดาเนินการและ ให้บริการสาธารณะที่ให้ผลลัพธ์อย่างคุ้มค่า
  • 37. Price Water-House Coopers การทุจริต ผู้ถูกสารวจบอกว่าแนวโน้มอนาคตจะมีมากขึ้น อายุ 36-55 70% เพศ ชาย 85 % ลักษณะการทุจริต ทาคนเดียว 68 % ตาแหน่งในองค์กร ผู้บริหารขึ้นไป 86 % อายุงานในองค์กร 2-5 ปี 36 % มากกว่า 10 ปี 22% หน้าที่การงาน 1.ฝ่ายการเงิน 2. ฝ่ายปฏิบัติการ 3. ฝ่ายขาย ที่มาสารวจอาชญากรรมเศรษฐกิจทั่วโลก(Global Economic Crime Survey)
  • 38. การทุจริต กับการบริหารผิดพลาด •การบริหารผิดพลาดมีความเสียหายมากกว่า อาจถึงขั้นเลิกกิจการ •คนที่มีโอกาสโกง คือคนที่มีอานาจ ใกล้ชิดช่องทางใช้เงิน ซื้อตาแหน่ง •ต้องสร้างสภาพแวดล้อมและการควบคุมที่ดี •มีการประเมินความเสี่ยง •มีกิจกรรมควบคุมชัดเจน •มีระบบข้อมูล รายงานการสื่อสารที่สามารถติดตามประเมินผล
  • 39. จากการสารวจคนไทย  จานวนไม่น้อยกาลังสร้างค่านิยมวัฒนธรรมที่ผิดๆ พยายามส่ง ทัศนคติที่ว่า “การทุจริตโกงกินไม่เป็นไร ขอให้กินแล้วแบ่งปันให้บ้างก็ ใช้ได้  ค่านิยมคนไทยนิยมคนรวย  การโกงกินมาจากการเอารัดเอาเปรียบ หลบเลี่ยงภาษีที่ต้องจ่ายรัฐ  ประเภททุจริตฉ้อโกงการใช้ทรัพย์สินในทางที่ผิด
  • 40. “คน” เป็นต้นตอปัญหาความไม่โปร่งใส การทุจริต •พฤติกรรมของคน รับอิทธิพลจากความรู้สึกนึกคิด ค่านิยมของตัวและสังคมการ ปฎิบัติหลายประการที่สืบสานกันมาตั้งแต่ครั้งโบราณ เช่น •ความเกรงใจ •ความรู้สึกเป็นหนี้บุญคุณบุญคุณต้องตอบแทน •เกรงกลัวผู้มีอานาจและอิทธิพล •ระบบอุปถัมภ์เป็นผู้ใหญ่ต้องเลี้ยงลูกน้อง •กลัวเสียหน้า •เอาหูไปนาเอาตาไปไร่ •สินน้าใจของฝากติดไม้ติดมือ www.elifesara.com KPI
  • 41. ระบบเป็นปัจจัยที่ก่อความไม่โปร่งใสและการทุจริตคอรัปชั่น •“ระบบ” ที่กาหนดขึ้นเพื่อให้เกิดระเบียบในสังคม และองค์กรโดยเฉพาะ “ระบบราชการและ หน่วยงานของรัฐ” เป็นจุดอ่อน เช่นกฏหมาย ระเบียบ ข้อบังคับ มีขั้นตอนมาก มีช่องว่างและความ ล้าสมัย •ผู้บริหารมีอานาจมากใช้ช่องว่างจากกฎระเบียบ •การบริหารจัดการไม่ได้ใช้ข้อมูลเพื่อการตัดสินใจขาดระบบข้อมูลที่ทันสมัยและขาดการเผยแพร่ ข้อมูลอย่างเปิดเผย •ระบบเงินเดือนที่ไม่เอื้อต่อการดารงชีวิต •ระบบการพัฒนาคุณภาพคนล้มเหลว •ระบบอุปถัมภ์เข้มแข็งกว่าระบบคุณธรรม การลงโทษผู้กระทาผิด ไม่ศักดิ์สิทธิ์ •ขาดกลไกการติดตาม การประเมินผล www.elifesara.com KPI
  • 42. การสัมมนา World Conference on Governance ณกรุงมะนิลา ประเทศฟิลิปปินส์ ปี 2542 •ให้ความหมายของคอรัปชั่นว่า หมายถึงการทุจริต การฉ้อราษฎรบังหลวง มีหลายลักษณะ เช่น •การเสนอโครงการหรือเลือกโครงการ ที่ไม่ให้ผลตอบแทนทางเศรษฐกิจมากนักแต่มีโอกาสได้เงินใต้ โต๊ะมาก •การจัดซื้อวัสดุอุปกรณ์ที่ต่ากว่ามาตรฐาน หรือราคาสูงกว่าความเป็นจริง •การจ่ายเงินให้เจ้าหน้าที่เพื่อยกเว้นกฎระเบียบ โดยเฉพาะส่วนที่เกี่ยวข้องกับการจัดเก็บภาษีอากร •การจ่ายเงินให้เจ้าหน้าที่เพื่อให้มีโอกาสบริการสาธารณะบางประการ •การยักยอกทรัพย์สินของรัฐไปเป็นของตนเอง •การซื้อขายตาแหน่ง หรือการกระทาที่มีผลกระทบต่อระบบคุณธรรมของราชการ www.elifesara.com KPI
  • 43. การแก้ไขปัญหาคอร์รัปชั่นต้องยึดหลักการบริหารจัดการที่ดี 1.การมีส่วนร่วมของทุกส่วนในสังคมเป็นหน้าที่ของทุกคนที่ต้องร่วมมือกันใน การรายงานข้อมูล การติดตามตรวจสอบและนาเผยแพร่ต่อสาธารณะ การ เอาผู้กระทาผิดไปลงโทษตามกระบวนการยุติธรรม 2. การทาให้การบริหารงานมีความโปร่งใส เปิดเผยขั้นตอนการทางานให้ผู้ติดต่อ ทราบ มีระยะเวลากากับงานในขั้นตอนต่าง ๆ มีกฎระเบียบน้อยที่สุดไม่ให้เกิด ความยุ่งยาก และให้มีการใช้ดุลยพินิจของเจ้าหน้าที่น้อยที่สุด ปิดโอกาสที่ เจ้าหน้าที่จะเรียกร้องผลประโยชน์ตอบแทนจากผู้ใช้บริการ www.elifesara.comWorld Conference on Governance
  • 44. การแก้ไขปัญหาคอร์รัปชั่นต้องยึดหลักการบริหารจัดการที่ดี 3. ผู้ปฏิบัติหน้าที่มีความรับผิดชอบที่ตรวจสอบได้ทั้งจากภายในและภายนอกองค์การ กาหนดให้ผู้ดารงตาแหน่งมีโอกาสจะใช้อานาจไปในทางมิชอบต้องแจ้งบัญชีทรัพย์สินทั้ง ก่อนและหลังดารงตาแหน่งต่อหน่วยงานที่รับผิดชอบ รวมทั้งเปิดให้มีการตรวจสอบจาก สาธารณะ และการมีองค์กรอิสระที่มีอานาจเพียงพอในการติดตามตรวจสอบผู้กระทาการ คอรัปชั่นเพื่อนามาลงโทษตามกระบวนการยุติธรรม 4. ยึดหลักนิติธรรมการบริหารงานที่ยึดหลักกฎหมายที่มีความชอบธรรมและมีความเป็น สากล 5. การปฏิบัติงานของเจ้าหน้าที่ต้องเป็นไปโดยเสมอภาค ไม่เลือกปฏิบัติต่อกลุ่มบุคคล หรือ บุคคลเป็นการเฉพาะ เช่นการนาระบบคอมพิวเตอร์มาใช้ในการบริหารเกี่ยวกับที่ดิน หรือ งานศุลกากร www.elifesara.com World Conference on Governance
  • 45. “การคอรัปชั่นภาคธุรกิจกับบรรษัทภิบาลในไทย” •ลักษณะคอรัปชั่นในภาคธุรกิจมีหลายลักษณะ เช่น •เกิดจากการบริหารจัดการแบบเบ็ดเสร็จไม่โปร่งใส •ขาดการควบคุมภายในที่มีประสิทธิภาพ เจ้าของดาเนินการผิดพลาด หรือเอาเปรียบผู้ถือหุ้นรายย่อย •ผู้บริหารใช้อานาจตามตาแหน่งหน้าที่แสวงหาผลประโยชน์ส่วนตนมากกว่าผลประโยชน์ของบริษัท ซึ่ง ผู้ถือหุ้นทุกหุ้นเป็นเจ้าของเป็นปัญหาที่รุนแรงที่สุด •คอรัปชั่นโดยถ่ายโอนกาไรจากบริษัทที่มีผู้ถือหุ้นหลายรายไปบริษัทที่ผู้ถือหุ้นใหญ่เป็นเจ้าของทาให้ไม่ ต้องแบ่งผลกาไรให้แก่ผู้ถือหุ้นหรือผู้ร่วมลงทุน •การใช้ข้อมูลเพื่อประโยชน์ในการค้ากาไรมีตัวอย่างในตลาดหลักทรัพย์ ที่ผู้ถือหุ้นรายใหญ่เทขายหุ้น โดยที่ผู้ถือหุ้นรายย่อยไม่รู้ตัว •กฏหมายในประเทศไทยให้การคุ้มครองผู้ถือหุ้นค่อนข้างน้อยเกิดจากปัญหาการบริหารจัดการ และ กลไกการตรวจสอบการบริหารจัดการธุรกิจในประเทศไทยอ่อนแอ บริษัทบางรายไม่โปร่งใสและเสี่ยง ต่อการฉ้อโกง • www.elifesara.com จากบทความเรื่องกรุงเทพทัศนะ เขียนโดย ดร.เดือนเด่น นิคมบริรักษ์ และรจิตกนก จิตมั่นชัยธรรม(2544)