SlideShare une entreprise Scribd logo
1  sur  93
Télécharger pour lire hors ligne
โดย พลเอก เอกชัย ศรีวิลาศ
ผู้อานวยการสานักสันติวิธีและธรรมาภิบาล
สถาบันพระปกเกล้า
www.elifesara.com ekkachais@hotmail.com
การสร้างความสามัคคีปรองดอง ปยป. และความสมานฉันท์ในสังคมไทย
1. คณะกรรมการบริหารราชการแผ่นดินเชิงยุทธศาสตร์(กรรมการ 15 คน ทปษ.ผทค. 6 คน)
2. คณะกรรมการเตรียมการปฎิรูปประเทศ (กรรมการ 15 คน ทปษ.ผทค. 14 คน)
3. คณะกรรมการเตรียมการยุทธศาสตร์ชาติ (กรรมการ 14 คน ทปษ.ผทค. 16 คน)
4. คณะกรรมการเตรียมการเพื่อสร้างความสามัคคีปรองดอง (กรรมการ 33 คน ทปษ.ผทค. 3
คน)
การเตรียมความพร้อมในการขับเคลื่อนการปฎิรูปประเทศ ยุทธศาสตร์ชาติ
และการสร้างความสามัคคีปรองดอง (ปยป.)
คณะกรรมการมีหน้าที่และอานาจกลั่นกรอง ตรวจสอบ กาหนด เสนอแนะ จัดลาดับความสาคัญ
พิจารณาความเป็นไปได้ และติดตามการดาเนินการด้านการบริหารราชการแผ่นดิน การปฏิรูปประเทศ
ยุทธศาสตร์ชาติ หรือการสร้างความสามัคคีปรองดอง
•นาย สุทธิพันธ์ จิราธิวัฒน์
•ดร. อเนก เหล่าธรรมทัศน์
•คุณ อลงกรณ์ พลบุตร
•นาย วุฒิสาร ตันไชย
•ประธานสภานิติบัญญัติแห่งชาติ
•ประธานสภาขับเคลื่อนการปฏิรูป
ประเทศ
•ดร. ปณิธาน วัฒนายากร
•ดร. สุจิต บุญบงการ
คณะกรรมการเตรียมการเพื่อสร้างความสามัคคีปรองดอง
(กรรมการ 33 คน ทปษ.ผทค. 3 คน)
๑.คณะอนุกรรมการรับฟังความคิดเห็นฯ ปลัดกระทรวงกลาโหม เป็นประธานอนุกรรมการ
๒.คณะอนุกรรมการพิจารณาบูรณาการข้อคิดเห็นและข้อเสนอแนะฯ ผู้บัญชาการทหารสูงสุดเป็น
ประธานอนุกรรมการ
๓.อนุกรรมการการจัดทาข้อเสนอกระบวนการเพื่อความสามัคคีปรองดอง ผู้บัญชาการทหารบก
เป็นประธานอนุกรรมการ
๔.อนุกรรมการด้านการประชาสัมพันธ์เพื่อสร้างความสามัคคีปรองดอง โฆษกกระทรวงกลาโหม
เป็นประธานอนุกรรมการ
การแต่งตั้งอนุกรรมการ ๔ คณะเพื่อรองรับการดาเนินงาน
ของคณะกรรมการเตรียมการเพื่อสร้างความสามัคคีปรองดอง
17
15
16
18
• ขั้นรับฟังความคิดเห็น ๑๔ กุมภาพันธ์ – ๑๕ เมษายน ๒๕๖๐ ส่วนกลาง(อนุฯ ๑)และ กอ.รมน.ภาค
๑-๔ สรุปประเด็นความเห็นร่วม(อนุฯ ๒)
• ขั้นจัดการประชุมกลุ่มย่อย ๑๙-๓๐ เมษายน ๒๕๖๐ ส่วนกลาง(อนุฯ ๑)ร่างเอกสารความเห็นร่วม (อนุฯ
๒) และ กอ.รมน.ภาค ๑-๔ ร่วมสังเกตการณ์(อนุฯ ๓)
• ขั้นสรุปร่างสัญญาประชาคมฯ ๑๐-๑๘ พฤษภาคม ๒๕๖๐ ร่างสัญญาประชาคมฯ(อนุฯ ๓)
• ขั้นการจัดเวทีสาธารณะ ๒๒-๒๙ พฤษภาคม ๒๕๖๐ส่วนกลาง(อนุฯ ๓) และ กอ.รมน.ภาค ๑-๔ ร่วม
สังเกตการณ์(อนุฯ ๑,๒)
• ขั้นแถลงสัญญาประชาคม มิถุนายน ๒๕๖๐ จัดงานแถลงสัญญาประชาคมฯต่อสาธารณชนโดย อนฯ ๔
และ อณุฯ ๑,๒,๓ ร่วมรับฟังการแถลง
การดาเนินงานของคณะกรรมการเตรียมการเพื่อสร้างความสามัคคีปรองดอง
• เหตุการณ์ไม่สงบในกรุงเทพมหานคร และต่างจังหวัดได้เกิดขึ้นอย่างต่อเนื่อง ที่รุนแรงระหว่างปี 53-57
มีการอ้างเหตุผลประชาธิปไตย เรียกร้องทางการเมือง
• สาเหตุทั้งหมดเกิดจากความบกพร่องในหลายด้านที่สั่งสมอยู่ในสังคมไทยมาเป็นเวลานาน
• ถึงเวลาที่เราจะต้องมีการปฏิรูปประเทศไทย ไปสู่ความเข้มแข็ง มั่นคง มีการพัฒนาอย่างต่อเนื่อง
• วันนี้อาจเกิดความสับสนกันว่าเราจะปฏิรูปประเทศ/ปรองดองได้อย่างไร
• ปัญหาพื้นฐานของเศรษฐกิจ และสังคมยังขจัดได้ไม่หมดสิ้น และเป็นที่มาของความขัดแย้งใน
สังคมไทย และได้ถูกนามาใช้ปลุกระดมทางการเมือง เพื่อทาลายความชอบธรรมและความน่าเชื่อถือ
ของรัฐบาล
หลักคิดในการปฏิรูปประเทศ
•ปัญหาความไม่ชอบธรรมในการใช้อานาจรัฐ การทาลายทรัพยากรธรรมชาติสิ่งแวดล้อม การ
ละเมิดสิทธิมนุษยชน การแพร่ข่าวสารและข้อมูลอันเป็นเท็จ หรือถูกบิดเบือน โดยสื่อโซเชียล
•การปฏิรูปประเทศไทยกับการปรองดองความหมายต่างกัน ปรองดองหมายขัดแย้งแล้วระงับด้วย
ความออมชอม ประนีประนอม แต่จะต้องมีการบังคับใช้กฎหมายกับผู้ที่ทาความผิดทั้งแพ่งอาญา
•หลักการปฏิรูปประเทศมีเรื่องสาคัญ 3 เรื่อง 1.บทบาทและขอบเขตของประชาธิปไตย 2. ความ
ไม่เป็นธรรมของเศรษฐกิจและสังคม 3.การศึกษาเพื่อให้เกิดความถูกต้องในหลักคิด
•คาว่าประชาธิปไตยเข้าใจสับสนทั้งฝ่ายเดียวกัน หรือคนละฝ่าย ประชาธิปไตยเป็นกระบวนการ
รัฐบาลมาจากการเลือกตั้ง ผ่านขั้นตอนมายังได้รับการกล่าวหาว่าเป็นรัฐบาลที่ไม่ชอบธรรม แสดง
ว่าการเมืองในระบอบประชาธิปไตยของไทยมีปัญหา กติกาประชาธิปไตยพัฒนามาเกินขีด
ความสามารถของสังคมไทยเท่าที่เป็นอยู่ในปัจจุบันจะพึงปฏิบัติได้
•ความไม่เป็นธรรมทางเศรษฐกิจ เป็นจุดอ่อนในระบบเศรษฐกิจแบบทุนนิยมของประเทศไทย
•ความไม่เป็นธรรมในสังคม ต้องใช้มาตรฐานเดียวในการปฏิบัติต่อกลุ่มบุคคล บุคคล ที่มีความผิด
แตกต่างกันไป
•ยอมรับว่ามีความไม่เป็นธรรมทางสังคมสูงสุด คือความเสียเปรียบของผู้ที่ด้อยกว่า
•การปฏิรูปการศึกษา มีความสนใจ เอาใจใส่พยายามตลอดมา แต่ยังไม่สนองตอบตอบความมุ่ง
หมายของสังคมอย่างตรงประเด็น และมีประสิทธิภาพ
•มีหลักคิดที่ไม่ถูกต้องหลายเรื่อง นาไปสู่ความปั่นป่วน และเสื่อมโทรมของสังคม การ“คิดเป็น”
หรือสอนให้ “รู้จักคิด” ยังไม่เพียงพอ ต้องสอนให้ “รู้จักคิด คิดเป็น และมีหลักคิดที่ถูกต้อง”
หลักคิดที่ถูกต้อง ที่อยู่ในคาสอนของศาสนา ทุกศาสนา
•หลักคิดที่ว่าอาจไม่สอดคล้องกับกระแสหลักในโลกยุคปัจจุบัน ต้องช่วยปลุกจิตสานึกของคนไทยให้
ความสนใจปัญหา และข้อเท็จจริงเกี่ยวกับสังคมไทยโดยรอบด้าน
๑. ประเทศไทยมีโครงสร้างและพื้นฐานที่เก่าแก่ เข้มแข็ง
๒. การปฏิรูปประเทศไทย จะต้องพิจารณาดาเนินการเฉพาะเรื่อง ที่ไม่ได้เป็นหลักการพื้นฐานแห่ง
รัฐธรรมนูญ
๓. การปฏิรูปประเทศไทย จะต้องพยายามหลีกเลี่ยง / ไม่นาประเด็นที่มีความแตกต่างกัน ในความคิดเห็น
ที่มีที่มาเป็นเหตุ ที่ไม่อาจยุติได้โดยง่าย
๔. อาจมีบางสิ่ง ที่อยู่นอกเหนือจากที่กล่าวไว้ในรัฐธรรมนูญ หรือแผนพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติ
หรือกฎหมายที่มิได้กาหนด การปฏิรูปประเทศไทยที่ “หลักคิด” ซึ่งต้องยอมรับความจาเป็นของการปฏิรูป
ที่ “เหตุ” เมื่อได้ปฏิรูปตรงนี้ได้สาเร็จ สิ่งที่ตามมาก็จะดาเนินไปอย่างถูกต้องและมีประสิทธิผล นาไปสู่
ความปรองดองภายในสังคมตามธรรมาภิบาล
สิ่งที่พึงกระทา คือ การทบทวนหลักคิดในการปฏิรูปประเทศไทย
๕.สังคมไทยปัจจุบัน มีเรื่องสาคัญ 3 เรื่องหากทาได้สาเร็จประเทศไทยจะมีสันติสุข สามัคคีปรองดอง มี
ศักยภาพในการก้าวไปข้างหน้า ประเด็นสาคัญ 3 เรื่องคือ ขอบเขตและบทบาทประชาชน ความไม่เป็น
ธรรมทางเศรษฐกิจสังคม และการปฏิรูปหลักคิดในการจัดการศึกษา
๖. ระมัดระวังอย่าให้ปะปนกันระหว่างประชาธิปไตยกับอนาธิปไตย ซึ่งเป็นภัยใหญ่หลวงแก่สังคมและ
ประเทศชาติ
๗. การป้องกันการเปลี่ยนแปลงรัฐบาลหรือการยึดอานาจรัฐด้วยวิธีใดๆ ขึ้นอยู่กับจริยธรรมทางการเมือง
ของผู้ครองอานาจ
๘. สาเหตุสาคัญในการถูกยึดอานาจ ซึ่งถูกนาเป็นเงื่อนไขก็คือ พื้นที่ประชาธิปไตยที่ถูกขยายขอบเขตไป
จนเกินความเหมาะสม หากไม่ต้องการให้การยึดอานาจเกิดขึ้นอีก ก็จะต้องป้องกันมิให้พื้นที่ประชาธิปไตย
เกินขอบเขต นาไปสู่ความปั่นป่วน ความวุ่นวาย เพราะเมื่อสถานการณ์ไปสู่ขั้นนั้น การควบคุม
สถานการณ์ให้อยู่ในความสงบ ก็จาเป็นต้องใช้เจ้าหน้าที่ทหาร
๙. พื้นที่ประชาธิปไตย หมายถึง ขอบเขตของสิทธิเสรีภาพของประชาชน ที่ได้รับการรับรอง
คุ้มครองโดยรัฐธรรมนูญ ต้องมีความเหมาะสม สอดคล้องกับ
ขนบธรรมเนียมประเพณี และวัฒนธรรมของบุคคลในชาติ
๑๐. เรื่องรูปแบบของรัฐบาลและการปกครองในระบอบประชาธิปไตย สาระสาคัญคือ “ปวง
ชน” เป็นเจ้าของประชาธิปไตย ไม่ใช่ “ประชาชน”
๑๑. หลักการในเรื่องการคุ้มครองสิทธิ เสรีภาพ และความเสมอภาคของบุคคล
๑๒. “พื้นที่ประชาธิปไตย” ที่กาหนดไว้ในรัฐธรรมนูญ มีสิทธิ 3 ประการ การบานปลายไปสู่
การจลาจล หากมีการปลุกระดมเผยแพร่ด้วยข้อความเป็นเท็จ เพื่อให้เกิดความเข้าใจผิด และ
เกลียดชัง ได้แก่ สิทธิชุมชน สิทธิในการแสดงความคิดเห็นของมวลชนและสื่อมวลชน และ
เสรีภาพในการชุมนุม การปฏิรูปประเทศไทยจึงจาเป็นต้องทบทวนบทบัญญัติเหล่านี้
๑๓. โครงการหรือกิจกรรม อันอาจส่งผลกระทบต่อชุมชน ทั้งคุณภาพสิ่งแวดล้อม
ทรัพยากรธรรมชาติ และสุขภาพ จาเป็นต้องมีการศึกษาประเมินผลกระทบ รับฟังความคิดเห็น
ก่อน ต้องทาทุกอย่างให้สมดุล ทั้งพัฒนาสิ่งแวดล้อม, คุณภาพชีวิต ฯลฯ
๑๔. การให้เสรีภาพในการแสดงความคิดเห็น
๑๕. สิทธิเสรีภาพที่ได้รับความคุ้มครองตามรัฐธรรมนูญ สมควรจะต้องทบทวน คือ บทบัญญัติ
ที่ว่าด้วย “เสรีภาพในการชุมนุม” ซึ่งอาจส่งผลกระทบต่อประชาธิปไตย ภาพรวม อย่างรุนแรง
จนกระทั่ง “อนาธิปไตย” เข้ามาถึงใจกลางของประเทศ
๑๖. จุดบกพร่องที่สาคัญอีกเรื่อง คือ การใช้อานาจเงิน เพื่อผลประโยชน์ทางการเมือง การซื้อสิทธิ์
ขายเสียง
๑๗. ความไม่เป็นธรรม เป็นความรู้สึกที่เกิดขึ้นกับทุกคน ทุกกลุ่ม บุคคลที่ไม่ได้รับสิ่งที่คาดหมาย
ว่าจะได้รับ
๑๘. ความไม่เป็นธรรมทางเศรษฐกิจเกิดจากบุคคลกลุ่มบุคคลที่มีความสามารถมีศักยภาพภายใน
การผลิตสินค้าและบริการที่แตกต่างกัน
๑๙. ความเป็นเจ้าของ “ปัจจัยการผลิต” เป็นที่มาของการได้เปรียบเสียเปรียบกันในทางเศรษฐกิจ
๒๐. การแก้ไขความไม่เป็นธรรมทางเศรษฐกิจไม่อาจแก้ไขได้โดยง่าย
๒๑. ความไม่เป็นธรรมทางเศรษฐกิจ อันเนื่องมาจากการแบ่งสรรมูลค่าเพิ่ม
๒๒. หัวใจเศรษฐกิจอยู่ที่การผลิต
๒๓. ความไม่เป็นธรรมทางเศรษฐกิจ และสังคม” ต้องดูแลด้วยการแบ่งสรรมูลค่าเพิ่มให้มีความ
เหมาะสมขึ้น บรรลุความสาเร็จได้ต้องเยียวยา 4 ประการ คือ (1) การจัดสวัสดิการสังคมที่สมบูรณ์
แบบ (2) การสร้างระบบเศรษฐกิจชุมชนในพื้นที่ชนบท (3) การปฏิรูประบบภาษีอากร และ (4)
การอานวยความยุติธรรมแก่ผู้ด้อยโอกาส/ฐานะทางเศรษฐกิจและสังคม การเยียวยาดังกล่าวควร
อยู่ใน “แผนการปฏิรูปประเทศ”
๒๔. การจัดระบบเศรษฐกิจชุมชนในพื้นที่ชนบท
๒๕. ระบบเศรษฐกิจชุมชน ก็คือ “สหกรณ์” นั่นเอง
๒๖. การปฏิรูประบบภาษีอากร เราต้องให้ความสาคัญต่อภาษีการบริโภค และการใช้ภาษีทรัพย์สินและมรดก ซึ่งจะเป็น
มาตรการลดความแตกต่างในฐานะของบุคคล อันเป็นที่มาของความไม่เป็นธรรมทางเศรษฐกิจและสังคม
แม้สังคมจะอนุญาตให้บุคคล สามารถสะสมทรัพย์สมบัติได้ แต่ไม่สมควรจะมากเกินไป
๒๗. กรณีบทบัญญัติ ที่กาหนดไว้ว่า “บุคคลย่อมเสมอกัน” ในกฎหมาย
๒๘. พลเมือง เป็นสิ่งสาคัญในการวัดความเป็นปึกแผ่น มั่นคง ความเจริญก้าวหน้า
๒๙. ความสัมพันธ์กับนานาอารยประเทศ
๓๐. จุดอ่อนที่สุดในการจัดการศึกษาของเมืองไทย
๓๑. จิตสานึกควรมีการปลูกฝังในสังคมไทย
๓๒. นอกจากการปลูกฝังจิตสานึกแล้ว การจัดการศึกษาในเมืองไทย ยังคงต้องเน้นการปลูกฝังหลักคิดที่ถูกต้อง ให้กับคน
ไทย/เยาวชนไทย
19
20
21
22
23
24
25
26
27
28
29
30
๑. ด้านการเมือง การแก้ปัญหาโดยสันติวิธีเพื่อไม่ให้เกิดความขัดแย้งในสังคมไทยขึ้นอีก
ทั้งก่อน ระหว่างและหลังการเลือกตั้งที่จะมาถึงนี้
๒. ด้านความเหลื่อมล้า เช่น การครอบครองที่ดินทากินของเกษตรกร การเข้าถึงแหล่งน้า
มักถูกยกมาเป็นประเด็นสร้างความขัดแย้งอย่างกว้างขวาง จะมีการพูดถึงแนวทางใน
การแก้ปัญหาความเหลื่อมล้า เพื่อลดความขัดแย้ง และสร้างความปรองดองใน
สังคมไทย
๓. ด้านกฎหมายและกระบวนการยุติธรรม เพื่อไม่ให้มีความเสี่ยงต่อการขยายไปสู่ความ
ขัดแย้ง จะมีทางออกหรือวิธีการดาเนินการต่อประเด็นความขัดแย้งที่เกิดจากความไม่
ยอมรับในกระบวนการยุติธรรม การแทรกแซงการบังคับใช้กฎหมายอย่างไร
๑๐ คาถามของ ปยป.สู่สัญญาประชาคม
๔. มีแนวทางเสริมสร้างความปรองดองให้เกิดขึ้นในสังคมไทย ต่อประเด็นความ
แตกต่างทางสังคม ความเชื่อ ศาสนา วัฒนธรรม เศรษฐกิจ การศึกษา และ
สาธารณสุขอย่างไร
๕. แนวทางในการไม่ให้สื่อเป็นเครื่องมือสร้างความขัดแย้งได้อย่างไร
๖. มีแนวทางที่จะทาให้การใช้ประโยชน์จากทรัพยากรธรรมชาติ และสิ่งแวดล้อม
เช่น ความขัดแย้งเรื่องพลังงาน การก่อสร้างโรงไฟฟ้ า ฯลฯ ไม่ถูกหยิบยกขึ้นมาสร้าง
ความขัดแย้งในสังคมได้อย่างไร
๑๐ คาถามของ ปยป.สู่สัญญาประชาคม
๗. มีแนวคิดที่จะดาเนินการต่อประเด็นปัญหากิจการภายในประเทศมายกระดับให้
เป็นปัญหาการเมืองระหว่างประเทศ รวมทั้งผลกระทบจากการดาเนินการของ
ต่างประเทศ เช่น ปัญหาเขตแดน ปัญหาด้านสิทธิมนุษยชน ปัญหาเสรีภาพและ
ประชาธิปไตย ปัญหาแรงงานและการค้ามนุษย์ ฯลฯ ที่ส่งผลทาให้เกิดความ
แตกแยกในสังคมไทยอย่างไร
๘. มีแนวคิดอย่างไร ที่จะป้องกันการทุจริตคอร์รัปชั่น เพื่อไม่ให้เป็นสาเหตุนามาซึ่ง
ความขัดแย้ง ในสังคมไทย
๑๐ คาถามของ ปยป.สู่สัญญาประชาคม
๙. ด้านการปฏิรูป มีข้อเสนอแนะเพื่อการปฏิรูปอย่างไร เพื่อให้เกิดความสามัคคี
ปรองดอง
๑๐. มีข้อเสนอแนะให้เกิดการยอมรับและร่วมขับเคลื่อนยุทธศาสตร์ชาติ ๒๐ ปี ไปสู่
ความสาเร็จร่วมกัน หรือไปสู่เป้าหมายร่วมกันอย่างไร
มีข้อเสนอจากคณะกรรมการฝากเพิ่มเติมในวันนี้เป็นข้อที่ ๑๑ คือ มองปัญหาที่
เกิดขึ้นอย่างไร และจะแก้ไขปัญหาอย่างไร
๑๐ คาถามของ ปยป.สู่สัญญาประชาคม
พระราชดารัส ที่พระราชทานแก่ประชาชนชาวไทย ในโอกาสขึ้นปีใหม่ 2494 ดังความตอนหนึ่งว่า
“ . ประวัติศาสตร์ได้แสดงให้ปรากฏตลอดมาว่า ชาติใดเสื่อมสูญย่อยยับอับปางไป ก็เพราะ
ประชาชาติขาดสามัคคีธรรม แตกแยกเป็นหมู่คณะ เป็นพรรคเป็นพวก คอยเอารัดเอาเปรียบ
ประหัสประหารซึ่งกันและกัน บางพรรคบางพวก ถึงกับเป็นไส้ศึกให้ศัตรูมาจู่โจมทาลายชาติของ
ตนดังนี้ ข้าพเจ้าจึงขอชักชวนพี่น้องชาวไทยทั้งหลาย ให้ระลึกถึงพระคุณของบรรพบุรุษ ซึ่งได้
กอบกู้รักษาบ้านเกิดเมืองนอนของเรามานั้นให้จงหนัก แล้วถือเอาความสามัคคี ความยินยอม
เสียสละส่วนตัวเพื่อประโยชน์ยิ่งใหญ่ของประเทศชาติ เป็นคุณธรรมประจาใจอยู่เนืองนิจ จึง
ขอให้พี่น้องชาวไทยทั้งหลาย จงบาเพ็ญกรณีกิจของตนแต่ละคนด้วยซื่อสัตย์สุจริต
ขยันหมั่นเพียร อดทนและกล้าหาญ แล้วอุทิศความเสียสละส่วนตัว ความเหน็ดเหนื่อยลาบาก
ยากแค้น เป็นพลีบูชาบรรพบุรุษ ผู้ซึ่งได้ก่อสร้างชาติเป็นมรดกตกทอดมาถึงพวกเราชาวไทยจน
บัดนี้”
www.kpi.ac.th
บทบัญญัติที่กาหนดในกฎบัตรสหประชาชาติหมวดที่ ๑ Article 2 ข้อ 7
ปัญหาความขัดแย้งภายในชาติใดชาติหนึ่ง
อาจมีสาเหตุจากเงื่อนไขหนึ่งหรือหลายประการประกอบกัน
• ความไม่เป็นธรรมในสังคม
• ความแตกต่างทางเชื้อชาติ ศาสนา เผ่าพันธุ์
• การรักษาการปกครองของรัฐ
• กฎหมายหรือองค์กรบังคับใช้กฎหมาย อ่อนแอ
• ภูมิรัฐศาสตร์ที่ไม่เอื้ออานวยให้อานาจการปกครองของรัฐบาลกลางสถาปนา
ครอบคลุมพื้นที่อย่างเต็มประสิทธิภาพ
www.kpi.ac.th
“... ถ้าไม่สามัคคี ก็บอกแล้วว่าประเทศจะประสบความหายนะ
ไม่ใช่คาหายนะแต่ก็คล้าย ๆ กันว่า ถ้าไม่สามัคคีกัน ไม่ปรองดอง
กัน ประเทศชาติล้ม ถ้าล้มก็ผลของการล้มนั้นมีหลายอย่าง ถ้า
ร่างกายก็ร่างกาย กระดูกหักและต้องเข้ารักษาที่รักษานาน ๆ ไม่มี
สิ้นสุด ถ้าไม่ระวังประเทศชาติก็ล่ม เมื่อล่มเราจะไปอยู่ที่ไหน คือ
ล่ม ล่มก็หมายถึงว่าลงไป จม ล่มจม ถ้าเราไม่ระวังประเทศชาติล่ม
จม...”
“... พูดถึงว่าเมืองไทย บ่นว่าเดือด ที่จริงไม่ได้เดือด แต่คนน่ะเดือด คน
มันทาเดือด ทาให้คนเดือดร้อน แล้วเวลาเดือดร้อนเนี่ยมันไม่สบาย
น้าเดือดมีประโยชน์ต้มไข่ได้ แต่ว่าถ้าเดือดเฉย ๆ ไม่มีประโยชน์ ทา
ให้คนเดือดร้อน นี่สิ้นเปลืองเปล่า ๆ แล้วก็เมื่อคนทาให้เดือดร้อน
ที่ว่าสิ้นเปลืองเปล่า ๆ แล้วก็บ่น บ่นว่าประเทศลุกเป็นไฟ ก็ต้องระวัง
ไม่ให้ลุกเป็นไฟ เพราะว่าจะทาให้ล่มจม ล่มจมนี้ที่ต่างประเทศเขา
บอกว่า เมืองไทยจะล่ม จะจม ความจริงยังไม่ล่ม แล้วก็ไม่จม แต่ถ้าไม่
ระวังก็จะล่มจม ฉะนั้น ก็จะต้องระมัดระวัง ทุกวันนี้ไม่ปรองดองกัน
เมื่อไม่ปรองดองก็มีรู ก็จะล่ม จะล่มจมลงไป...”
“...บ้านเมืองจะมี ความมั่นคงเป็นปรกติสุขอยู่ได้ ก็ด้วยนานาสถาบันอัน
เป็นหลักของประเทศ และคนไทยทุกหมู่เหล่า มีความสมัครสมาน
ปรองดองกันดี และรู้จักปฏิบัติหน้าที่ให้ประสานส่งเสริมกัน ความ
พร้อมเพรียงของทุกฝ่ายทุกคน ที่มีความสานึกแน่ชัดในหน้าที่ความ
รับผิดชอบ และตั้งใจปฏิบัติตนปฏิบัติงานให้ดี ให้ประสานสอดคล้อง
กันนี้ จัดเป็นความสามัคคีอย่างหนึ่ง คือความสามัคคีในชาติ ทุกคนใน
ชาติจะได้ตั้งตนตั้งใจให้อยู่ในความสามัคคีดังกล่าว ประโยชน์และ
ความสุขจะบังเกิดขึ้น พร้อมทั้งแก่ส่วนตัว และส่วนรวม ประเทศชาติ
ของเราจะสามารถรักษาความเป็นปรกติ มั่นคง พร้อมทั้งพัฒนาให้
รุดหน้าไปได้ดังปรารถนา...”
พระราชดารัสความสาคัญตอนหนึ่งว่า.....
•“... ไทยเรารักษาเอกราชและผืนแผ่นดินให้มั่นคงเป็นปึกแผ่นมาได้ ก็เพราะเราทุก
คนมีความสานึกตระหนักในความเป็นไทยและหน้าที่ ที่จะธารงรักษาชาติประเทศ
ไว้ให้เป็นอิสระมั่นคงตามประวัติการณ์ ที่ปรากฏ มา คนไทยจึงมีจิตใจผูกพัน
ปรองดอง อันหนึ่งอันเดียวกัน ไม่แยกพวก แยกเหล่า มีปกติสามัคคีพร้อมเพรียง
กันเสมอ
การสร้างความปรองดอง
• เป็นกระบวนการต่างๆ ที่ป้องกันไม่ให้ความขัดแย้งเกิดขึ้นมาใหม่อีกครั้งเพราะจะรุนแรงมากขึ้น
• การสร้างสันติภาพด้วยการหยุดยั้งวงจรแห่งความรุนแรง และสร้างประชาธิปไตยให้กลับคืนมาอีกครั้ง
• เป็นกระบวนการที่นาไปสู่การลดความเกลียดชัง แตกแยก และสร้างความไว้วางใจให้ฟื้ นคืน
ความสัมพันธ์ระหว่างกลุ่มคนที่เคยขัดแย้งรุนแรง
• เป็นการแสดงความรับผิดชอบต่อการกระทาในอดีต การยอมรับความจริงที่เกิดขึ้น การเมตตาให้อภัย
ตลอดจนการมองภาพอนาคตของสังคมร่วมกัน
๑. การสานเสวนาเป็นเงื่อนไขสาคัญสาหรับการนาไปสู่การสร้างความปรองดอง
๒. เน้นหรือจัดการกับอารมณ์และความรู้สึกของคน
๓. ความปรองดองเกิดขึ้นได้เมื่อความต้องการของมนุษย์ได้รับการตอบสนอง
๔. ศาสนาเป็นเครื่องมือที่สาคัญมากในการแก้ไขความขัดแย้ง
๕. การสร้างความปรองดองจาเป็นมากที่จะต้องใช้แนวทางที่หลากหลาย
๖. การสร้างความปรองดองเน้นที่หัวใจ
๗. คานึงถึงวัฒนธรรมที่หลากหลายในกระบวนการสร้างความปรองดอง
๘. การให้อภัยมีความแตกต่างกันออกไปในแต่ละสังคม
๙. ความยุติธรรมแบบใดที่เหมาะสมสาหรับการสร้างความปรองดอง
หลักการสร้างความปรองดอง
กระบวนการสร้างพื้นที่ให้เกิดการพูดคุย
๑) การสานเสวนาเกิดขึ้นได้เมื่อคู่กรณีร่วมกันหาข้อตกลงไปสู่การเปลี่ยนแปลง มุมมอง ความรู้สึกโกธร ความเกลียดที่มี
ต่อกัน
๒) จัดการกับอารมณ์และความรู้สึกของคน เปิดเผยอารมณ์ความรู้สึกของตนเอง เยียวยาอดีตและความเจ็บปวดใน
ปัจจุบัน และการเยียวยาความรู้สึกทางจิตใจของคน การยอมรับความจริงแทนหนทางการต่อสู้กัน ให้คนที่เกลียดชังกัน
มาพูดคุยกันได้ ต้องมีพื้นที่ปลอดภัยเพื่อสร้างอนาคตร่วมกัน ยอมรับผู้แทนของแต่ละฝ่าย ยอมรับตัวตนซึ่งกันและ
กัน และยอมรับอดีตที่เกิดขึ้น มีคณะกรรมการแสวงหาข้อเท็จจริงและสร้างความปรองดองเพื่อเยียวยาเหยื่อและสังคม
เป้าหมายไม่ใช่เพื่อลงโทษผู้กระทา แต่เพื่อทาให้คนในสังคมอยู่ร่วมกันได้
๓) ความปรองดองเกิดขึ้นไม่ได้ หากเขารู้สึกไม่ปลอดภัยมั่นคงในการอยู่ร่วมกับศัตรู การให้อภัยเป็นสิ่งจาเป็นแต่จะ
เกิดขึ้นไม่ได้เลย ถ้าความต้องการของมนุษย์ถูกละเลย หรือในกรณี ถ้าไม่เกิดการยอมรับในอัตลักษณ์ของชนกลุ่ม
๔) ศาสนาเป็นเครื่องมือที่สาคัญในการแก้ไขความขัดแย้ง การเยียวยาความรู้สึก การสร้างความสัมพันธ์ที่
แตกร้าวให้กลับขึ้นมาใหม่ ต้องการมากกว่าการเจรจาไกล่เกลี่ย ที่ได้แต่ความความต้องการที่แท้จริง
เท่านั้น ต้องใช้สัญลักษณ์และพิธีกรรม ตามความเชื่อทางศาสนา และพิธีกรรมในการสร้างความ
ปรองดอง
๕) การสร้างความปรองดองต้องใช้แนวทางที่หลากหลาย ทั้งด้านจิตใจ กฎหมาย สังคม วัฒนธรรม
จิตวิทยาและการเมือง การเจรจาเพียงอย่างเดียวไม่สามารถนาไปสู่การสร้างสันติภาพได้ ต้องสร้าง
กิจกรรมร่วมกันในภาคประชาสังคมด้วย จะประสบความสาเร็จได้ต้องได้รับความร่วมมือทั้งภาครัฐและ
ภาคประชาชน จนถึงผู้นาที่ได้รับการยอมรับจากคู่กรณี
๖) การปรองดองเน้นที่หัวใจ และความคิด โดยกาหนดเป้าหมายของการพูดคุย และดาเนินไปในทิศทางที่
ควรจะเป็น ส่วนการเน้นที่หัวใจคือเป็นการพูดคุยกันถึงอารมณ์ ความรู้สึกที่อยู่ลึกในจิตใจ
๗) คานึงถึงวัฒนธรรมที่หลากหลายในกระบวนการสร้างความปรองดอง ไม่เน้นที่การรับหรือนาวิธีการและกฎหมายของ
ประเทศตะวันตกมาใช้แต่ต้องปรับใช้ให้เหมาะกับบริบทของสังคม
๘) การให้อภัยมีความแตกต่างกันออก ในแต่ละสังคมและวัฒนธรรม ไม่ควรยึดติดแต่เพียงรูปแบบเดียว แต่ละ
วัฒนธรรมมีมุมมองต่อการให้อภัยและการสร้างความปรองดองที่แตกต่างกันออกไป
๙) จะเลือกความยุติธรรมแบบไหนที่เหมาะสม เพื่อให้ความสัมพันธ์กลับคืนมาระหว่างคู่กรณี หรือความยุติธรรมแบบมุ่ง
แก้แค้น ที่เน้นลงโทษผู้กระทาผิด เนื่องจากเหยื่อมีความต้องการให้ลงโทษผู้กระทาผิด เป็นสิ่งที่ท้าทายทั้งนักปฏิบัติ
และนักวิชาการในการเลือกใช้ความยุติธรรมแบบไหน หลังเหตุการณ์ความรุนแรง แม้คาตอบของความยุติธรรมไม่ได้
อยู่ที่การยอมคืนดีเสมอไป แนวทางหนึ่งที่นักสันติวิธีมักใช้อย่างกว้างขวางเพื่อจัดการกับปัญหาความขัดแย้งที่รุนแรง
ในสังคมในอีกรูปแบบหนึ่งคือ ความยุติธรรมระยะเปลี่ยนผ่าน
กระบวนการและเครื่องมือในการสร้างความปรองดอง
•เครื่องมือในการเปิดพื้นที่ในการพูดคุย สร้างความปรองดองอาจจะอาศัยวิธีการอย่างใด
อย่างหนึ่งหรือผสมผสานกันหลายวิธีการก็ได้ขึ้นอยู่กับสภาพปัญหาและบริบททาง
วัฒนธรรมของแต่ละสังคม โดยมีเป้าหมายที่สาคัญก็คือการสร้างสังคมที่คนเห็นต่างแต่
สามารถอยู่ร่วมกันได้อย่างสันติ
•ผู้อานวยความสะดวกในการชวนคุย (Facilitators)
•เอาใจเขามาใส่ใจเรา และการมีวัฒนธรรมประชาธิปไตย มีการเยียวยาทางจิตใจ
• ปรองดองในสังคม ตั้งอยู่บนฐานคิดของความยุติธรรมในระยะเปลี่ยนผ่านและการอยู่ร่วมกันบนความแตกต่าง เพื่อ
ยุติความรุนแรง ลดความเกลียดชังแตกแยก
• สร้างความไว้วางใจและฟื้ นคืนความสัมพันธ์ระหว่างกลุ่มคนที่เคยขัดแย้งกันรุนแรง และนาไปสู่สังคมปรองดองที่ผู้คน
ซึ่งมีความแตกต่างไม่ว่าจะเป็นทางความคิดความเชื่อ ชาติพันธุ์ วัฒนธรรม หรือสถานะทางสังคมเศรษฐกิจ สามารถอยู่
ร่วมกันได้อย่างสันติ
• เมื่อสังคมเกิดการใช้ความรุนแรงและนามาสู่ความสูญเสีย มีการจัดการกับความรุนแรงที่เกิดขึ้นนั้นอย่างไร จะใช้
วิธีการใดบ้างในการก้าวข้ามพ้นความรุนแรงที่เกิดขึ้น การนากระบวนการยุติธรรมในระยะเปลี่ยนผ่าน จึงถูกนามาใช้
ในการอยู่ร่วมกันอย่างสันติ เป็นแนวทางหนึ่งที่นามาใช้เพื่อเปลี่ยนผ่านไปสู่สังคมที่พึงปรารถนาสามารถอยู่ร่วมกันได้
อย่างสันติ บนพื้นฐานว่าจะจดจาหรือลืมเหตุการณ์ที่เกิดขึ้น และมาตรการในการลงโทษผู้กระทาผิด หรือเน้นการ
เยียวยาผู้เสียหาย
ความยุติธรรมในระยะเปลี่ยนผ่าน (Transitional Justice)
๑. การฟ้ องร้องดาเนินคดีกับผู้กระทาผิด
๒. การนิรโทษกรรม
๓. คณะกรรมการค้นหาความจริง
๔. โครงการช่วยเหลือเยียวยา
๕. การระลึกถึงผู้ได้รับผลกระทบ
๖. การปฏิรูปสถาบัน
ความยุติธรรมในระยะเปลี่ยนผ่าน(Transitional Justice)
3. ขั้นตอนและกระบวนการต่างๆ ของการปรองดอง
แนวคิดและกระบวนการสร้างความปรองดอง (ต่อ)
•หยุดใช้ความรุนแรงเพื่อหยุดยั้งความหวาดกลัว ความเกลียดชัง ความเคียดแค้น
และความทรงจาที่เจ็บปวด จะต้องหยุดใช้ความรุนแรงทุกรูปแบบขั้นตอนที่1
•การสร้างความเชื่อมั่นและความไว้วางใจ หลังหยุดการใช้ความรุนแรงแล้ว จะต้อง
สร้างความเชื่อมั่นและความไว้วางใจในสังคมให้กลับคืนมา คู่ขัดแย้ง เหยื่อ และผู้ได้รับผลกระทบจะต้องสร้าง
ความไว้วางใจ โดยอยู่บนพื้นฐานของความเป็นมนุษย์และสิทธิมนุษยชน
ขั้นตอนที่ 2
•เอาใจเขามาใส่ใจเรา เข้าใจสาเหตุของความขัดแย้งจากมุมมองของฝ่ายตรงข้าม รับฟังเหตุผล
ผู้กระทาผิด รับรู้ความรู้สึกเจ็บปวดของเหยื่อเพื่อหยุดยั้งความเกลียดชังและการแก้แค้นต่อกัน
ขั้นตอนที่ 3
4. กระบวนการและเครื่องมือในการสร้างความปรองดอง
แนวคิดและกระบวนการสร้างความปรองดอง (ต่อ)
1
•การเยียวยาทางจิตใจ
2
•การใช้กระบวนการยุติธรรมเชิงสมานฉันท์
3
•การเล่าความจริง
4
•การชดเชย
• การจัดตั้ง คณะกรรมการค้นหาความจริง เพื่อทาหน้าที่ค้นหาความจริง ข้อดีสามารถเปิดเผยข้อมูลอย่างเป็นทางการ
ของเหตุการณ์ที่เกิดขึ้นในอดีต ซึ่งก่อนมีคณะกรรมการดังกล่าว อาจมีการให้ข้อมูลที่กล่าวถึงความเสียหายที่มากเกิน
ความเป็นจริง หรือน้อยเกินความเป็นจริงก็ได้
• การเปิดเผยความจริงจะทาให้สังคมหันมาสนใจผู้เสียหายซึ่งถูกสังคมเพิกเฉยมาเป็นเวลานาน อันนาไปสู่การสร้าง
มาตรการเยียวยาผู้เสียหายได้ ที่สาคัญสามารถนาเสนอมาตรการในการเยียวยาผู้เสียหาย ตลอดจนการปฏิรูปกฎหมาย
และสถาบันได้อีกด้วย
• การตั้งคณะกรรมการค้นหาความจริงไม่ใช่ว่าจะเหมาะสมกับทุกบริบทของความขัดแย้ง เพราะบางครั้งอาจทาให้ความ
ขัดแย้งที่มีอยู่เพิ่มมากขึ้น และในบางประเทศไม่มีสถาบันที่น่าเชื่อถือที่มีความชอบธรรม พอที่จะให้ค้นหาความจริง
และไม่มีอะไรรับประกันว่าคณะกรรมการฯ จะเป็นกลาง ในบางครั้งการเปิดเผยความจริงก็อาจจะยิ่งสร้างความเจ็บปวด
ให้แก่ผู้เสียหายมากขึ้นก็ได้
การเล่าความจริง (Truth-telling)
• เป็นสิ่งที่สาคัญในการสร้างความปรองดองอย่างแท้จริง โดยหลักการรัฐมีหน้าที่รับรองและคุ้มครองสิทธิและเสรีภาพ
ของประชาชน ถ้าหากรัฐ (หรือเจ้าหน้าที่รัฐ) ทาการละเมิดสิทธิขั้นพื้นฐานของประชาชน รัฐก็ต้องชดเชยให้ผู้เสียหาย
อาจเป็นได้ทั้งการทาให้กลับคืนสู่สภาพเดิมได้แก่ การคืนทรัพย์สิน การคืนสิทธิตามกฎหมายแพ่งของบุคคล และการ
ใช้ค่าสินไหมทดแทน ซึ่งคือการจ่ายเงินให้แก่ผู้เสียหาย เพื่อทดแทนสิ่งที่ผู้เสียหายสูญเสียไป
• การเยียวยาอาจได้แก่ การฟื้ นฟู หมายถึงการทาให้สุขภาพร่างกายและสุขภาพจิตกลับคืนสู่สภาพใกล้เคียงกับสภาพ
เดิมมากที่สุด ซึ่งอาจทาได้โดยให้การรักษาทางการแพทย์ และการชดเชย การจะสร้างความพึงพอใจให้แก่ผู้เสียหาย
จาทาโดยการเปิดเผยความจริง การขอโทษ การลงโทษผู้กระทาความผิด เป็นต้น
• กระบวนการสร้างความปรองดองมีความเปราะบางและต้องอาศัยเวลาและความอดทนจากทุกฝ่าย เป็นกระบวนการที่มี
ความเกี่ยวข้องทั้งในส่วนของการยุติความรุนแรง/การหาข้อตกลง เพราะความรุนแรงไม่อาจนามาซึ่งเป้าหมายและ
ทางออกที่ยั่งยืน และในส่วนของการสร้างความปรองดอง
การชดเชย (Reparation)
กระบวนยุติธรรมเชิงสมานฉันท์ (Restorative Justice)
• เป็นกระบวนยุติธรรมที่ไม่ได้มุ่งเน้นเพียงการเยียวยาผู้เสียหายและการลงโทษผู้กระทาความผิดแต่เพียงอย่างเดียว
• เป็นกระบวนการยุติธรรมที่เปิดโอกาสให้ผู้เสียหาย และผู้กระทาความผิดมีส่วนร่วมในการพูดคุยกันเพื่อวิเคราะห์ว่า
อะไรคือข้อเท็จจริง อะไรคือสาเหตุแห่งการกระทาความผิด เป็นกระบวนการที่ทาให้ผู้กระทาความผิดกับผู้เสียหายมี
ความเข้าใจซึ่งกันและกัน
• ให้ผู้กระทาผิดเกิดความรู้สึก “รับผิดชอบ” กับสิ่งที่ตนเองทา และตกลงกันว่าจะเยียวยาผู้เสียหายอย่างไร ตลอดจน
ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมของผู้กระทาความผิดแล้วทาให้ผู้กระทาความผิดกลับคืนสู่สังคมได้
• ข้อดีของการใช้กระบวนยุติธรรมเชิงสมานฉันท์ ได้แก่ กระบวนยุติธรรมดังกล่าวสร้างการเรียนรู้ให้แก่คนในสังคม
โดยต่างฝ่ายต่างเข้าใจกัน และเป็นกระบวนยุติธรรมที่มีลักษณะเป็นการเจรจาซึ่งเปิดโอกาสให้ผู้เสียหายและผู้กระทา
ความผิดเข้ามามีส่วนร่วม
• การใช้กระบวนยุติธรรมเชิงสมานฉันท์ ก็มีข้อเสีย อาจเกิดความไม่เป็นธรรมหรืออานาจที่ไม่เท่าเทียมกันใน
กระบวนการพูดคุยระหว่างคู่กรณีได้ไม่ว่าจะเป็นตัวแปรด้านเพศ อายุ หรือสถานะทางสังคม
กรณีศึกษา “ การสร้างความปรองดอง จาก 10 ประเทศ “
จากรายงานวิจัยการสร้างความปรองดองแห่งชาติ จัดทาโดย สถาบันพระปกเกล้า มีนาคม พ.ศ. 2555
เวลาเจรจา สาเหตุขัดแย้ง การจัดการ คณก.หาความจริง
South Korea 10 เรียกร้อง ปชต. ปขข.กดดัน ตั้งคณะกรรมการ
South Africa 10 ไม่เป็นธรรม สร้างภาพอนาคตร่วมกัน ตั้งคณะกรรมการ
Aceh Indonesia 7 ไม่เป็นธรรม เจรจา/ตปท. ตั้งคณะกรรมการ
North Ireland 26 ไม่เป็นธรรม เจรจา/ตปท. ตั้งคณะกรรมการ
Rwanda 8 ไม่เป็นธรรม/กดขี่ คณก.ปรองดอง ตั้งศาล กาชาชา
Chili 17 อุดมการณ์แตกต่าง เลือกตั้ง ตั้งคณะกรรมการ
Columbia 22 อุดมการณ์แตกต่าง ปรับปรุงกฎหมาย คณก ฟื้ นฟู
Morocco 16 เรียกร้อง ปชต. ให้ฝ่ายตรงข้ามมารับตาแหน่ง ตั้งคณะกรรมการ
Bolivia 3 ไม่เป็นธรรม ลงประชามติ
Germany 8 อุดมการณ์แตกต่าง การเจรจา ตั้งคณะกรรมการ
เวลาเจรจา ชดเชยเยียวยา การจัดการ ทัศนคติเปลี่ยนแปลง
South Korea 10 เยียวยา ปขข.กดดัน ทหารให้คามั่นจะไม่เกิดอีก
South Africa 10 เยียวยา สร้างภาพอนาคตร่วมกัน มองอนาคตร่วมกัน
Aceh Indonesia 7 เยียวยา เจรจา/ตปท. ความรุนแรงไม่แก้ปัญหา
North Ireland 26 เยียวยา เจรจา/ตปท. ความรุนแรงไม่แก้ปัญหา
Rwanda 8 เยียวยา คณก.ปรองดอง อยู่ร่วมกัน
Chili 17 เยียวยา เลือกตั้ง หวงแหน ปชต.
Columbia 22 เยียวยา ปรับปรุงกฎหมาย การเจรจา
Morocco 16 เยียวยา ให้ฝ่ายตรงข้ามมารับตาแหน่ง รับรู้มีการละเมิดสิทธิมนุษชน
Bolivia 3 ลงประชามติ ยอมรับความแตกต่าง
Germany 8 เยียวยา การเจรจา ยึดถือความเท่าเทียม
ปัจจัยแห่งความสาเร็จ
South Korea ภาคประชาชนเข้มแข็งผลักดันให้เปลี่ยนแปลง
South Africa มีเจตจานงทางการเมือง/สร้างภาพอนาคตร่วมกัน
Aceh Indonesia มีเจตจานงทางการเมือง/เจรจากับศัตรู
North Ireland มีเจตจานงทางการเมือง/มีส่วนร่วม/ได้รับแก้ไขปัญหาโครงสร้าง/สร้างบรรยากาศ
Rwanda สร้างความร่วมมือ
Chili ตปท.กดดัน
Columbia ภาคประชาชนเข้มแข็ง/มีเจตจานงทางการเมือง/ปรับปรุงกฎหมาย
Morocco สร้างประชาธิปไตย/การมีส่วนร่วม
Bolivia ปฎิรูปกฎหมาย/ยอมรับความแตกต่าง
Germany สร้างอนาคตร่วม/ลดความเหลื่อมล้า
เกาหลีใต้
1. ระยะเวลา 10 ปี
2. คู่ขัดแย้ง รัฐบาลทหารกับประชาชน
3. เหตุแห่งความขัดแย้ง การเรียกร้องประชาธิปไตย
4. กระบวนการสร้างความปรองดอง
4.1 การจัดการกับเงื่อนไข
ความขัดแย้ง
มีแรงกดดันจากภาคประชาสังคมนาไปสู่การออกกฎหมายพิเศษเพื่อพิจารณาเกี่ยวกับเหตุการณ์การ
เรียกร้องประชาธิปไตย (18 พ.ค. 1995)
4.2 การค้นหาความจริง มีการตั้งคณะกรรมการค้นหาความจริง เพื่อหาสาเหตุการเสียชีวิต
4.3 การให้อภัย มีการให้อภัยโทษผู้กระทาผิดหลังจากได้รับโทษไปแล้วระยะหนึ่ง
4.4 การชดใช้ความผิด ออกรัฐบัญญัติเพื่อหาทางเอาผิดอดีตผู้นาและยกย่องเหตุการณ์
4.5 การชดเชยและเยียวยา ออกกฎหมายประชาธิปไตย ผ่านการเรียกร้อยโดยองค์กร The Korean Association of Bereaved
Families for Democracy
เกาหลีใต้
5. ผลจากกระบวนการปรองดอง
5.1 การเปลี่ยนแปลงในเชิง
โครงสร้าง/นโยบาย
ศาลรัฐธรรมนูญมีความเป็นอิสระและยึดประโยชน์ประชาชนเป็นที่ตั้ง
5.2 การเปลี่ยนแปลงในเชิง
ทัศนคติของสังคม
1) ผู้นาทหารให้คามั่นว่าจะไม่เกิดการรัฐประหารขึ้นอีก
2) ประชาชนตระหนักว่าประชาธิปไตยเป็นเรื่องสาคัญและต้องร่วมกันรักษาไว้ และมองว่าการทุจริต
คอร์รัปชั่นเป็นสิ่งที่รับไม่ได้ในสังคม
3) มีความพึงพอใจที่ผู้เกี่ยวข้องกับการกระทาความผิดได้รับการลงโทษ
6. ข้อสังเกตในส่วนของปัจจัยแห่งความสาเร็จ ความเข้มแข็งของภาคประชาสังคมในการผลักดันให้เกิดการเปลี่ยนแปลง
แอฟริกาใต้
1. ระยะเวลา 10 ปี
2. คู่ขัดแย้ง รัฐบาลคนผิวขาวกับประชาชนคนผิวดา
3. เหตุแห่งความขัดแย้ง คนผิวดาถูกกีดกันทางการเมือง เศรษฐกิจและสังคมโดยคนผิวขาว
4. กระบวนการสร้างความปรองดอง
4.1 การจัดการกับเงื่อนไข
ความขัดแย้ง
1) สร้างภาพอนาคตร่วมกันผ่านกระบวนการ Montfleur ที่มีตัวแทนจากทุกฝ่ายเข้าร่วม
2) ออกรัฐบัญญัติส่งเสริมเอกภาพและความสมานฉันท์แห่งชาติ
4.2 การค้นหาความจริง ตั้งคณะกรรมการแสวงหาความจริงและความปรองดอง
4.3 การให้อภัย ตั้งคณะกรรมการนิรโทษกรรม
4.4 การชดใช้ความผิด
4.5 การชดเชยและเยียวยา ตั้งคณะกรรมการฟื้นฟูเยียวยาและส่งเสริมการกลับคืนสู่สังคม
แอฟริกาใต้
5. ผลจากกระบวนการปรองดอง
5.1 การเปลี่ยนแปลงในเชิง
โครงสร้าง/นโยบาย
ยกเลิกกฎหมายและนโยบายต่างๆ ที่ไม่เป็นธรรมและก่อให้เกิดการกีดกันสีผิว ตลอดจนความแตกต่างใน
การกระจายรายได้และการจัดสรรทรัพยากรธรรมชาติ
5.2 การเปลี่ยนแปลงในเชิง
ทัศนคติของสังคม
มองเห็นภาพในอนาคตของประเทศตนร่วมกัน
6. ข้อสังเกตในส่วนของปัจจัยแห่งความสาเร็จ 6.1 เจตจานงทางการเมืองที่ต้องการจะปรองดอง
6.2 การสร้างภาพอนาคตร่วมกันผ่านกระบวนการ
อินโดนีเซีย (อาเจะห์)
1. ระยะเวลา 7 ปี
2. คู่ขัดแย้ง รัฐบาลอินโดนีเซียกับขบวนการปลดปล่อยอาเจะห์ (GAM)
3. เหตุแห่งความขัดแย้ง การรู้สึกว่าไม่ได้รับความเป็นธรรมในการจัดสรรทรัพยากรธรรมชาติ ประกอบกับสานึกทางประวัติศาสตร์
ของความเป็นรัฐอิสระในอดีต
4. กระบวนการสร้างความปรองดอง
4.1 การจัดการกับเงื่อนไข
ความขัดแย้ง
1) เกิดการเจรจาระหว่างรัฐบาลอินโดนีเซียและ GAM มีองค์กรต่างชาติเป็นคนกลาง นาไปสู่การลง
นามบันทึกความเข้าใจระหว่างกัน
2) ออกรัฐบัญญัติส่งเสริมเอกภาพและความสมานฉันท์แห่งชาติ
4.2 การค้นหาความจริง ตั้งคณะกรรมการแสวงหาความจริงแห่งอาเจะห์ ซึ่งไม่มีอานาจในการสอบสวนเจ้าหน้าที่รัฐ
4.3 การให้อภัย ปล่อยตัวนักโทษการเมืองและผู้ถูกคุมขังที่คดีเกี่ยวเนื่องกับกิจกรรมของ GAM
4.4 การชดใช้ความผิด ไม่มีกระบวนการสอบสวนการกระทาของเจ้าหน้าที่รัฐ
4.5 การชดเชยและเยียวยา ตั้งองค์กรส่งเสริมการกลับคืนสู่สังคมแห่งอาเจะห์ เยียวยาทั้งอดีต GAM กลุ่มต่อต้าน GAM และประชาชน
ทั่วไปที่ได้รับผลกระทบ
5. ผลจากกระบวนการปรองดอง
5.1 การเปลี่ยนแปลงในเชิง
โครงสร้าง/นโยบาย
1) เกิดเขตปกครองพิเศษอาเจะห์โดยให้ผู้ว่าราชการจังหวัดมาจากการเลือกตั้งโดยตรงและได้ส่วนแบ่ง
รายได้จากทรัพยากรธรรมชาติท้องถิ่นร้อยละ 70
2) สามารถตั้งพรรคการเมืองเฉพาะของท้องถิ่นได้
3) มีการตั้งศาลสิทธิมนุษยชน มีอานาจตัดสินคดีละเมิดสิทธิมนุษยชน
ที่เกิดขึ้นหลังข้อตกลงเท่านั้น
5.2 การเปลี่ยนแปลงในเชิง
ทัศนคติของสังคม
1) เกิดความตระหนักว่าไม่มีประโยชน์ที่จะเอาชนะกันท่ามกลางความสูญเสียที่เกินกว่าสังคมจะรับได้
2) เกิดความเห็นร่วมกันว่าความรุนแรงไม่อาจนามาซึ่งทางออกต่อปัญหา
6. ข้อสังเกตในส่วนของปัจจัยแห่งความสาเร็จ 1) เจตจานงทางการเมืองที่ต้องการจะปรองดอง
2) การคุยกับ “ศัตรู” ในฐานะเพื่อนร่วมชาติด้วยกระบวนการหาทางออกร่วมกันที่ชอบธรรมและเป็นที่
ยอมรับของทุกฝ่าย
3) เหตุแห่งความขัดแย้งได้รับการแก้ไขด้วยภาพอนาคตที่สร้างร่วมกัน
4) การเปลี่ยนมหาวิกฤติเป็นโอกาสสู่การปรองดอง
5) ความเข็มแข็งของภาคประชาสังคมในการผลักดันสันติภาพ
อินโดนีเซีย (อาเจะห์)
สหราชอาณาจักร (ไอร์แลนด์เหนือ)
1. ระยะเวลา 26 ปี (ใช้ระยะเวลามากที่สุดใน 10 ประเทศ)
2. คู่ขัดแย้ง กลุ่มอังกฤษโปรเตสแตนท์กับกลุ่มไอริชคาทอลิก
3. เหตุแห่งความขัดแย้ง การที่ชาวไอริชคาทอลิกซึ่งเป็นคนส่วนน้อยถูกเลือกปฏิบัติทางการเมือง เศรษฐกิจ และสังคม ประกอบกับ
ความสานึกความเป็นชาตินิยมไอริช
4. กระบวนการสร้างความปรองดอง
4.1 การจัดการกับเงื่อนไข
ความขัดแย้ง
1) เกิดการเจรจาระหว่างผู้เกี่ยวข้องทุกฝ่ายคือกลุ่มอังกฤษโปรเตสแตนท์ กลุ่มไอริชคาทอลิก รัฐบาล
อังกฤษ และรัฐบาลไอร์แลนด์ โดยมีสหรัฐอเมริกาเป็นผู้สนับสนุน นาไปสู่การลงนามข้อตกลง
สันติภาพ
2) ออกพระราชบัญญัติไอร์แลนด์เหนือ เพื่อนาข้อตกลงไปสู่การปฏิบัติ
4.2 การค้นหาความจริง รัฐบาลตั้งคณะกรรมการสอบสวนกรณีอาทิตย์เลือด (Bloody Sunday) โดยเปิดเผยว่าทหารอังกฤษเป็น
ผู้กระทาผิด รัฐบาลได้ออกมาขอโทษชาวไอริชคาทอลิกอย่างเป็นทางการ ซึ่งสังคมโดยรวมให้อภัยและไม่มี
การนาตัวผู้เกี่ยวข้องมาลงโทษ
4.3 การให้อภัย ปล่อยตัวนักโทษการเมืองที่ถูกตัดสินจาคุกจากการกระทาที่เป็นการก่อการร้าย โดยมีคณะกรรมการอิสระ
เป็นผู้พิจารณาคุณสมบัติของผู้ที่จะได้รับการปล่อยตัว
4.4 การชดใช้ความผิด ตั้งทีมสืบสวนสอบสวนเหตุการณ์ความรุนแรงในอดีต เพื่อหาข้อเท็จจริง
4.5 การชดเชยและเยียวยา มีการชดเชยเยียวยาในรูปของตัวเงินและโครงการพัฒนาอาชีพและสร้าง
รายได้แก่ประชาชนที่ได้รับผลกระทบจากเหตุการณ์ เจ้าหน้าที่รัฐ และ
อดีตสมาชิกกลุ่มกองกาลังของทั้งสองฝ่ายตามลาดับ
5. ผลจากกระบวนการปรองดอง
5.1 การเปลี่ยนแปลงในเชิง
โครงสร้าง/นโยบาย
1) มีคณะผู้บริหารท้องถิ่นตามหลักการแบ่งอานาจ ประกอบด้วยพรรคการเมืองหลัก 2 ขั้ว
2) มีการปฏิรูปองค์กรตารวจทั้งระบบให้มีความเป็นกลางมากขึ้น
3) มีการแก้ไขนโยบายทางการศึกษา การจ้างงาน และการจัดสรรที่อยู่อาศัยที่เลือกปฏิบัติให้เกิดความ
เป็นธรรม พร้อมตั้งคณะกรรมการสิทธิมนุษยชน และคณะกรรมการเพื่อความเสมอภาค
5.2 การเปลี่ยนแปลงในเชิง
ทัศนคติของสังคม
1) ยอมรับร่วมกันว่าความรุนแรงไม่อาจนามาซึ่งทางออกต่อปัญหา และตกลงใช้กระบวนการ
ประชาธิปไตยเป็นเครื่องมือในการตัดสินข้อขัดแย้ง
2) เกิดความตระหนักว่าแม้จะคิดไม่เหมือนกันและยังคงมีเป้าหมายที่ขัดแย้งกันเช่นเดิมแต่ก็สามารถอยู่
ร่วมกันได้ภายใต้กติกาที่ตกลงร่วมกัน
สหราชอาณาจักร (ไอร์แลนด์เหนือ)
6. ข้อสังเกตในส่วนของปัจจัยแห่งความสาเร็จ 1) เจตจานงทางการเมืองที่ต้องการจะปรองดอง
2) มีกระบวนการหาทางออกที่ทุกฝ่ายรู้สึกว่าเป็นส่วนหนึ่ง
3) เหตุแห่งความไม่เป็นธรรมได้รับการแก้ไขในเชิงโครงสร้าง
4) มีการสร้างบรรยากาศที่ทาให้ทุกฝ่ายรู้สึกว่ามีทางเลือกอื่นที่เป็นไปได้
ในการบรรลุเป้าหมายนอกจากการใช้ความรุนแรง
สหราชอาณาจักร (ไอร์แลนด์เหนือ)
รวันดา
1. ระยะเวลา 8 ปี
2. คู่ขัดแย้ง ชาวฮูตูกับชาวตุ๊ดซี่สลับกันขึ้นมาปกครองประเทศโดยกดขี่อีกฝ่ายและสนับสนุนเฉพาะกลุ่มชาติพันธุ์ของ
ตน
3. เหตุแห่งความขัดแย้ง นโยบายจักรวรรดินิยมที่เน้นการแบ่งแยกและปกครอง รวมถึงการปกครองที่ไม่เป็นธรรมจากทั้ง 2 กลุ่ม
ชาติพันธุ์
4. กระบวนการสร้างความปรองดอง
4.1 การจัดการกับเงื่อนไข
ความขัดแย้ง
ตั้งคณะกรรมปรองดองและเอกภาพแห่งชาติ โดยรัฐบาลเพื่อลดความเกลียด
ชังและสร้างความรู้สึกเป็นพวกเดียวกันให้เกิดเอกภาพแห่งชาติในฐานะชาว
รวันดาด้วยกันที่ไม่แบ่งเขาแบ่งเราอีก
4.2 การค้นหาความจริง ตั้งศาลกาชาชาโดยกฎหมายประกอบรัฐธรรมนูญ ซึ่งเป็นศาลดั้งเดิมในชุมชนให้ผู้กระทาผิดเล่าความจริง
ถึงเหตุการณ์ที่ได้กระทาลงไปให้เหยื่อและชุมชนได้รับรู้ถึงเหตุการณ์ พร้อมกับการขอโทษแสดงความ
สานึกผิด และการพิพากษาลดหย่อนโทษโดยศาลดังกล่าว
4.3 การให้อภัย กองกาลังติดอาวุธของทั้งสองฝ่ายจะไม่ถูกดาเนินคดีหากยอมวางอาวุธและเข้าค่ายอบรมของ NURC
4.4 การชดใช้ความผิด มีการลงโทษผู้กระทาผิดที่เป็นพลเรือน โดยได้รับการลดโทษจากการสารภาพ
4.5 การชดเชยและเยียวยา 1) ไม่มีการจ่ายค่าชดเชยเยียวยาแก่ผู้เสียหายเนื่องจากรัฐบาลขาดงบ
2) มีการเยียวยาผู้เสียหายโดยการให้ผู้กระทาผิดที่เป็นพลเรือนทางานชดเชยแทน
3) สร้างกระบวนการทางวัฒนธรรมเพื่อระลึกถึงความสูญเสียจากการฆ่าล้างเผ่าพันธุ์และป้องกันไม่ให้
ความรุนแรงหวนคืนมาอีก อาทิ พิพิธภัณฑ์และอนุสรณ์สถาน การประกาศวันหยุดแห่งชาติ หรือ
การทาพิธีศพร่วมกันอย่างเป็นทางการ เป็นต้น
5. ผลจากกระบวนการปรองดอง
5.1 การเปลี่ยนแปลงในเชิง
โครงสร้าง/นโยบาย
ตั้งคณะกรรมการปรองดองและเอกภาพแห่งชาติ โดยรัฐบาลเพื่อลดความเกลียด
ชังและสร้างความรู้สึกเป็นพวกเดียวกันให้เกิดเอกภาพแห่งชาติในฐานะชาว
รวันดาด้วยกันที่ไม่แบ่งเขาแบ่งเราอีก
5.2 การเปลี่ยนแปลงในเชิง
ทัศนคติของสังคม
ส่งเสริมทัศนคติของการมีอัตลักษณ์ร่วมในความเป็นชาวรวันดา ไม่แบ่งกลุ่ม
ชาติพันธุ์ดังเช่นในอดีตอีก
รวันดา
6. ข้อสังเกตในส่วนของปัจจัยแห่งความสาเร็จ 1) การผลักดันให้เกิดความเป็นเอกภาพและปรองดองโดยแสวงหาความร่วมมือจากเครือข่ายในสังคม
2) กระบวนการยุติธรรมเชิงสมานฉันท์ที่ให้ผู้กระทาผิดสานึกผิดและรับผิดชอบต่อสิ่งที่ได้กระทาลงไป
3) การกดดันจากต่างประเทศให้ยุติการสู้รบแลกกับการสนับสนุนงบประมาณพัฒนาประเทศ
รวันดา
ชิลี
1. ระยะเวลา 17 ปี
2. คู่ขัดแย้ง รัฐบาลเผด็จการทหารปิโนโซต์กับกลุ่มคนที่สนับสนุนรัฐบาลก่อนหน้านั้นที่มีอุดมการณ์ทางการเมืองแบบ
สังคมนิยม
3. เหตุแห่งความขัดแย้ง ความแตกต่างทางอุดมการณ์ทางการเมืองโดยฝ่ายที่ต่อต้านรัฐบาลทหารได้ถูกละเมิดสิทธิมนุษยชนอย่าง
รุนแรงกว้างขวาง
4. กระบวนการสร้างความปรองดอง
4.1 การจัดการกับเงื่อนไข
ความขัดแย้ง
เกิดการเลือกตั้งที่นาไปสู่การจัดตั้งรัฐบาลประชาธิปไตย
4.2 การค้นหาความจริง 1) ตั้งคณะกรรมการแสวงหาความจริงและสร้างความปรองดองแห่งชาติ เพื่อค้นหาความจริงภายใน 9
เดือนสาหรับกรณีผู้สูญหาย เนื่องมาจากการถูกจับกุม ผู้ที่ถูกประหารชีวิต ผู้ที่ถูกทรมานจนเสียชีวิต
และผู้ที่ถูกลักพาตัวในยุครัฐบาลปิโนเซต์
2) ตั้งคณะกรรมการแห่งชาติว่าด้วยการตรวจสอบการจาคุกและการทรมานอันเนื่องมาจากเหตุผลทาง
การเมือง
ปิโนเชต์ อดีตผู้นำชิลี
ชิลี
4.3 การให้อภัย มีการออกกฎหมายนิรโทษกรรมให้แก่นายพลปิโนเชต์และเจ้าหน้าที่ (ทหารและตารวจ) ที่ทาการละเมิด
สิทธิมนุษยชนเพื่อปราบปรามผู้ต่อต้านรัฐบาล โดยผู้นารัฐบาลเป็นผู้ออกกฎหมายดังกล่าวเองในช่วงที่ยังมี
อานาจ
4.4 การชดใช้ความผิด 1) มีความพยายามจากสังคมชิลีในการดาเนินคดีกับปิโนเชต์ แต่ติดขัดที่ข้อกฎหมายนิรโทษกรรมภายหลัง
รัฐประหาร สุดท้ายถูกควบคุมตัวในต่างประเทศด้วยอานาจของกฎหมายสากลว่าด้วยอาชญากรรมต่อ
มนุษยชาติ
2) มีการดาเนินคดีตามกระบวนการกฎหมายปกติต่อเจ้าหน้าที่รัฐจานวนหนึ่งที่ละเมิดสิทธิมนุษยชน
4.5 การชดเชยและเยียวยา 1) มีการจ่ายค่าชดเชยและมีมาตรการเยียวยา เพื่อส่งเสริมคุณภาพชีวิตแก่ญาติของผู้สูญหายหรือ
เสียชีวิต และผู้ได้รับผลกระทบจากการละเมิดสิทธิมนุษยชน
2) ประธานาธิบดีและกองทัพได้ออกมาขอโทษผู้ได้รับผลกระทบผ่านโทรทัศน์ในนามรัฐบาลอย่างเป็น
ทางการ
3) มีการเปิดพิพิธภัณฑ์แห่งความทรงจาเพื่อต่อต้านการละเมิดสิทธิมนุษยชนเพื่อเป็นอนุสรณ์มิให้เกิด
เหตุการณ์ดังกล่าวเกิดขึ้นอีก
ชิลี
5. ผลจากกระบวนการปรองดอง
5.1 การเปลี่ยนแปลงในเชิง
โครงสร้าง/นโยบาย
1) มีการปฏิรูปการเมืองและกฎหมายให้มีความเป็นประชาธิปไตยมากขึ้น อาทิ การตั้งผู้ตรวจการ
แผ่นดินด้านสิทธิมนุษยชน หรือการปรับให้สมาชิกวุฒิสภามาจากการเลือกตั้ง ซึ่งแต่เดิมมาจากการ
แต่งตั้ง
2) ยกเลิกวันชาติซึ่งถือเป็นวันรัฐประหารโดยนายพลปิโนเชต์
5.2 การเปลี่ยนแปลงในเชิง
ทัศนคติของสังคม
เกิดความรักและหวงแหนในความเป็นประชาธิปไตย ตลอดจนการพิทักษ์
คุ้มครองสิทธิมนุษยชนมากขึ้น เพื่อป้องกันไม่ให้เหตุการณ์เลวร้ายในอดีตหวน
คืนมาอีก
6. ข้อสังเกตในส่วนของปัจจัยแห่งความสาเร็จ 1) การปฏิรูปกฎหมายและการเมืองให้มีความเป็นประชาธิปไตยมากขึ้น
ซึ่งส่งผลให้บทบาทของกองทัพถูกจากัดลง
2) การขอโทษโดยผู้นารัฐบาลและกองทัพผ่านสื่อสาธารณะอย่างต่อเนื่อง
โคลัมเบีย
1. ระยะเวลา 22 ปี+
2. คู่ขัดแย้ง รัฐบาลกับกลุ่มกองกาลังติดอาวุธต่างๆ ที่มีเขตอิทธิพลของตัวเอง
3. เหตุแห่งความขัดแย้ง อุดมการณ์ทางการเมืองที่แตกต่างขยายตัวไปสู่การแย่งชิงอานาจทางการเมืองและผลประโยชน์ทาง
เศรษฐกิจ
4. กระบวนการสร้างความปรองดอง
4.1 การจัดการกับเงื่อนไข
ความขัดแย้ง
1) ออกกฎหมาย Justice and Peace เพื่อปรับปรุงกฎหมายที่มีอยู่ให้เอื้อต่อการใช้ความยุติธรรม
ทางเลือกมากขึ้น โดยการเปิดศูนย์ฟื้นฟูให้ผู้ก่อเหตุรุนแรงมาสารภาพและมีผู้ได้รับผลกระทบมารับ
ฟัง
2) เกิดการเจรจาระหว่างรัฐบาลกับกลุ่มกองกาลังต่างๆ ขึ้นและนาไปสู่ความสาเร็จ
4.2 การค้นหาความจริง ตั้งคณะกรรมการฟื้นฟูและปรองดองแห่งชาติ เพื่อรับฟังผู้ได้รับกระทบจากเหตุการณ์ และจะนาข้อมูล
ดังกล่าวไปจัดทาอนุสรณ์สถาน
4.3 การให้อภัย หากผู้กระทาผิดในคดีที่รุนแรงได้ผ่านศูนย์ฟื้นฟูอย่างน้อย 5 – 8 ปีโดยการสารภาพความผิดและจะไม่
กลับไปกระทาความผิดอีก จะได้รับการลดโทษโดยการพิจารณาของส
การสร้างความสามัคคีปรองดอง ปยป. และ ความสมานฉันท์ในสังคมไทย
การสร้างความสามัคคีปรองดอง ปยป. และ ความสมานฉันท์ในสังคมไทย
การสร้างความสามัคคีปรองดอง ปยป. และ ความสมานฉันท์ในสังคมไทย
การสร้างความสามัคคีปรองดอง ปยป. และ ความสมานฉันท์ในสังคมไทย
การสร้างความสามัคคีปรองดอง ปยป. และ ความสมานฉันท์ในสังคมไทย
การสร้างความสามัคคีปรองดอง ปยป. และ ความสมานฉันท์ในสังคมไทย
การสร้างความสามัคคีปรองดอง ปยป. และ ความสมานฉันท์ในสังคมไทย
การสร้างความสามัคคีปรองดอง ปยป. และ ความสมานฉันท์ในสังคมไทย
การสร้างความสามัคคีปรองดอง ปยป. และ ความสมานฉันท์ในสังคมไทย

Contenu connexe

Similaire à การสร้างความสามัคคีปรองดอง ปยป. และ ความสมานฉันท์ในสังคมไทย

ทุนทางสังคมกับการปฏิรูปประเทศไทย
ทุนทางสังคมกับการปฏิรูปประเทศไทยทุนทางสังคมกับการปฏิรูปประเทศไทย
ทุนทางสังคมกับการปฏิรูปประเทศไทยKlangpanya
 
แผนปฏิบัติการขับเคลื่อนการป้องกันและปราบปรามทุจริตของกระทรวงศึกษาธิการ
แผนปฏิบัติการขับเคลื่อนการป้องกันและปราบปรามทุจริตของกระทรวงศึกษาธิการแผนปฏิบัติการขับเคลื่อนการป้องกันและปราบปรามทุจริตของกระทรวงศึกษาธิการ
แผนปฏิบัติการขับเคลื่อนการป้องกันและปราบปรามทุจริตของกระทรวงศึกษาธิการสอบครูดอทคอม เว็บเตรียมสอบ
 
ข้อสอบความรู้ทั่วไป
ข้อสอบความรู้ทั่วไปข้อสอบความรู้ทั่วไป
ข้อสอบความรู้ทั่วไปLhin Za
 
การบริหารงานตามหลักอธิปปไตยในพระพุทธศาสนา
การบริหารงานตามหลักอธิปปไตยในพระพุทธศาสนาการบริหารงานตามหลักอธิปปไตยในพระพุทธศาสนา
การบริหารงานตามหลักอธิปปไตยในพระพุทธศาสนาวัดดอนทอง กาฬสินธุ์
 
การบริหารงานตามหลักอธิปปไตยในพระพุทธศาสนา๒
การบริหารงานตามหลักอธิปปไตยในพระพุทธศาสนา๒การบริหารงานตามหลักอธิปปไตยในพระพุทธศาสนา๒
การบริหารงานตามหลักอธิปปไตยในพระพุทธศาสนา๒วัดดอนทอง กาฬสินธุ์
 
งานนำเสนอ..
งานนำเสนอ..งานนำเสนอ..
งานนำเสนอ..Pornthip Tanamai
 
10 เป้าหมายปฏิรูปการเมือง พลิกโฉมประเทศ
 10 เป้าหมายปฏิรูปการเมือง พลิกโฉมประเทศ 10 เป้าหมายปฏิรูปการเมือง พลิกโฉมประเทศ
10 เป้าหมายปฏิรูปการเมือง พลิกโฉมประเทศKlangpanya
 
ทิศทางการกระจายอำนาจและการปกครองท้องถิ่นในยุคปฏิรูปประเทศไทย
ทิศทางการกระจายอำนาจและการปกครองท้องถิ่นในยุคปฏิรูปประเทศไทยทิศทางการกระจายอำนาจและการปกครองท้องถิ่นในยุคปฏิรูปประเทศไทย
ทิศทางการกระจายอำนาจและการปกครองท้องถิ่นในยุคปฏิรูปประเทศไทยเทศบาลเมืองวังสะพุง จังหวัดเลย
 
แนวข้อสอบความรอบรู้วิชาชีพครู 100 ข้อ(สอบครูดอทคอมติวสอบครูผู้ช่วย)
แนวข้อสอบความรอบรู้วิชาชีพครู 100 ข้อ(สอบครูดอทคอมติวสอบครูผู้ช่วย)แนวข้อสอบความรอบรู้วิชาชีพครู 100 ข้อ(สอบครูดอทคอมติวสอบครูผู้ช่วย)
แนวข้อสอบความรอบรู้วิชาชีพครู 100 ข้อ(สอบครูดอทคอมติวสอบครูผู้ช่วย)สอบครูดอทคอม เว็บเตรียมสอบ
 
พระราชบัญญัติ ส่งเสริมการจัดสวัสดิการสังคม
พระราชบัญญัติ ส่งเสริมการจัดสวัสดิการสังคมพระราชบัญญัติ ส่งเสริมการจัดสวัสดิการสังคม
พระราชบัญญัติ ส่งเสริมการจัดสวัสดิการสังคมPoramate Minsiri
 
ศรีลังกา
ศรีลังกาศรีลังกา
ศรีลังกาTaraya Srivilas
 
ปัญหาและความท้าทายของระบบการศึกษาไทย
ปัญหาและความท้าทายของระบบการศึกษาไทย ปัญหาและความท้าทายของระบบการศึกษาไทย
ปัญหาและความท้าทายของระบบการศึกษาไทย Phichai Na Bhuket
 
การมีส่วนร่วม ปชช
การมีส่วนร่วม ปชชการมีส่วนร่วม ปชช
การมีส่วนร่วม ปชชTaraya Srivilas
 
บทสัมภาษณ์
บทสัมภาษณ์บทสัมภาษณ์
บทสัมภาษณ์Taraya Srivilas
 
บ้านสอบครู (อ.บวร) บรรยายความรอบรู้ทั่วไปสำหรับผู้บริหารสถานศึกษา
บ้านสอบครู (อ.บวร) บรรยายความรอบรู้ทั่วไปสำหรับผู้บริหารสถานศึกษาบ้านสอบครู (อ.บวร) บรรยายความรอบรู้ทั่วไปสำหรับผู้บริหารสถานศึกษา
บ้านสอบครู (อ.บวร) บรรยายความรอบรู้ทั่วไปสำหรับผู้บริหารสถานศึกษาสอบครูดอทคอม เว็บเตรียมสอบ
 
ข้าราชการกับการเมือง
ข้าราชการกับการเมืองข้าราชการกับการเมือง
ข้าราชการกับการเมืองTaraya Srivilas
 
ปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง
ปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียงปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง
ปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียงKruwaw-ru Kan
 

Similaire à การสร้างความสามัคคีปรองดอง ปยป. และ ความสมานฉันท์ในสังคมไทย (20)

ทุนทางสังคมกับการปฏิรูปประเทศไทย
ทุนทางสังคมกับการปฏิรูปประเทศไทยทุนทางสังคมกับการปฏิรูปประเทศไทย
ทุนทางสังคมกับการปฏิรูปประเทศไทย
 
แผนปฏิบัติการขับเคลื่อนการป้องกันและปราบปรามทุจริตของกระทรวงศึกษาธิการ
แผนปฏิบัติการขับเคลื่อนการป้องกันและปราบปรามทุจริตของกระทรวงศึกษาธิการแผนปฏิบัติการขับเคลื่อนการป้องกันและปราบปรามทุจริตของกระทรวงศึกษาธิการ
แผนปฏิบัติการขับเคลื่อนการป้องกันและปราบปรามทุจริตของกระทรวงศึกษาธิการ
 
ข้อสอบความรู้ทั่วไป
ข้อสอบความรู้ทั่วไปข้อสอบความรู้ทั่วไป
ข้อสอบความรู้ทั่วไป
 
การบริหารงานตามหลักอธิปปไตยในพระพุทธศาสนา
การบริหารงานตามหลักอธิปปไตยในพระพุทธศาสนาการบริหารงานตามหลักอธิปปไตยในพระพุทธศาสนา
การบริหารงานตามหลักอธิปปไตยในพระพุทธศาสนา
 
การบริหารงานตามหลักอธิปปไตยในพระพุทธศาสนา๒
การบริหารงานตามหลักอธิปปไตยในพระพุทธศาสนา๒การบริหารงานตามหลักอธิปปไตยในพระพุทธศาสนา๒
การบริหารงานตามหลักอธิปปไตยในพระพุทธศาสนา๒
 
งานนำเสนอ..
งานนำเสนอ..งานนำเสนอ..
งานนำเสนอ..
 
10 เป้าหมายปฏิรูปการเมือง พลิกโฉมประเทศ
 10 เป้าหมายปฏิรูปการเมือง พลิกโฉมประเทศ 10 เป้าหมายปฏิรูปการเมือง พลิกโฉมประเทศ
10 เป้าหมายปฏิรูปการเมือง พลิกโฉมประเทศ
 
ทิศทางการกระจายอำนาจและการปกครองท้องถิ่นในยุคปฏิรูปประเทศไทย
ทิศทางการกระจายอำนาจและการปกครองท้องถิ่นในยุคปฏิรูปประเทศไทยทิศทางการกระจายอำนาจและการปกครองท้องถิ่นในยุคปฏิรูปประเทศไทย
ทิศทางการกระจายอำนาจและการปกครองท้องถิ่นในยุคปฏิรูปประเทศไทย
 
คุณลักษณะคนไทยที่พึงประสงค์
คุณลักษณะคนไทยที่พึงประสงค์คุณลักษณะคนไทยที่พึงประสงค์
คุณลักษณะคนไทยที่พึงประสงค์
 
แนวข้อสอบความรอบรู้วิชาชีพครู 100 ข้อ(สอบครูดอทคอมติวสอบครูผู้ช่วย)
แนวข้อสอบความรอบรู้วิชาชีพครู 100 ข้อ(สอบครูดอทคอมติวสอบครูผู้ช่วย)แนวข้อสอบความรอบรู้วิชาชีพครู 100 ข้อ(สอบครูดอทคอมติวสอบครูผู้ช่วย)
แนวข้อสอบความรอบรู้วิชาชีพครู 100 ข้อ(สอบครูดอทคอมติวสอบครูผู้ช่วย)
 
พระราชบัญญัติ ส่งเสริมการจัดสวัสดิการสังคม
พระราชบัญญัติ ส่งเสริมการจัดสวัสดิการสังคมพระราชบัญญัติ ส่งเสริมการจัดสวัสดิการสังคม
พระราชบัญญัติ ส่งเสริมการจัดสวัสดิการสังคม
 
ศรีลังกา
ศรีลังกาศรีลังกา
ศรีลังกา
 
แนวข้อสอบ Comprehensive 2
แนวข้อสอบ Comprehensive 2แนวข้อสอบ Comprehensive 2
แนวข้อสอบ Comprehensive 2
 
ปัญหาและความท้าทายของระบบการศึกษาไทย
ปัญหาและความท้าทายของระบบการศึกษาไทย ปัญหาและความท้าทายของระบบการศึกษาไทย
ปัญหาและความท้าทายของระบบการศึกษาไทย
 
การมีส่วนร่วม ปชช
การมีส่วนร่วม ปชชการมีส่วนร่วม ปชช
การมีส่วนร่วม ปชช
 
บทสัมภาษณ์
บทสัมภาษณ์บทสัมภาษณ์
บทสัมภาษณ์
 
บ้านสอบครู (อ.บวร) บรรยายความรอบรู้ทั่วไปสำหรับผู้บริหารสถานศึกษา
บ้านสอบครู (อ.บวร) บรรยายความรอบรู้ทั่วไปสำหรับผู้บริหารสถานศึกษาบ้านสอบครู (อ.บวร) บรรยายความรอบรู้ทั่วไปสำหรับผู้บริหารสถานศึกษา
บ้านสอบครู (อ.บวร) บรรยายความรอบรู้ทั่วไปสำหรับผู้บริหารสถานศึกษา
 
ข้าราชการกับการเมือง
ข้าราชการกับการเมืองข้าราชการกับการเมือง
ข้าราชการกับการเมือง
 
ปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง
ปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียงปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง
ปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง
 
ปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง
ปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียงปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง
ปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง
 

Plus de Taraya Srivilas

การบริหารความขัดแย้ง บยส แจก
การบริหารความขัดแย้ง บยส แจกการบริหารความขัดแย้ง บยส แจก
การบริหารความขัดแย้ง บยส แจกTaraya Srivilas
 
นโยบายการจัดการความขัดแย้งด้วยสันติวิธี วทอ แจก
นโยบายการจัดการความขัดแย้งด้วยสันติวิธี วทอ แจกนโยบายการจัดการความขัดแย้งด้วยสันติวิธี วทอ แจก
นโยบายการจัดการความขัดแย้งด้วยสันติวิธี วทอ แจกTaraya Srivilas
 
โปสเตอร์สัญญาประชาคม
โปสเตอร์สัญญาประชาคมโปสเตอร์สัญญาประชาคม
โปสเตอร์สัญญาประชาคมTaraya Srivilas
 
จริยธรรมทางการแพทย์ 75 ปธพ.6
จริยธรรมทางการแพทย์ 75 ปธพ.6จริยธรรมทางการแพทย์ 75 ปธพ.6
จริยธรรมทางการแพทย์ 75 ปธพ.6Taraya Srivilas
 
การเรียนรู้ตามรอยพระยุคลบาท การพัฒนาคุณธรรมและจริยธรรมในการทำงาน
การเรียนรู้ตามรอยพระยุคลบาท การพัฒนาคุณธรรมและจริยธรรมในการทำงานการเรียนรู้ตามรอยพระยุคลบาท การพัฒนาคุณธรรมและจริยธรรมในการทำงาน
การเรียนรู้ตามรอยพระยุคลบาท การพัฒนาคุณธรรมและจริยธรรมในการทำงานTaraya Srivilas
 
แนวทางในการเรียนรู้ร่วมกันเพื่อลดความขัดแย้งในการจัดการป่าม้ระดับชุมชน
แนวทางในการเรียนรู้ร่วมกันเพื่อลดความขัดแย้งในการจัดการป่าม้ระดับชุมชนแนวทางในการเรียนรู้ร่วมกันเพื่อลดความขัดแย้งในการจัดการป่าม้ระดับชุมชน
แนวทางในการเรียนรู้ร่วมกันเพื่อลดความขัดแย้งในการจัดการป่าม้ระดับชุมชนTaraya Srivilas
 
สันติวิธีในการจัดการความขัดแย้ง สจว แจก
สันติวิธีในการจัดการความขัดแย้ง สจว  แจกสันติวิธีในการจัดการความขัดแย้ง สจว  แจก
สันติวิธีในการจัดการความขัดแย้ง สจว แจกTaraya Srivilas
 
ค้นหาตัวเอง อุซะ usa 69
ค้นหาตัวเอง อุซะ usa 69ค้นหาตัวเอง อุซะ usa 69
ค้นหาตัวเอง อุซะ usa 69Taraya Srivilas
 
สันติวิธีในการจัดการความขัดแย้ง วิทยาลัยตำรวจ
สันติวิธีในการจัดการความขัดแย้ง วิทยาลัยตำรวจสันติวิธีในการจัดการความขัดแย้ง วิทยาลัยตำรวจ
สันติวิธีในการจัดการความขัดแย้ง วิทยาลัยตำรวจTaraya Srivilas
 
สถานการณ์ความขัดแย้งจากสังคมโลกสู่รากหญ้า สสสส8 web
สถานการณ์ความขัดแย้งจากสังคมโลกสู่รากหญ้า สสสส8 webสถานการณ์ความขัดแย้งจากสังคมโลกสู่รากหญ้า สสสส8 web
สถานการณ์ความขัดแย้งจากสังคมโลกสู่รากหญ้า สสสส8 webTaraya Srivilas
 
สถานการณ์ความขัดแย้งจากสังคมโลกสู่รากหญ้า สสสส8 web
สถานการณ์ความขัดแย้งจากสังคมโลกสู่รากหญ้า สสสส8 webสถานการณ์ความขัดแย้งจากสังคมโลกสู่รากหญ้า สสสส8 web
สถานการณ์ความขัดแย้งจากสังคมโลกสู่รากหญ้า สสสส8 webTaraya Srivilas
 
สถานการณ์ความขัดแย้งจากสังคมโลกสู่รากหญ้า สสสส8
สถานการณ์ความขัดแย้งจากสังคมโลกสู่รากหญ้า สสสส8 สถานการณ์ความขัดแย้งจากสังคมโลกสู่รากหญ้า สสสส8
สถานการณ์ความขัดแย้งจากสังคมโลกสู่รากหญ้า สสสส8 Taraya Srivilas
 
สถิติเกี่ยวกับผู้หญิง
สถิติเกี่ยวกับผู้หญิงสถิติเกี่ยวกับผู้หญิง
สถิติเกี่ยวกับผู้หญิงTaraya Srivilas
 
บทบาทสตรีสันติภาพชายแดนใต้
บทบาทสตรีสันติภาพชายแดนใต้บทบาทสตรีสันติภาพชายแดนใต้
บทบาทสตรีสันติภาพชายแดนใต้Taraya Srivilas
 
บทบาทสตรีในอนาคต
บทบาทสตรีในอนาคตบทบาทสตรีในอนาคต
บทบาทสตรีในอนาคตTaraya Srivilas
 
บทบาทสตรีกับการสร้างสรรค์สังคมสันติสุข
บทบาทสตรีกับการสร้างสรรค์สังคมสันติสุขบทบาทสตรีกับการสร้างสรรค์สังคมสันติสุข
บทบาทสตรีกับการสร้างสรรค์สังคมสันติสุขTaraya Srivilas
 
การจัดการความขัดแย้งในพื้นที่
การจัดการความขัดแย้งในพื้นที่การจัดการความขัดแย้งในพื้นที่
การจัดการความขัดแย้งในพื้นที่Taraya Srivilas
 
เอกสารการสร้างความปรองดอง และสมานฉันท์ ผลงาน คสช
เอกสารการสร้างความปรองดอง และสมานฉันท์ ผลงาน คสชเอกสารการสร้างความปรองดอง และสมานฉันท์ ผลงาน คสช
เอกสารการสร้างความปรองดอง และสมานฉันท์ ผลงาน คสชTaraya Srivilas
 
แนวทางที่จะสร้างความปรองดองของคนในชาติ คอ.นธ.
แนวทางที่จะสร้างความปรองดองของคนในชาติ คอ.นธ.แนวทางที่จะสร้างความปรองดองของคนในชาติ คอ.นธ.
แนวทางที่จะสร้างความปรองดองของคนในชาติ คอ.นธ.Taraya Srivilas
 

Plus de Taraya Srivilas (20)

การบริหารความขัดแย้ง บยส แจก
การบริหารความขัดแย้ง บยส แจกการบริหารความขัดแย้ง บยส แจก
การบริหารความขัดแย้ง บยส แจก
 
นโยบายการจัดการความขัดแย้งด้วยสันติวิธี วทอ แจก
นโยบายการจัดการความขัดแย้งด้วยสันติวิธี วทอ แจกนโยบายการจัดการความขัดแย้งด้วยสันติวิธี วทอ แจก
นโยบายการจัดการความขัดแย้งด้วยสันติวิธี วทอ แจก
 
โปสเตอร์สัญญาประชาคม
โปสเตอร์สัญญาประชาคมโปสเตอร์สัญญาประชาคม
โปสเตอร์สัญญาประชาคม
 
จริยธรรมทางการแพทย์ 75 ปธพ.6
จริยธรรมทางการแพทย์ 75 ปธพ.6จริยธรรมทางการแพทย์ 75 ปธพ.6
จริยธรรมทางการแพทย์ 75 ปธพ.6
 
การเรียนรู้ตามรอยพระยุคลบาท การพัฒนาคุณธรรมและจริยธรรมในการทำงาน
การเรียนรู้ตามรอยพระยุคลบาท การพัฒนาคุณธรรมและจริยธรรมในการทำงานการเรียนรู้ตามรอยพระยุคลบาท การพัฒนาคุณธรรมและจริยธรรมในการทำงาน
การเรียนรู้ตามรอยพระยุคลบาท การพัฒนาคุณธรรมและจริยธรรมในการทำงาน
 
แนวทางในการเรียนรู้ร่วมกันเพื่อลดความขัดแย้งในการจัดการป่าม้ระดับชุมชน
แนวทางในการเรียนรู้ร่วมกันเพื่อลดความขัดแย้งในการจัดการป่าม้ระดับชุมชนแนวทางในการเรียนรู้ร่วมกันเพื่อลดความขัดแย้งในการจัดการป่าม้ระดับชุมชน
แนวทางในการเรียนรู้ร่วมกันเพื่อลดความขัดแย้งในการจัดการป่าม้ระดับชุมชน
 
สันติวิธีในการจัดการความขัดแย้ง สจว แจก
สันติวิธีในการจัดการความขัดแย้ง สจว  แจกสันติวิธีในการจัดการความขัดแย้ง สจว  แจก
สันติวิธีในการจัดการความขัดแย้ง สจว แจก
 
ค้นหาตัวเอง อุซะ usa 69
ค้นหาตัวเอง อุซะ usa 69ค้นหาตัวเอง อุซะ usa 69
ค้นหาตัวเอง อุซะ usa 69
 
สันติวิธีในการจัดการความขัดแย้ง วิทยาลัยตำรวจ
สันติวิธีในการจัดการความขัดแย้ง วิทยาลัยตำรวจสันติวิธีในการจัดการความขัดแย้ง วิทยาลัยตำรวจ
สันติวิธีในการจัดการความขัดแย้ง วิทยาลัยตำรวจ
 
สถานการณ์ความขัดแย้งจากสังคมโลกสู่รากหญ้า สสสส8 web
สถานการณ์ความขัดแย้งจากสังคมโลกสู่รากหญ้า สสสส8 webสถานการณ์ความขัดแย้งจากสังคมโลกสู่รากหญ้า สสสส8 web
สถานการณ์ความขัดแย้งจากสังคมโลกสู่รากหญ้า สสสส8 web
 
สถานการณ์ความขัดแย้งจากสังคมโลกสู่รากหญ้า สสสส8 web
สถานการณ์ความขัดแย้งจากสังคมโลกสู่รากหญ้า สสสส8 webสถานการณ์ความขัดแย้งจากสังคมโลกสู่รากหญ้า สสสส8 web
สถานการณ์ความขัดแย้งจากสังคมโลกสู่รากหญ้า สสสส8 web
 
สถานการณ์ความขัดแย้งจากสังคมโลกสู่รากหญ้า สสสส8
สถานการณ์ความขัดแย้งจากสังคมโลกสู่รากหญ้า สสสส8 สถานการณ์ความขัดแย้งจากสังคมโลกสู่รากหญ้า สสสส8
สถานการณ์ความขัดแย้งจากสังคมโลกสู่รากหญ้า สสสส8
 
American first muslim
American first muslimAmerican first muslim
American first muslim
 
สถิติเกี่ยวกับผู้หญิง
สถิติเกี่ยวกับผู้หญิงสถิติเกี่ยวกับผู้หญิง
สถิติเกี่ยวกับผู้หญิง
 
บทบาทสตรีสันติภาพชายแดนใต้
บทบาทสตรีสันติภาพชายแดนใต้บทบาทสตรีสันติภาพชายแดนใต้
บทบาทสตรีสันติภาพชายแดนใต้
 
บทบาทสตรีในอนาคต
บทบาทสตรีในอนาคตบทบาทสตรีในอนาคต
บทบาทสตรีในอนาคต
 
บทบาทสตรีกับการสร้างสรรค์สังคมสันติสุข
บทบาทสตรีกับการสร้างสรรค์สังคมสันติสุขบทบาทสตรีกับการสร้างสรรค์สังคมสันติสุข
บทบาทสตรีกับการสร้างสรรค์สังคมสันติสุข
 
การจัดการความขัดแย้งในพื้นที่
การจัดการความขัดแย้งในพื้นที่การจัดการความขัดแย้งในพื้นที่
การจัดการความขัดแย้งในพื้นที่
 
เอกสารการสร้างความปรองดอง และสมานฉันท์ ผลงาน คสช
เอกสารการสร้างความปรองดอง และสมานฉันท์ ผลงาน คสชเอกสารการสร้างความปรองดอง และสมานฉันท์ ผลงาน คสช
เอกสารการสร้างความปรองดอง และสมานฉันท์ ผลงาน คสช
 
แนวทางที่จะสร้างความปรองดองของคนในชาติ คอ.นธ.
แนวทางที่จะสร้างความปรองดองของคนในชาติ คอ.นธ.แนวทางที่จะสร้างความปรองดองของคนในชาติ คอ.นธ.
แนวทางที่จะสร้างความปรองดองของคนในชาติ คอ.นธ.
 

การสร้างความสามัคคีปรองดอง ปยป. และ ความสมานฉันท์ในสังคมไทย

  • 1. โดย พลเอก เอกชัย ศรีวิลาศ ผู้อานวยการสานักสันติวิธีและธรรมาภิบาล สถาบันพระปกเกล้า www.elifesara.com ekkachais@hotmail.com การสร้างความสามัคคีปรองดอง ปยป. และความสมานฉันท์ในสังคมไทย
  • 2. 1. คณะกรรมการบริหารราชการแผ่นดินเชิงยุทธศาสตร์(กรรมการ 15 คน ทปษ.ผทค. 6 คน) 2. คณะกรรมการเตรียมการปฎิรูปประเทศ (กรรมการ 15 คน ทปษ.ผทค. 14 คน) 3. คณะกรรมการเตรียมการยุทธศาสตร์ชาติ (กรรมการ 14 คน ทปษ.ผทค. 16 คน) 4. คณะกรรมการเตรียมการเพื่อสร้างความสามัคคีปรองดอง (กรรมการ 33 คน ทปษ.ผทค. 3 คน) การเตรียมความพร้อมในการขับเคลื่อนการปฎิรูปประเทศ ยุทธศาสตร์ชาติ และการสร้างความสามัคคีปรองดอง (ปยป.) คณะกรรมการมีหน้าที่และอานาจกลั่นกรอง ตรวจสอบ กาหนด เสนอแนะ จัดลาดับความสาคัญ พิจารณาความเป็นไปได้ และติดตามการดาเนินการด้านการบริหารราชการแผ่นดิน การปฏิรูปประเทศ ยุทธศาสตร์ชาติ หรือการสร้างความสามัคคีปรองดอง
  • 3. •นาย สุทธิพันธ์ จิราธิวัฒน์ •ดร. อเนก เหล่าธรรมทัศน์ •คุณ อลงกรณ์ พลบุตร •นาย วุฒิสาร ตันไชย •ประธานสภานิติบัญญัติแห่งชาติ •ประธานสภาขับเคลื่อนการปฏิรูป ประเทศ •ดร. ปณิธาน วัฒนายากร •ดร. สุจิต บุญบงการ คณะกรรมการเตรียมการเพื่อสร้างความสามัคคีปรองดอง (กรรมการ 33 คน ทปษ.ผทค. 3 คน)
  • 4. ๑.คณะอนุกรรมการรับฟังความคิดเห็นฯ ปลัดกระทรวงกลาโหม เป็นประธานอนุกรรมการ ๒.คณะอนุกรรมการพิจารณาบูรณาการข้อคิดเห็นและข้อเสนอแนะฯ ผู้บัญชาการทหารสูงสุดเป็น ประธานอนุกรรมการ ๓.อนุกรรมการการจัดทาข้อเสนอกระบวนการเพื่อความสามัคคีปรองดอง ผู้บัญชาการทหารบก เป็นประธานอนุกรรมการ ๔.อนุกรรมการด้านการประชาสัมพันธ์เพื่อสร้างความสามัคคีปรองดอง โฆษกกระทรวงกลาโหม เป็นประธานอนุกรรมการ การแต่งตั้งอนุกรรมการ ๔ คณะเพื่อรองรับการดาเนินงาน ของคณะกรรมการเตรียมการเพื่อสร้างความสามัคคีปรองดอง
  • 5. 17
  • 6. 15
  • 7. 16
  • 8. 18
  • 9. • ขั้นรับฟังความคิดเห็น ๑๔ กุมภาพันธ์ – ๑๕ เมษายน ๒๕๖๐ ส่วนกลาง(อนุฯ ๑)และ กอ.รมน.ภาค ๑-๔ สรุปประเด็นความเห็นร่วม(อนุฯ ๒) • ขั้นจัดการประชุมกลุ่มย่อย ๑๙-๓๐ เมษายน ๒๕๖๐ ส่วนกลาง(อนุฯ ๑)ร่างเอกสารความเห็นร่วม (อนุฯ ๒) และ กอ.รมน.ภาค ๑-๔ ร่วมสังเกตการณ์(อนุฯ ๓) • ขั้นสรุปร่างสัญญาประชาคมฯ ๑๐-๑๘ พฤษภาคม ๒๕๖๐ ร่างสัญญาประชาคมฯ(อนุฯ ๓) • ขั้นการจัดเวทีสาธารณะ ๒๒-๒๙ พฤษภาคม ๒๕๖๐ส่วนกลาง(อนุฯ ๓) และ กอ.รมน.ภาค ๑-๔ ร่วม สังเกตการณ์(อนุฯ ๑,๒) • ขั้นแถลงสัญญาประชาคม มิถุนายน ๒๕๖๐ จัดงานแถลงสัญญาประชาคมฯต่อสาธารณชนโดย อนฯ ๔ และ อณุฯ ๑,๒,๓ ร่วมรับฟังการแถลง การดาเนินงานของคณะกรรมการเตรียมการเพื่อสร้างความสามัคคีปรองดอง
  • 10. • เหตุการณ์ไม่สงบในกรุงเทพมหานคร และต่างจังหวัดได้เกิดขึ้นอย่างต่อเนื่อง ที่รุนแรงระหว่างปี 53-57 มีการอ้างเหตุผลประชาธิปไตย เรียกร้องทางการเมือง • สาเหตุทั้งหมดเกิดจากความบกพร่องในหลายด้านที่สั่งสมอยู่ในสังคมไทยมาเป็นเวลานาน • ถึงเวลาที่เราจะต้องมีการปฏิรูปประเทศไทย ไปสู่ความเข้มแข็ง มั่นคง มีการพัฒนาอย่างต่อเนื่อง • วันนี้อาจเกิดความสับสนกันว่าเราจะปฏิรูปประเทศ/ปรองดองได้อย่างไร • ปัญหาพื้นฐานของเศรษฐกิจ และสังคมยังขจัดได้ไม่หมดสิ้น และเป็นที่มาของความขัดแย้งใน สังคมไทย และได้ถูกนามาใช้ปลุกระดมทางการเมือง เพื่อทาลายความชอบธรรมและความน่าเชื่อถือ ของรัฐบาล หลักคิดในการปฏิรูปประเทศ
  • 11. •ปัญหาความไม่ชอบธรรมในการใช้อานาจรัฐ การทาลายทรัพยากรธรรมชาติสิ่งแวดล้อม การ ละเมิดสิทธิมนุษยชน การแพร่ข่าวสารและข้อมูลอันเป็นเท็จ หรือถูกบิดเบือน โดยสื่อโซเชียล •การปฏิรูปประเทศไทยกับการปรองดองความหมายต่างกัน ปรองดองหมายขัดแย้งแล้วระงับด้วย ความออมชอม ประนีประนอม แต่จะต้องมีการบังคับใช้กฎหมายกับผู้ที่ทาความผิดทั้งแพ่งอาญา •หลักการปฏิรูปประเทศมีเรื่องสาคัญ 3 เรื่อง 1.บทบาทและขอบเขตของประชาธิปไตย 2. ความ ไม่เป็นธรรมของเศรษฐกิจและสังคม 3.การศึกษาเพื่อให้เกิดความถูกต้องในหลักคิด •คาว่าประชาธิปไตยเข้าใจสับสนทั้งฝ่ายเดียวกัน หรือคนละฝ่าย ประชาธิปไตยเป็นกระบวนการ รัฐบาลมาจากการเลือกตั้ง ผ่านขั้นตอนมายังได้รับการกล่าวหาว่าเป็นรัฐบาลที่ไม่ชอบธรรม แสดง ว่าการเมืองในระบอบประชาธิปไตยของไทยมีปัญหา กติกาประชาธิปไตยพัฒนามาเกินขีด ความสามารถของสังคมไทยเท่าที่เป็นอยู่ในปัจจุบันจะพึงปฏิบัติได้
  • 12. •ความไม่เป็นธรรมทางเศรษฐกิจ เป็นจุดอ่อนในระบบเศรษฐกิจแบบทุนนิยมของประเทศไทย •ความไม่เป็นธรรมในสังคม ต้องใช้มาตรฐานเดียวในการปฏิบัติต่อกลุ่มบุคคล บุคคล ที่มีความผิด แตกต่างกันไป •ยอมรับว่ามีความไม่เป็นธรรมทางสังคมสูงสุด คือความเสียเปรียบของผู้ที่ด้อยกว่า •การปฏิรูปการศึกษา มีความสนใจ เอาใจใส่พยายามตลอดมา แต่ยังไม่สนองตอบตอบความมุ่ง หมายของสังคมอย่างตรงประเด็น และมีประสิทธิภาพ •มีหลักคิดที่ไม่ถูกต้องหลายเรื่อง นาไปสู่ความปั่นป่วน และเสื่อมโทรมของสังคม การ“คิดเป็น” หรือสอนให้ “รู้จักคิด” ยังไม่เพียงพอ ต้องสอนให้ “รู้จักคิด คิดเป็น และมีหลักคิดที่ถูกต้อง” หลักคิดที่ถูกต้อง ที่อยู่ในคาสอนของศาสนา ทุกศาสนา •หลักคิดที่ว่าอาจไม่สอดคล้องกับกระแสหลักในโลกยุคปัจจุบัน ต้องช่วยปลุกจิตสานึกของคนไทยให้ ความสนใจปัญหา และข้อเท็จจริงเกี่ยวกับสังคมไทยโดยรอบด้าน
  • 13. ๑. ประเทศไทยมีโครงสร้างและพื้นฐานที่เก่าแก่ เข้มแข็ง ๒. การปฏิรูปประเทศไทย จะต้องพิจารณาดาเนินการเฉพาะเรื่อง ที่ไม่ได้เป็นหลักการพื้นฐานแห่ง รัฐธรรมนูญ ๓. การปฏิรูปประเทศไทย จะต้องพยายามหลีกเลี่ยง / ไม่นาประเด็นที่มีความแตกต่างกัน ในความคิดเห็น ที่มีที่มาเป็นเหตุ ที่ไม่อาจยุติได้โดยง่าย ๔. อาจมีบางสิ่ง ที่อยู่นอกเหนือจากที่กล่าวไว้ในรัฐธรรมนูญ หรือแผนพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติ หรือกฎหมายที่มิได้กาหนด การปฏิรูปประเทศไทยที่ “หลักคิด” ซึ่งต้องยอมรับความจาเป็นของการปฏิรูป ที่ “เหตุ” เมื่อได้ปฏิรูปตรงนี้ได้สาเร็จ สิ่งที่ตามมาก็จะดาเนินไปอย่างถูกต้องและมีประสิทธิผล นาไปสู่ ความปรองดองภายในสังคมตามธรรมาภิบาล สิ่งที่พึงกระทา คือ การทบทวนหลักคิดในการปฏิรูปประเทศไทย
  • 14. ๕.สังคมไทยปัจจุบัน มีเรื่องสาคัญ 3 เรื่องหากทาได้สาเร็จประเทศไทยจะมีสันติสุข สามัคคีปรองดอง มี ศักยภาพในการก้าวไปข้างหน้า ประเด็นสาคัญ 3 เรื่องคือ ขอบเขตและบทบาทประชาชน ความไม่เป็น ธรรมทางเศรษฐกิจสังคม และการปฏิรูปหลักคิดในการจัดการศึกษา ๖. ระมัดระวังอย่าให้ปะปนกันระหว่างประชาธิปไตยกับอนาธิปไตย ซึ่งเป็นภัยใหญ่หลวงแก่สังคมและ ประเทศชาติ ๗. การป้องกันการเปลี่ยนแปลงรัฐบาลหรือการยึดอานาจรัฐด้วยวิธีใดๆ ขึ้นอยู่กับจริยธรรมทางการเมือง ของผู้ครองอานาจ ๘. สาเหตุสาคัญในการถูกยึดอานาจ ซึ่งถูกนาเป็นเงื่อนไขก็คือ พื้นที่ประชาธิปไตยที่ถูกขยายขอบเขตไป จนเกินความเหมาะสม หากไม่ต้องการให้การยึดอานาจเกิดขึ้นอีก ก็จะต้องป้องกันมิให้พื้นที่ประชาธิปไตย เกินขอบเขต นาไปสู่ความปั่นป่วน ความวุ่นวาย เพราะเมื่อสถานการณ์ไปสู่ขั้นนั้น การควบคุม สถานการณ์ให้อยู่ในความสงบ ก็จาเป็นต้องใช้เจ้าหน้าที่ทหาร
  • 15. ๙. พื้นที่ประชาธิปไตย หมายถึง ขอบเขตของสิทธิเสรีภาพของประชาชน ที่ได้รับการรับรอง คุ้มครองโดยรัฐธรรมนูญ ต้องมีความเหมาะสม สอดคล้องกับ ขนบธรรมเนียมประเพณี และวัฒนธรรมของบุคคลในชาติ ๑๐. เรื่องรูปแบบของรัฐบาลและการปกครองในระบอบประชาธิปไตย สาระสาคัญคือ “ปวง ชน” เป็นเจ้าของประชาธิปไตย ไม่ใช่ “ประชาชน” ๑๑. หลักการในเรื่องการคุ้มครองสิทธิ เสรีภาพ และความเสมอภาคของบุคคล ๑๒. “พื้นที่ประชาธิปไตย” ที่กาหนดไว้ในรัฐธรรมนูญ มีสิทธิ 3 ประการ การบานปลายไปสู่ การจลาจล หากมีการปลุกระดมเผยแพร่ด้วยข้อความเป็นเท็จ เพื่อให้เกิดความเข้าใจผิด และ เกลียดชัง ได้แก่ สิทธิชุมชน สิทธิในการแสดงความคิดเห็นของมวลชนและสื่อมวลชน และ เสรีภาพในการชุมนุม การปฏิรูปประเทศไทยจึงจาเป็นต้องทบทวนบทบัญญัติเหล่านี้
  • 16. ๑๓. โครงการหรือกิจกรรม อันอาจส่งผลกระทบต่อชุมชน ทั้งคุณภาพสิ่งแวดล้อม ทรัพยากรธรรมชาติ และสุขภาพ จาเป็นต้องมีการศึกษาประเมินผลกระทบ รับฟังความคิดเห็น ก่อน ต้องทาทุกอย่างให้สมดุล ทั้งพัฒนาสิ่งแวดล้อม, คุณภาพชีวิต ฯลฯ ๑๔. การให้เสรีภาพในการแสดงความคิดเห็น ๑๕. สิทธิเสรีภาพที่ได้รับความคุ้มครองตามรัฐธรรมนูญ สมควรจะต้องทบทวน คือ บทบัญญัติ ที่ว่าด้วย “เสรีภาพในการชุมนุม” ซึ่งอาจส่งผลกระทบต่อประชาธิปไตย ภาพรวม อย่างรุนแรง จนกระทั่ง “อนาธิปไตย” เข้ามาถึงใจกลางของประเทศ ๑๖. จุดบกพร่องที่สาคัญอีกเรื่อง คือ การใช้อานาจเงิน เพื่อผลประโยชน์ทางการเมือง การซื้อสิทธิ์ ขายเสียง ๑๗. ความไม่เป็นธรรม เป็นความรู้สึกที่เกิดขึ้นกับทุกคน ทุกกลุ่ม บุคคลที่ไม่ได้รับสิ่งที่คาดหมาย ว่าจะได้รับ
  • 17. ๑๘. ความไม่เป็นธรรมทางเศรษฐกิจเกิดจากบุคคลกลุ่มบุคคลที่มีความสามารถมีศักยภาพภายใน การผลิตสินค้าและบริการที่แตกต่างกัน ๑๙. ความเป็นเจ้าของ “ปัจจัยการผลิต” เป็นที่มาของการได้เปรียบเสียเปรียบกันในทางเศรษฐกิจ ๒๐. การแก้ไขความไม่เป็นธรรมทางเศรษฐกิจไม่อาจแก้ไขได้โดยง่าย ๒๑. ความไม่เป็นธรรมทางเศรษฐกิจ อันเนื่องมาจากการแบ่งสรรมูลค่าเพิ่ม ๒๒. หัวใจเศรษฐกิจอยู่ที่การผลิต ๒๓. ความไม่เป็นธรรมทางเศรษฐกิจ และสังคม” ต้องดูแลด้วยการแบ่งสรรมูลค่าเพิ่มให้มีความ เหมาะสมขึ้น บรรลุความสาเร็จได้ต้องเยียวยา 4 ประการ คือ (1) การจัดสวัสดิการสังคมที่สมบูรณ์ แบบ (2) การสร้างระบบเศรษฐกิจชุมชนในพื้นที่ชนบท (3) การปฏิรูประบบภาษีอากร และ (4) การอานวยความยุติธรรมแก่ผู้ด้อยโอกาส/ฐานะทางเศรษฐกิจและสังคม การเยียวยาดังกล่าวควร อยู่ใน “แผนการปฏิรูปประเทศ”
  • 18. ๒๔. การจัดระบบเศรษฐกิจชุมชนในพื้นที่ชนบท ๒๕. ระบบเศรษฐกิจชุมชน ก็คือ “สหกรณ์” นั่นเอง ๒๖. การปฏิรูประบบภาษีอากร เราต้องให้ความสาคัญต่อภาษีการบริโภค และการใช้ภาษีทรัพย์สินและมรดก ซึ่งจะเป็น มาตรการลดความแตกต่างในฐานะของบุคคล อันเป็นที่มาของความไม่เป็นธรรมทางเศรษฐกิจและสังคม แม้สังคมจะอนุญาตให้บุคคล สามารถสะสมทรัพย์สมบัติได้ แต่ไม่สมควรจะมากเกินไป ๒๗. กรณีบทบัญญัติ ที่กาหนดไว้ว่า “บุคคลย่อมเสมอกัน” ในกฎหมาย ๒๘. พลเมือง เป็นสิ่งสาคัญในการวัดความเป็นปึกแผ่น มั่นคง ความเจริญก้าวหน้า ๒๙. ความสัมพันธ์กับนานาอารยประเทศ ๓๐. จุดอ่อนที่สุดในการจัดการศึกษาของเมืองไทย ๓๑. จิตสานึกควรมีการปลูกฝังในสังคมไทย ๓๒. นอกจากการปลูกฝังจิตสานึกแล้ว การจัดการศึกษาในเมืองไทย ยังคงต้องเน้นการปลูกฝังหลักคิดที่ถูกต้อง ให้กับคน ไทย/เยาวชนไทย
  • 19. 19
  • 20. 20
  • 21. 21
  • 22. 22
  • 23. 23
  • 24. 24
  • 25. 25
  • 26. 26
  • 27. 27
  • 28. 28
  • 29. 29
  • 30. 30
  • 31. ๑. ด้านการเมือง การแก้ปัญหาโดยสันติวิธีเพื่อไม่ให้เกิดความขัดแย้งในสังคมไทยขึ้นอีก ทั้งก่อน ระหว่างและหลังการเลือกตั้งที่จะมาถึงนี้ ๒. ด้านความเหลื่อมล้า เช่น การครอบครองที่ดินทากินของเกษตรกร การเข้าถึงแหล่งน้า มักถูกยกมาเป็นประเด็นสร้างความขัดแย้งอย่างกว้างขวาง จะมีการพูดถึงแนวทางใน การแก้ปัญหาความเหลื่อมล้า เพื่อลดความขัดแย้ง และสร้างความปรองดองใน สังคมไทย ๓. ด้านกฎหมายและกระบวนการยุติธรรม เพื่อไม่ให้มีความเสี่ยงต่อการขยายไปสู่ความ ขัดแย้ง จะมีทางออกหรือวิธีการดาเนินการต่อประเด็นความขัดแย้งที่เกิดจากความไม่ ยอมรับในกระบวนการยุติธรรม การแทรกแซงการบังคับใช้กฎหมายอย่างไร ๑๐ คาถามของ ปยป.สู่สัญญาประชาคม
  • 32. ๔. มีแนวทางเสริมสร้างความปรองดองให้เกิดขึ้นในสังคมไทย ต่อประเด็นความ แตกต่างทางสังคม ความเชื่อ ศาสนา วัฒนธรรม เศรษฐกิจ การศึกษา และ สาธารณสุขอย่างไร ๕. แนวทางในการไม่ให้สื่อเป็นเครื่องมือสร้างความขัดแย้งได้อย่างไร ๖. มีแนวทางที่จะทาให้การใช้ประโยชน์จากทรัพยากรธรรมชาติ และสิ่งแวดล้อม เช่น ความขัดแย้งเรื่องพลังงาน การก่อสร้างโรงไฟฟ้ า ฯลฯ ไม่ถูกหยิบยกขึ้นมาสร้าง ความขัดแย้งในสังคมได้อย่างไร ๑๐ คาถามของ ปยป.สู่สัญญาประชาคม
  • 33. ๗. มีแนวคิดที่จะดาเนินการต่อประเด็นปัญหากิจการภายในประเทศมายกระดับให้ เป็นปัญหาการเมืองระหว่างประเทศ รวมทั้งผลกระทบจากการดาเนินการของ ต่างประเทศ เช่น ปัญหาเขตแดน ปัญหาด้านสิทธิมนุษยชน ปัญหาเสรีภาพและ ประชาธิปไตย ปัญหาแรงงานและการค้ามนุษย์ ฯลฯ ที่ส่งผลทาให้เกิดความ แตกแยกในสังคมไทยอย่างไร ๘. มีแนวคิดอย่างไร ที่จะป้องกันการทุจริตคอร์รัปชั่น เพื่อไม่ให้เป็นสาเหตุนามาซึ่ง ความขัดแย้ง ในสังคมไทย ๑๐ คาถามของ ปยป.สู่สัญญาประชาคม
  • 34. ๙. ด้านการปฏิรูป มีข้อเสนอแนะเพื่อการปฏิรูปอย่างไร เพื่อให้เกิดความสามัคคี ปรองดอง ๑๐. มีข้อเสนอแนะให้เกิดการยอมรับและร่วมขับเคลื่อนยุทธศาสตร์ชาติ ๒๐ ปี ไปสู่ ความสาเร็จร่วมกัน หรือไปสู่เป้าหมายร่วมกันอย่างไร มีข้อเสนอจากคณะกรรมการฝากเพิ่มเติมในวันนี้เป็นข้อที่ ๑๑ คือ มองปัญหาที่ เกิดขึ้นอย่างไร และจะแก้ไขปัญหาอย่างไร ๑๐ คาถามของ ปยป.สู่สัญญาประชาคม
  • 35. พระราชดารัส ที่พระราชทานแก่ประชาชนชาวไทย ในโอกาสขึ้นปีใหม่ 2494 ดังความตอนหนึ่งว่า “ . ประวัติศาสตร์ได้แสดงให้ปรากฏตลอดมาว่า ชาติใดเสื่อมสูญย่อยยับอับปางไป ก็เพราะ ประชาชาติขาดสามัคคีธรรม แตกแยกเป็นหมู่คณะ เป็นพรรคเป็นพวก คอยเอารัดเอาเปรียบ ประหัสประหารซึ่งกันและกัน บางพรรคบางพวก ถึงกับเป็นไส้ศึกให้ศัตรูมาจู่โจมทาลายชาติของ ตนดังนี้ ข้าพเจ้าจึงขอชักชวนพี่น้องชาวไทยทั้งหลาย ให้ระลึกถึงพระคุณของบรรพบุรุษ ซึ่งได้ กอบกู้รักษาบ้านเกิดเมืองนอนของเรามานั้นให้จงหนัก แล้วถือเอาความสามัคคี ความยินยอม เสียสละส่วนตัวเพื่อประโยชน์ยิ่งใหญ่ของประเทศชาติ เป็นคุณธรรมประจาใจอยู่เนืองนิจ จึง ขอให้พี่น้องชาวไทยทั้งหลาย จงบาเพ็ญกรณีกิจของตนแต่ละคนด้วยซื่อสัตย์สุจริต ขยันหมั่นเพียร อดทนและกล้าหาญ แล้วอุทิศความเสียสละส่วนตัว ความเหน็ดเหนื่อยลาบาก ยากแค้น เป็นพลีบูชาบรรพบุรุษ ผู้ซึ่งได้ก่อสร้างชาติเป็นมรดกตกทอดมาถึงพวกเราชาวไทยจน บัดนี้” www.kpi.ac.th
  • 36. บทบัญญัติที่กาหนดในกฎบัตรสหประชาชาติหมวดที่ ๑ Article 2 ข้อ 7 ปัญหาความขัดแย้งภายในชาติใดชาติหนึ่ง อาจมีสาเหตุจากเงื่อนไขหนึ่งหรือหลายประการประกอบกัน • ความไม่เป็นธรรมในสังคม • ความแตกต่างทางเชื้อชาติ ศาสนา เผ่าพันธุ์ • การรักษาการปกครองของรัฐ • กฎหมายหรือองค์กรบังคับใช้กฎหมาย อ่อนแอ • ภูมิรัฐศาสตร์ที่ไม่เอื้ออานวยให้อานาจการปกครองของรัฐบาลกลางสถาปนา ครอบคลุมพื้นที่อย่างเต็มประสิทธิภาพ www.kpi.ac.th
  • 37.
  • 38.
  • 39.
  • 40.
  • 41.
  • 42.
  • 43.
  • 44.
  • 45.
  • 46.
  • 47.
  • 48. “... ถ้าไม่สามัคคี ก็บอกแล้วว่าประเทศจะประสบความหายนะ ไม่ใช่คาหายนะแต่ก็คล้าย ๆ กันว่า ถ้าไม่สามัคคีกัน ไม่ปรองดอง กัน ประเทศชาติล้ม ถ้าล้มก็ผลของการล้มนั้นมีหลายอย่าง ถ้า ร่างกายก็ร่างกาย กระดูกหักและต้องเข้ารักษาที่รักษานาน ๆ ไม่มี สิ้นสุด ถ้าไม่ระวังประเทศชาติก็ล่ม เมื่อล่มเราจะไปอยู่ที่ไหน คือ ล่ม ล่มก็หมายถึงว่าลงไป จม ล่มจม ถ้าเราไม่ระวังประเทศชาติล่ม จม...”
  • 49. “... พูดถึงว่าเมืองไทย บ่นว่าเดือด ที่จริงไม่ได้เดือด แต่คนน่ะเดือด คน มันทาเดือด ทาให้คนเดือดร้อน แล้วเวลาเดือดร้อนเนี่ยมันไม่สบาย น้าเดือดมีประโยชน์ต้มไข่ได้ แต่ว่าถ้าเดือดเฉย ๆ ไม่มีประโยชน์ ทา ให้คนเดือดร้อน นี่สิ้นเปลืองเปล่า ๆ แล้วก็เมื่อคนทาให้เดือดร้อน ที่ว่าสิ้นเปลืองเปล่า ๆ แล้วก็บ่น บ่นว่าประเทศลุกเป็นไฟ ก็ต้องระวัง ไม่ให้ลุกเป็นไฟ เพราะว่าจะทาให้ล่มจม ล่มจมนี้ที่ต่างประเทศเขา บอกว่า เมืองไทยจะล่ม จะจม ความจริงยังไม่ล่ม แล้วก็ไม่จม แต่ถ้าไม่ ระวังก็จะล่มจม ฉะนั้น ก็จะต้องระมัดระวัง ทุกวันนี้ไม่ปรองดองกัน เมื่อไม่ปรองดองก็มีรู ก็จะล่ม จะล่มจมลงไป...”
  • 50. “...บ้านเมืองจะมี ความมั่นคงเป็นปรกติสุขอยู่ได้ ก็ด้วยนานาสถาบันอัน เป็นหลักของประเทศ และคนไทยทุกหมู่เหล่า มีความสมัครสมาน ปรองดองกันดี และรู้จักปฏิบัติหน้าที่ให้ประสานส่งเสริมกัน ความ พร้อมเพรียงของทุกฝ่ายทุกคน ที่มีความสานึกแน่ชัดในหน้าที่ความ รับผิดชอบ และตั้งใจปฏิบัติตนปฏิบัติงานให้ดี ให้ประสานสอดคล้อง กันนี้ จัดเป็นความสามัคคีอย่างหนึ่ง คือความสามัคคีในชาติ ทุกคนใน ชาติจะได้ตั้งตนตั้งใจให้อยู่ในความสามัคคีดังกล่าว ประโยชน์และ ความสุขจะบังเกิดขึ้น พร้อมทั้งแก่ส่วนตัว และส่วนรวม ประเทศชาติ ของเราจะสามารถรักษาความเป็นปรกติ มั่นคง พร้อมทั้งพัฒนาให้ รุดหน้าไปได้ดังปรารถนา...”
  • 51. พระราชดารัสความสาคัญตอนหนึ่งว่า..... •“... ไทยเรารักษาเอกราชและผืนแผ่นดินให้มั่นคงเป็นปึกแผ่นมาได้ ก็เพราะเราทุก คนมีความสานึกตระหนักในความเป็นไทยและหน้าที่ ที่จะธารงรักษาชาติประเทศ ไว้ให้เป็นอิสระมั่นคงตามประวัติการณ์ ที่ปรากฏ มา คนไทยจึงมีจิตใจผูกพัน ปรองดอง อันหนึ่งอันเดียวกัน ไม่แยกพวก แยกเหล่า มีปกติสามัคคีพร้อมเพรียง กันเสมอ
  • 52. การสร้างความปรองดอง • เป็นกระบวนการต่างๆ ที่ป้องกันไม่ให้ความขัดแย้งเกิดขึ้นมาใหม่อีกครั้งเพราะจะรุนแรงมากขึ้น • การสร้างสันติภาพด้วยการหยุดยั้งวงจรแห่งความรุนแรง และสร้างประชาธิปไตยให้กลับคืนมาอีกครั้ง • เป็นกระบวนการที่นาไปสู่การลดความเกลียดชัง แตกแยก และสร้างความไว้วางใจให้ฟื้ นคืน ความสัมพันธ์ระหว่างกลุ่มคนที่เคยขัดแย้งรุนแรง • เป็นการแสดงความรับผิดชอบต่อการกระทาในอดีต การยอมรับความจริงที่เกิดขึ้น การเมตตาให้อภัย ตลอดจนการมองภาพอนาคตของสังคมร่วมกัน
  • 53. ๑. การสานเสวนาเป็นเงื่อนไขสาคัญสาหรับการนาไปสู่การสร้างความปรองดอง ๒. เน้นหรือจัดการกับอารมณ์และความรู้สึกของคน ๓. ความปรองดองเกิดขึ้นได้เมื่อความต้องการของมนุษย์ได้รับการตอบสนอง ๔. ศาสนาเป็นเครื่องมือที่สาคัญมากในการแก้ไขความขัดแย้ง ๕. การสร้างความปรองดองจาเป็นมากที่จะต้องใช้แนวทางที่หลากหลาย ๖. การสร้างความปรองดองเน้นที่หัวใจ ๗. คานึงถึงวัฒนธรรมที่หลากหลายในกระบวนการสร้างความปรองดอง ๘. การให้อภัยมีความแตกต่างกันออกไปในแต่ละสังคม ๙. ความยุติธรรมแบบใดที่เหมาะสมสาหรับการสร้างความปรองดอง หลักการสร้างความปรองดอง
  • 54. กระบวนการสร้างพื้นที่ให้เกิดการพูดคุย ๑) การสานเสวนาเกิดขึ้นได้เมื่อคู่กรณีร่วมกันหาข้อตกลงไปสู่การเปลี่ยนแปลง มุมมอง ความรู้สึกโกธร ความเกลียดที่มี ต่อกัน ๒) จัดการกับอารมณ์และความรู้สึกของคน เปิดเผยอารมณ์ความรู้สึกของตนเอง เยียวยาอดีตและความเจ็บปวดใน ปัจจุบัน และการเยียวยาความรู้สึกทางจิตใจของคน การยอมรับความจริงแทนหนทางการต่อสู้กัน ให้คนที่เกลียดชังกัน มาพูดคุยกันได้ ต้องมีพื้นที่ปลอดภัยเพื่อสร้างอนาคตร่วมกัน ยอมรับผู้แทนของแต่ละฝ่าย ยอมรับตัวตนซึ่งกันและ กัน และยอมรับอดีตที่เกิดขึ้น มีคณะกรรมการแสวงหาข้อเท็จจริงและสร้างความปรองดองเพื่อเยียวยาเหยื่อและสังคม เป้าหมายไม่ใช่เพื่อลงโทษผู้กระทา แต่เพื่อทาให้คนในสังคมอยู่ร่วมกันได้ ๓) ความปรองดองเกิดขึ้นไม่ได้ หากเขารู้สึกไม่ปลอดภัยมั่นคงในการอยู่ร่วมกับศัตรู การให้อภัยเป็นสิ่งจาเป็นแต่จะ เกิดขึ้นไม่ได้เลย ถ้าความต้องการของมนุษย์ถูกละเลย หรือในกรณี ถ้าไม่เกิดการยอมรับในอัตลักษณ์ของชนกลุ่ม
  • 55. ๔) ศาสนาเป็นเครื่องมือที่สาคัญในการแก้ไขความขัดแย้ง การเยียวยาความรู้สึก การสร้างความสัมพันธ์ที่ แตกร้าวให้กลับขึ้นมาใหม่ ต้องการมากกว่าการเจรจาไกล่เกลี่ย ที่ได้แต่ความความต้องการที่แท้จริง เท่านั้น ต้องใช้สัญลักษณ์และพิธีกรรม ตามความเชื่อทางศาสนา และพิธีกรรมในการสร้างความ ปรองดอง ๕) การสร้างความปรองดองต้องใช้แนวทางที่หลากหลาย ทั้งด้านจิตใจ กฎหมาย สังคม วัฒนธรรม จิตวิทยาและการเมือง การเจรจาเพียงอย่างเดียวไม่สามารถนาไปสู่การสร้างสันติภาพได้ ต้องสร้าง กิจกรรมร่วมกันในภาคประชาสังคมด้วย จะประสบความสาเร็จได้ต้องได้รับความร่วมมือทั้งภาครัฐและ ภาคประชาชน จนถึงผู้นาที่ได้รับการยอมรับจากคู่กรณี ๖) การปรองดองเน้นที่หัวใจ และความคิด โดยกาหนดเป้าหมายของการพูดคุย และดาเนินไปในทิศทางที่ ควรจะเป็น ส่วนการเน้นที่หัวใจคือเป็นการพูดคุยกันถึงอารมณ์ ความรู้สึกที่อยู่ลึกในจิตใจ
  • 56. ๗) คานึงถึงวัฒนธรรมที่หลากหลายในกระบวนการสร้างความปรองดอง ไม่เน้นที่การรับหรือนาวิธีการและกฎหมายของ ประเทศตะวันตกมาใช้แต่ต้องปรับใช้ให้เหมาะกับบริบทของสังคม ๘) การให้อภัยมีความแตกต่างกันออก ในแต่ละสังคมและวัฒนธรรม ไม่ควรยึดติดแต่เพียงรูปแบบเดียว แต่ละ วัฒนธรรมมีมุมมองต่อการให้อภัยและการสร้างความปรองดองที่แตกต่างกันออกไป ๙) จะเลือกความยุติธรรมแบบไหนที่เหมาะสม เพื่อให้ความสัมพันธ์กลับคืนมาระหว่างคู่กรณี หรือความยุติธรรมแบบมุ่ง แก้แค้น ที่เน้นลงโทษผู้กระทาผิด เนื่องจากเหยื่อมีความต้องการให้ลงโทษผู้กระทาผิด เป็นสิ่งที่ท้าทายทั้งนักปฏิบัติ และนักวิชาการในการเลือกใช้ความยุติธรรมแบบไหน หลังเหตุการณ์ความรุนแรง แม้คาตอบของความยุติธรรมไม่ได้ อยู่ที่การยอมคืนดีเสมอไป แนวทางหนึ่งที่นักสันติวิธีมักใช้อย่างกว้างขวางเพื่อจัดการกับปัญหาความขัดแย้งที่รุนแรง ในสังคมในอีกรูปแบบหนึ่งคือ ความยุติธรรมระยะเปลี่ยนผ่าน
  • 57. กระบวนการและเครื่องมือในการสร้างความปรองดอง •เครื่องมือในการเปิดพื้นที่ในการพูดคุย สร้างความปรองดองอาจจะอาศัยวิธีการอย่างใด อย่างหนึ่งหรือผสมผสานกันหลายวิธีการก็ได้ขึ้นอยู่กับสภาพปัญหาและบริบททาง วัฒนธรรมของแต่ละสังคม โดยมีเป้าหมายที่สาคัญก็คือการสร้างสังคมที่คนเห็นต่างแต่ สามารถอยู่ร่วมกันได้อย่างสันติ •ผู้อานวยความสะดวกในการชวนคุย (Facilitators) •เอาใจเขามาใส่ใจเรา และการมีวัฒนธรรมประชาธิปไตย มีการเยียวยาทางจิตใจ
  • 58. • ปรองดองในสังคม ตั้งอยู่บนฐานคิดของความยุติธรรมในระยะเปลี่ยนผ่านและการอยู่ร่วมกันบนความแตกต่าง เพื่อ ยุติความรุนแรง ลดความเกลียดชังแตกแยก • สร้างความไว้วางใจและฟื้ นคืนความสัมพันธ์ระหว่างกลุ่มคนที่เคยขัดแย้งกันรุนแรง และนาไปสู่สังคมปรองดองที่ผู้คน ซึ่งมีความแตกต่างไม่ว่าจะเป็นทางความคิดความเชื่อ ชาติพันธุ์ วัฒนธรรม หรือสถานะทางสังคมเศรษฐกิจ สามารถอยู่ ร่วมกันได้อย่างสันติ • เมื่อสังคมเกิดการใช้ความรุนแรงและนามาสู่ความสูญเสีย มีการจัดการกับความรุนแรงที่เกิดขึ้นนั้นอย่างไร จะใช้ วิธีการใดบ้างในการก้าวข้ามพ้นความรุนแรงที่เกิดขึ้น การนากระบวนการยุติธรรมในระยะเปลี่ยนผ่าน จึงถูกนามาใช้ ในการอยู่ร่วมกันอย่างสันติ เป็นแนวทางหนึ่งที่นามาใช้เพื่อเปลี่ยนผ่านไปสู่สังคมที่พึงปรารถนาสามารถอยู่ร่วมกันได้ อย่างสันติ บนพื้นฐานว่าจะจดจาหรือลืมเหตุการณ์ที่เกิดขึ้น และมาตรการในการลงโทษผู้กระทาผิด หรือเน้นการ เยียวยาผู้เสียหาย ความยุติธรรมในระยะเปลี่ยนผ่าน (Transitional Justice)
  • 59. ๑. การฟ้ องร้องดาเนินคดีกับผู้กระทาผิด ๒. การนิรโทษกรรม ๓. คณะกรรมการค้นหาความจริง ๔. โครงการช่วยเหลือเยียวยา ๕. การระลึกถึงผู้ได้รับผลกระทบ ๖. การปฏิรูปสถาบัน ความยุติธรรมในระยะเปลี่ยนผ่าน(Transitional Justice)
  • 60. 3. ขั้นตอนและกระบวนการต่างๆ ของการปรองดอง แนวคิดและกระบวนการสร้างความปรองดอง (ต่อ) •หยุดใช้ความรุนแรงเพื่อหยุดยั้งความหวาดกลัว ความเกลียดชัง ความเคียดแค้น และความทรงจาที่เจ็บปวด จะต้องหยุดใช้ความรุนแรงทุกรูปแบบขั้นตอนที่1 •การสร้างความเชื่อมั่นและความไว้วางใจ หลังหยุดการใช้ความรุนแรงแล้ว จะต้อง สร้างความเชื่อมั่นและความไว้วางใจในสังคมให้กลับคืนมา คู่ขัดแย้ง เหยื่อ และผู้ได้รับผลกระทบจะต้องสร้าง ความไว้วางใจ โดยอยู่บนพื้นฐานของความเป็นมนุษย์และสิทธิมนุษยชน ขั้นตอนที่ 2 •เอาใจเขามาใส่ใจเรา เข้าใจสาเหตุของความขัดแย้งจากมุมมองของฝ่ายตรงข้าม รับฟังเหตุผล ผู้กระทาผิด รับรู้ความรู้สึกเจ็บปวดของเหยื่อเพื่อหยุดยั้งความเกลียดชังและการแก้แค้นต่อกัน ขั้นตอนที่ 3
  • 62. • การจัดตั้ง คณะกรรมการค้นหาความจริง เพื่อทาหน้าที่ค้นหาความจริง ข้อดีสามารถเปิดเผยข้อมูลอย่างเป็นทางการ ของเหตุการณ์ที่เกิดขึ้นในอดีต ซึ่งก่อนมีคณะกรรมการดังกล่าว อาจมีการให้ข้อมูลที่กล่าวถึงความเสียหายที่มากเกิน ความเป็นจริง หรือน้อยเกินความเป็นจริงก็ได้ • การเปิดเผยความจริงจะทาให้สังคมหันมาสนใจผู้เสียหายซึ่งถูกสังคมเพิกเฉยมาเป็นเวลานาน อันนาไปสู่การสร้าง มาตรการเยียวยาผู้เสียหายได้ ที่สาคัญสามารถนาเสนอมาตรการในการเยียวยาผู้เสียหาย ตลอดจนการปฏิรูปกฎหมาย และสถาบันได้อีกด้วย • การตั้งคณะกรรมการค้นหาความจริงไม่ใช่ว่าจะเหมาะสมกับทุกบริบทของความขัดแย้ง เพราะบางครั้งอาจทาให้ความ ขัดแย้งที่มีอยู่เพิ่มมากขึ้น และในบางประเทศไม่มีสถาบันที่น่าเชื่อถือที่มีความชอบธรรม พอที่จะให้ค้นหาความจริง และไม่มีอะไรรับประกันว่าคณะกรรมการฯ จะเป็นกลาง ในบางครั้งการเปิดเผยความจริงก็อาจจะยิ่งสร้างความเจ็บปวด ให้แก่ผู้เสียหายมากขึ้นก็ได้ การเล่าความจริง (Truth-telling)
  • 63. • เป็นสิ่งที่สาคัญในการสร้างความปรองดองอย่างแท้จริง โดยหลักการรัฐมีหน้าที่รับรองและคุ้มครองสิทธิและเสรีภาพ ของประชาชน ถ้าหากรัฐ (หรือเจ้าหน้าที่รัฐ) ทาการละเมิดสิทธิขั้นพื้นฐานของประชาชน รัฐก็ต้องชดเชยให้ผู้เสียหาย อาจเป็นได้ทั้งการทาให้กลับคืนสู่สภาพเดิมได้แก่ การคืนทรัพย์สิน การคืนสิทธิตามกฎหมายแพ่งของบุคคล และการ ใช้ค่าสินไหมทดแทน ซึ่งคือการจ่ายเงินให้แก่ผู้เสียหาย เพื่อทดแทนสิ่งที่ผู้เสียหายสูญเสียไป • การเยียวยาอาจได้แก่ การฟื้ นฟู หมายถึงการทาให้สุขภาพร่างกายและสุขภาพจิตกลับคืนสู่สภาพใกล้เคียงกับสภาพ เดิมมากที่สุด ซึ่งอาจทาได้โดยให้การรักษาทางการแพทย์ และการชดเชย การจะสร้างความพึงพอใจให้แก่ผู้เสียหาย จาทาโดยการเปิดเผยความจริง การขอโทษ การลงโทษผู้กระทาความผิด เป็นต้น • กระบวนการสร้างความปรองดองมีความเปราะบางและต้องอาศัยเวลาและความอดทนจากทุกฝ่าย เป็นกระบวนการที่มี ความเกี่ยวข้องทั้งในส่วนของการยุติความรุนแรง/การหาข้อตกลง เพราะความรุนแรงไม่อาจนามาซึ่งเป้าหมายและ ทางออกที่ยั่งยืน และในส่วนของการสร้างความปรองดอง การชดเชย (Reparation)
  • 64. กระบวนยุติธรรมเชิงสมานฉันท์ (Restorative Justice) • เป็นกระบวนยุติธรรมที่ไม่ได้มุ่งเน้นเพียงการเยียวยาผู้เสียหายและการลงโทษผู้กระทาความผิดแต่เพียงอย่างเดียว • เป็นกระบวนการยุติธรรมที่เปิดโอกาสให้ผู้เสียหาย และผู้กระทาความผิดมีส่วนร่วมในการพูดคุยกันเพื่อวิเคราะห์ว่า อะไรคือข้อเท็จจริง อะไรคือสาเหตุแห่งการกระทาความผิด เป็นกระบวนการที่ทาให้ผู้กระทาความผิดกับผู้เสียหายมี ความเข้าใจซึ่งกันและกัน • ให้ผู้กระทาผิดเกิดความรู้สึก “รับผิดชอบ” กับสิ่งที่ตนเองทา และตกลงกันว่าจะเยียวยาผู้เสียหายอย่างไร ตลอดจน ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมของผู้กระทาความผิดแล้วทาให้ผู้กระทาความผิดกลับคืนสู่สังคมได้ • ข้อดีของการใช้กระบวนยุติธรรมเชิงสมานฉันท์ ได้แก่ กระบวนยุติธรรมดังกล่าวสร้างการเรียนรู้ให้แก่คนในสังคม โดยต่างฝ่ายต่างเข้าใจกัน และเป็นกระบวนยุติธรรมที่มีลักษณะเป็นการเจรจาซึ่งเปิดโอกาสให้ผู้เสียหายและผู้กระทา ความผิดเข้ามามีส่วนร่วม • การใช้กระบวนยุติธรรมเชิงสมานฉันท์ ก็มีข้อเสีย อาจเกิดความไม่เป็นธรรมหรืออานาจที่ไม่เท่าเทียมกันใน กระบวนการพูดคุยระหว่างคู่กรณีได้ไม่ว่าจะเป็นตัวแปรด้านเพศ อายุ หรือสถานะทางสังคม
  • 65. กรณีศึกษา “ การสร้างความปรองดอง จาก 10 ประเทศ “ จากรายงานวิจัยการสร้างความปรองดองแห่งชาติ จัดทาโดย สถาบันพระปกเกล้า มีนาคม พ.ศ. 2555
  • 66. เวลาเจรจา สาเหตุขัดแย้ง การจัดการ คณก.หาความจริง South Korea 10 เรียกร้อง ปชต. ปขข.กดดัน ตั้งคณะกรรมการ South Africa 10 ไม่เป็นธรรม สร้างภาพอนาคตร่วมกัน ตั้งคณะกรรมการ Aceh Indonesia 7 ไม่เป็นธรรม เจรจา/ตปท. ตั้งคณะกรรมการ North Ireland 26 ไม่เป็นธรรม เจรจา/ตปท. ตั้งคณะกรรมการ Rwanda 8 ไม่เป็นธรรม/กดขี่ คณก.ปรองดอง ตั้งศาล กาชาชา Chili 17 อุดมการณ์แตกต่าง เลือกตั้ง ตั้งคณะกรรมการ Columbia 22 อุดมการณ์แตกต่าง ปรับปรุงกฎหมาย คณก ฟื้ นฟู Morocco 16 เรียกร้อง ปชต. ให้ฝ่ายตรงข้ามมารับตาแหน่ง ตั้งคณะกรรมการ Bolivia 3 ไม่เป็นธรรม ลงประชามติ Germany 8 อุดมการณ์แตกต่าง การเจรจา ตั้งคณะกรรมการ
  • 67. เวลาเจรจา ชดเชยเยียวยา การจัดการ ทัศนคติเปลี่ยนแปลง South Korea 10 เยียวยา ปขข.กดดัน ทหารให้คามั่นจะไม่เกิดอีก South Africa 10 เยียวยา สร้างภาพอนาคตร่วมกัน มองอนาคตร่วมกัน Aceh Indonesia 7 เยียวยา เจรจา/ตปท. ความรุนแรงไม่แก้ปัญหา North Ireland 26 เยียวยา เจรจา/ตปท. ความรุนแรงไม่แก้ปัญหา Rwanda 8 เยียวยา คณก.ปรองดอง อยู่ร่วมกัน Chili 17 เยียวยา เลือกตั้ง หวงแหน ปชต. Columbia 22 เยียวยา ปรับปรุงกฎหมาย การเจรจา Morocco 16 เยียวยา ให้ฝ่ายตรงข้ามมารับตาแหน่ง รับรู้มีการละเมิดสิทธิมนุษชน Bolivia 3 ลงประชามติ ยอมรับความแตกต่าง Germany 8 เยียวยา การเจรจา ยึดถือความเท่าเทียม
  • 68. ปัจจัยแห่งความสาเร็จ South Korea ภาคประชาชนเข้มแข็งผลักดันให้เปลี่ยนแปลง South Africa มีเจตจานงทางการเมือง/สร้างภาพอนาคตร่วมกัน Aceh Indonesia มีเจตจานงทางการเมือง/เจรจากับศัตรู North Ireland มีเจตจานงทางการเมือง/มีส่วนร่วม/ได้รับแก้ไขปัญหาโครงสร้าง/สร้างบรรยากาศ Rwanda สร้างความร่วมมือ Chili ตปท.กดดัน Columbia ภาคประชาชนเข้มแข็ง/มีเจตจานงทางการเมือง/ปรับปรุงกฎหมาย Morocco สร้างประชาธิปไตย/การมีส่วนร่วม Bolivia ปฎิรูปกฎหมาย/ยอมรับความแตกต่าง Germany สร้างอนาคตร่วม/ลดความเหลื่อมล้า
  • 69. เกาหลีใต้ 1. ระยะเวลา 10 ปี 2. คู่ขัดแย้ง รัฐบาลทหารกับประชาชน 3. เหตุแห่งความขัดแย้ง การเรียกร้องประชาธิปไตย 4. กระบวนการสร้างความปรองดอง 4.1 การจัดการกับเงื่อนไข ความขัดแย้ง มีแรงกดดันจากภาคประชาสังคมนาไปสู่การออกกฎหมายพิเศษเพื่อพิจารณาเกี่ยวกับเหตุการณ์การ เรียกร้องประชาธิปไตย (18 พ.ค. 1995) 4.2 การค้นหาความจริง มีการตั้งคณะกรรมการค้นหาความจริง เพื่อหาสาเหตุการเสียชีวิต 4.3 การให้อภัย มีการให้อภัยโทษผู้กระทาผิดหลังจากได้รับโทษไปแล้วระยะหนึ่ง 4.4 การชดใช้ความผิด ออกรัฐบัญญัติเพื่อหาทางเอาผิดอดีตผู้นาและยกย่องเหตุการณ์ 4.5 การชดเชยและเยียวยา ออกกฎหมายประชาธิปไตย ผ่านการเรียกร้อยโดยองค์กร The Korean Association of Bereaved Families for Democracy
  • 70. เกาหลีใต้ 5. ผลจากกระบวนการปรองดอง 5.1 การเปลี่ยนแปลงในเชิง โครงสร้าง/นโยบาย ศาลรัฐธรรมนูญมีความเป็นอิสระและยึดประโยชน์ประชาชนเป็นที่ตั้ง 5.2 การเปลี่ยนแปลงในเชิง ทัศนคติของสังคม 1) ผู้นาทหารให้คามั่นว่าจะไม่เกิดการรัฐประหารขึ้นอีก 2) ประชาชนตระหนักว่าประชาธิปไตยเป็นเรื่องสาคัญและต้องร่วมกันรักษาไว้ และมองว่าการทุจริต คอร์รัปชั่นเป็นสิ่งที่รับไม่ได้ในสังคม 3) มีความพึงพอใจที่ผู้เกี่ยวข้องกับการกระทาความผิดได้รับการลงโทษ 6. ข้อสังเกตในส่วนของปัจจัยแห่งความสาเร็จ ความเข้มแข็งของภาคประชาสังคมในการผลักดันให้เกิดการเปลี่ยนแปลง
  • 71. แอฟริกาใต้ 1. ระยะเวลา 10 ปี 2. คู่ขัดแย้ง รัฐบาลคนผิวขาวกับประชาชนคนผิวดา 3. เหตุแห่งความขัดแย้ง คนผิวดาถูกกีดกันทางการเมือง เศรษฐกิจและสังคมโดยคนผิวขาว 4. กระบวนการสร้างความปรองดอง 4.1 การจัดการกับเงื่อนไข ความขัดแย้ง 1) สร้างภาพอนาคตร่วมกันผ่านกระบวนการ Montfleur ที่มีตัวแทนจากทุกฝ่ายเข้าร่วม 2) ออกรัฐบัญญัติส่งเสริมเอกภาพและความสมานฉันท์แห่งชาติ 4.2 การค้นหาความจริง ตั้งคณะกรรมการแสวงหาความจริงและความปรองดอง 4.3 การให้อภัย ตั้งคณะกรรมการนิรโทษกรรม 4.4 การชดใช้ความผิด 4.5 การชดเชยและเยียวยา ตั้งคณะกรรมการฟื้นฟูเยียวยาและส่งเสริมการกลับคืนสู่สังคม
  • 72. แอฟริกาใต้ 5. ผลจากกระบวนการปรองดอง 5.1 การเปลี่ยนแปลงในเชิง โครงสร้าง/นโยบาย ยกเลิกกฎหมายและนโยบายต่างๆ ที่ไม่เป็นธรรมและก่อให้เกิดการกีดกันสีผิว ตลอดจนความแตกต่างใน การกระจายรายได้และการจัดสรรทรัพยากรธรรมชาติ 5.2 การเปลี่ยนแปลงในเชิง ทัศนคติของสังคม มองเห็นภาพในอนาคตของประเทศตนร่วมกัน 6. ข้อสังเกตในส่วนของปัจจัยแห่งความสาเร็จ 6.1 เจตจานงทางการเมืองที่ต้องการจะปรองดอง 6.2 การสร้างภาพอนาคตร่วมกันผ่านกระบวนการ
  • 73. อินโดนีเซีย (อาเจะห์) 1. ระยะเวลา 7 ปี 2. คู่ขัดแย้ง รัฐบาลอินโดนีเซียกับขบวนการปลดปล่อยอาเจะห์ (GAM) 3. เหตุแห่งความขัดแย้ง การรู้สึกว่าไม่ได้รับความเป็นธรรมในการจัดสรรทรัพยากรธรรมชาติ ประกอบกับสานึกทางประวัติศาสตร์ ของความเป็นรัฐอิสระในอดีต 4. กระบวนการสร้างความปรองดอง 4.1 การจัดการกับเงื่อนไข ความขัดแย้ง 1) เกิดการเจรจาระหว่างรัฐบาลอินโดนีเซียและ GAM มีองค์กรต่างชาติเป็นคนกลาง นาไปสู่การลง นามบันทึกความเข้าใจระหว่างกัน 2) ออกรัฐบัญญัติส่งเสริมเอกภาพและความสมานฉันท์แห่งชาติ 4.2 การค้นหาความจริง ตั้งคณะกรรมการแสวงหาความจริงแห่งอาเจะห์ ซึ่งไม่มีอานาจในการสอบสวนเจ้าหน้าที่รัฐ 4.3 การให้อภัย ปล่อยตัวนักโทษการเมืองและผู้ถูกคุมขังที่คดีเกี่ยวเนื่องกับกิจกรรมของ GAM 4.4 การชดใช้ความผิด ไม่มีกระบวนการสอบสวนการกระทาของเจ้าหน้าที่รัฐ 4.5 การชดเชยและเยียวยา ตั้งองค์กรส่งเสริมการกลับคืนสู่สังคมแห่งอาเจะห์ เยียวยาทั้งอดีต GAM กลุ่มต่อต้าน GAM และประชาชน ทั่วไปที่ได้รับผลกระทบ
  • 74. 5. ผลจากกระบวนการปรองดอง 5.1 การเปลี่ยนแปลงในเชิง โครงสร้าง/นโยบาย 1) เกิดเขตปกครองพิเศษอาเจะห์โดยให้ผู้ว่าราชการจังหวัดมาจากการเลือกตั้งโดยตรงและได้ส่วนแบ่ง รายได้จากทรัพยากรธรรมชาติท้องถิ่นร้อยละ 70 2) สามารถตั้งพรรคการเมืองเฉพาะของท้องถิ่นได้ 3) มีการตั้งศาลสิทธิมนุษยชน มีอานาจตัดสินคดีละเมิดสิทธิมนุษยชน ที่เกิดขึ้นหลังข้อตกลงเท่านั้น 5.2 การเปลี่ยนแปลงในเชิง ทัศนคติของสังคม 1) เกิดความตระหนักว่าไม่มีประโยชน์ที่จะเอาชนะกันท่ามกลางความสูญเสียที่เกินกว่าสังคมจะรับได้ 2) เกิดความเห็นร่วมกันว่าความรุนแรงไม่อาจนามาซึ่งทางออกต่อปัญหา 6. ข้อสังเกตในส่วนของปัจจัยแห่งความสาเร็จ 1) เจตจานงทางการเมืองที่ต้องการจะปรองดอง 2) การคุยกับ “ศัตรู” ในฐานะเพื่อนร่วมชาติด้วยกระบวนการหาทางออกร่วมกันที่ชอบธรรมและเป็นที่ ยอมรับของทุกฝ่าย 3) เหตุแห่งความขัดแย้งได้รับการแก้ไขด้วยภาพอนาคตที่สร้างร่วมกัน 4) การเปลี่ยนมหาวิกฤติเป็นโอกาสสู่การปรองดอง 5) ความเข็มแข็งของภาคประชาสังคมในการผลักดันสันติภาพ อินโดนีเซีย (อาเจะห์)
  • 75. สหราชอาณาจักร (ไอร์แลนด์เหนือ) 1. ระยะเวลา 26 ปี (ใช้ระยะเวลามากที่สุดใน 10 ประเทศ) 2. คู่ขัดแย้ง กลุ่มอังกฤษโปรเตสแตนท์กับกลุ่มไอริชคาทอลิก 3. เหตุแห่งความขัดแย้ง การที่ชาวไอริชคาทอลิกซึ่งเป็นคนส่วนน้อยถูกเลือกปฏิบัติทางการเมือง เศรษฐกิจ และสังคม ประกอบกับ ความสานึกความเป็นชาตินิยมไอริช 4. กระบวนการสร้างความปรองดอง 4.1 การจัดการกับเงื่อนไข ความขัดแย้ง 1) เกิดการเจรจาระหว่างผู้เกี่ยวข้องทุกฝ่ายคือกลุ่มอังกฤษโปรเตสแตนท์ กลุ่มไอริชคาทอลิก รัฐบาล อังกฤษ และรัฐบาลไอร์แลนด์ โดยมีสหรัฐอเมริกาเป็นผู้สนับสนุน นาไปสู่การลงนามข้อตกลง สันติภาพ 2) ออกพระราชบัญญัติไอร์แลนด์เหนือ เพื่อนาข้อตกลงไปสู่การปฏิบัติ 4.2 การค้นหาความจริง รัฐบาลตั้งคณะกรรมการสอบสวนกรณีอาทิตย์เลือด (Bloody Sunday) โดยเปิดเผยว่าทหารอังกฤษเป็น ผู้กระทาผิด รัฐบาลได้ออกมาขอโทษชาวไอริชคาทอลิกอย่างเป็นทางการ ซึ่งสังคมโดยรวมให้อภัยและไม่มี การนาตัวผู้เกี่ยวข้องมาลงโทษ 4.3 การให้อภัย ปล่อยตัวนักโทษการเมืองที่ถูกตัดสินจาคุกจากการกระทาที่เป็นการก่อการร้าย โดยมีคณะกรรมการอิสระ เป็นผู้พิจารณาคุณสมบัติของผู้ที่จะได้รับการปล่อยตัว
  • 76. 4.4 การชดใช้ความผิด ตั้งทีมสืบสวนสอบสวนเหตุการณ์ความรุนแรงในอดีต เพื่อหาข้อเท็จจริง 4.5 การชดเชยและเยียวยา มีการชดเชยเยียวยาในรูปของตัวเงินและโครงการพัฒนาอาชีพและสร้าง รายได้แก่ประชาชนที่ได้รับผลกระทบจากเหตุการณ์ เจ้าหน้าที่รัฐ และ อดีตสมาชิกกลุ่มกองกาลังของทั้งสองฝ่ายตามลาดับ 5. ผลจากกระบวนการปรองดอง 5.1 การเปลี่ยนแปลงในเชิง โครงสร้าง/นโยบาย 1) มีคณะผู้บริหารท้องถิ่นตามหลักการแบ่งอานาจ ประกอบด้วยพรรคการเมืองหลัก 2 ขั้ว 2) มีการปฏิรูปองค์กรตารวจทั้งระบบให้มีความเป็นกลางมากขึ้น 3) มีการแก้ไขนโยบายทางการศึกษา การจ้างงาน และการจัดสรรที่อยู่อาศัยที่เลือกปฏิบัติให้เกิดความ เป็นธรรม พร้อมตั้งคณะกรรมการสิทธิมนุษยชน และคณะกรรมการเพื่อความเสมอภาค 5.2 การเปลี่ยนแปลงในเชิง ทัศนคติของสังคม 1) ยอมรับร่วมกันว่าความรุนแรงไม่อาจนามาซึ่งทางออกต่อปัญหา และตกลงใช้กระบวนการ ประชาธิปไตยเป็นเครื่องมือในการตัดสินข้อขัดแย้ง 2) เกิดความตระหนักว่าแม้จะคิดไม่เหมือนกันและยังคงมีเป้าหมายที่ขัดแย้งกันเช่นเดิมแต่ก็สามารถอยู่ ร่วมกันได้ภายใต้กติกาที่ตกลงร่วมกัน สหราชอาณาจักร (ไอร์แลนด์เหนือ)
  • 77. 6. ข้อสังเกตในส่วนของปัจจัยแห่งความสาเร็จ 1) เจตจานงทางการเมืองที่ต้องการจะปรองดอง 2) มีกระบวนการหาทางออกที่ทุกฝ่ายรู้สึกว่าเป็นส่วนหนึ่ง 3) เหตุแห่งความไม่เป็นธรรมได้รับการแก้ไขในเชิงโครงสร้าง 4) มีการสร้างบรรยากาศที่ทาให้ทุกฝ่ายรู้สึกว่ามีทางเลือกอื่นที่เป็นไปได้ ในการบรรลุเป้าหมายนอกจากการใช้ความรุนแรง สหราชอาณาจักร (ไอร์แลนด์เหนือ)
  • 78. รวันดา 1. ระยะเวลา 8 ปี 2. คู่ขัดแย้ง ชาวฮูตูกับชาวตุ๊ดซี่สลับกันขึ้นมาปกครองประเทศโดยกดขี่อีกฝ่ายและสนับสนุนเฉพาะกลุ่มชาติพันธุ์ของ ตน 3. เหตุแห่งความขัดแย้ง นโยบายจักรวรรดินิยมที่เน้นการแบ่งแยกและปกครอง รวมถึงการปกครองที่ไม่เป็นธรรมจากทั้ง 2 กลุ่ม ชาติพันธุ์ 4. กระบวนการสร้างความปรองดอง 4.1 การจัดการกับเงื่อนไข ความขัดแย้ง ตั้งคณะกรรมปรองดองและเอกภาพแห่งชาติ โดยรัฐบาลเพื่อลดความเกลียด ชังและสร้างความรู้สึกเป็นพวกเดียวกันให้เกิดเอกภาพแห่งชาติในฐานะชาว รวันดาด้วยกันที่ไม่แบ่งเขาแบ่งเราอีก 4.2 การค้นหาความจริง ตั้งศาลกาชาชาโดยกฎหมายประกอบรัฐธรรมนูญ ซึ่งเป็นศาลดั้งเดิมในชุมชนให้ผู้กระทาผิดเล่าความจริง ถึงเหตุการณ์ที่ได้กระทาลงไปให้เหยื่อและชุมชนได้รับรู้ถึงเหตุการณ์ พร้อมกับการขอโทษแสดงความ สานึกผิด และการพิพากษาลดหย่อนโทษโดยศาลดังกล่าว 4.3 การให้อภัย กองกาลังติดอาวุธของทั้งสองฝ่ายจะไม่ถูกดาเนินคดีหากยอมวางอาวุธและเข้าค่ายอบรมของ NURC
  • 79. 4.4 การชดใช้ความผิด มีการลงโทษผู้กระทาผิดที่เป็นพลเรือน โดยได้รับการลดโทษจากการสารภาพ 4.5 การชดเชยและเยียวยา 1) ไม่มีการจ่ายค่าชดเชยเยียวยาแก่ผู้เสียหายเนื่องจากรัฐบาลขาดงบ 2) มีการเยียวยาผู้เสียหายโดยการให้ผู้กระทาผิดที่เป็นพลเรือนทางานชดเชยแทน 3) สร้างกระบวนการทางวัฒนธรรมเพื่อระลึกถึงความสูญเสียจากการฆ่าล้างเผ่าพันธุ์และป้องกันไม่ให้ ความรุนแรงหวนคืนมาอีก อาทิ พิพิธภัณฑ์และอนุสรณ์สถาน การประกาศวันหยุดแห่งชาติ หรือ การทาพิธีศพร่วมกันอย่างเป็นทางการ เป็นต้น 5. ผลจากกระบวนการปรองดอง 5.1 การเปลี่ยนแปลงในเชิง โครงสร้าง/นโยบาย ตั้งคณะกรรมการปรองดองและเอกภาพแห่งชาติ โดยรัฐบาลเพื่อลดความเกลียด ชังและสร้างความรู้สึกเป็นพวกเดียวกันให้เกิดเอกภาพแห่งชาติในฐานะชาว รวันดาด้วยกันที่ไม่แบ่งเขาแบ่งเราอีก 5.2 การเปลี่ยนแปลงในเชิง ทัศนคติของสังคม ส่งเสริมทัศนคติของการมีอัตลักษณ์ร่วมในความเป็นชาวรวันดา ไม่แบ่งกลุ่ม ชาติพันธุ์ดังเช่นในอดีตอีก รวันดา
  • 80. 6. ข้อสังเกตในส่วนของปัจจัยแห่งความสาเร็จ 1) การผลักดันให้เกิดความเป็นเอกภาพและปรองดองโดยแสวงหาความร่วมมือจากเครือข่ายในสังคม 2) กระบวนการยุติธรรมเชิงสมานฉันท์ที่ให้ผู้กระทาผิดสานึกผิดและรับผิดชอบต่อสิ่งที่ได้กระทาลงไป 3) การกดดันจากต่างประเทศให้ยุติการสู้รบแลกกับการสนับสนุนงบประมาณพัฒนาประเทศ รวันดา
  • 81. ชิลี 1. ระยะเวลา 17 ปี 2. คู่ขัดแย้ง รัฐบาลเผด็จการทหารปิโนโซต์กับกลุ่มคนที่สนับสนุนรัฐบาลก่อนหน้านั้นที่มีอุดมการณ์ทางการเมืองแบบ สังคมนิยม 3. เหตุแห่งความขัดแย้ง ความแตกต่างทางอุดมการณ์ทางการเมืองโดยฝ่ายที่ต่อต้านรัฐบาลทหารได้ถูกละเมิดสิทธิมนุษยชนอย่าง รุนแรงกว้างขวาง 4. กระบวนการสร้างความปรองดอง 4.1 การจัดการกับเงื่อนไข ความขัดแย้ง เกิดการเลือกตั้งที่นาไปสู่การจัดตั้งรัฐบาลประชาธิปไตย 4.2 การค้นหาความจริง 1) ตั้งคณะกรรมการแสวงหาความจริงและสร้างความปรองดองแห่งชาติ เพื่อค้นหาความจริงภายใน 9 เดือนสาหรับกรณีผู้สูญหาย เนื่องมาจากการถูกจับกุม ผู้ที่ถูกประหารชีวิต ผู้ที่ถูกทรมานจนเสียชีวิต และผู้ที่ถูกลักพาตัวในยุครัฐบาลปิโนเซต์ 2) ตั้งคณะกรรมการแห่งชาติว่าด้วยการตรวจสอบการจาคุกและการทรมานอันเนื่องมาจากเหตุผลทาง การเมือง ปิโนเชต์ อดีตผู้นำชิลี
  • 82. ชิลี 4.3 การให้อภัย มีการออกกฎหมายนิรโทษกรรมให้แก่นายพลปิโนเชต์และเจ้าหน้าที่ (ทหารและตารวจ) ที่ทาการละเมิด สิทธิมนุษยชนเพื่อปราบปรามผู้ต่อต้านรัฐบาล โดยผู้นารัฐบาลเป็นผู้ออกกฎหมายดังกล่าวเองในช่วงที่ยังมี อานาจ 4.4 การชดใช้ความผิด 1) มีความพยายามจากสังคมชิลีในการดาเนินคดีกับปิโนเชต์ แต่ติดขัดที่ข้อกฎหมายนิรโทษกรรมภายหลัง รัฐประหาร สุดท้ายถูกควบคุมตัวในต่างประเทศด้วยอานาจของกฎหมายสากลว่าด้วยอาชญากรรมต่อ มนุษยชาติ 2) มีการดาเนินคดีตามกระบวนการกฎหมายปกติต่อเจ้าหน้าที่รัฐจานวนหนึ่งที่ละเมิดสิทธิมนุษยชน 4.5 การชดเชยและเยียวยา 1) มีการจ่ายค่าชดเชยและมีมาตรการเยียวยา เพื่อส่งเสริมคุณภาพชีวิตแก่ญาติของผู้สูญหายหรือ เสียชีวิต และผู้ได้รับผลกระทบจากการละเมิดสิทธิมนุษยชน 2) ประธานาธิบดีและกองทัพได้ออกมาขอโทษผู้ได้รับผลกระทบผ่านโทรทัศน์ในนามรัฐบาลอย่างเป็น ทางการ 3) มีการเปิดพิพิธภัณฑ์แห่งความทรงจาเพื่อต่อต้านการละเมิดสิทธิมนุษยชนเพื่อเป็นอนุสรณ์มิให้เกิด เหตุการณ์ดังกล่าวเกิดขึ้นอีก
  • 83. ชิลี 5. ผลจากกระบวนการปรองดอง 5.1 การเปลี่ยนแปลงในเชิง โครงสร้าง/นโยบาย 1) มีการปฏิรูปการเมืองและกฎหมายให้มีความเป็นประชาธิปไตยมากขึ้น อาทิ การตั้งผู้ตรวจการ แผ่นดินด้านสิทธิมนุษยชน หรือการปรับให้สมาชิกวุฒิสภามาจากการเลือกตั้ง ซึ่งแต่เดิมมาจากการ แต่งตั้ง 2) ยกเลิกวันชาติซึ่งถือเป็นวันรัฐประหารโดยนายพลปิโนเชต์ 5.2 การเปลี่ยนแปลงในเชิง ทัศนคติของสังคม เกิดความรักและหวงแหนในความเป็นประชาธิปไตย ตลอดจนการพิทักษ์ คุ้มครองสิทธิมนุษยชนมากขึ้น เพื่อป้องกันไม่ให้เหตุการณ์เลวร้ายในอดีตหวน คืนมาอีก 6. ข้อสังเกตในส่วนของปัจจัยแห่งความสาเร็จ 1) การปฏิรูปกฎหมายและการเมืองให้มีความเป็นประชาธิปไตยมากขึ้น ซึ่งส่งผลให้บทบาทของกองทัพถูกจากัดลง 2) การขอโทษโดยผู้นารัฐบาลและกองทัพผ่านสื่อสาธารณะอย่างต่อเนื่อง
  • 84. โคลัมเบีย 1. ระยะเวลา 22 ปี+ 2. คู่ขัดแย้ง รัฐบาลกับกลุ่มกองกาลังติดอาวุธต่างๆ ที่มีเขตอิทธิพลของตัวเอง 3. เหตุแห่งความขัดแย้ง อุดมการณ์ทางการเมืองที่แตกต่างขยายตัวไปสู่การแย่งชิงอานาจทางการเมืองและผลประโยชน์ทาง เศรษฐกิจ 4. กระบวนการสร้างความปรองดอง 4.1 การจัดการกับเงื่อนไข ความขัดแย้ง 1) ออกกฎหมาย Justice and Peace เพื่อปรับปรุงกฎหมายที่มีอยู่ให้เอื้อต่อการใช้ความยุติธรรม ทางเลือกมากขึ้น โดยการเปิดศูนย์ฟื้นฟูให้ผู้ก่อเหตุรุนแรงมาสารภาพและมีผู้ได้รับผลกระทบมารับ ฟัง 2) เกิดการเจรจาระหว่างรัฐบาลกับกลุ่มกองกาลังต่างๆ ขึ้นและนาไปสู่ความสาเร็จ 4.2 การค้นหาความจริง ตั้งคณะกรรมการฟื้นฟูและปรองดองแห่งชาติ เพื่อรับฟังผู้ได้รับกระทบจากเหตุการณ์ และจะนาข้อมูล ดังกล่าวไปจัดทาอนุสรณ์สถาน 4.3 การให้อภัย หากผู้กระทาผิดในคดีที่รุนแรงได้ผ่านศูนย์ฟื้นฟูอย่างน้อย 5 – 8 ปีโดยการสารภาพความผิดและจะไม่ กลับไปกระทาความผิดอีก จะได้รับการลดโทษโดยการพิจารณาของส