SlideShare une entreprise Scribd logo
1  sur  34
Télécharger pour lire hors ligne
ธุรกิจการค้าจีนกับอาเซียน
ระดับความสามารถในการแข่งขันของประเทศจีน
• Global competitive index (GCI) เป็นเครื่องมือที่ใช้วัดความสามารถในการ
แข่งขันของประเทศ ทั้งระดับ Microeconomic และ Macroeconomic
ซึ่งได้ถูกจัดอันดับโดย World Economic Forum (WEF) ได้เผยแพร่รายงาน
ความสามารถในการแข่งขันในด้านต่างๆของ 140 ประเทศ
Look China…Factory of The World
การขับเคลื่อนทางเศรษฐกิจจีนในปัจจุบัน
1. จีนเป็ นมหาอานาจเดียวซึ่งถ่วงดุลตะวันออก-ตะวันตก
2. จีนเป็นมหาอานาจทางเศรษฐกิจของโลก
3. จีนในปัจจุบันไม่ใช่ฐานการผลิตต้นทุนต่าอีกต่อไป
4. การเติบโตของชนชั้นกลาง ทาให้เพิ่มการบริโภคขึ้นมหาศาล
5. ขนาดเศรษฐกิจของจีน (4.4 Trillion) ใหญ่กว่าไทย (0.333 Trillion)
13.2 เท่า
จีนบนบริบทของโลก
• เศรษฐกิจจีน : ใน 10 ปีข้างหน้าจะใกล้เคียงกับเศรษฐกิจสหรัฐ
• การลงทุนของจีน : จะมีขนาดการลงทุนเพิ่มเป็น 30% ของการลงทุนโลก
ในกลางทศวรรษ
• นักท่องเที่ยวจีน : จะมีปริมาณมากที่สุดในโลกในระยะเวลาไม่เกิน 3 ปี
ข้างหน้า
• จีนจะเป็ นมหาอานาจของโลก : จีนจะมีกองทัพนอกประเทศที่ใหญ่อันดับ 2
ของโลกรองจากสหรัฐในอนาคตอีก 10 ปีข้างหน้า
จีนบนบริบทของโลก (ต่อ)
1. ขนาดเศรษฐกิจของจีนมีมูลค่า 4.4 Trillion USD เท่ากับ 6.4 % ของโลก (USA มีขนาด
เศรษฐกิจ
+ 14 Trillion USD เท่ากับ 21% ของโลกมากกว่าจีน 6.4 เท่า)
2. รายได้ต่อหัวของประชากร
• สหรัฐ 39,000 USD
• อียู 33,400 USD
• ไทย 8,400 USD
• จีน 6,000 USD
3. จีนมีการพึ่งพาตลาดส่งออกไปสหรัฐ สัดส่วน 35% (การบริโภคของสหรัฐ เศรษฐกิจสหรัฐ
หดตัว 1%
กระทบรายได้ของจีน 6.5% )
4. จีนเป็นทุนนิยมแบบสังคมนิยม(State Capitalism) เป็นทุนนิยมที่ดูแลโดยรัฐเต็มรูปแบบ
และพร ้อมที่จะแทรกแซงระบบเศรษฐกิจ,การส่งออก,การลงทุนการค้าและการเงิน
จีนบนบริบทของโลก (ต่อ)
5. จีนมีประชากรยากจนต่ากว่าเกณฑ์ของสหประชาชาติประมาณ 600-800 ล้านคน
ภายใน 10 ปียังไม่พร ้อมจะเป็นผู้นาเศรษฐกิจโลกแทนสหรัฐและยังมีปัญหาด้านอัตรา
แลกเปลี่ยน, เศรษฐกิจยังควบคุมโดยรัฐบาล
6. รัฐบาล + BOC + เอกชน มีการบูรณาการในการใช ้ทุนสารอง 3.1 ล้านล้านเหรียญสหรัฐ
ในการหาประโยชน์นอกประเทศ (ถือพันธบัตรสหรัฐ 864,000 ล้าน USD)
7. จีนมีทุกอย่าง เป็นทั้งคู่ค้า และคู่แข่งในทุก Sector การลงทุนของจีนอาจไม่เกื้อกูลมาก
นักกับประเทศที่
เข้าไปลงทุน
8. จีนมีความเสี่ยงจากปัญหาเศรษฐกิจฟองสบู่ในภาคอสังหาริมทรัพย์และหนี้สินภาค
ประชาชนจาก
การใช ้จ่ายที่เกินตัวและกาลังเผชิญกับปัญหาเงินเฟ้อที่สูงสุดในรอบ 10 ปี ที่อัตรา 5-6%
AEC Connectivity
1. จีนเติบโตทางเศรษฐกิจ พร้อมกับการเติบโตของอาเซียน ในช่วง 10 ปีที่ผ่านมา
2. รัฐบาลจีนให้การสนับสนุนการลงทุนในอาเซียนเช่น การให้เงินกู้ดอกเบี้ยต่า
การค้าประกันภาคเอกชนโดยรัฐบาลจีน
3. กระแสสินค้าและบริการจากจีน จะเข้ามารุกตลาด ASEAN และตลาดประเทศ
เพื่อนบ้าน+ตลาดภายในของไทย
4. การลงทุนในด้านวัตถุดิบที่มีต้นทุนต่า เช่น ยางพารา มันสาปะหลัง
5. การลงทุนโครงสร้างพื้นฐานให้กับประเทศต่างๆในอาเซียน โดยใช้เทคโนโลยีและ
บุคลากรที่มาจากประเทศจีน
6. การใช้ประเทศไทยเป็ นฐานการผลิตและการกระจายสินค้าในอาเซียน
7. จีนมีข้อตกลงเขตการค้าเสรีกับอาเซียน
เส้นทางสายไหม หรือ Silk Road ของจีน
• เป็นเส้นทางการค้าและวัฒนธรรมของชาวจีน ที่ผ่านจากภูมิภาคเอเชียเพื่อ
เชื่อมต่อภูมิภาคตะวันตกกับตะวันออก มีความยาวประมาณ 6,437 กิโลเมตร
(4,000 ไมล์)
• มีชื่อมาจากการค้าผ้าไหมของชาวจีนที่ได้กาไรมาจากการค้าผ้าไหมเป็น
จานวนมากมาตลอดเส้นทาง เริ่มตั้งแต่สมัยราชวงศ์ฮั่น (206 ปีก่อน ค.ศ. –
ค.ศ. 220) และต่อมาได้มีการขยายเส้นทางการค้าในภูมิภาคเอเชียกลางราว
114 ปีก่อนคริสตวรรษ
• ส่วนใหญ่เป็นการค้าผ่านคณะทูตและการสารวจของผู้แทนทางการทูตจักรวรรดิ
จีน ชื่อนายจางเชียน (Zhang Qian)
เส้นทางสายไหม หรือ Silk Road ของจีน (ต่อ)
• นอกจากผ้าไหมที่เป็นสินค้าหลักที่จีนส่งขายไปยังภูมิภาคต่างๆ (ทวีปอินเดีย
เปอร ์เซีย ทวีปยุโรปและคาบสมุทรอาหรับ) ยังมีสินค้าประเภทอื่นๆ อีกเป็น
จานวนมาก
• นอกจากการค้าสินค้าแล้ว จีนยังมีการเผยแพร่แนวความคิดด้านศาสนา
ปรัชญา ความเชื่อและเทคโนโลยีต่างๆ ไปตามเส้นทางสายไหมด้วย ทาให้
นอกเหนือจากการค้าทางเศรษฐกิจแล้ว เส้นทางสายไหมยังใช้เป็นเส้นทาง
การค้าทางวัฒนธรรมอีกด้วย
ยุทธศาสตร ์One Belt and One Road ของจีน
• จีนภายใต้การนาของประธานาธิบดีสี จิ้นผิง และนายกรัฐมนตรีหลี่ เค่อเฉียง ได้
มีการนาทฤษฎีเส้นทางการค้าที่ชื่อว่า “เส้นทางสายไหม” หรือ “Silk Road” ที่
ประสบความสาเร็จในอดีต มาปรับปรุงใหม่มาใช้เพื่อขยายอิทธิพลทางการค้า
และวัฒนธรรมของตนให้เพิ่มมากขึ้น ซึ่งมีชื่อเรียกใหม่ว่า “One Belt and One
Road”
• เส้นทางสายไหมในศตวรรษที่ 21 เป็นหนึ่งในยุทธศาสตร ์สาคัญในการขยาย
บทบาทและแสวงหาผลประโยชน์ของจีนโดยการเชื่อมโยงกับภูมิภาคต่างๆ เพื่อ
การเสริมสร้างมิตรสัมพันธ์ระหว่างอาเซียน-จีน ส่งเสริมการไปมาหาสู่และเร่ง
ขยายความร่วมมือทางเศรษฐกิจการค้าระหว่างกัน
ยุทธศาสตร ์One Belt and One Road ของจีน (ต่อ)
ภารกิจหลักในการพัฒนาหนึ่งแถบหนึ่งเส้นทางร่วมกันคือ
- พัฒนาเศรษฐกิจ ให้ความร่วมมือ และอานวยประโยชน์แก่กัน โดยผ่านการส่งเสริมการขยายความร่วมมือ
ระหว่างจีนกับประเทศและเขตแค้วนตามเส้นทางสายไหมทางบกและเส้นทางสายไหมทางทะเลที่เอเชียกลาง
และเอเชียตะวันออกเฉียงใต้
- สร ้างบรรยากาศการตลาดที่มีการแข่งขันที่เที่ยงธรรมและเป็นเอกภาพ
- ส่งเสริมการไหลเวียนของทรัพยากรต่างๆอย่างเสรี และขยายการพัฒนาเศรษฐกิจให้มากขึ้น
- ปรับปรุงโครงสร ้างเศรษฐกิจให้ดีขึ้น
- และบาบัดทุกข์บารุงความสุขแก่ประชาชนประเทศต่างๆ ตามเส้นทางสองสายดังกล่าว
ยุทธศาสตร ์One Belt and One Road ของจีน (ต่อ)
• จีนใช้ยุทธศาสตร ์นี้เป็นเครื่องมือในการเข้าสู่ภูมิภาคต่างๆ อย่างแนบเนียน
ไม่โฉ่งฉ่างและดูไม่น่ากลัว ครอบคลุมทั้งกลุ่มอาเซียน เอเชียใต้ เอเชียกลาง
เชื่อมโยงไปจนถึงตะวันออกกลาง แอฟริกาและยุโรป ไปจนถึงทะเลเมดิเตอร ์-
เรเนียน รวมทั้งการเชื่อมโยง 2 มหาสมุทร คือ มหาสมุทรแปซิฟิกและอินเดีย
• เส้นทางสายไหมนับเป็นอภิมหาโครงการของรัฐบาลจีนที่อาจจะสร้างผลประโยชน์
แก่ประชาชนนับ 3,000 ล้านคนในโลก โดยที่โครงการนี้ไม่ได้มีเฉพาะมิติ
เศรษฐกิจ หากแต่ครอบคลุมหลากหลาย ทั้งการเมือง สังคม วัฒนธรรม และ
สาคัญเชิงยุทธศาสตร ์ในการเชื่อมโยงภูมิภาคต่างๆ ที่จีนต้องการใช้เพื่อสร้าง
เครือข่ายแสวงหาแนวร่วมในการคานอานาจกับมหาอานาจอื่น โดยเฉพาะสหรัฐฯ
กรอบ 2+7 ความสัมพันธ ์จีน-อาเซียนในยุคเพชร
(แหล่งที่มา : http://www.bangkokbiznews.com/blog/detail/604033 โดย ดร.อักษรศรี พานิชสาส์น)
• เป็ นแนวคิดที่ถูกนาเสนอโดย นายกรัฐมนตรีหลี่เค่อเฉียง
• ท่านได้เสนอแนะว่า “จีนและอาเซียนควรส่งเสริมจุดร่วมทางการเมือง
2 ประการ และความร่วมมือใน 7 ด้าน เพื่ออนาคตของความสัมพันธ์
จีน-อาเซียนในทศวรรษแห่งยุคเพชรต่อจากนี้”
• กรอบแนวทางทางการเมืองใหม่ 2 ประการ คือ
(1) การไว้เนื้อเชื่อใจกันในเชิงยุทธศาสตร ์(strategic mutual trust) เพื่อเร่งพัฒนา
ความสัมพันธ์เพื่อนบ้านที่ดี (good-neighborly friendship)
(2) การพัฒนาเศรษฐกิจที่จะเอื้อประโยชน์ร่วมกัน (mutual benefit)
กรอบ 2+7 ความสัมพันธ ์จีน-อาเซียนในยุคเพชร (ต่อ)
• ในส่วนของความร่วมมือใน 7 ด้าน ได้แก่
(1) การเจรจาเพื่อลงนามจัดทาสนธิสัญญาว่าด้วยความร่วมมือระหว่างประเทศฉันมิตร
(2) การยกระดับความตกลงการค้าเสรีอาเซียน-จีน (ASEAN-China FTA)
(3) การเชื่อมโยงด้านโครงสร้างพื้นฐานและการคมนาคม
(4) การส่งเสริมความร่วมมือทางการเงินและการป้ องกันความเสี่ยงในภูมิภาค
5) ความร่วมมือทางทะเล
(6) ความร่วมมือด้านความมั่นคงและทหาร
(7) การแลกเปลี่ยนบุคลากรและวัฒนธรรม
กรอบ 2+7 ความสัมพันธ ์จีน-อาเซียนในยุคเพชร (ต่อ)
• ประการแรก จีนพยายามผลักดันให้มีการลงนามจัดทาสนธิสัญญาว่าด้วย
ความร่วมมือระหว่างประเทศฉันมิตร เพื่อให้เป็นกลไกความร่วมมือเชิง
ยุทธศาสตร ์ระหว่างจีน-อาเซียนและมีข้อผูกพันเชิงกฎหมาย โดยจีนอ้างว่า
จะยึดหลักการเป็นประเทศเพื่อนบ้านที่สนิทแน่นแฟ้นและสร้างรากฐานการเมือง
บนพื้นฐานความไว้วางใจต่อกัน เข้าทานองว่า “อย่ากลัวนะ จีนจะไม่เป็นภัย
คุกคามกับเพื่อนอาเซียนนะ”
กรอบ 2+7 ความสัมพันธ ์จีน-อาเซียนในยุคเพชร (ต่อ)
• ประการที่สอง การยกระดับความตกลงการค้าเสรีอาเซียน-จีน อย่าง
เป็ นรูปธรรม ทั้งด้านการค้าสินค้า บริการ และการลงทุน เพื่อเปิดเสรีให้
มากขึ้น ผู้นาจีนยังได้หยอดยาหอมในเรื่องเป้าหมายตัวเลขและส่งสัญญาณว่า
“คบกับจีนแล้วอาเซียนจะได้ประโยชน์นะ”
• โดยเฉพาะการขยายมูลค่าการค้าระหว่างกันให้ทะลุเป้าหมาย 1 ล้านล้าน
ดอลลาร ์สหรัฐ ภายในปี 2020 และการขยายการลงทุนจีน-อาเซียนให้ทะลุ
มูลค่า 1.5 แสนล้านดอลลาร ์สหรัฐ
กรอบ 2+7 ความสัมพันธ ์จีน-อาเซียนในยุคเพชร (ต่อ)
• ประการที่สาม การเชื่อมโยง connectivity โดยผลักดันการพัฒนา
โครงสร้างพื้นฐานและการเชื่อมโยงเส้นทางคมนาคม
• จีนยังได้ริเริ่มและผลักดันการก่อตั้ง “ธนาคารการลงทุนโครงสร้างพื้นฐานแห่ง
เอเชีย” (Asian Infrastructure Investment Bank :AIIB) เพื่อเป็นอีกทางเลือก
ของแหล่งเงินทุนที่ประเทศอาเซียนจะสามารถขอกู้มาพัฒนาโครงสร้างพื้นฐาน
ต่อไป
• ล่าสุด คสช. ของไทยได้อนุมัติให้กระทรวงการคลังเข้าร่วมกับสมาชิกอาเซียนใน
การหารือกับฝ่ายจีนถึงรายละเอียดการจัดตั้งธนาคาร AIIB ดังกล่าวแล้ว
กรอบ 2+7 ความสัมพันธ ์จีน-อาเซียนในยุคเพชร (ต่อ)
• ประการที่สี่ ความร่วมมือด้านการเงิน เพื่อรับมือกับความเสี่ยงด้านการเงิน
ในภูมิภาค
• จีนได้เสนอให้ส่งเสริมการชาระเงินโดยใช้สกุลเงินท้องถิ่นของกันและกัน และเน้น
ความร่วมมือแบบพหุภาคีของกองทุนริเริ่มเชียงใหม่ (Chiang Mai Initiative)
ซึ่งเป็ นความร่วมมือระหว่างอาเซียนบวกสาม (จีน ญี่ปุ่นและเกาหลีใต้) โดยนา
เงินทุนสารองฯ ของแต่ละประเทศมาร่วมลงขัน เพื่อสร้างระบบความร่วมมือทาง
การเงินให้แก่ประเทศสมาชิกที่อาจจะเผชิญกับปัญหาวิกฤติการณ์ทางการเงิน
จนเกิดปัญหาสภาพคล่อง (ดังเช่นกรณีวิกฤติต้มยากุ้งในปี 1997) จึงเป็นความ
พยายามที่จะช่วยกันเองทางการเงินในระดับภูมิภาค
กรอบ 2+7 ความสัมพันธ ์จีน-อาเซียนในยุคเพชร (ต่อ)
• ประการที่ห้า ความร่วมมือทางทะเล ทั้งด้านการร่วมกันแสวงหาประโยชน์
จาก “เศรษฐกิจทางทะเล” การเชื่อมโยงทางทะเล การอนุรักษ์สิ่งแวดล้อมและ
การวิจัยทางวิทยาศาสตร ์ทางทะเล การกู้ภัยทางทะเล เป็นต้น โดบท่านสีจิ้นผิง
ได้เสนอแนวคิดเส้นทางสายไหมทางทะเลแห่งศตวรรษที่ 21 (Maritime Silk
Road in the 21st century) เพื่อความร่วมมือกับประเทศต่างๆ ในภูมิภาค
• นอกจากนี้ฝ่ายจีนยังได้จัดตั้ง “กองทุนความร่วมมือทางทะเลจีน-อาเซียน”
มูลค่า 3,000 ล้านหยวนเพื่อพัฒนาความร่วมมือกับเพื่อนอาเซียนที่เกี่ยวข้อง
กับประเด็นทะเล
กรอบ 2+7 ความสัมพันธ ์จีน-อาเซียนในยุคเพชร (ต่อ)
• ประการที่หก ด้านความมั่นคงและการทหาร จีนเสนอให้ปรับปรุงกลไกการประชุม
รัฐมนตรีกลาโหมจีน-อาเซียน เน้นการเจรจาประเด็นความมั่นคงของภูมิภาค และส่งเสริม
ความร่วมมือด้านป้องกันและบรรเทาสาธารณภัย ความปลอดภัยทางอินเทอร ์เน็ต ปราบปราม
อาชญากรรมข้ามชาติ เป็นต้น
• นอกจากนี้ จีนเสนอสร ้างกลไกแลกเปลี่ยนระหว่างหน่วยงานบังคับใช ้กฎหมายทางทะเลจีน-
อาเซียน เพื่อทากิจกรรมร่วมกัน เช่น อบรมบุคลากร และร่วมลาดตระเวน
• ประการที่เจ็ด การแลกเปลี่ยนด้านบุคลากรและวัฒนธรรม รวมทั้งด้านอื่นๆ ที่เป็น
soft power เช่น วิทยาศาสตร ์เทคโนโลยี และสิ่งแวดล้อม โดยร่วมกันกาหนด “แผนปฏิบัติ
การร่วมว่าด้วยความร่วมมือทางวัฒนธรรมระหว่างจีนกับอาเซียน” เพื่อส่งเสริมการจัด
กิจกรรมและแลกเปลี่ยนการเยือนทั้งในระดับประชาชน ระดับเยาวชน ระดับนักวิชาการ think
tank ผู้เชี่ยวชาญ และสื่อมวลชนระหว่างทั้งสองประเทศ เป็นต้น
กรอบ 2+7 ความสัมพันธ ์จีน-อาเซียนในยุคเพชร (ต่อ)
• กรอบความร่วมมือ2+7 มีความหมายสาคัญยิ่งในการเพิ่มความไว้วางใจทาง
ยุทธศาสตร ์จีน-อาเซียน ขยายความร่วมมือด้านต่างๆ ซึ่งจะนาไปสู่การบรรลุ
เป้าหมายการพัฒนาและความเจริญรุ่งเรืองร่วมกัน สร้างความผาสุขให้แก่
ประชาชนของทั้งสองประเทศ และสร้างคุณูปการให้แก่สันติภาพ เสถียรภาพ
และควรามเจริญรุ่งเรืองของภูมิภาคนี้ ตลอดจนของโลกด้วย
ความท้าทายในความสัมพันธ ์อาเซียน-จีน ทุกฝ่ ายจะต้องร่วมมือกัน
(แหล่งที่มา http://www.aseanthai.net/ewt_news.php?nid=1050&filename=index)
(1) การพัฒนาความสัมพันธ์ให้เจริญก้าวหน้า มีความไว้เนื้อเชื่อใจซึ่งกันและกัน และ
ร่วมมือกันอย่างสร้างสรรค์
(2) การขยายความร่วมมือด้านเศรษฐกิจ อาเซียนและจีนต้องพึ่งพาอาศัยซึ่งกันและกัน
และจับมือกันเติบโต โดยใช้ประโยชน์จากความตกลงเขตการค้าเสรีให้เต็มที่
สนับสนุนให้จีนเข้ามาลงทุนในอาเซียนให้มากขึ้น และเพิ่มบทบาทของธุรกิจขนาด
กลางและเล็ก (SMEs)
(3) ส่งเสริมการแลกเปลี่ยนเรียนรู้และช่วยเหลือซึ่งกันและกันในเรื่องการพัฒนา
โดยเฉพาะเรื่องคน วิทยาศาสตร ์เทคโนโลยี นวัตกรรม และการเติบโตสีเขียว
ความท้าทายในความสัมพันธ ์อาเซียน-จีน ทุกฝ่ ายจะต้องร่วมมือกัน
(4) การส่งเสริมให้ชาวอาเซียนและชาวจีนรู้จักกันอย่างลึกซึ้ง ผ่านการแลกเปลี่ยนด้าน
วัฒนธรรม การสร ้างความตระหนักรู้และการไปมาหาสู่กัน
(5) การขยายความร่วมมือด้านการป้องกันและปราบปรามอาชญากรรมข้ามชาติซึ่งมีแนวโน้ม
เพิ่มสูง โดยเฉพาะยาเสพติด การค้ามนุษย์และอาชญากรรมทางคอมพิวเตอร ์รวมทั้งการ
รับมือกับภัยพิบัติทางธรรมชาติและโรคระบาดร ้ายแรง เช่น ไวรัสอีโบลา และโรคไข้หวัดนก
(6) การปฏิบัติตามข้อริเริ่มต่าง ๆ ให้เกิดผลที่เป็นรูปธรรม เช่น การส่งเสริมความเชื่อมโยงใน
ภูมิภาค ทั้งทางรถยนต์รถไฟ เรือ และเครื่องบิน และการพัฒนาโครงสร ้างพื้นฐาน
การลงทุนของจีนในอาเซียน
(แหล่งที่มา: http://www.aseanthai.net/ewt_news.php?nid=5791&filename=index โดย สุเนตรตรา จันทบุรี)
• ในช่วงเวลาหลายปีที่ผ่านมาได้มีเงินทุนจากต่างประเทศหลั่งไหลเข้ามาลงทุนใน
ภูมิภาคอาเซียนเป็นจานวนมากขึ้นเรื่อย ๆ ส่วนใหญ่เป็นนักลงทุนจาก
สหรัฐอเมริกา ออสเตรเลีย ยุโรป เกาหลีใต้และจีน
• โดยเฉพาะเงินทุนจากจีนมีแนวโน้มเพิ่มขึ้นอย่างมากและเป็นผู้ลงทุนรายใหญ่
อันดับ 1 ในกลุ่มประเทศลุ่มน้าโขง ซึ่งเป็นผลจากนโยบายของรัฐบาลจีนที่
สนับสนุนให้ผู้ประกอบการออกมาลงทุนต่างประเทศตามเส้นทางเชื่อมโยงการค้า
ใหม่ของจีน (One Belt, One Road หรือเส้นทางสายไหมใหม่ในศตวรรษที่ 21)
ซึ่งประเทศไทยก็เป็นเส้นทางหนึ่งที่เป็นเป้าหมายของนักลงทุนจีนที่จะเริ่มจาก
ทางตอนใต้ของจีน
การลงทุนของจีนในอาเซียน (ต่อ)
• ในแต่ละประเทศอาเซียนที่ทุนจีนออกไปลงทุนย่อมมาจากเป้าหมายที่แตกต่างกัน
ไป เช่น
• ในเมียนมา : ส่วนใหญ่เป็นโครงการพลังงานและทรัพยากรธรรมชาติ สร ้างเขื่อน
ก่อสร ้างท่อส่งน้ามัน ท่อส่งก๊าซธรรมชาติ ท่าเรือน้าลึก นิคมอุตสาหกรรม และเส้นทาง
รถไฟที่มีความยาวเกือบ 1,000 กิโลเมตร เป็นต้น
• ในกัมพูชา : มีโครงการลงทุนในด้านพลังงานไฟฟ้ า อสังหาริมทรัพย์ การเกษตรและ
อุตสาหกรรมที่เน้นการใช ้แรงงานเป็ นหลัก เช่น สิ่งทอและเสื้อผ้าสาเร็จรูป เนื่องจาก
ค่าแรงยังมีราคาถูกเมื่อเปรียบเทียบกับประเทศอื่น ๆ
การลงทุนของจีนในอาเซียน (ต่อ)
• ใน สปป.ลาว : จีนได้ลงทุนและพัฒนาแบบรัฐต่อรัฐที่เป็นโครงการขนาดใหญ่ เช่น เขต
เศรษฐกิจพิเศษหรือเขตเศรษฐกิจจาเพาะที่รัฐบาล สปป.ลาว ให้สัมปทานแก่กลุ่มทุนจีน
เข้ามาพัฒนาพื้นที่ต่าง ๆ ได้แก่ เขตเศรษฐกิจบึงธาตุหลวง นครเวียงจันทน์ หรือเขต
เศรษฐกิจพิเศษชายแดนบ่อเต็น-บ่อหาน (พรมแดนลาว-จีน) ซึ่งจุดสิ้นสุดเส้นทาง R3A
ได้กลายเป็นเมืองใหม่ของจีน ใน สปป.ลาว ไปแล้ว
จีนยังลงไปถึงระดับการค้าขายในชุมชนเล็ก ๆ ตามเมืองต่าง ๆ ของ สปป.ลาว ด้วย เช่น
การค้าขายมือถือและสินค้าอื่น ๆ ของจีนที่ตลาดชายแดนวังเต่า แขวงจาปาสัก-ช่องเม็ก
จังหวัดอุบลราชธานี ที่พ่อค้าแม่ขายในตลาดแห่งนี้ส่วนใหญ่เป็นชาวจีนเซี่ยงไฮ้เกือบ
ทั้งหมด
การลงทุนของจีนในอาเซียน (ต่อ)
• ในสิงคโปร ์: ส่วนใหญ่จะเน้นไปที่ภาคบริการทั้งด้านการเงิน การธนาคาร การบริการ
ทางธุรกิจ การจาหน่ายสินค้า และอสังหาริมทรัพย์เป็นต้น ซึ่งซื้ออสังหาริมทรัพย์ที่อยู่
อาศัยในสิงคโปร ์ปัจจุบันมีจานวนเพิ่มขึ้นอย่างมากเพราะสิงคโปร ์มีคนเชื้อสายจีนจานวน
มากและใช ้ภาษาจีนกลางในการสื่อสาร รวมถึงนโยบายของรัฐบาลสิงคโปร ์ด้านการปล่อย
สินเชื่อและนโยบายการโยกย้ายถิ่นที่อยู่อาศัยของต่างชาติที่มีการผ่อนปรนมากขึ้น และ
ในจีนได้เริ่มมีนโยบายจากัดการซื้อบ้านในแผ่นดินจีนแล้ว
• ในประเทศไทย : เป้าหมายของจีนที่มาลงทุนไทยนอกจากจะเพื่อใช ้ไทยเป็นตลาดสินค้า
ของจีนแล้ว ยังมองว่าไทยสามารถเป็นฐานการผลิตส่งออกไปยังประเทศแถบอาเซียน
รวมถึงส่งสินค้ากลับไปจาหน่ายในจีน เพราะการผลิตสินค้าด้านการเกษตรที่ไทยมี
วัตถุดิบจานวนมาก โดยเฉพาะวัตถุดิบทางด้านการเกษตร และยังมีเป้าหมายใช ้ฐานการ
ผลิตในไทยส่งออกสินค้าไปยุโรปและอเมริกาที่ในบางสินค้าจากจีนถูกกีดกันหากส่งออก
ไปจากจีนโดยตรง
การลงทุนของจีนในอาเซียน (ต่อ)
• นอกจากนี้ จีนยังมียุทธศาสตร ์ทางด้านการขนส่งคือ
- การสร ้างรถไฟความเร็วสูงจากจีนมาถึงเมียนมา
- ไทยก็มีโครงการสร ้างทางรถไฟเชื่อมต่อจากเวียงจันทน์มายังจังหวัดหนองคาย
ขอนแก่น นครราชสี สระบุรี และกรุงเทพมหานคร ซึ่งจะส่งผลดีต่อการค้าและการลงทุน
ทั้งของไทยและจีนเพิ่มขึ้น
• จากการหลั่งไหลของทุนจีนที่เข้ามาในอาเซียนรวมทั้งประเทศไทยนั้น จาเป็นที่รัฐบาลและ
นักธุรกิจของประเทศไทยและประเทศสมาชิกต้องมีความพร ้อมในการปรับตัวเพื่อรองรับ
การลงทุนดังกล่าวของจีน เพื่อให้เกิดประโยชน์ต่อการผลิต การค้า การลงทุน การจ้าง
งานและรายได้ของประเทศตนให้มากที่สุด
ตัวอย่างธุรกิจของจีนที่มุ่ง
เจาะตลาดอาเซียน
อาลีบาบาของจีนเร่งบุกตลาดอาเซียน
• บริษัทอาลีบาบา (Alibaba) เป็นบริษัทการพาณิชย์อิเล็กทรอนิกส์หรือเป็นผู้ให้บริการ
เว็บไซต์ซื้อขายสินค้าออนไลน์รายใหญ่ที่สุดของจีน ซึ่งอาลีบาบามีแผนจะเพิ่มการลงทุนและ
ขยายการพัฒนาในภูมิภาคอาเซียน
• ล่าสุดเมื่อ เม.ย. 2559 “ลาซาดา (Lazada)” อีคอมเมิร ์ซที่กาลังขยายฐานการเติบโตในเอเซีย
ตะวันออกเฉียงใต้มีสานักงานใหญ่อยู่สิงคโปร ์ได้ถูกอาลีบาบาได้ประกาศซื้อกิจการ เพื่อ
ขยายช่องทางขายสินค้าจีนสู่ตลาดอาเซียน โดยอาลีบาบามีความเชี่ยวชาญและมีเทคโนโลยี
ที่เหมาะสมต่อการเติบโตของลาซาดาในอนาคตได้ดีขึ้น จากที่ลาซาดาได้กรุยทางไว้แล้ว
ซึ่งทาให้สินค้าจีนหลั่งไหลเข้าสู่ตลาดไทย และประเทศต่างๆในภูมิภาคนี้เป็ นอย่างมาก
• ปัจจุบัน ลาซาดาให้บริการในประเทศอินโดนีเซีย มาเลเซีย ฟิลิปปินส์ สิงคโปร ์ไทย และ
เวียดนาม สื่อต่างประเทศยกให้ลาซาดาเป็นห้างสรรพสินค้าออนไลน์ที่เติบโตรวดเร็วที่สุด ส่วน
หนึ่งเป็นเพราะการจาหน่ายสินค้าหลากหลายประเภท ทั้งสินค้าแฟชั่น จนถึงอุปกรณ์
เครื่องใช ้ไฟฟ้ า
บริษัท Lenovo
• เป็ นบริษัทผลิตคอมพิวเตอร ์และมือถือของจีนที่มีการพัฒนาบริษัทโดยเริ่มจากบริษัท
เล็ก ๆ ด้านคอมพิวเตอร ์จนกระทั่งกลายเป็ นบริษัทยักษ์ใหญ่และเป็ นที่รู้จักไปทั่วโลก
• ย้อนไปเมื่อปี1980 Lenovo วางตัวเป็ นบริษัทท้องถิ่นขายปลีกชิ้นส่วนคอมพิวเตอร ์แบ
รนด์บริษัทตะวันตก เช่น สินค้ายี่ห้อ HP และIBM สาหรับตลาดภายในประเทศจีน โดย
บริษัทได้เรียนรู้การทางานของประเทศตะวันตก ทั้งทางด้านการบัญชี การตลาด และ
การวิจัย จากการเป็ นบริษัทฯ ที่ขายสินค้ายี่ห้อดังของตะวันตก หลังจากที่ได้เรียนรู้
เทคนิคต่าง ๆ เหล่านี้แล้วในช่วงทศวรรษปี 1990 บริษัท Lenovo จึงได้ริเริ่ม
พัฒนาการผลิตและสร้างแบรนด์สินค้าของตัวเองขึ้น
• บริษัท Lenovo กาลังพยายามขยายส่วนแบ่งตลาดอาเซียนเพื่อพัฒนาเป็ นบริษัท
อิเล็กทรอนิกส์ยักษ์ใหญ่ของโลก
• http://www.castu.org/CAS-TU/index.php/th/publications-2/castu-
blog-2/282-2015

Contenu connexe

En vedette

En vedette (20)

ภูมิรัฐศาสตร์และกำลังอำนาจแห่งชาติ Ndc2558
ภูมิรัฐศาสตร์และกำลังอำนาจแห่งชาติ Ndc2558ภูมิรัฐศาสตร์และกำลังอำนาจแห่งชาติ Ndc2558
ภูมิรัฐศาสตร์และกำลังอำนาจแห่งชาติ Ndc2558
 
ประเทศไทยกับการกระจายอำนาจสู่ท้องถิ่น
ประเทศไทยกับการกระจายอำนาจสู่ท้องถิ่นประเทศไทยกับการกระจายอำนาจสู่ท้องถิ่น
ประเทศไทยกับการกระจายอำนาจสู่ท้องถิ่น
 
ภูมิรัฐศาสตร์ สกว.
ภูมิรัฐศาสตร์ สกว.ภูมิรัฐศาสตร์ สกว.
ภูมิรัฐศาสตร์ สกว.
 
แนวทางในการเรียนรู้ร่วมกันเพื่อลดความขัดแย้ง
แนวทางในการเรียนรู้ร่วมกันเพื่อลดความขัดแย้งแนวทางในการเรียนรู้ร่วมกันเพื่อลดความขัดแย้ง
แนวทางในการเรียนรู้ร่วมกันเพื่อลดความขัดแย้ง
 
ผู้นำคุณธรรมและธรรมาภิบาล พระพุทธชินราช
ผู้นำคุณธรรมและธรรมาภิบาล พระพุทธชินราชผู้นำคุณธรรมและธรรมาภิบาล พระพุทธชินราช
ผู้นำคุณธรรมและธรรมาภิบาล พระพุทธชินราช
 
ความพึงพอใจการปกครองท้องถิ่น
ความพึงพอใจการปกครองท้องถิ่นความพึงพอใจการปกครองท้องถิ่น
ความพึงพอใจการปกครองท้องถิ่น
 
วาระปฏิรูปที่ ๓๕ ศิลปะวัฒนธรรมเพื่อสร้างคุณค่าและมูลค่าทางเศรษฐกิจและสังคมของ...
วาระปฏิรูปที่ ๓๕ ศิลปะวัฒนธรรมเพื่อสร้างคุณค่าและมูลค่าทางเศรษฐกิจและสังคมของ...วาระปฏิรูปที่ ๓๕ ศิลปะวัฒนธรรมเพื่อสร้างคุณค่าและมูลค่าทางเศรษฐกิจและสังคมของ...
วาระปฏิรูปที่ ๓๕ ศิลปะวัฒนธรรมเพื่อสร้างคุณค่าและมูลค่าทางเศรษฐกิจและสังคมของ...
 
ส่งเสริมความเข้มแข็งของสถาบันศาสนา เพื่อให้เป็นสถาบันหลักของสังคม
ส่งเสริมความเข้มแข็งของสถาบันศาสนา เพื่อให้เป็นสถาบันหลักของสังคมส่งเสริมความเข้มแข็งของสถาบันศาสนา เพื่อให้เป็นสถาบันหลักของสังคม
ส่งเสริมความเข้มแข็งของสถาบันศาสนา เพื่อให้เป็นสถาบันหลักของสังคม
 
การสร้างสังคมสันติสุขเพื่อการพัฒนาชุมชน แจก
การสร้างสังคมสันติสุขเพื่อการพัฒนาชุมชน แจกการสร้างสังคมสันติสุขเพื่อการพัฒนาชุมชน แจก
การสร้างสังคมสันติสุขเพื่อการพัฒนาชุมชน แจก
 
เมืองแห่งความหลากหลาย เวทีท้องถิ่นไทย
เมืองแห่งความหลากหลาย เวทีท้องถิ่นไทย เมืองแห่งความหลากหลาย เวทีท้องถิ่นไทย
เมืองแห่งความหลากหลาย เวทีท้องถิ่นไทย
 
การจัดการความขัดแย้งในพื้นที่
การจัดการความขัดแย้งในพื้นที่การจัดการความขัดแย้งในพื้นที่
การจัดการความขัดแย้งในพื้นที่
 
ธรรมาภิบาลและจริยธรรม กศน
ธรรมาภิบาลและจริยธรรม กศนธรรมาภิบาลและจริยธรรม กศน
ธรรมาภิบาลและจริยธรรม กศน
 
เอกลักษณ์ของชาติ
เอกลักษณ์ของชาติเอกลักษณ์ของชาติ
เอกลักษณ์ของชาติ
 
ธรรมาภิบาลในการปฏิบัติงาน วชิระ
ธรรมาภิบาลในการปฏิบัติงาน วชิระธรรมาภิบาลในการปฏิบัติงาน วชิระ
ธรรมาภิบาลในการปฏิบัติงาน วชิระ
 
สงครามโลกครั้งที่ 1
สงครามโลกครั้งที่ 1สงครามโลกครั้งที่ 1
สงครามโลกครั้งที่ 1
 
ข้อเสนอนโยบาย One belt one road ของจีน
ข้อเสนอนโยบาย One belt one road ของจีนข้อเสนอนโยบาย One belt one road ของจีน
ข้อเสนอนโยบาย One belt one road ของจีน
 
สงครามเย็น
สงครามเย็นสงครามเย็น
สงครามเย็น
 
สงครามโลกครั้งที่ 2
สงครามโลกครั้งที่ 2สงครามโลกครั้งที่ 2
สงครามโลกครั้งที่ 2
 
Isis
IsisIsis
Isis
 
จริยธรรมทางการแพทย์ ฉบับปรับปรุงแก้ไข ม.ค. 2559
จริยธรรมทางการแพทย์ ฉบับปรับปรุงแก้ไข ม.ค. 2559จริยธรรมทางการแพทย์ ฉบับปรับปรุงแก้ไข ม.ค. 2559
จริยธรรมทางการแพทย์ ฉบับปรับปรุงแก้ไข ม.ค. 2559
 

Plus de Taraya Srivilas

Plus de Taraya Srivilas (20)

การบริหารความขัดแย้ง บยส แจก
การบริหารความขัดแย้ง บยส แจกการบริหารความขัดแย้ง บยส แจก
การบริหารความขัดแย้ง บยส แจก
 
นโยบายการจัดการความขัดแย้งด้วยสันติวิธี วทอ แจก
นโยบายการจัดการความขัดแย้งด้วยสันติวิธี วทอ แจกนโยบายการจัดการความขัดแย้งด้วยสันติวิธี วทอ แจก
นโยบายการจัดการความขัดแย้งด้วยสันติวิธี วทอ แจก
 
โปสเตอร์สัญญาประชาคม
โปสเตอร์สัญญาประชาคมโปสเตอร์สัญญาประชาคม
โปสเตอร์สัญญาประชาคม
 
จริยธรรมทางการแพทย์ 75 ปธพ.6
จริยธรรมทางการแพทย์ 75 ปธพ.6จริยธรรมทางการแพทย์ 75 ปธพ.6
จริยธรรมทางการแพทย์ 75 ปธพ.6
 
การเรียนรู้ตามรอยพระยุคลบาท การพัฒนาคุณธรรมและจริยธรรมในการทำงาน
การเรียนรู้ตามรอยพระยุคลบาท การพัฒนาคุณธรรมและจริยธรรมในการทำงานการเรียนรู้ตามรอยพระยุคลบาท การพัฒนาคุณธรรมและจริยธรรมในการทำงาน
การเรียนรู้ตามรอยพระยุคลบาท การพัฒนาคุณธรรมและจริยธรรมในการทำงาน
 
แนวทางในการเรียนรู้ร่วมกันเพื่อลดความขัดแย้งในการจัดการป่าม้ระดับชุมชน
แนวทางในการเรียนรู้ร่วมกันเพื่อลดความขัดแย้งในการจัดการป่าม้ระดับชุมชนแนวทางในการเรียนรู้ร่วมกันเพื่อลดความขัดแย้งในการจัดการป่าม้ระดับชุมชน
แนวทางในการเรียนรู้ร่วมกันเพื่อลดความขัดแย้งในการจัดการป่าม้ระดับชุมชน
 
สันติวิธีในการจัดการความขัดแย้ง สจว แจก
สันติวิธีในการจัดการความขัดแย้ง สจว  แจกสันติวิธีในการจัดการความขัดแย้ง สจว  แจก
สันติวิธีในการจัดการความขัดแย้ง สจว แจก
 
ค้นหาตัวเอง อุซะ usa 69
ค้นหาตัวเอง อุซะ usa 69ค้นหาตัวเอง อุซะ usa 69
ค้นหาตัวเอง อุซะ usa 69
 
สันติวิธีในการจัดการความขัดแย้ง วิทยาลัยตำรวจ
สันติวิธีในการจัดการความขัดแย้ง วิทยาลัยตำรวจสันติวิธีในการจัดการความขัดแย้ง วิทยาลัยตำรวจ
สันติวิธีในการจัดการความขัดแย้ง วิทยาลัยตำรวจ
 
สถานการณ์ความขัดแย้งจากสังคมโลกสู่รากหญ้า สสสส8 web
สถานการณ์ความขัดแย้งจากสังคมโลกสู่รากหญ้า สสสส8 webสถานการณ์ความขัดแย้งจากสังคมโลกสู่รากหญ้า สสสส8 web
สถานการณ์ความขัดแย้งจากสังคมโลกสู่รากหญ้า สสสส8 web
 
สถานการณ์ความขัดแย้งจากสังคมโลกสู่รากหญ้า สสสส8 web
สถานการณ์ความขัดแย้งจากสังคมโลกสู่รากหญ้า สสสส8 webสถานการณ์ความขัดแย้งจากสังคมโลกสู่รากหญ้า สสสส8 web
สถานการณ์ความขัดแย้งจากสังคมโลกสู่รากหญ้า สสสส8 web
 
สถานการณ์ความขัดแย้งจากสังคมโลกสู่รากหญ้า สสสส8
สถานการณ์ความขัดแย้งจากสังคมโลกสู่รากหญ้า สสสส8 สถานการณ์ความขัดแย้งจากสังคมโลกสู่รากหญ้า สสสส8
สถานการณ์ความขัดแย้งจากสังคมโลกสู่รากหญ้า สสสส8
 
American first muslim
American first muslimAmerican first muslim
American first muslim
 
การสร้างความสามัคคีปรองดอง ปยป. และ ความสมานฉันท์ในสังคมไทย
การสร้างความสามัคคีปรองดอง ปยป. และ ความสมานฉันท์ในสังคมไทยการสร้างความสามัคคีปรองดอง ปยป. และ ความสมานฉันท์ในสังคมไทย
การสร้างความสามัคคีปรองดอง ปยป. และ ความสมานฉันท์ในสังคมไทย
 
สถิติเกี่ยวกับผู้หญิง
สถิติเกี่ยวกับผู้หญิงสถิติเกี่ยวกับผู้หญิง
สถิติเกี่ยวกับผู้หญิง
 
บทบาทสตรีในอนาคต
บทบาทสตรีในอนาคตบทบาทสตรีในอนาคต
บทบาทสตรีในอนาคต
 
บทบาทสตรีกับการสร้างสรรค์สังคมสันติสุข
บทบาทสตรีกับการสร้างสรรค์สังคมสันติสุขบทบาทสตรีกับการสร้างสรรค์สังคมสันติสุข
บทบาทสตรีกับการสร้างสรรค์สังคมสันติสุข
 
การสร้างความปรองดองแห่งชาติ สถาบันพระปกเกล้า
การสร้างความปรองดองแห่งชาติ สถาบันพระปกเกล้าการสร้างความปรองดองแห่งชาติ สถาบันพระปกเกล้า
การสร้างความปรองดองแห่งชาติ สถาบันพระปกเกล้า
 
เอกสารการสร้างความปรองดอง และสมานฉันท์ ผลงาน คสช
เอกสารการสร้างความปรองดอง และสมานฉันท์ ผลงาน คสชเอกสารการสร้างความปรองดอง และสมานฉันท์ ผลงาน คสช
เอกสารการสร้างความปรองดอง และสมานฉันท์ ผลงาน คสช
 
การสร้างความปรองดองแห่งชาติ สถาบันพระปกเกล้า
การสร้างความปรองดองแห่งชาติ สถาบันพระปกเกล้าการสร้างความปรองดองแห่งชาติ สถาบันพระปกเกล้า
การสร้างความปรองดองแห่งชาติ สถาบันพระปกเกล้า
 

ธุรกิจการค้าจีนกับอาเซียน

  • 2. ระดับความสามารถในการแข่งขันของประเทศจีน • Global competitive index (GCI) เป็นเครื่องมือที่ใช้วัดความสามารถในการ แข่งขันของประเทศ ทั้งระดับ Microeconomic และ Macroeconomic ซึ่งได้ถูกจัดอันดับโดย World Economic Forum (WEF) ได้เผยแพร่รายงาน ความสามารถในการแข่งขันในด้านต่างๆของ 140 ประเทศ
  • 3. Look China…Factory of The World การขับเคลื่อนทางเศรษฐกิจจีนในปัจจุบัน 1. จีนเป็ นมหาอานาจเดียวซึ่งถ่วงดุลตะวันออก-ตะวันตก 2. จีนเป็นมหาอานาจทางเศรษฐกิจของโลก 3. จีนในปัจจุบันไม่ใช่ฐานการผลิตต้นทุนต่าอีกต่อไป 4. การเติบโตของชนชั้นกลาง ทาให้เพิ่มการบริโภคขึ้นมหาศาล 5. ขนาดเศรษฐกิจของจีน (4.4 Trillion) ใหญ่กว่าไทย (0.333 Trillion) 13.2 เท่า
  • 4. จีนบนบริบทของโลก • เศรษฐกิจจีน : ใน 10 ปีข้างหน้าจะใกล้เคียงกับเศรษฐกิจสหรัฐ • การลงทุนของจีน : จะมีขนาดการลงทุนเพิ่มเป็น 30% ของการลงทุนโลก ในกลางทศวรรษ • นักท่องเที่ยวจีน : จะมีปริมาณมากที่สุดในโลกในระยะเวลาไม่เกิน 3 ปี ข้างหน้า • จีนจะเป็ นมหาอานาจของโลก : จีนจะมีกองทัพนอกประเทศที่ใหญ่อันดับ 2 ของโลกรองจากสหรัฐในอนาคตอีก 10 ปีข้างหน้า
  • 5. จีนบนบริบทของโลก (ต่อ) 1. ขนาดเศรษฐกิจของจีนมีมูลค่า 4.4 Trillion USD เท่ากับ 6.4 % ของโลก (USA มีขนาด เศรษฐกิจ + 14 Trillion USD เท่ากับ 21% ของโลกมากกว่าจีน 6.4 เท่า) 2. รายได้ต่อหัวของประชากร • สหรัฐ 39,000 USD • อียู 33,400 USD • ไทย 8,400 USD • จีน 6,000 USD 3. จีนมีการพึ่งพาตลาดส่งออกไปสหรัฐ สัดส่วน 35% (การบริโภคของสหรัฐ เศรษฐกิจสหรัฐ หดตัว 1% กระทบรายได้ของจีน 6.5% ) 4. จีนเป็นทุนนิยมแบบสังคมนิยม(State Capitalism) เป็นทุนนิยมที่ดูแลโดยรัฐเต็มรูปแบบ และพร ้อมที่จะแทรกแซงระบบเศรษฐกิจ,การส่งออก,การลงทุนการค้าและการเงิน
  • 6. จีนบนบริบทของโลก (ต่อ) 5. จีนมีประชากรยากจนต่ากว่าเกณฑ์ของสหประชาชาติประมาณ 600-800 ล้านคน ภายใน 10 ปียังไม่พร ้อมจะเป็นผู้นาเศรษฐกิจโลกแทนสหรัฐและยังมีปัญหาด้านอัตรา แลกเปลี่ยน, เศรษฐกิจยังควบคุมโดยรัฐบาล 6. รัฐบาล + BOC + เอกชน มีการบูรณาการในการใช ้ทุนสารอง 3.1 ล้านล้านเหรียญสหรัฐ ในการหาประโยชน์นอกประเทศ (ถือพันธบัตรสหรัฐ 864,000 ล้าน USD) 7. จีนมีทุกอย่าง เป็นทั้งคู่ค้า และคู่แข่งในทุก Sector การลงทุนของจีนอาจไม่เกื้อกูลมาก นักกับประเทศที่ เข้าไปลงทุน 8. จีนมีความเสี่ยงจากปัญหาเศรษฐกิจฟองสบู่ในภาคอสังหาริมทรัพย์และหนี้สินภาค ประชาชนจาก การใช ้จ่ายที่เกินตัวและกาลังเผชิญกับปัญหาเงินเฟ้อที่สูงสุดในรอบ 10 ปี ที่อัตรา 5-6%
  • 7. AEC Connectivity 1. จีนเติบโตทางเศรษฐกิจ พร้อมกับการเติบโตของอาเซียน ในช่วง 10 ปีที่ผ่านมา 2. รัฐบาลจีนให้การสนับสนุนการลงทุนในอาเซียนเช่น การให้เงินกู้ดอกเบี้ยต่า การค้าประกันภาคเอกชนโดยรัฐบาลจีน 3. กระแสสินค้าและบริการจากจีน จะเข้ามารุกตลาด ASEAN และตลาดประเทศ เพื่อนบ้าน+ตลาดภายในของไทย 4. การลงทุนในด้านวัตถุดิบที่มีต้นทุนต่า เช่น ยางพารา มันสาปะหลัง 5. การลงทุนโครงสร้างพื้นฐานให้กับประเทศต่างๆในอาเซียน โดยใช้เทคโนโลยีและ บุคลากรที่มาจากประเทศจีน 6. การใช้ประเทศไทยเป็ นฐานการผลิตและการกระจายสินค้าในอาเซียน 7. จีนมีข้อตกลงเขตการค้าเสรีกับอาเซียน
  • 8. เส้นทางสายไหม หรือ Silk Road ของจีน • เป็นเส้นทางการค้าและวัฒนธรรมของชาวจีน ที่ผ่านจากภูมิภาคเอเชียเพื่อ เชื่อมต่อภูมิภาคตะวันตกกับตะวันออก มีความยาวประมาณ 6,437 กิโลเมตร (4,000 ไมล์) • มีชื่อมาจากการค้าผ้าไหมของชาวจีนที่ได้กาไรมาจากการค้าผ้าไหมเป็น จานวนมากมาตลอดเส้นทาง เริ่มตั้งแต่สมัยราชวงศ์ฮั่น (206 ปีก่อน ค.ศ. – ค.ศ. 220) และต่อมาได้มีการขยายเส้นทางการค้าในภูมิภาคเอเชียกลางราว 114 ปีก่อนคริสตวรรษ • ส่วนใหญ่เป็นการค้าผ่านคณะทูตและการสารวจของผู้แทนทางการทูตจักรวรรดิ จีน ชื่อนายจางเชียน (Zhang Qian)
  • 9. เส้นทางสายไหม หรือ Silk Road ของจีน (ต่อ) • นอกจากผ้าไหมที่เป็นสินค้าหลักที่จีนส่งขายไปยังภูมิภาคต่างๆ (ทวีปอินเดีย เปอร ์เซีย ทวีปยุโรปและคาบสมุทรอาหรับ) ยังมีสินค้าประเภทอื่นๆ อีกเป็น จานวนมาก • นอกจากการค้าสินค้าแล้ว จีนยังมีการเผยแพร่แนวความคิดด้านศาสนา ปรัชญา ความเชื่อและเทคโนโลยีต่างๆ ไปตามเส้นทางสายไหมด้วย ทาให้ นอกเหนือจากการค้าทางเศรษฐกิจแล้ว เส้นทางสายไหมยังใช้เป็นเส้นทาง การค้าทางวัฒนธรรมอีกด้วย
  • 10. ยุทธศาสตร ์One Belt and One Road ของจีน • จีนภายใต้การนาของประธานาธิบดีสี จิ้นผิง และนายกรัฐมนตรีหลี่ เค่อเฉียง ได้ มีการนาทฤษฎีเส้นทางการค้าที่ชื่อว่า “เส้นทางสายไหม” หรือ “Silk Road” ที่ ประสบความสาเร็จในอดีต มาปรับปรุงใหม่มาใช้เพื่อขยายอิทธิพลทางการค้า และวัฒนธรรมของตนให้เพิ่มมากขึ้น ซึ่งมีชื่อเรียกใหม่ว่า “One Belt and One Road” • เส้นทางสายไหมในศตวรรษที่ 21 เป็นหนึ่งในยุทธศาสตร ์สาคัญในการขยาย บทบาทและแสวงหาผลประโยชน์ของจีนโดยการเชื่อมโยงกับภูมิภาคต่างๆ เพื่อ การเสริมสร้างมิตรสัมพันธ์ระหว่างอาเซียน-จีน ส่งเสริมการไปมาหาสู่และเร่ง ขยายความร่วมมือทางเศรษฐกิจการค้าระหว่างกัน
  • 11. ยุทธศาสตร ์One Belt and One Road ของจีน (ต่อ) ภารกิจหลักในการพัฒนาหนึ่งแถบหนึ่งเส้นทางร่วมกันคือ - พัฒนาเศรษฐกิจ ให้ความร่วมมือ และอานวยประโยชน์แก่กัน โดยผ่านการส่งเสริมการขยายความร่วมมือ ระหว่างจีนกับประเทศและเขตแค้วนตามเส้นทางสายไหมทางบกและเส้นทางสายไหมทางทะเลที่เอเชียกลาง และเอเชียตะวันออกเฉียงใต้ - สร ้างบรรยากาศการตลาดที่มีการแข่งขันที่เที่ยงธรรมและเป็นเอกภาพ - ส่งเสริมการไหลเวียนของทรัพยากรต่างๆอย่างเสรี และขยายการพัฒนาเศรษฐกิจให้มากขึ้น - ปรับปรุงโครงสร ้างเศรษฐกิจให้ดีขึ้น - และบาบัดทุกข์บารุงความสุขแก่ประชาชนประเทศต่างๆ ตามเส้นทางสองสายดังกล่าว
  • 12.
  • 13. ยุทธศาสตร ์One Belt and One Road ของจีน (ต่อ) • จีนใช้ยุทธศาสตร ์นี้เป็นเครื่องมือในการเข้าสู่ภูมิภาคต่างๆ อย่างแนบเนียน ไม่โฉ่งฉ่างและดูไม่น่ากลัว ครอบคลุมทั้งกลุ่มอาเซียน เอเชียใต้ เอเชียกลาง เชื่อมโยงไปจนถึงตะวันออกกลาง แอฟริกาและยุโรป ไปจนถึงทะเลเมดิเตอร ์- เรเนียน รวมทั้งการเชื่อมโยง 2 มหาสมุทร คือ มหาสมุทรแปซิฟิกและอินเดีย • เส้นทางสายไหมนับเป็นอภิมหาโครงการของรัฐบาลจีนที่อาจจะสร้างผลประโยชน์ แก่ประชาชนนับ 3,000 ล้านคนในโลก โดยที่โครงการนี้ไม่ได้มีเฉพาะมิติ เศรษฐกิจ หากแต่ครอบคลุมหลากหลาย ทั้งการเมือง สังคม วัฒนธรรม และ สาคัญเชิงยุทธศาสตร ์ในการเชื่อมโยงภูมิภาคต่างๆ ที่จีนต้องการใช้เพื่อสร้าง เครือข่ายแสวงหาแนวร่วมในการคานอานาจกับมหาอานาจอื่น โดยเฉพาะสหรัฐฯ
  • 14. กรอบ 2+7 ความสัมพันธ ์จีน-อาเซียนในยุคเพชร (แหล่งที่มา : http://www.bangkokbiznews.com/blog/detail/604033 โดย ดร.อักษรศรี พานิชสาส์น) • เป็ นแนวคิดที่ถูกนาเสนอโดย นายกรัฐมนตรีหลี่เค่อเฉียง • ท่านได้เสนอแนะว่า “จีนและอาเซียนควรส่งเสริมจุดร่วมทางการเมือง 2 ประการ และความร่วมมือใน 7 ด้าน เพื่ออนาคตของความสัมพันธ์ จีน-อาเซียนในทศวรรษแห่งยุคเพชรต่อจากนี้” • กรอบแนวทางทางการเมืองใหม่ 2 ประการ คือ (1) การไว้เนื้อเชื่อใจกันในเชิงยุทธศาสตร ์(strategic mutual trust) เพื่อเร่งพัฒนา ความสัมพันธ์เพื่อนบ้านที่ดี (good-neighborly friendship) (2) การพัฒนาเศรษฐกิจที่จะเอื้อประโยชน์ร่วมกัน (mutual benefit)
  • 15. กรอบ 2+7 ความสัมพันธ ์จีน-อาเซียนในยุคเพชร (ต่อ) • ในส่วนของความร่วมมือใน 7 ด้าน ได้แก่ (1) การเจรจาเพื่อลงนามจัดทาสนธิสัญญาว่าด้วยความร่วมมือระหว่างประเทศฉันมิตร (2) การยกระดับความตกลงการค้าเสรีอาเซียน-จีน (ASEAN-China FTA) (3) การเชื่อมโยงด้านโครงสร้างพื้นฐานและการคมนาคม (4) การส่งเสริมความร่วมมือทางการเงินและการป้ องกันความเสี่ยงในภูมิภาค 5) ความร่วมมือทางทะเล (6) ความร่วมมือด้านความมั่นคงและทหาร (7) การแลกเปลี่ยนบุคลากรและวัฒนธรรม
  • 16. กรอบ 2+7 ความสัมพันธ ์จีน-อาเซียนในยุคเพชร (ต่อ) • ประการแรก จีนพยายามผลักดันให้มีการลงนามจัดทาสนธิสัญญาว่าด้วย ความร่วมมือระหว่างประเทศฉันมิตร เพื่อให้เป็นกลไกความร่วมมือเชิง ยุทธศาสตร ์ระหว่างจีน-อาเซียนและมีข้อผูกพันเชิงกฎหมาย โดยจีนอ้างว่า จะยึดหลักการเป็นประเทศเพื่อนบ้านที่สนิทแน่นแฟ้นและสร้างรากฐานการเมือง บนพื้นฐานความไว้วางใจต่อกัน เข้าทานองว่า “อย่ากลัวนะ จีนจะไม่เป็นภัย คุกคามกับเพื่อนอาเซียนนะ”
  • 17. กรอบ 2+7 ความสัมพันธ ์จีน-อาเซียนในยุคเพชร (ต่อ) • ประการที่สอง การยกระดับความตกลงการค้าเสรีอาเซียน-จีน อย่าง เป็ นรูปธรรม ทั้งด้านการค้าสินค้า บริการ และการลงทุน เพื่อเปิดเสรีให้ มากขึ้น ผู้นาจีนยังได้หยอดยาหอมในเรื่องเป้าหมายตัวเลขและส่งสัญญาณว่า “คบกับจีนแล้วอาเซียนจะได้ประโยชน์นะ” • โดยเฉพาะการขยายมูลค่าการค้าระหว่างกันให้ทะลุเป้าหมาย 1 ล้านล้าน ดอลลาร ์สหรัฐ ภายในปี 2020 และการขยายการลงทุนจีน-อาเซียนให้ทะลุ มูลค่า 1.5 แสนล้านดอลลาร ์สหรัฐ
  • 18. กรอบ 2+7 ความสัมพันธ ์จีน-อาเซียนในยุคเพชร (ต่อ) • ประการที่สาม การเชื่อมโยง connectivity โดยผลักดันการพัฒนา โครงสร้างพื้นฐานและการเชื่อมโยงเส้นทางคมนาคม • จีนยังได้ริเริ่มและผลักดันการก่อตั้ง “ธนาคารการลงทุนโครงสร้างพื้นฐานแห่ง เอเชีย” (Asian Infrastructure Investment Bank :AIIB) เพื่อเป็นอีกทางเลือก ของแหล่งเงินทุนที่ประเทศอาเซียนจะสามารถขอกู้มาพัฒนาโครงสร้างพื้นฐาน ต่อไป • ล่าสุด คสช. ของไทยได้อนุมัติให้กระทรวงการคลังเข้าร่วมกับสมาชิกอาเซียนใน การหารือกับฝ่ายจีนถึงรายละเอียดการจัดตั้งธนาคาร AIIB ดังกล่าวแล้ว
  • 19. กรอบ 2+7 ความสัมพันธ ์จีน-อาเซียนในยุคเพชร (ต่อ) • ประการที่สี่ ความร่วมมือด้านการเงิน เพื่อรับมือกับความเสี่ยงด้านการเงิน ในภูมิภาค • จีนได้เสนอให้ส่งเสริมการชาระเงินโดยใช้สกุลเงินท้องถิ่นของกันและกัน และเน้น ความร่วมมือแบบพหุภาคีของกองทุนริเริ่มเชียงใหม่ (Chiang Mai Initiative) ซึ่งเป็ นความร่วมมือระหว่างอาเซียนบวกสาม (จีน ญี่ปุ่นและเกาหลีใต้) โดยนา เงินทุนสารองฯ ของแต่ละประเทศมาร่วมลงขัน เพื่อสร้างระบบความร่วมมือทาง การเงินให้แก่ประเทศสมาชิกที่อาจจะเผชิญกับปัญหาวิกฤติการณ์ทางการเงิน จนเกิดปัญหาสภาพคล่อง (ดังเช่นกรณีวิกฤติต้มยากุ้งในปี 1997) จึงเป็นความ พยายามที่จะช่วยกันเองทางการเงินในระดับภูมิภาค
  • 20. กรอบ 2+7 ความสัมพันธ ์จีน-อาเซียนในยุคเพชร (ต่อ) • ประการที่ห้า ความร่วมมือทางทะเล ทั้งด้านการร่วมกันแสวงหาประโยชน์ จาก “เศรษฐกิจทางทะเล” การเชื่อมโยงทางทะเล การอนุรักษ์สิ่งแวดล้อมและ การวิจัยทางวิทยาศาสตร ์ทางทะเล การกู้ภัยทางทะเล เป็นต้น โดบท่านสีจิ้นผิง ได้เสนอแนวคิดเส้นทางสายไหมทางทะเลแห่งศตวรรษที่ 21 (Maritime Silk Road in the 21st century) เพื่อความร่วมมือกับประเทศต่างๆ ในภูมิภาค • นอกจากนี้ฝ่ายจีนยังได้จัดตั้ง “กองทุนความร่วมมือทางทะเลจีน-อาเซียน” มูลค่า 3,000 ล้านหยวนเพื่อพัฒนาความร่วมมือกับเพื่อนอาเซียนที่เกี่ยวข้อง กับประเด็นทะเล
  • 21. กรอบ 2+7 ความสัมพันธ ์จีน-อาเซียนในยุคเพชร (ต่อ) • ประการที่หก ด้านความมั่นคงและการทหาร จีนเสนอให้ปรับปรุงกลไกการประชุม รัฐมนตรีกลาโหมจีน-อาเซียน เน้นการเจรจาประเด็นความมั่นคงของภูมิภาค และส่งเสริม ความร่วมมือด้านป้องกันและบรรเทาสาธารณภัย ความปลอดภัยทางอินเทอร ์เน็ต ปราบปราม อาชญากรรมข้ามชาติ เป็นต้น • นอกจากนี้ จีนเสนอสร ้างกลไกแลกเปลี่ยนระหว่างหน่วยงานบังคับใช ้กฎหมายทางทะเลจีน- อาเซียน เพื่อทากิจกรรมร่วมกัน เช่น อบรมบุคลากร และร่วมลาดตระเวน • ประการที่เจ็ด การแลกเปลี่ยนด้านบุคลากรและวัฒนธรรม รวมทั้งด้านอื่นๆ ที่เป็น soft power เช่น วิทยาศาสตร ์เทคโนโลยี และสิ่งแวดล้อม โดยร่วมกันกาหนด “แผนปฏิบัติ การร่วมว่าด้วยความร่วมมือทางวัฒนธรรมระหว่างจีนกับอาเซียน” เพื่อส่งเสริมการจัด กิจกรรมและแลกเปลี่ยนการเยือนทั้งในระดับประชาชน ระดับเยาวชน ระดับนักวิชาการ think tank ผู้เชี่ยวชาญ และสื่อมวลชนระหว่างทั้งสองประเทศ เป็นต้น
  • 22. กรอบ 2+7 ความสัมพันธ ์จีน-อาเซียนในยุคเพชร (ต่อ) • กรอบความร่วมมือ2+7 มีความหมายสาคัญยิ่งในการเพิ่มความไว้วางใจทาง ยุทธศาสตร ์จีน-อาเซียน ขยายความร่วมมือด้านต่างๆ ซึ่งจะนาไปสู่การบรรลุ เป้าหมายการพัฒนาและความเจริญรุ่งเรืองร่วมกัน สร้างความผาสุขให้แก่ ประชาชนของทั้งสองประเทศ และสร้างคุณูปการให้แก่สันติภาพ เสถียรภาพ และควรามเจริญรุ่งเรืองของภูมิภาคนี้ ตลอดจนของโลกด้วย
  • 23. ความท้าทายในความสัมพันธ ์อาเซียน-จีน ทุกฝ่ ายจะต้องร่วมมือกัน (แหล่งที่มา http://www.aseanthai.net/ewt_news.php?nid=1050&filename=index) (1) การพัฒนาความสัมพันธ์ให้เจริญก้าวหน้า มีความไว้เนื้อเชื่อใจซึ่งกันและกัน และ ร่วมมือกันอย่างสร้างสรรค์ (2) การขยายความร่วมมือด้านเศรษฐกิจ อาเซียนและจีนต้องพึ่งพาอาศัยซึ่งกันและกัน และจับมือกันเติบโต โดยใช้ประโยชน์จากความตกลงเขตการค้าเสรีให้เต็มที่ สนับสนุนให้จีนเข้ามาลงทุนในอาเซียนให้มากขึ้น และเพิ่มบทบาทของธุรกิจขนาด กลางและเล็ก (SMEs) (3) ส่งเสริมการแลกเปลี่ยนเรียนรู้และช่วยเหลือซึ่งกันและกันในเรื่องการพัฒนา โดยเฉพาะเรื่องคน วิทยาศาสตร ์เทคโนโลยี นวัตกรรม และการเติบโตสีเขียว
  • 24. ความท้าทายในความสัมพันธ ์อาเซียน-จีน ทุกฝ่ ายจะต้องร่วมมือกัน (4) การส่งเสริมให้ชาวอาเซียนและชาวจีนรู้จักกันอย่างลึกซึ้ง ผ่านการแลกเปลี่ยนด้าน วัฒนธรรม การสร ้างความตระหนักรู้และการไปมาหาสู่กัน (5) การขยายความร่วมมือด้านการป้องกันและปราบปรามอาชญากรรมข้ามชาติซึ่งมีแนวโน้ม เพิ่มสูง โดยเฉพาะยาเสพติด การค้ามนุษย์และอาชญากรรมทางคอมพิวเตอร ์รวมทั้งการ รับมือกับภัยพิบัติทางธรรมชาติและโรคระบาดร ้ายแรง เช่น ไวรัสอีโบลา และโรคไข้หวัดนก (6) การปฏิบัติตามข้อริเริ่มต่าง ๆ ให้เกิดผลที่เป็นรูปธรรม เช่น การส่งเสริมความเชื่อมโยงใน ภูมิภาค ทั้งทางรถยนต์รถไฟ เรือ และเครื่องบิน และการพัฒนาโครงสร ้างพื้นฐาน
  • 25. การลงทุนของจีนในอาเซียน (แหล่งที่มา: http://www.aseanthai.net/ewt_news.php?nid=5791&filename=index โดย สุเนตรตรา จันทบุรี) • ในช่วงเวลาหลายปีที่ผ่านมาได้มีเงินทุนจากต่างประเทศหลั่งไหลเข้ามาลงทุนใน ภูมิภาคอาเซียนเป็นจานวนมากขึ้นเรื่อย ๆ ส่วนใหญ่เป็นนักลงทุนจาก สหรัฐอเมริกา ออสเตรเลีย ยุโรป เกาหลีใต้และจีน • โดยเฉพาะเงินทุนจากจีนมีแนวโน้มเพิ่มขึ้นอย่างมากและเป็นผู้ลงทุนรายใหญ่ อันดับ 1 ในกลุ่มประเทศลุ่มน้าโขง ซึ่งเป็นผลจากนโยบายของรัฐบาลจีนที่ สนับสนุนให้ผู้ประกอบการออกมาลงทุนต่างประเทศตามเส้นทางเชื่อมโยงการค้า ใหม่ของจีน (One Belt, One Road หรือเส้นทางสายไหมใหม่ในศตวรรษที่ 21) ซึ่งประเทศไทยก็เป็นเส้นทางหนึ่งที่เป็นเป้าหมายของนักลงทุนจีนที่จะเริ่มจาก ทางตอนใต้ของจีน
  • 26. การลงทุนของจีนในอาเซียน (ต่อ) • ในแต่ละประเทศอาเซียนที่ทุนจีนออกไปลงทุนย่อมมาจากเป้าหมายที่แตกต่างกัน ไป เช่น • ในเมียนมา : ส่วนใหญ่เป็นโครงการพลังงานและทรัพยากรธรรมชาติ สร ้างเขื่อน ก่อสร ้างท่อส่งน้ามัน ท่อส่งก๊าซธรรมชาติ ท่าเรือน้าลึก นิคมอุตสาหกรรม และเส้นทาง รถไฟที่มีความยาวเกือบ 1,000 กิโลเมตร เป็นต้น • ในกัมพูชา : มีโครงการลงทุนในด้านพลังงานไฟฟ้ า อสังหาริมทรัพย์ การเกษตรและ อุตสาหกรรมที่เน้นการใช ้แรงงานเป็ นหลัก เช่น สิ่งทอและเสื้อผ้าสาเร็จรูป เนื่องจาก ค่าแรงยังมีราคาถูกเมื่อเปรียบเทียบกับประเทศอื่น ๆ
  • 27. การลงทุนของจีนในอาเซียน (ต่อ) • ใน สปป.ลาว : จีนได้ลงทุนและพัฒนาแบบรัฐต่อรัฐที่เป็นโครงการขนาดใหญ่ เช่น เขต เศรษฐกิจพิเศษหรือเขตเศรษฐกิจจาเพาะที่รัฐบาล สปป.ลาว ให้สัมปทานแก่กลุ่มทุนจีน เข้ามาพัฒนาพื้นที่ต่าง ๆ ได้แก่ เขตเศรษฐกิจบึงธาตุหลวง นครเวียงจันทน์ หรือเขต เศรษฐกิจพิเศษชายแดนบ่อเต็น-บ่อหาน (พรมแดนลาว-จีน) ซึ่งจุดสิ้นสุดเส้นทาง R3A ได้กลายเป็นเมืองใหม่ของจีน ใน สปป.ลาว ไปแล้ว จีนยังลงไปถึงระดับการค้าขายในชุมชนเล็ก ๆ ตามเมืองต่าง ๆ ของ สปป.ลาว ด้วย เช่น การค้าขายมือถือและสินค้าอื่น ๆ ของจีนที่ตลาดชายแดนวังเต่า แขวงจาปาสัก-ช่องเม็ก จังหวัดอุบลราชธานี ที่พ่อค้าแม่ขายในตลาดแห่งนี้ส่วนใหญ่เป็นชาวจีนเซี่ยงไฮ้เกือบ ทั้งหมด
  • 28. การลงทุนของจีนในอาเซียน (ต่อ) • ในสิงคโปร ์: ส่วนใหญ่จะเน้นไปที่ภาคบริการทั้งด้านการเงิน การธนาคาร การบริการ ทางธุรกิจ การจาหน่ายสินค้า และอสังหาริมทรัพย์เป็นต้น ซึ่งซื้ออสังหาริมทรัพย์ที่อยู่ อาศัยในสิงคโปร ์ปัจจุบันมีจานวนเพิ่มขึ้นอย่างมากเพราะสิงคโปร ์มีคนเชื้อสายจีนจานวน มากและใช ้ภาษาจีนกลางในการสื่อสาร รวมถึงนโยบายของรัฐบาลสิงคโปร ์ด้านการปล่อย สินเชื่อและนโยบายการโยกย้ายถิ่นที่อยู่อาศัยของต่างชาติที่มีการผ่อนปรนมากขึ้น และ ในจีนได้เริ่มมีนโยบายจากัดการซื้อบ้านในแผ่นดินจีนแล้ว • ในประเทศไทย : เป้าหมายของจีนที่มาลงทุนไทยนอกจากจะเพื่อใช ้ไทยเป็นตลาดสินค้า ของจีนแล้ว ยังมองว่าไทยสามารถเป็นฐานการผลิตส่งออกไปยังประเทศแถบอาเซียน รวมถึงส่งสินค้ากลับไปจาหน่ายในจีน เพราะการผลิตสินค้าด้านการเกษตรที่ไทยมี วัตถุดิบจานวนมาก โดยเฉพาะวัตถุดิบทางด้านการเกษตร และยังมีเป้าหมายใช ้ฐานการ ผลิตในไทยส่งออกสินค้าไปยุโรปและอเมริกาที่ในบางสินค้าจากจีนถูกกีดกันหากส่งออก ไปจากจีนโดยตรง
  • 29. การลงทุนของจีนในอาเซียน (ต่อ) • นอกจากนี้ จีนยังมียุทธศาสตร ์ทางด้านการขนส่งคือ - การสร ้างรถไฟความเร็วสูงจากจีนมาถึงเมียนมา - ไทยก็มีโครงการสร ้างทางรถไฟเชื่อมต่อจากเวียงจันทน์มายังจังหวัดหนองคาย ขอนแก่น นครราชสี สระบุรี และกรุงเทพมหานคร ซึ่งจะส่งผลดีต่อการค้าและการลงทุน ทั้งของไทยและจีนเพิ่มขึ้น • จากการหลั่งไหลของทุนจีนที่เข้ามาในอาเซียนรวมทั้งประเทศไทยนั้น จาเป็นที่รัฐบาลและ นักธุรกิจของประเทศไทยและประเทศสมาชิกต้องมีความพร ้อมในการปรับตัวเพื่อรองรับ การลงทุนดังกล่าวของจีน เพื่อให้เกิดประโยชน์ต่อการผลิต การค้า การลงทุน การจ้าง งานและรายได้ของประเทศตนให้มากที่สุด
  • 30.
  • 32. อาลีบาบาของจีนเร่งบุกตลาดอาเซียน • บริษัทอาลีบาบา (Alibaba) เป็นบริษัทการพาณิชย์อิเล็กทรอนิกส์หรือเป็นผู้ให้บริการ เว็บไซต์ซื้อขายสินค้าออนไลน์รายใหญ่ที่สุดของจีน ซึ่งอาลีบาบามีแผนจะเพิ่มการลงทุนและ ขยายการพัฒนาในภูมิภาคอาเซียน • ล่าสุดเมื่อ เม.ย. 2559 “ลาซาดา (Lazada)” อีคอมเมิร ์ซที่กาลังขยายฐานการเติบโตในเอเซีย ตะวันออกเฉียงใต้มีสานักงานใหญ่อยู่สิงคโปร ์ได้ถูกอาลีบาบาได้ประกาศซื้อกิจการ เพื่อ ขยายช่องทางขายสินค้าจีนสู่ตลาดอาเซียน โดยอาลีบาบามีความเชี่ยวชาญและมีเทคโนโลยี ที่เหมาะสมต่อการเติบโตของลาซาดาในอนาคตได้ดีขึ้น จากที่ลาซาดาได้กรุยทางไว้แล้ว ซึ่งทาให้สินค้าจีนหลั่งไหลเข้าสู่ตลาดไทย และประเทศต่างๆในภูมิภาคนี้เป็ นอย่างมาก • ปัจจุบัน ลาซาดาให้บริการในประเทศอินโดนีเซีย มาเลเซีย ฟิลิปปินส์ สิงคโปร ์ไทย และ เวียดนาม สื่อต่างประเทศยกให้ลาซาดาเป็นห้างสรรพสินค้าออนไลน์ที่เติบโตรวดเร็วที่สุด ส่วน หนึ่งเป็นเพราะการจาหน่ายสินค้าหลากหลายประเภท ทั้งสินค้าแฟชั่น จนถึงอุปกรณ์ เครื่องใช ้ไฟฟ้ า
  • 33. บริษัท Lenovo • เป็ นบริษัทผลิตคอมพิวเตอร ์และมือถือของจีนที่มีการพัฒนาบริษัทโดยเริ่มจากบริษัท เล็ก ๆ ด้านคอมพิวเตอร ์จนกระทั่งกลายเป็ นบริษัทยักษ์ใหญ่และเป็ นที่รู้จักไปทั่วโลก • ย้อนไปเมื่อปี1980 Lenovo วางตัวเป็ นบริษัทท้องถิ่นขายปลีกชิ้นส่วนคอมพิวเตอร ์แบ รนด์บริษัทตะวันตก เช่น สินค้ายี่ห้อ HP และIBM สาหรับตลาดภายในประเทศจีน โดย บริษัทได้เรียนรู้การทางานของประเทศตะวันตก ทั้งทางด้านการบัญชี การตลาด และ การวิจัย จากการเป็ นบริษัทฯ ที่ขายสินค้ายี่ห้อดังของตะวันตก หลังจากที่ได้เรียนรู้ เทคนิคต่าง ๆ เหล่านี้แล้วในช่วงทศวรรษปี 1990 บริษัท Lenovo จึงได้ริเริ่ม พัฒนาการผลิตและสร้างแบรนด์สินค้าของตัวเองขึ้น • บริษัท Lenovo กาลังพยายามขยายส่วนแบ่งตลาดอาเซียนเพื่อพัฒนาเป็ นบริษัท อิเล็กทรอนิกส์ยักษ์ใหญ่ของโลก