SlideShare une entreprise Scribd logo
1  sur  28
Télécharger pour lire hors ligne
1
การสัมมนา
“ความขัดแย้งในสังคมไทย ยุติได้ด้วยสตรีจริงหรือ?
นาเสนอความคิด
“บทบาทสตรีกับการสร้างสรรค์สังคมสันติสุข”
โดย
ดร. สุธาดา เมฆรุ่งเรืองกุล
ผู้ประสานงานเครือข่ายผู้หญิงพลิกโฉมประเทศไทย
19 กันยายน 2549 19 พฤษภาคม 2553
วิกฤติการเมือง
3
“ความขัดแย้งในสังคมไทย ยุติได้ด้วยสตรีจริงหรือ?
2548 2549 2550
2551 2552 2553
4
“ความขัดแย้งในสังคมไทย
กลุ่มนักการเมือง
ในระบบ
เลือกตั้ง ช่วงปี
2540- 2549
กลุ่มชนชั้นกลางใหม่
กลุ่มอนุรักษ์
นิยม ระบบ
ราชการ กลุ่มทุน
เก่า นักการเมือง
บางส่วน ใช้กลไก
“องค์กรอิสระ” เป็น
เครื่องมือหลักในการ
ต่อสู้ช่วงชิงอานาจทาง
การเมือง
5
“ความขัดแย้งในสังคมไทย
สามัคคี
(Unity)
ความ
ยุติธรรม
(Justice)
ศ.นพ. ประเวศ วะสี : “สังคมต้องมีความยุติธรรมความยุติธรรมในสังคม
เป็นรากฐานของความเจริญ สังคมใดก็ตามที่ขาดความยุติธรรมไม่อาจก้าวไปสู่
ความเจริญรุ่งเรืองได้ ไม่ว่าจะเป็นความเจริญทางเศรษฐกิจ สังคมหรือจิตใจ”
ศ.นพ.วันชัย วัฒนศัพท์ : “ความรู้สึกไม่ยุติธรรม มักนาไปสู่ความขัดแย้ง
และบางครั้งกลายเป็นความรุนแรงในทุกสังคม และชุมชน เพื่อเปลี่ยนแปลง
ไปสู่กระบวนการที่ทาให้เขาเกิดความรู้สึกร่วมกันว่ายุติธรรม”
มาร์ตอน ด๊อยท์ (Morton Deutsch) : “การแบ่งปัน วิธีการ การ
ได้รับการตอบแทน หรือฟื้นฟู ขอบเขตและระบบคุณธรรม” ที่ “ไม่ชัดเจน”
“บกพร่อง” และ “ไร้ความเป็นธรรม” จะกลายเป็นตัวแปรสาคัญที่ทาให้บุคคล
หรือกลุ่มบุคคลเกิด “ความรู้สึกไม่ยุติธรรม” ฉะนั้นจึง “ควรยึดหลักความเสมอ
ภาค หรือความเที่ยงธรรม” (Equity) “ความเท่าเทียม” (Equality) และ “ความ
จาเป็น” (Need)
รศ.ดร.มารค ตามไท: “สันติยุติธรรม” (Just – Peace) คือ “หัวใจของ
สันติวิธี” ซึ่งจะใช้สันติวิธีในมิติใดก็ตาม สันติวิธีนั้น ต้องเป็นสันติวิธีที่มี “ความ
ยุติธรรม” (Justice) เสมอ ซึ่งไม่ใช่ “ยุติ” แต่ “ไม่เป็นธรรม” ซึ่งหลาย
เหตุการณ์พบว่าปัญหาต่าง ๆ “ยุติ” แต่มักจะ “ไม่เป็นธรรม”
นิธิ เอียวศรีวงศ์ : ความสามัคคี ต้องเกิดจาก “ความเท่าเทียม” ของคนใน
สังคม ทั้งในด้านผลประโยชน์ หรือการต่อรองอย่างเท่าเทียมกัน รู้ข้อมูลของ
กันและกันด้วย ตรวจสอบกันได้ด้วย จนเกิดความไว้วางใจซึ่งกันและกัน” ความ
“สามัคคี” บนฐานของอานาจที่ไม่เท่าเทียมเป็นความสามัคคีในลักษณะของ
การกดทับ…เพื่อให้คนเล็กต้องยอมรับคนใหญ่อยู่ตลอดเวลา” ซึ่งหากความ
สามัคคีถูกตีความในลักษณะ “อย่าหือ” เช่นนี้ท่านมองว่าเป็นไปไม่ได้ที่จะสร้าง
“กติการ่วมกัน
6
ยุติได้ด้วยสตรีจริงหรือ?
2548 2549 2550
2551 2552 2553
7
ประชากรหญิงชายในปี 2553
8
ข้อจากัดของบทบาทสตรีในพื้นที่สาธารณะ
อุปสรรคกีดขวางผู้หญิงไม่ให้
เข้ามามีส่วนร่วมทางการเมือง
 ความสัมพันธ์เชิงอานาจทีเหลื่อมล้า
ระหว่างหญิงชาย
 สิทธิความเป็นพลเมือง (citizenship)
ที่เหลื่อมล้าระหว่างหญิงชายในพื้นที
การเมือง
 ภาพเหมารวม “บทบาทหญิงชาย” ที่
จัดแบ่งพื้นทีทางสังคมออกเป็นส่วนๆ
(พื้นทีส่วนตัว VS พื้นที่สาธารณะ)
พื้นที่ส่วนตัว
“ครอบครัว”
พื้นที่ส่วนตัว
“งานอาชีพ”
พื้นที่
สาธารณะ
พื้นที่
ส่วนตัว
(บทบาท
ในครอบครัว)
พื้นที่
สาธารณะ
(บทบาท
สาธารณะ
การมีส่วนร่วม
ทางการเมือง
และการ
ตัดสินใจระดับ
นโยบาย
9
 ผู้หญิงทีเป็นนักการเมืองท้องถิ่น : การเพิ่มขึ้นของสัดส่วน
ผู้หญิงจึงน่าจะเป็นเงือนไขทาให้การเมืองท้องถิ่นกลายพันธุ์
มีความเป็นธรรมาภิบาลและประชาธิปไตยแบบเข้มข้น
(radical democracy) - (ผลงานวิจัยของ กมลทิพย์, 2550;
ภิญโญ, 2539)
 มีวัฒนธรรมการทางานที่เอื้อต่อระบอบประชาธิปไตย
 มีการปรึกษาหารือ
 เน้นการมีส่วนร่วมของภาคส่วนทีเกี่ยวข้อง
 มีความอดทน
 ไม่ใช้อานาจเพื่อผลประโยชน์ส่วนตัวและพวกพ้อง
 เน้นสร้างระบบสวัสดิการให้ชุมชนและคนชายขอบ
 มีความละเอียดอ่อนในการแก้ปัญหาความขัดแย้ง
 นักการเมืองสตรีมักได้รับการกล่าวถึงว่า ซื่อสัตย์ และโปร่งใส
ในเรืองการบริหารงบประมาณ
 นักการเมืองหญิงที่ได้รับเลือกในระดับท้องถิ่น : ธรรมาภิบาล
การปกครองท้องถิ่นในมุมมองหญิงชายกรณีศึกษาจังหวัด
เชียงใหม่ – (งานวิจัยของอารยะและคณะ, 2551)
 จานวน อบต. ทั้งหมด 211 แห่ง มี อบต. จานวน 9 แห่ง ที่มี
สัดส่วนของนักการเมืองผู้หญิงอยู่ในระดับสูงกว่า สูงกว่าอัตรา
เฉลี่ย 12%
 ในจานวน 9 แห่งนั้น มีอยู่ถึง 1 แห่ง ทีสัดส่วนผู้หญิงสูงถึง
41% (อบต. ริมเหนือ อาเภอแม่ริม)
 ทีเทศบาลตาบลเชียงดาว อาเภอเชียงดาวผู้หญิงได้รับเลือกตั้ง
เป็นสมาชิกสภาท้องถิ่นถึง 31%
บทบาทสตรีในพื้นที่สาธารณะ
การมีส่วนร่วม
ทางการเมือง
และการ
ตัดสินใจ
ระดับ
นโยบายของ
ผู้หญิงหญิง ชาย
พื้นที่ส่วนตัว
“ครอบครัว”
พื้นที่ส่วนตัว
“งานอาชีพ”
พื้นที่
สาธารณะ
การมีส่วน
ร่วมทางการ
เมืองและ
การตัดสินใจ
ระดับ
นโยบาย
10
 งานหลายชิ้นยืนยันตรงกันว่ามีความเชื่อมโยงกัน
ระหว่างเพศสภาวะ ความยากจน และ ธรรมาภิบาล
ในประเทศกาลังพัฒนา
 ธรรมาภิบาล หมายถึง ความสามารถของ
พลเมืองในการอ้างถึงสิทธิและความชอบธรรม ใน
3 เรื่องหลัก คือ
 สิทธิและความชอบธรรมในการเข้าร่วมใน
กระบวนการตัดสินใจในพื้นที่สาธารณะ
 สิทธิและความชอบธรรมในการได้รับการ
ประกันว่านโยบายสาธารณะได้ผนวกรวม
ความจาเป็นและความต้องการของประชาชน
ทั้งหญิงและชายอย่างแท้จริง
 สิทธิและความชอบธรรมในการได้รับ
หลักประกันเรืองการจัดสรรแบ่งปันทรัพยากร
อย่างเป็นธรรม สิทธิอานาจอันชอบธรรมของ
พลเมืองข้างต้นจาเป็นต้องมีมิติหญิงชาย
บทบาทสตรีกับการสร้างธรรมาภิบาลและขจัดความยากจน
ธรรมาภิบาล
(Good
Governance)
เพศภาวะ
(gender)
ความยากจน
(poverty)
Sally, Baden (2000/2543)
11
“บทบาทสตรีกับการสร้างสรรค์สังคมสันติสุข”
ศ. นพ. ประเวศ วะสี :
นาเสนอแนวคิดเรื่อง
“พลังงานทางสังคม”
(Social Energy)
“พลังที่เกิดจากการร่วมกัน
คิด และร่วมกันกระทา” ที่
แต่ละคนมีอยู่เป็นหน่วย
เล็ก ๆ และก่อให้เกิดพลัง
ทางสังคมขึ้น
วิถีคิด
ใหม่
จิตสานึก
ใหม่
จุดเปลี่ยนทาง
อารยธรรม
(civilization
turning Point)
ผู้หญิง
หลากหลาย สถานะ บทบาท ทุกอาชีพ ทุกชั้นชน
03/03/60ดร. สุธาดา เมฆรุ่งเรืองกุล 13
“ชาย” หรือ
“หญิง” เป็น
“ผู้นา” ที่
ดีกว่ากัน?
Pew Research
Center ที่อเมริกา
ได้ทาการวิจัย
สารวจทัศนคติ
สาธารณะชนว่า
“ชาย” หรือ
“หญิง” เป็น
“ผู้นา” ที่ดีกว่ากัน?
03/03/60ดร. สุธาดา เมฆรุ่งเรืองกุล 14
อุปนิสัยผู้นาที่ดี 8
ประการ คือ
1. ความซื่อสัตย์
2. ความฉลาด
3. การลุยงานหนัก
4. การต้องตัดสินใจ
5. มีความมุ่งมั่น
ทะเยอทะยาน
6. มีเมตตา
7. ชอบเข้าสังคม
8. การมีความคิด
สร้างสรรค์
ผู้หญิงมีคะแนนนา
ผู้ชาย ยกเว้นเรื่อง
การตัดสินใจ ที่มี
น้อยกว่า และอีก 2
เรื่องที่ได้คะแนน
เท่ากันคือ การลุย
งานหนัก และ มี
ความมุ่งมั่น
ทะเยอทะยาน
03/03/60ดร. สุธาดา เมฆรุ่งเรืองกุล 15
คาถามคือ “ทาไมสังคมจึงยังไม่
มั่นใจว่าผู้หญิงจะสามารถเป็น “ผู้นาที่
ดี” ได้พอๆ กับ “ผู้ชาย”?
คาตอบน่าจะมาจาก
 ทัศนคติของสังคมที่มีต่อ “บทบาทผู้นา” ของผู้หญิง
 การไม่ยอมรับการเปลี่ยนแปลงใหม่ๆ
 ความเคยชินในเรื่อง การบ้าน-การเมือง
 “การบ้านเป็นเรื่องของผู้หญิง – แม่บ้าน”
 “การเมืองเป็นเรื่องของผู้ชาย – พ่อเมือง”
03/03/60ดร. สุธาดา เมฆรุ่งเรืองกุล 16
บทบาทสตรีในการยุติความขัดแย้ง
ทางการเมือง
บทเรียนจากประทศอื่นๆ
03/03/60ดร. สุธาดา เมฆรุ่งเรืองกุล 17
• ผลจากการศึกษากระบวนการ 10 ปีของราวันดา พบว่า
บทบาทของผู้หญิงต่อการสร้างสันติภาพและความ
ปรองดองของชาติ
• มีกรณีตัวอย่างของความสาเร็จหลายกรณีที่ไม่เคยเกิด
ขึ้นมาก่อน โดยเฉพาะอย่างยิ่งผู้หญิงในระดับฐานราก
(รากหญ้า/รากแก้ว) ของสังคมราวันดา
• ผู้หญิงได้ริเริ่มวิธีการแก้ไขความขัดแย้งหลังเหตุการณ์
สังหารหมู่ในปี 1994(2537)ที่เป็นเรื่องท้าทายและเป็นการ
เปิดหน้าต่างแห่งโอกาสสาหรับการสร้างความเชื่อมั่น
(trust) ระหว่างครอบครัว ชุมชน และผู้คนที่แตกต่างกันให้
กลับคืนมาสู่สังคมราวันดาอีกครั้งและสร้างความปรองดอง
(reconciling) กับอดีตศัตรูทั้งหลายด้วย
ประเทศราวันดา
03/03/60ดร. สุธาดา เมฆรุ่งเรืองกุล 18
ประเทศจอร์เจีย
• บทบาทของผู้หญิงในการทา ค่ายฤดู
ร้อนของ สมาคมสตรี IDP ของ
จอร์เจีย เพื่อนาเด็กๆ ชาวจอร์เจีย
ชาวแอปคาเศซีย และ ชาวออสเตียน
มารวมกัน
03/03/60ดร. สุธาดา เมฆรุ่งเรืองกุล 19
ประเทศปาปัวนิวกินี
• กลุ่มผู้หญิงได้ริเริ่มโครงการสร้างสันติภาพระหว่างกลุ่ม
แบ่งแยกดินแดนกลุ่มต่างๆ กับรัฐบาลที่ทาสงครามสู้รบกันมา
นานกว่า 9 ปีแล้ว
• ในปี 1994 (2537) กลุ่มผู้หญิงได้แสดงบทบาทเป็น
“ตัวกลาง” ในการการจัดสัมมนา Arawa Peace Conference
และจัดให้มีการประชุมสาธารณะ (mass meeting) ที่ผู้หญิง
จากทุกภูมิภาคทั่วประเทศและทุกส่วนต่างๆ ที่อยู่ในความ
ขัดแย้งกันมาทางานร่วมกันเพื่อสร้างสันติภาพ
• มีกิจกรรมการแลกเปลี่ยนเรียนรู้และแก้ไขความขัดแย้งแบบ
“อหิงสา” หรือ “ไม่นิยมความรุนแรง” ที่จัดระดับประเทศและทั่ว
ทั้งเกาะได้ถูกพัฒนาและนาไปสู่การฝึกอบรมผู้หญิงให้กล้าและ
สามารถที่จะเดินเข้าปุาได้โดยลาพังเพื่อแสวงหา ไปพบปะ
และเพื่อชักจูงให้บรรดาผู้ก่อการร้ายให้ยอมวางอาวุธและเจรจา
เพื่อมุ่งสู่การอยู่ร่วมกันอย่างสันติ
03/03/60ดร. สุธาดา เมฆรุ่งเรืองกุล 20
ประเทศเคนยา
• ผู้หญิงในกลุ่ม สันติภาพ Wajir
ประสบความสาเร็จในการเข้าไป
แทรกแซงความขัดแย้งระหว่างกลุ่ม
ชาติพันธุ์ต่างๆ โดยเข้าไปร่วมเป็น
บางส่วนในการเฝูาระวังมิให้เกิดการ
ปะทะกันในตลาดหรือข่าวลือร้ายๆ
ต่างในหมู่บ้าน
03/03/60ดร. สุธาดา เมฆรุ่งเรืองกุล 21
ประเทศซูดาน
• กลุ่มเสียงของสตรีในประเทศ
ซูดานเป็นกลุ่มผู้หญิงที่ช่วย
ส่งเสริมให้เกิดการ “สานเสวนา”
(dialogue) และ “ปรองดอง”
(reconciliation) ระหว่างกลุ่มชาติ
พันธุ์ต่างๆ และพวกโจรแบ่งแยก
ดินแดนในซูดานและได้จัดตั้งการ
เชื่อมโยงใต้ดินระหว่างผู้หญิงใน
ภาคเหนือและภาคใต้ของซูดาน
03/03/60ดร. สุธาดา เมฆรุ่งเรืองกุล 22
ประเทศไอร์แลนด์
• ผู้หญิงสองคนในหมู่เกาะ
ไอร์แลนด์เหนือที่นับถือคริสต์
นิกายโรมันคาทอลิกชื่อ Mairead
Maguire และ ที่นับถือคริสต์นิกาย
โปรแตสแตนส์ ชื่อ Betty
Williams ได้ติดต่อเชื่อมโยงกัน
ข้ามศาสนนิกายและจัดตั้ง
ขบวนการประชาชนเพื่อสันติภาพ
ขึ้น
03/03/60ดร. สุธาดา เมฆรุ่งเรืองกุล 23
จุดแข็งของผู้หญิงใน
กระบวนการสร้างสันติภาพและ
ความปรองดอง
• ทักษะในฟังที่ดีและเป็นผู้สื่อสารที่ชาญฉลาด
• ความตั้งใจจริงและความยืดหยุ่นในการเจรจา
ประนีประนอม
• การใช้ประสบการณ์ความชานาญการในทักษะการ
แก้ไขปัญหา
• ความใส่ใจและเอาใจใส่ในความเป็นมนุษย์ต่อกัน
และกันที่อยู่เหนือหลักการที่เป็นนามธรรม
03/03/60ดร. สุธาดา เมฆรุ่งเรืองกุล 24
15 ตุลาคม 2553 เครือข่ายผู้หญิงพลิกโฉมประเทศไทยแถลงข่าวเปิดตัวอย่างเป็นทางการ
03/03/60ดร. สุธาดา เมฆรุ่งเรืองกุล 25
ลงนามเป็นสักขีพยานในคาประกาศของเครือข่ายผู้หญิงพลิกโฉมประเทศไทย
03/03/60ดร. สุธาดา เมฆรุ่งเรืองกุล 26
03/03/60ดร. สุธาดา เมฆรุ่งเรืองกุล 27
กลุ่ม (1)
กลไกระดับชาติในการขับเคลื่อนให้ความเสมอภาคหญิงชายเป็น
กระแสหลักการพัฒนาประเทศ
กลุ่ม (2)
50:50
พลิกโฉมการเมืองไทย
กลุ่ม (3)
เศรษฐกิจที่เป็นธรรม
และเอื้ออาทร (Just
and Care Economy)
สู่สังคมเสมอภาคหญิง
ชาย
กลุ่ม (4)
สวัสดิการ สุขภาวะ
การจัดสรรทรัพยากร
ความเป็นธรรมที่ไม่
ต้องร้องขอ
กลุ่ม (6)
กระบวนการยุติธรรมที่เป็น
มิตร
และเป็นธรรมต่อผู้หญิง
กลุ่ม (5)
การศึกษาเพื่อ
เสริมสร้าง
พลังอานาจสตรี
การปฏิรูป
ประเทศ
หลากหลายบทบาทในพื้นที่สาธารณะ
ล้วนมุ่งสู่การสร้างสรรค์สังคมสันติสุข

Contenu connexe

En vedette

ภูมิรัฐศาสตร์ สกว.
ภูมิรัฐศาสตร์ สกว.ภูมิรัฐศาสตร์ สกว.
ภูมิรัฐศาสตร์ สกว.Taraya Srivilas
 
การสร้างความปรองดองแห่งชาติ สถาบันพระปกเกล้า
การสร้างความปรองดองแห่งชาติ สถาบันพระปกเกล้าการสร้างความปรองดองแห่งชาติ สถาบันพระปกเกล้า
การสร้างความปรองดองแห่งชาติ สถาบันพระปกเกล้าTaraya Srivilas
 
สถานการณ์ความขัดแย้งจากสังคมโลกสู่รากหญ้า สสสส7
สถานการณ์ความขัดแย้งจากสังคมโลกสู่รากหญ้า สสสส7สถานการณ์ความขัดแย้งจากสังคมโลกสู่รากหญ้า สสสส7
สถานการณ์ความขัดแย้งจากสังคมโลกสู่รากหญ้า สสสส7Taraya Srivilas
 
การเมืองที่รองรับความหลากหลาย
การเมืองที่รองรับความหลากหลายการเมืองที่รองรับความหลากหลาย
การเมืองที่รองรับความหลากหลายTaraya Srivilas
 
เอกสารการสร้างความปรองดอง และสมานฉันท์ ผลงาน คสช
เอกสารการสร้างความปรองดอง และสมานฉันท์ ผลงาน คสชเอกสารการสร้างความปรองดอง และสมานฉันท์ ผลงาน คสช
เอกสารการสร้างความปรองดอง และสมานฉันท์ ผลงาน คสชTaraya Srivilas
 
สันติวิธีในการจัดการความขัดแย้ง
สันติวิธีในการจัดการความขัดแย้งสันติวิธีในการจัดการความขัดแย้ง
สันติวิธีในการจัดการความขัดแย้งTaraya Srivilas
 
กระบวนการสันติภาพ
กระบวนการสันติภาพกระบวนการสันติภาพ
กระบวนการสันติภาพTaraya Srivilas
 
การสร้างความปรองดองแห่งชาติ สถาบันพระปกเกล้า
การสร้างความปรองดองแห่งชาติ สถาบันพระปกเกล้าการสร้างความปรองดองแห่งชาติ สถาบันพระปกเกล้า
การสร้างความปรองดองแห่งชาติ สถาบันพระปกเกล้าTaraya Srivilas
 
กำลังอำนาจแห่งชาติ Ndc วปอ.มส.
กำลังอำนาจแห่งชาติ Ndc วปอ.มส.กำลังอำนาจแห่งชาติ Ndc วปอ.มส.
กำลังอำนาจแห่งชาติ Ndc วปอ.มส.Taraya Srivilas
 
เปรียบเทียบสงครามโลกครั้งที่ 1 และ 2
เปรียบเทียบสงครามโลกครั้งที่ 1 และ 2เปรียบเทียบสงครามโลกครั้งที่ 1 และ 2
เปรียบเทียบสงครามโลกครั้งที่ 1 และ 2Taraya Srivilas
 
1สันติวิธีในการจัดการความขัดแย้ง ปรับปรุงล่าสุด
1สันติวิธีในการจัดการความขัดแย้ง ปรับปรุงล่าสุด1สันติวิธีในการจัดการความขัดแย้ง ปรับปรุงล่าสุด
1สันติวิธีในการจัดการความขัดแย้ง ปรับปรุงล่าสุดTaraya Srivilas
 
ภูมิปัญญาท้องถิ่นในการจัดการความขัดแย้งและการไกล่เกลี่ย แจก
ภูมิปัญญาท้องถิ่นในการจัดการความขัดแย้งและการไกล่เกลี่ย แจกภูมิปัญญาท้องถิ่นในการจัดการความขัดแย้งและการไกล่เกลี่ย แจก
ภูมิปัญญาท้องถิ่นในการจัดการความขัดแย้งและการไกล่เกลี่ย แจกTaraya Srivilas
 
การบริหารความสัมันธ์และความขัดแย้งอย่างสร้างสรรค์
การบริหารความสัมันธ์และความขัดแย้งอย่างสร้างสรรค์การบริหารความสัมันธ์และความขัดแย้งอย่างสร้างสรรค์
การบริหารความสัมันธ์และความขัดแย้งอย่างสร้างสรรค์Taraya Srivilas
 
กล้า ทำ ดี 1(1)
กล้า ทำ ดี 1(1)กล้า ทำ ดี 1(1)
กล้า ทำ ดี 1(1)Taraya Srivilas
 
1สรุปโครงการดรีม ไทยแลนด์
1สรุปโครงการดรีม ไทยแลนด์1สรุปโครงการดรีม ไทยแลนด์
1สรุปโครงการดรีม ไทยแลนด์Taraya Srivilas
 
Peace processes as joint learning processes of stakeholders and insider peace...
Peace processes as joint learning processes of stakeholders and insider peace...Peace processes as joint learning processes of stakeholders and insider peace...
Peace processes as joint learning processes of stakeholders and insider peace...Taraya Srivilas
 
สรุปถอดบทเรียน 4ส6 เข้ากรรมการ 1
สรุปถอดบทเรียน 4ส6 เข้ากรรมการ 1สรุปถอดบทเรียน 4ส6 เข้ากรรมการ 1
สรุปถอดบทเรียน 4ส6 เข้ากรรมการ 1Taraya Srivilas
 
Final paper bosnia, ja aui collected, 15.03.13, 06.39 am.
Final paper bosnia, ja aui collected, 15.03.13, 06.39 am.Final paper bosnia, ja aui collected, 15.03.13, 06.39 am.
Final paper bosnia, ja aui collected, 15.03.13, 06.39 am.Taraya Srivilas
 

En vedette (19)

ภูมิรัฐศาสตร์ สกว.
ภูมิรัฐศาสตร์ สกว.ภูมิรัฐศาสตร์ สกว.
ภูมิรัฐศาสตร์ สกว.
 
การสร้างความปรองดองแห่งชาติ สถาบันพระปกเกล้า
การสร้างความปรองดองแห่งชาติ สถาบันพระปกเกล้าการสร้างความปรองดองแห่งชาติ สถาบันพระปกเกล้า
การสร้างความปรองดองแห่งชาติ สถาบันพระปกเกล้า
 
Okinawa
OkinawaOkinawa
Okinawa
 
สถานการณ์ความขัดแย้งจากสังคมโลกสู่รากหญ้า สสสส7
สถานการณ์ความขัดแย้งจากสังคมโลกสู่รากหญ้า สสสส7สถานการณ์ความขัดแย้งจากสังคมโลกสู่รากหญ้า สสสส7
สถานการณ์ความขัดแย้งจากสังคมโลกสู่รากหญ้า สสสส7
 
การเมืองที่รองรับความหลากหลาย
การเมืองที่รองรับความหลากหลายการเมืองที่รองรับความหลากหลาย
การเมืองที่รองรับความหลากหลาย
 
เอกสารการสร้างความปรองดอง และสมานฉันท์ ผลงาน คสช
เอกสารการสร้างความปรองดอง และสมานฉันท์ ผลงาน คสชเอกสารการสร้างความปรองดอง และสมานฉันท์ ผลงาน คสช
เอกสารการสร้างความปรองดอง และสมานฉันท์ ผลงาน คสช
 
สันติวิธีในการจัดการความขัดแย้ง
สันติวิธีในการจัดการความขัดแย้งสันติวิธีในการจัดการความขัดแย้ง
สันติวิธีในการจัดการความขัดแย้ง
 
กระบวนการสันติภาพ
กระบวนการสันติภาพกระบวนการสันติภาพ
กระบวนการสันติภาพ
 
การสร้างความปรองดองแห่งชาติ สถาบันพระปกเกล้า
การสร้างความปรองดองแห่งชาติ สถาบันพระปกเกล้าการสร้างความปรองดองแห่งชาติ สถาบันพระปกเกล้า
การสร้างความปรองดองแห่งชาติ สถาบันพระปกเกล้า
 
กำลังอำนาจแห่งชาติ Ndc วปอ.มส.
กำลังอำนาจแห่งชาติ Ndc วปอ.มส.กำลังอำนาจแห่งชาติ Ndc วปอ.มส.
กำลังอำนาจแห่งชาติ Ndc วปอ.มส.
 
เปรียบเทียบสงครามโลกครั้งที่ 1 และ 2
เปรียบเทียบสงครามโลกครั้งที่ 1 และ 2เปรียบเทียบสงครามโลกครั้งที่ 1 และ 2
เปรียบเทียบสงครามโลกครั้งที่ 1 และ 2
 
1สันติวิธีในการจัดการความขัดแย้ง ปรับปรุงล่าสุด
1สันติวิธีในการจัดการความขัดแย้ง ปรับปรุงล่าสุด1สันติวิธีในการจัดการความขัดแย้ง ปรับปรุงล่าสุด
1สันติวิธีในการจัดการความขัดแย้ง ปรับปรุงล่าสุด
 
ภูมิปัญญาท้องถิ่นในการจัดการความขัดแย้งและการไกล่เกลี่ย แจก
ภูมิปัญญาท้องถิ่นในการจัดการความขัดแย้งและการไกล่เกลี่ย แจกภูมิปัญญาท้องถิ่นในการจัดการความขัดแย้งและการไกล่เกลี่ย แจก
ภูมิปัญญาท้องถิ่นในการจัดการความขัดแย้งและการไกล่เกลี่ย แจก
 
การบริหารความสัมันธ์และความขัดแย้งอย่างสร้างสรรค์
การบริหารความสัมันธ์และความขัดแย้งอย่างสร้างสรรค์การบริหารความสัมันธ์และความขัดแย้งอย่างสร้างสรรค์
การบริหารความสัมันธ์และความขัดแย้งอย่างสร้างสรรค์
 
กล้า ทำ ดี 1(1)
กล้า ทำ ดี 1(1)กล้า ทำ ดี 1(1)
กล้า ทำ ดี 1(1)
 
1สรุปโครงการดรีม ไทยแลนด์
1สรุปโครงการดรีม ไทยแลนด์1สรุปโครงการดรีม ไทยแลนด์
1สรุปโครงการดรีม ไทยแลนด์
 
Peace processes as joint learning processes of stakeholders and insider peace...
Peace processes as joint learning processes of stakeholders and insider peace...Peace processes as joint learning processes of stakeholders and insider peace...
Peace processes as joint learning processes of stakeholders and insider peace...
 
สรุปถอดบทเรียน 4ส6 เข้ากรรมการ 1
สรุปถอดบทเรียน 4ส6 เข้ากรรมการ 1สรุปถอดบทเรียน 4ส6 เข้ากรรมการ 1
สรุปถอดบทเรียน 4ส6 เข้ากรรมการ 1
 
Final paper bosnia, ja aui collected, 15.03.13, 06.39 am.
Final paper bosnia, ja aui collected, 15.03.13, 06.39 am.Final paper bosnia, ja aui collected, 15.03.13, 06.39 am.
Final paper bosnia, ja aui collected, 15.03.13, 06.39 am.
 

Similaire à บทบาทสตรีกับการสร้างสรรค์สังคมสันติสุข

คู่มือ นวัตกรสังคม เนื้อหาหลักสูตร
คู่มือ นวัตกรสังคม เนื้อหาหลักสูตรคู่มือ นวัตกรสังคม เนื้อหาหลักสูตร
คู่มือ นวัตกรสังคม เนื้อหาหลักสูตรDental Faculty,Phayao University.
 
51298376 raaylaeiiydh-ngwichaakaar-2-20354-prablaasud2
51298376 raaylaeiiydh-ngwichaakaar-2-20354-prablaasud251298376 raaylaeiiydh-ngwichaakaar-2-20354-prablaasud2
51298376 raaylaeiiydh-ngwichaakaar-2-20354-prablaasud2Pisan Chueachatchai
 
ความเป็นธรรมในสังคม
ความเป็นธรรมในสังคมความเป็นธรรมในสังคม
ความเป็นธรรมในสังคมpajaree_musikapong
 
ความเป นธรรมในส งคม
ความเป นธรรมในส งคมความเป นธรรมในส งคม
ความเป นธรรมในส งคมMai New
 
ความเป นธรรมในส งคม (2)
ความเป นธรรมในส งคม (2)ความเป นธรรมในส งคม (2)
ความเป นธรรมในส งคม (2)pajaree_musikapong
 
ความเป นธรรมในส งคม
ความเป นธรรมในส งคมความเป นธรรมในส งคม
ความเป นธรรมในส งคมMai New
 
ความเป นธรรมในส งคม
ความเป นธรรมในส งคมความเป นธรรมในส งคม
ความเป นธรรมในส งคมMai New
 
ความเป นธรรมในส งคม
ความเป นธรรมในส งคมความเป นธรรมในส งคม
ความเป นธรรมในส งคมMai New
 
ความเป็นธรรมในสังคม
ความเป็นธรรมในสังคมความเป็นธรรมในสังคม
ความเป็นธรรมในสังคมpajaree_musikapong
 
การพัฒนามนุษย์และสังคมเพื่อความเป็นไท ความหมาย
การพัฒนามนุษย์และสังคมเพื่อความเป็นไท ความหมายการพัฒนามนุษย์และสังคมเพื่อความเป็นไท ความหมาย
การพัฒนามนุษย์และสังคมเพื่อความเป็นไท ความหมายSomprasong friend Ka Nuamboonlue
 
บทที่ 2-แก้ใหม่ครั้งที่
บทที่ 2-แก้ใหม่ครั้งที่บทที่ 2-แก้ใหม่ครั้งที่
บทที่ 2-แก้ใหม่ครั้งที่T Ton Ton
 
ผู้นำกับและการจัดการความขัดแย้ง มหาจุฬาฯ
ผู้นำกับและการจัดการความขัดแย้ง มหาจุฬาฯผู้นำกับและการจัดการความขัดแย้ง มหาจุฬาฯ
ผู้นำกับและการจัดการความขัดแย้ง มหาจุฬาฯTaraya Srivilas
 
Chapter 1 ความหมายและองค์ประกอบของปัญญาชน
Chapter 1 ความหมายและองค์ประกอบของปัญญาชนChapter 1 ความหมายและองค์ประกอบของปัญญาชน
Chapter 1 ความหมายและองค์ประกอบของปัญญาชนjirawat_r
 
ศึกษาและวิเคราะห์ผลกระทบเชิงลบของการ
ศึกษาและวิเคราะห์ผลกระทบเชิงลบของการศึกษาและวิเคราะห์ผลกระทบเชิงลบของการ
ศึกษาและวิเคราะห์ผลกระทบเชิงลบของการPpitchy Saisanongyod
 
งาน P3 tast กลุ่มทหารเสือ
งาน P3 tast กลุ่มทหารเสืองาน P3 tast กลุ่มทหารเสือ
งาน P3 tast กลุ่มทหารเสือWinai Ltc
 
สิทธิมนุษยชน
สิทธิมนุษยชนสิทธิมนุษยชน
สิทธิมนุษยชนiearn4234
 
ทางออกประเทศไทย สภาพลเมือง
ทางออกประเทศไทย สภาพลเมืองทางออกประเทศไทย สภาพลเมือง
ทางออกประเทศไทย สภาพลเมืองPoramate Minsiri
 

Similaire à บทบาทสตรีกับการสร้างสรรค์สังคมสันติสุข (20)

Braincell social
Braincell socialBraincell social
Braincell social
 
คู่มือ นวัตกรสังคม เนื้อหาหลักสูตร
คู่มือ นวัตกรสังคม เนื้อหาหลักสูตรคู่มือ นวัตกรสังคม เนื้อหาหลักสูตร
คู่มือ นวัตกรสังคม เนื้อหาหลักสูตร
 
51298376 raaylaeiiydh-ngwichaakaar-2-20354-prablaasud2
51298376 raaylaeiiydh-ngwichaakaar-2-20354-prablaasud251298376 raaylaeiiydh-ngwichaakaar-2-20354-prablaasud2
51298376 raaylaeiiydh-ngwichaakaar-2-20354-prablaasud2
 
ความเป็นธรรมในสังคม
ความเป็นธรรมในสังคมความเป็นธรรมในสังคม
ความเป็นธรรมในสังคม
 
ความเป นธรรมในส งคม
ความเป นธรรมในส งคมความเป นธรรมในส งคม
ความเป นธรรมในส งคม
 
ความเป นธรรมในส งคม (2)
ความเป นธรรมในส งคม (2)ความเป นธรรมในส งคม (2)
ความเป นธรรมในส งคม (2)
 
ความเป นธรรมในส งคม
ความเป นธรรมในส งคมความเป นธรรมในส งคม
ความเป นธรรมในส งคม
 
ความเป นธรรมในส งคม
ความเป นธรรมในส งคมความเป นธรรมในส งคม
ความเป นธรรมในส งคม
 
ความเป นธรรมในส งคม
ความเป นธรรมในส งคมความเป นธรรมในส งคม
ความเป นธรรมในส งคม
 
ความเป็นธรรมในสังคม
ความเป็นธรรมในสังคมความเป็นธรรมในสังคม
ความเป็นธรรมในสังคม
 
การพัฒนามนุษย์และสังคมเพื่อความเป็นไท ความหมาย
การพัฒนามนุษย์และสังคมเพื่อความเป็นไท ความหมายการพัฒนามนุษย์และสังคมเพื่อความเป็นไท ความหมาย
การพัฒนามนุษย์และสังคมเพื่อความเป็นไท ความหมาย
 
บทที่ 2-แก้ใหม่ครั้งที่
บทที่ 2-แก้ใหม่ครั้งที่บทที่ 2-แก้ใหม่ครั้งที่
บทที่ 2-แก้ใหม่ครั้งที่
 
ผู้นำกับและการจัดการความขัดแย้ง มหาจุฬาฯ
ผู้นำกับและการจัดการความขัดแย้ง มหาจุฬาฯผู้นำกับและการจัดการความขัดแย้ง มหาจุฬาฯ
ผู้นำกับและการจัดการความขัดแย้ง มหาจุฬาฯ
 
Chapter 1 ความหมายและองค์ประกอบของปัญญาชน
Chapter 1 ความหมายและองค์ประกอบของปัญญาชนChapter 1 ความหมายและองค์ประกอบของปัญญาชน
Chapter 1 ความหมายและองค์ประกอบของปัญญาชน
 
ศึกษาและวิเคราะห์ผลกระทบเชิงลบของการ
ศึกษาและวิเคราะห์ผลกระทบเชิงลบของการศึกษาและวิเคราะห์ผลกระทบเชิงลบของการ
ศึกษาและวิเคราะห์ผลกระทบเชิงลบของการ
 
งาน P3 tast กลุ่มทหารเสือ
งาน P3 tast กลุ่มทหารเสืองาน P3 tast กลุ่มทหารเสือ
งาน P3 tast กลุ่มทหารเสือ
 
Shared magazine 3
Shared magazine 3Shared magazine 3
Shared magazine 3
 
สิทธิมนุษยชน
สิทธิมนุษยชนสิทธิมนุษยชน
สิทธิมนุษยชน
 
ทางออกประเทศไทย สภาพลเมือง
ทางออกประเทศไทย สภาพลเมืองทางออกประเทศไทย สภาพลเมือง
ทางออกประเทศไทย สภาพลเมือง
 
แผนการจัดการเรียนรู้ที่๖
แผนการจัดการเรียนรู้ที่๖แผนการจัดการเรียนรู้ที่๖
แผนการจัดการเรียนรู้ที่๖
 

Plus de Taraya Srivilas

การบริหารความขัดแย้ง บยส แจก
การบริหารความขัดแย้ง บยส แจกการบริหารความขัดแย้ง บยส แจก
การบริหารความขัดแย้ง บยส แจกTaraya Srivilas
 
นโยบายการจัดการความขัดแย้งด้วยสันติวิธี วทอ แจก
นโยบายการจัดการความขัดแย้งด้วยสันติวิธี วทอ แจกนโยบายการจัดการความขัดแย้งด้วยสันติวิธี วทอ แจก
นโยบายการจัดการความขัดแย้งด้วยสันติวิธี วทอ แจกTaraya Srivilas
 
โปสเตอร์สัญญาประชาคม
โปสเตอร์สัญญาประชาคมโปสเตอร์สัญญาประชาคม
โปสเตอร์สัญญาประชาคมTaraya Srivilas
 
จริยธรรมทางการแพทย์ 75 ปธพ.6
จริยธรรมทางการแพทย์ 75 ปธพ.6จริยธรรมทางการแพทย์ 75 ปธพ.6
จริยธรรมทางการแพทย์ 75 ปธพ.6Taraya Srivilas
 
การเรียนรู้ตามรอยพระยุคลบาท การพัฒนาคุณธรรมและจริยธรรมในการทำงาน
การเรียนรู้ตามรอยพระยุคลบาท การพัฒนาคุณธรรมและจริยธรรมในการทำงานการเรียนรู้ตามรอยพระยุคลบาท การพัฒนาคุณธรรมและจริยธรรมในการทำงาน
การเรียนรู้ตามรอยพระยุคลบาท การพัฒนาคุณธรรมและจริยธรรมในการทำงานTaraya Srivilas
 
แนวทางในการเรียนรู้ร่วมกันเพื่อลดความขัดแย้งในการจัดการป่าม้ระดับชุมชน
แนวทางในการเรียนรู้ร่วมกันเพื่อลดความขัดแย้งในการจัดการป่าม้ระดับชุมชนแนวทางในการเรียนรู้ร่วมกันเพื่อลดความขัดแย้งในการจัดการป่าม้ระดับชุมชน
แนวทางในการเรียนรู้ร่วมกันเพื่อลดความขัดแย้งในการจัดการป่าม้ระดับชุมชนTaraya Srivilas
 
สันติวิธีในการจัดการความขัดแย้ง สจว แจก
สันติวิธีในการจัดการความขัดแย้ง สจว  แจกสันติวิธีในการจัดการความขัดแย้ง สจว  แจก
สันติวิธีในการจัดการความขัดแย้ง สจว แจกTaraya Srivilas
 
ค้นหาตัวเอง อุซะ usa 69
ค้นหาตัวเอง อุซะ usa 69ค้นหาตัวเอง อุซะ usa 69
ค้นหาตัวเอง อุซะ usa 69Taraya Srivilas
 
สันติวิธีในการจัดการความขัดแย้ง วิทยาลัยตำรวจ
สันติวิธีในการจัดการความขัดแย้ง วิทยาลัยตำรวจสันติวิธีในการจัดการความขัดแย้ง วิทยาลัยตำรวจ
สันติวิธีในการจัดการความขัดแย้ง วิทยาลัยตำรวจTaraya Srivilas
 
สถานการณ์ความขัดแย้งจากสังคมโลกสู่รากหญ้า สสสส8 web
สถานการณ์ความขัดแย้งจากสังคมโลกสู่รากหญ้า สสสส8 webสถานการณ์ความขัดแย้งจากสังคมโลกสู่รากหญ้า สสสส8 web
สถานการณ์ความขัดแย้งจากสังคมโลกสู่รากหญ้า สสสส8 webTaraya Srivilas
 
สถานการณ์ความขัดแย้งจากสังคมโลกสู่รากหญ้า สสสส8 web
สถานการณ์ความขัดแย้งจากสังคมโลกสู่รากหญ้า สสสส8 webสถานการณ์ความขัดแย้งจากสังคมโลกสู่รากหญ้า สสสส8 web
สถานการณ์ความขัดแย้งจากสังคมโลกสู่รากหญ้า สสสส8 webTaraya Srivilas
 
สถานการณ์ความขัดแย้งจากสังคมโลกสู่รากหญ้า สสสส8
สถานการณ์ความขัดแย้งจากสังคมโลกสู่รากหญ้า สสสส8 สถานการณ์ความขัดแย้งจากสังคมโลกสู่รากหญ้า สสสส8
สถานการณ์ความขัดแย้งจากสังคมโลกสู่รากหญ้า สสสส8 Taraya Srivilas
 
การสร้างความสามัคคีปรองดอง ปยป. และ ความสมานฉันท์ในสังคมไทย
การสร้างความสามัคคีปรองดอง ปยป. และ ความสมานฉันท์ในสังคมไทยการสร้างความสามัคคีปรองดอง ปยป. และ ความสมานฉันท์ในสังคมไทย
การสร้างความสามัคคีปรองดอง ปยป. และ ความสมานฉันท์ในสังคมไทยTaraya Srivilas
 
การจัดการความขัดแย้งในพื้นที่
การจัดการความขัดแย้งในพื้นที่การจัดการความขัดแย้งในพื้นที่
การจัดการความขัดแย้งในพื้นที่Taraya Srivilas
 
การสร้างความปรองดองแห่งชาติ สถาบันพระปกเกล้า
การสร้างความปรองดองแห่งชาติ สถาบันพระปกเกล้าการสร้างความปรองดองแห่งชาติ สถาบันพระปกเกล้า
การสร้างความปรองดองแห่งชาติ สถาบันพระปกเกล้าTaraya Srivilas
 
นโยบายการบริหารและพัฒนาจังหวัดชายแดนภาคใต้ พ.ศ. 2560 - 2562
นโยบายการบริหารและพัฒนาจังหวัดชายแดนภาคใต้ พ.ศ. 2560 - 2562  นโยบายการบริหารและพัฒนาจังหวัดชายแดนภาคใต้ พ.ศ. 2560 - 2562
นโยบายการบริหารและพัฒนาจังหวัดชายแดนภาคใต้ พ.ศ. 2560 - 2562 Taraya Srivilas
 

Plus de Taraya Srivilas (17)

การบริหารความขัดแย้ง บยส แจก
การบริหารความขัดแย้ง บยส แจกการบริหารความขัดแย้ง บยส แจก
การบริหารความขัดแย้ง บยส แจก
 
นโยบายการจัดการความขัดแย้งด้วยสันติวิธี วทอ แจก
นโยบายการจัดการความขัดแย้งด้วยสันติวิธี วทอ แจกนโยบายการจัดการความขัดแย้งด้วยสันติวิธี วทอ แจก
นโยบายการจัดการความขัดแย้งด้วยสันติวิธี วทอ แจก
 
โปสเตอร์สัญญาประชาคม
โปสเตอร์สัญญาประชาคมโปสเตอร์สัญญาประชาคม
โปสเตอร์สัญญาประชาคม
 
จริยธรรมทางการแพทย์ 75 ปธพ.6
จริยธรรมทางการแพทย์ 75 ปธพ.6จริยธรรมทางการแพทย์ 75 ปธพ.6
จริยธรรมทางการแพทย์ 75 ปธพ.6
 
การเรียนรู้ตามรอยพระยุคลบาท การพัฒนาคุณธรรมและจริยธรรมในการทำงาน
การเรียนรู้ตามรอยพระยุคลบาท การพัฒนาคุณธรรมและจริยธรรมในการทำงานการเรียนรู้ตามรอยพระยุคลบาท การพัฒนาคุณธรรมและจริยธรรมในการทำงาน
การเรียนรู้ตามรอยพระยุคลบาท การพัฒนาคุณธรรมและจริยธรรมในการทำงาน
 
แนวทางในการเรียนรู้ร่วมกันเพื่อลดความขัดแย้งในการจัดการป่าม้ระดับชุมชน
แนวทางในการเรียนรู้ร่วมกันเพื่อลดความขัดแย้งในการจัดการป่าม้ระดับชุมชนแนวทางในการเรียนรู้ร่วมกันเพื่อลดความขัดแย้งในการจัดการป่าม้ระดับชุมชน
แนวทางในการเรียนรู้ร่วมกันเพื่อลดความขัดแย้งในการจัดการป่าม้ระดับชุมชน
 
สันติวิธีในการจัดการความขัดแย้ง สจว แจก
สันติวิธีในการจัดการความขัดแย้ง สจว  แจกสันติวิธีในการจัดการความขัดแย้ง สจว  แจก
สันติวิธีในการจัดการความขัดแย้ง สจว แจก
 
ค้นหาตัวเอง อุซะ usa 69
ค้นหาตัวเอง อุซะ usa 69ค้นหาตัวเอง อุซะ usa 69
ค้นหาตัวเอง อุซะ usa 69
 
สันติวิธีในการจัดการความขัดแย้ง วิทยาลัยตำรวจ
สันติวิธีในการจัดการความขัดแย้ง วิทยาลัยตำรวจสันติวิธีในการจัดการความขัดแย้ง วิทยาลัยตำรวจ
สันติวิธีในการจัดการความขัดแย้ง วิทยาลัยตำรวจ
 
สถานการณ์ความขัดแย้งจากสังคมโลกสู่รากหญ้า สสสส8 web
สถานการณ์ความขัดแย้งจากสังคมโลกสู่รากหญ้า สสสส8 webสถานการณ์ความขัดแย้งจากสังคมโลกสู่รากหญ้า สสสส8 web
สถานการณ์ความขัดแย้งจากสังคมโลกสู่รากหญ้า สสสส8 web
 
สถานการณ์ความขัดแย้งจากสังคมโลกสู่รากหญ้า สสสส8 web
สถานการณ์ความขัดแย้งจากสังคมโลกสู่รากหญ้า สสสส8 webสถานการณ์ความขัดแย้งจากสังคมโลกสู่รากหญ้า สสสส8 web
สถานการณ์ความขัดแย้งจากสังคมโลกสู่รากหญ้า สสสส8 web
 
สถานการณ์ความขัดแย้งจากสังคมโลกสู่รากหญ้า สสสส8
สถานการณ์ความขัดแย้งจากสังคมโลกสู่รากหญ้า สสสส8 สถานการณ์ความขัดแย้งจากสังคมโลกสู่รากหญ้า สสสส8
สถานการณ์ความขัดแย้งจากสังคมโลกสู่รากหญ้า สสสส8
 
American first muslim
American first muslimAmerican first muslim
American first muslim
 
การสร้างความสามัคคีปรองดอง ปยป. และ ความสมานฉันท์ในสังคมไทย
การสร้างความสามัคคีปรองดอง ปยป. และ ความสมานฉันท์ในสังคมไทยการสร้างความสามัคคีปรองดอง ปยป. และ ความสมานฉันท์ในสังคมไทย
การสร้างความสามัคคีปรองดอง ปยป. และ ความสมานฉันท์ในสังคมไทย
 
การจัดการความขัดแย้งในพื้นที่
การจัดการความขัดแย้งในพื้นที่การจัดการความขัดแย้งในพื้นที่
การจัดการความขัดแย้งในพื้นที่
 
การสร้างความปรองดองแห่งชาติ สถาบันพระปกเกล้า
การสร้างความปรองดองแห่งชาติ สถาบันพระปกเกล้าการสร้างความปรองดองแห่งชาติ สถาบันพระปกเกล้า
การสร้างความปรองดองแห่งชาติ สถาบันพระปกเกล้า
 
นโยบายการบริหารและพัฒนาจังหวัดชายแดนภาคใต้ พ.ศ. 2560 - 2562
นโยบายการบริหารและพัฒนาจังหวัดชายแดนภาคใต้ พ.ศ. 2560 - 2562  นโยบายการบริหารและพัฒนาจังหวัดชายแดนภาคใต้ พ.ศ. 2560 - 2562
นโยบายการบริหารและพัฒนาจังหวัดชายแดนภาคใต้ พ.ศ. 2560 - 2562
 

บทบาทสตรีกับการสร้างสรรค์สังคมสันติสุข

  • 2. 19 กันยายน 2549 19 พฤษภาคม 2553 วิกฤติการเมือง
  • 4. 4 “ความขัดแย้งในสังคมไทย กลุ่มนักการเมือง ในระบบ เลือกตั้ง ช่วงปี 2540- 2549 กลุ่มชนชั้นกลางใหม่ กลุ่มอนุรักษ์ นิยม ระบบ ราชการ กลุ่มทุน เก่า นักการเมือง บางส่วน ใช้กลไก “องค์กรอิสระ” เป็น เครื่องมือหลักในการ ต่อสู้ช่วงชิงอานาจทาง การเมือง
  • 5. 5 “ความขัดแย้งในสังคมไทย สามัคคี (Unity) ความ ยุติธรรม (Justice) ศ.นพ. ประเวศ วะสี : “สังคมต้องมีความยุติธรรมความยุติธรรมในสังคม เป็นรากฐานของความเจริญ สังคมใดก็ตามที่ขาดความยุติธรรมไม่อาจก้าวไปสู่ ความเจริญรุ่งเรืองได้ ไม่ว่าจะเป็นความเจริญทางเศรษฐกิจ สังคมหรือจิตใจ” ศ.นพ.วันชัย วัฒนศัพท์ : “ความรู้สึกไม่ยุติธรรม มักนาไปสู่ความขัดแย้ง และบางครั้งกลายเป็นความรุนแรงในทุกสังคม และชุมชน เพื่อเปลี่ยนแปลง ไปสู่กระบวนการที่ทาให้เขาเกิดความรู้สึกร่วมกันว่ายุติธรรม” มาร์ตอน ด๊อยท์ (Morton Deutsch) : “การแบ่งปัน วิธีการ การ ได้รับการตอบแทน หรือฟื้นฟู ขอบเขตและระบบคุณธรรม” ที่ “ไม่ชัดเจน” “บกพร่อง” และ “ไร้ความเป็นธรรม” จะกลายเป็นตัวแปรสาคัญที่ทาให้บุคคล หรือกลุ่มบุคคลเกิด “ความรู้สึกไม่ยุติธรรม” ฉะนั้นจึง “ควรยึดหลักความเสมอ ภาค หรือความเที่ยงธรรม” (Equity) “ความเท่าเทียม” (Equality) และ “ความ จาเป็น” (Need) รศ.ดร.มารค ตามไท: “สันติยุติธรรม” (Just – Peace) คือ “หัวใจของ สันติวิธี” ซึ่งจะใช้สันติวิธีในมิติใดก็ตาม สันติวิธีนั้น ต้องเป็นสันติวิธีที่มี “ความ ยุติธรรม” (Justice) เสมอ ซึ่งไม่ใช่ “ยุติ” แต่ “ไม่เป็นธรรม” ซึ่งหลาย เหตุการณ์พบว่าปัญหาต่าง ๆ “ยุติ” แต่มักจะ “ไม่เป็นธรรม” นิธิ เอียวศรีวงศ์ : ความสามัคคี ต้องเกิดจาก “ความเท่าเทียม” ของคนใน สังคม ทั้งในด้านผลประโยชน์ หรือการต่อรองอย่างเท่าเทียมกัน รู้ข้อมูลของ กันและกันด้วย ตรวจสอบกันได้ด้วย จนเกิดความไว้วางใจซึ่งกันและกัน” ความ “สามัคคี” บนฐานของอานาจที่ไม่เท่าเทียมเป็นความสามัคคีในลักษณะของ การกดทับ…เพื่อให้คนเล็กต้องยอมรับคนใหญ่อยู่ตลอดเวลา” ซึ่งหากความ สามัคคีถูกตีความในลักษณะ “อย่าหือ” เช่นนี้ท่านมองว่าเป็นไปไม่ได้ที่จะสร้าง “กติการ่วมกัน
  • 8. 8 ข้อจากัดของบทบาทสตรีในพื้นที่สาธารณะ อุปสรรคกีดขวางผู้หญิงไม่ให้ เข้ามามีส่วนร่วมทางการเมือง  ความสัมพันธ์เชิงอานาจทีเหลื่อมล้า ระหว่างหญิงชาย  สิทธิความเป็นพลเมือง (citizenship) ที่เหลื่อมล้าระหว่างหญิงชายในพื้นที การเมือง  ภาพเหมารวม “บทบาทหญิงชาย” ที่ จัดแบ่งพื้นทีทางสังคมออกเป็นส่วนๆ (พื้นทีส่วนตัว VS พื้นที่สาธารณะ) พื้นที่ส่วนตัว “ครอบครัว” พื้นที่ส่วนตัว “งานอาชีพ” พื้นที่ สาธารณะ พื้นที่ ส่วนตัว (บทบาท ในครอบครัว) พื้นที่ สาธารณะ (บทบาท สาธารณะ การมีส่วนร่วม ทางการเมือง และการ ตัดสินใจระดับ นโยบาย
  • 9. 9  ผู้หญิงทีเป็นนักการเมืองท้องถิ่น : การเพิ่มขึ้นของสัดส่วน ผู้หญิงจึงน่าจะเป็นเงือนไขทาให้การเมืองท้องถิ่นกลายพันธุ์ มีความเป็นธรรมาภิบาลและประชาธิปไตยแบบเข้มข้น (radical democracy) - (ผลงานวิจัยของ กมลทิพย์, 2550; ภิญโญ, 2539)  มีวัฒนธรรมการทางานที่เอื้อต่อระบอบประชาธิปไตย  มีการปรึกษาหารือ  เน้นการมีส่วนร่วมของภาคส่วนทีเกี่ยวข้อง  มีความอดทน  ไม่ใช้อานาจเพื่อผลประโยชน์ส่วนตัวและพวกพ้อง  เน้นสร้างระบบสวัสดิการให้ชุมชนและคนชายขอบ  มีความละเอียดอ่อนในการแก้ปัญหาความขัดแย้ง  นักการเมืองสตรีมักได้รับการกล่าวถึงว่า ซื่อสัตย์ และโปร่งใส ในเรืองการบริหารงบประมาณ  นักการเมืองหญิงที่ได้รับเลือกในระดับท้องถิ่น : ธรรมาภิบาล การปกครองท้องถิ่นในมุมมองหญิงชายกรณีศึกษาจังหวัด เชียงใหม่ – (งานวิจัยของอารยะและคณะ, 2551)  จานวน อบต. ทั้งหมด 211 แห่ง มี อบต. จานวน 9 แห่ง ที่มี สัดส่วนของนักการเมืองผู้หญิงอยู่ในระดับสูงกว่า สูงกว่าอัตรา เฉลี่ย 12%  ในจานวน 9 แห่งนั้น มีอยู่ถึง 1 แห่ง ทีสัดส่วนผู้หญิงสูงถึง 41% (อบต. ริมเหนือ อาเภอแม่ริม)  ทีเทศบาลตาบลเชียงดาว อาเภอเชียงดาวผู้หญิงได้รับเลือกตั้ง เป็นสมาชิกสภาท้องถิ่นถึง 31% บทบาทสตรีในพื้นที่สาธารณะ การมีส่วนร่วม ทางการเมือง และการ ตัดสินใจ ระดับ นโยบายของ ผู้หญิงหญิง ชาย พื้นที่ส่วนตัว “ครอบครัว” พื้นที่ส่วนตัว “งานอาชีพ” พื้นที่ สาธารณะ การมีส่วน ร่วมทางการ เมืองและ การตัดสินใจ ระดับ นโยบาย
  • 10. 10  งานหลายชิ้นยืนยันตรงกันว่ามีความเชื่อมโยงกัน ระหว่างเพศสภาวะ ความยากจน และ ธรรมาภิบาล ในประเทศกาลังพัฒนา  ธรรมาภิบาล หมายถึง ความสามารถของ พลเมืองในการอ้างถึงสิทธิและความชอบธรรม ใน 3 เรื่องหลัก คือ  สิทธิและความชอบธรรมในการเข้าร่วมใน กระบวนการตัดสินใจในพื้นที่สาธารณะ  สิทธิและความชอบธรรมในการได้รับการ ประกันว่านโยบายสาธารณะได้ผนวกรวม ความจาเป็นและความต้องการของประชาชน ทั้งหญิงและชายอย่างแท้จริง  สิทธิและความชอบธรรมในการได้รับ หลักประกันเรืองการจัดสรรแบ่งปันทรัพยากร อย่างเป็นธรรม สิทธิอานาจอันชอบธรรมของ พลเมืองข้างต้นจาเป็นต้องมีมิติหญิงชาย บทบาทสตรีกับการสร้างธรรมาภิบาลและขจัดความยากจน ธรรมาภิบาล (Good Governance) เพศภาวะ (gender) ความยากจน (poverty) Sally, Baden (2000/2543)
  • 11. 11 “บทบาทสตรีกับการสร้างสรรค์สังคมสันติสุข” ศ. นพ. ประเวศ วะสี : นาเสนอแนวคิดเรื่อง “พลังงานทางสังคม” (Social Energy) “พลังที่เกิดจากการร่วมกัน คิด และร่วมกันกระทา” ที่ แต่ละคนมีอยู่เป็นหน่วย เล็ก ๆ และก่อให้เกิดพลัง ทางสังคมขึ้น วิถีคิด ใหม่ จิตสานึก ใหม่ จุดเปลี่ยนทาง อารยธรรม (civilization turning Point)
  • 12. ผู้หญิง หลากหลาย สถานะ บทบาท ทุกอาชีพ ทุกชั้นชน
  • 13. 03/03/60ดร. สุธาดา เมฆรุ่งเรืองกุล 13 “ชาย” หรือ “หญิง” เป็น “ผู้นา” ที่ ดีกว่ากัน? Pew Research Center ที่อเมริกา ได้ทาการวิจัย สารวจทัศนคติ สาธารณะชนว่า “ชาย” หรือ “หญิง” เป็น “ผู้นา” ที่ดีกว่ากัน?
  • 14. 03/03/60ดร. สุธาดา เมฆรุ่งเรืองกุล 14 อุปนิสัยผู้นาที่ดี 8 ประการ คือ 1. ความซื่อสัตย์ 2. ความฉลาด 3. การลุยงานหนัก 4. การต้องตัดสินใจ 5. มีความมุ่งมั่น ทะเยอทะยาน 6. มีเมตตา 7. ชอบเข้าสังคม 8. การมีความคิด สร้างสรรค์ ผู้หญิงมีคะแนนนา ผู้ชาย ยกเว้นเรื่อง การตัดสินใจ ที่มี น้อยกว่า และอีก 2 เรื่องที่ได้คะแนน เท่ากันคือ การลุย งานหนัก และ มี ความมุ่งมั่น ทะเยอทะยาน
  • 15. 03/03/60ดร. สุธาดา เมฆรุ่งเรืองกุล 15 คาถามคือ “ทาไมสังคมจึงยังไม่ มั่นใจว่าผู้หญิงจะสามารถเป็น “ผู้นาที่ ดี” ได้พอๆ กับ “ผู้ชาย”? คาตอบน่าจะมาจาก  ทัศนคติของสังคมที่มีต่อ “บทบาทผู้นา” ของผู้หญิง  การไม่ยอมรับการเปลี่ยนแปลงใหม่ๆ  ความเคยชินในเรื่อง การบ้าน-การเมือง  “การบ้านเป็นเรื่องของผู้หญิง – แม่บ้าน”  “การเมืองเป็นเรื่องของผู้ชาย – พ่อเมือง”
  • 16. 03/03/60ดร. สุธาดา เมฆรุ่งเรืองกุล 16 บทบาทสตรีในการยุติความขัดแย้ง ทางการเมือง บทเรียนจากประทศอื่นๆ
  • 17. 03/03/60ดร. สุธาดา เมฆรุ่งเรืองกุล 17 • ผลจากการศึกษากระบวนการ 10 ปีของราวันดา พบว่า บทบาทของผู้หญิงต่อการสร้างสันติภาพและความ ปรองดองของชาติ • มีกรณีตัวอย่างของความสาเร็จหลายกรณีที่ไม่เคยเกิด ขึ้นมาก่อน โดยเฉพาะอย่างยิ่งผู้หญิงในระดับฐานราก (รากหญ้า/รากแก้ว) ของสังคมราวันดา • ผู้หญิงได้ริเริ่มวิธีการแก้ไขความขัดแย้งหลังเหตุการณ์ สังหารหมู่ในปี 1994(2537)ที่เป็นเรื่องท้าทายและเป็นการ เปิดหน้าต่างแห่งโอกาสสาหรับการสร้างความเชื่อมั่น (trust) ระหว่างครอบครัว ชุมชน และผู้คนที่แตกต่างกันให้ กลับคืนมาสู่สังคมราวันดาอีกครั้งและสร้างความปรองดอง (reconciling) กับอดีตศัตรูทั้งหลายด้วย ประเทศราวันดา
  • 18. 03/03/60ดร. สุธาดา เมฆรุ่งเรืองกุล 18 ประเทศจอร์เจีย • บทบาทของผู้หญิงในการทา ค่ายฤดู ร้อนของ สมาคมสตรี IDP ของ จอร์เจีย เพื่อนาเด็กๆ ชาวจอร์เจีย ชาวแอปคาเศซีย และ ชาวออสเตียน มารวมกัน
  • 19. 03/03/60ดร. สุธาดา เมฆรุ่งเรืองกุล 19 ประเทศปาปัวนิวกินี • กลุ่มผู้หญิงได้ริเริ่มโครงการสร้างสันติภาพระหว่างกลุ่ม แบ่งแยกดินแดนกลุ่มต่างๆ กับรัฐบาลที่ทาสงครามสู้รบกันมา นานกว่า 9 ปีแล้ว • ในปี 1994 (2537) กลุ่มผู้หญิงได้แสดงบทบาทเป็น “ตัวกลาง” ในการการจัดสัมมนา Arawa Peace Conference และจัดให้มีการประชุมสาธารณะ (mass meeting) ที่ผู้หญิง จากทุกภูมิภาคทั่วประเทศและทุกส่วนต่างๆ ที่อยู่ในความ ขัดแย้งกันมาทางานร่วมกันเพื่อสร้างสันติภาพ • มีกิจกรรมการแลกเปลี่ยนเรียนรู้และแก้ไขความขัดแย้งแบบ “อหิงสา” หรือ “ไม่นิยมความรุนแรง” ที่จัดระดับประเทศและทั่ว ทั้งเกาะได้ถูกพัฒนาและนาไปสู่การฝึกอบรมผู้หญิงให้กล้าและ สามารถที่จะเดินเข้าปุาได้โดยลาพังเพื่อแสวงหา ไปพบปะ และเพื่อชักจูงให้บรรดาผู้ก่อการร้ายให้ยอมวางอาวุธและเจรจา เพื่อมุ่งสู่การอยู่ร่วมกันอย่างสันติ
  • 20. 03/03/60ดร. สุธาดา เมฆรุ่งเรืองกุล 20 ประเทศเคนยา • ผู้หญิงในกลุ่ม สันติภาพ Wajir ประสบความสาเร็จในการเข้าไป แทรกแซงความขัดแย้งระหว่างกลุ่ม ชาติพันธุ์ต่างๆ โดยเข้าไปร่วมเป็น บางส่วนในการเฝูาระวังมิให้เกิดการ ปะทะกันในตลาดหรือข่าวลือร้ายๆ ต่างในหมู่บ้าน
  • 21. 03/03/60ดร. สุธาดา เมฆรุ่งเรืองกุล 21 ประเทศซูดาน • กลุ่มเสียงของสตรีในประเทศ ซูดานเป็นกลุ่มผู้หญิงที่ช่วย ส่งเสริมให้เกิดการ “สานเสวนา” (dialogue) และ “ปรองดอง” (reconciliation) ระหว่างกลุ่มชาติ พันธุ์ต่างๆ และพวกโจรแบ่งแยก ดินแดนในซูดานและได้จัดตั้งการ เชื่อมโยงใต้ดินระหว่างผู้หญิงใน ภาคเหนือและภาคใต้ของซูดาน
  • 22. 03/03/60ดร. สุธาดา เมฆรุ่งเรืองกุล 22 ประเทศไอร์แลนด์ • ผู้หญิงสองคนในหมู่เกาะ ไอร์แลนด์เหนือที่นับถือคริสต์ นิกายโรมันคาทอลิกชื่อ Mairead Maguire และ ที่นับถือคริสต์นิกาย โปรแตสแตนส์ ชื่อ Betty Williams ได้ติดต่อเชื่อมโยงกัน ข้ามศาสนนิกายและจัดตั้ง ขบวนการประชาชนเพื่อสันติภาพ ขึ้น
  • 23. 03/03/60ดร. สุธาดา เมฆรุ่งเรืองกุล 23 จุดแข็งของผู้หญิงใน กระบวนการสร้างสันติภาพและ ความปรองดอง • ทักษะในฟังที่ดีและเป็นผู้สื่อสารที่ชาญฉลาด • ความตั้งใจจริงและความยืดหยุ่นในการเจรจา ประนีประนอม • การใช้ประสบการณ์ความชานาญการในทักษะการ แก้ไขปัญหา • ความใส่ใจและเอาใจใส่ในความเป็นมนุษย์ต่อกัน และกันที่อยู่เหนือหลักการที่เป็นนามธรรม
  • 24. 03/03/60ดร. สุธาดา เมฆรุ่งเรืองกุล 24 15 ตุลาคม 2553 เครือข่ายผู้หญิงพลิกโฉมประเทศไทยแถลงข่าวเปิดตัวอย่างเป็นทางการ
  • 25. 03/03/60ดร. สุธาดา เมฆรุ่งเรืองกุล 25 ลงนามเป็นสักขีพยานในคาประกาศของเครือข่ายผู้หญิงพลิกโฉมประเทศไทย
  • 27. 03/03/60ดร. สุธาดา เมฆรุ่งเรืองกุล 27 กลุ่ม (1) กลไกระดับชาติในการขับเคลื่อนให้ความเสมอภาคหญิงชายเป็น กระแสหลักการพัฒนาประเทศ กลุ่ม (2) 50:50 พลิกโฉมการเมืองไทย กลุ่ม (3) เศรษฐกิจที่เป็นธรรม และเอื้ออาทร (Just and Care Economy) สู่สังคมเสมอภาคหญิง ชาย กลุ่ม (4) สวัสดิการ สุขภาวะ การจัดสรรทรัพยากร ความเป็นธรรมที่ไม่ ต้องร้องขอ กลุ่ม (6) กระบวนการยุติธรรมที่เป็น มิตร และเป็นธรรมต่อผู้หญิง กลุ่ม (5) การศึกษาเพื่อ เสริมสร้าง พลังอานาจสตรี การปฏิรูป ประเทศ