SlideShare une entreprise Scribd logo
1  sur  17
สมาชิก 
ใ น สกมลาุ่มชิก 
1.นายทัตพงศ์ นนยะโส รหัส 563050094-7 
2.นายสหภาพ เนาวะราช รหัส 563050144-8 
3.นายศุภรัตน์ บุญคมุ้ รหัส 563050394-5 
4.นายไกรวุฒิ เทศประสทิธิ์ รหัส 563050073-5
สมาชิก 
ในกลุ่ม 
สถานการ 
ณ์ปัญหา 
หลังจากที่ใช้วิธีการสอนที่เน้นให้นักเรียนจดจำาความรู้ 
ของครูเป็นหลัก ครูสมศรีจึงเปลี่ยนวิธีการสอนใหม่เพื่อให้ 
สอดคล้องกับความเปลี่ยนแปลงของเทคโนโลยีสารสนเทศ 
โดยนำาสื่อเข้ามาใช้ในการเรียนการสอนโดยครูสมศรีได้ 
สร้างสอื่ขนึ้มาตามแนวความคดิ และประสบการณ์ของตนเอง 
เช่นในสื่ออยากให้มีข้อความรู้ก็นำาเนื้อหามาบรรจุอยากให้มี 
รูปภาพประกอบก็นำารูปภาพมาบรรจุในสอื่ แทนการบอกจาก 
ครูและเพมิ่เทคนิคทางกราฟิกต่างๆ เข้าไปเพอื่ให้เกิดความ 
สวยงามตรงตามแนวคิดของตนและส่งเสริมการสอนของ 
ตนเองให้มีประสิทธิภาพมากขึ้นแต่พอใช้ไปได้ระยะหนึ่งพบ 
ว่า ในช่วงแรกๆ ผู้เรียนให้ความสนใจเป็นอย่างมากเพราะมี 
กราฟิกที่ดึงดูดความสนใจแต่พอหลังจากนั้นไปสักระยะผู้ 
เรียนก็ไม่ให้ความสนใจกับสื่อที่ครูสมศรีสร้างขึ้นทั้งผลการ 
เรียนและกระบวนการเรียนรู้ของผู้เรียนเมื่อเปรียบเทียบกับวิธี 
การสอนแบบเดิมที่เคยใช้ก็ไม่แตกต่างกันจึงทำาให้ครูสมศรี 
กลับมาทบทวนใหม่ว่าทาไมจึงเป็นเช่นนี้ในฐานะที่นักศึกษา
ภารกิจที่ 1 วิเคราะห์หาสาเหตุที่ทำาให้การเรียนรู้ 
จากสื่อของครูสมศรีไม่ตรงตามเป้าประสงค์ที่ 
ต้องการให้เกิดขึ้น พร้อมอธิบายเหตุผล
ผู้เรียน ครูสมศรี 
สาเหตุที่ทำาให้การเรียนรู้จาก 
สื่อของครูสมศรีไม่ตรงตาม 
เป้าประสงค์ที่ต้องการให้เกิดขึ้น 
สื่อการเรียน 
รู้
ด้านครูผู้สอน 
(ครูสมศรี) ครูสมศรี สร้างสื่อขึ้นมาตาม 
แนวความคิด และ 
ประสบการณ์ของตนเอง 
การสอนจากสื่อ ทคี่รูสมศรี 
เตรียมมา ยังไมใ่ช่การสอนที่ 
เน้นผู้เรียนเป็นศูนย์กลาง ซึ่ง 
ยังเป็นการท่องจำาอยู่ 
การสอนของครูสมศรีไมมี่ 
ความหลากหลาย และแปลก 
ใหม่ทำาใหเ้ด็กขาดความ 
สนใจที่จะเรียน
ด้านผู้เรียน นักเรียนยังรอรับความรู้จาก 
ครูเพียงอย่างเดียว โดยไมไ่ด้ 
นำาความรู้ที่ได้ไปคิดต่อยอด 
ผู้เรียนไม่มีความสนใจในสื่อ 
การสอนของครูจึงทำาให้ขาด 
ความกระตือรือร้นในการ 
เรียน 
ผู้เรียนไม่ได้สร้างองค์ความรู้ 
ด้วยตัวเอง 
มแีตรั่บมาจากครู
ด้านสื่อการ 
สอน 
การมีเทคนิคทางกราฟิกมาก 
เกินไป อาจทาให้ผู้เรียนมุ่ง 
ความสนใจไปยังสิ่งนั้นๆ 
มากกว่าเนื้อหาที่ครูต้องการ 
สื่อ 
สื่อการเรียนรู้ขาดการ 
ออกแบบทดีี่ ไม่มคีวามหลาก 
หลายทำาให้นักเรียนเบื่อได้ 
ง่าย 
สื่อการเรียนรู้ที่ดีควรเป็นสื่อ 
การเรียนรู้ที่สร้างจากความ 
ต้องการและความสนใจของผู้ 
เรียน
ภารกิจที่ 2 วิเคราะห์ว่าแนวคิดเกี่ยวกับแนวคดิในการ 
ออกแบบการสอนและสื่อการสอนว่ามาจากพื้นฐานใดบ้าง 
และพื้นฐานดังกล่าวมีความสัมพันธ์กันอย่างไร
แนวคดิในการออกแบบ 
การสอนและสื่อการสอน 
พุทธิปัญญา 
นิยม 
พฤติกรรม 
นิยม 
คอนสตรัคติ 
วิสต์
พฤติกรรมนิยม 
มงุ่เน้นเฉพาะพฤติกรรมที่สามารถวัดและสังเกตได้เทา่นั้น ออกแบบเพอื่ใหผู้้ 
เรียนจดจำาความรู้ใหไ้ด้มากทสีุ่ด โดยผู้เรียนมหีน้าทรี่อรับความรู้และผู้สอน 
มีหน้าที่นำาเสนอข้อมูลสารสนเทศ
พุทธิปัญญานิยม 
ผู้เรียนรอรับความรู้ที่เน้นปริมาณและคุณภาพ โดยผู้เรียนสามารถจัดระบบ 
ความรู้ให้เป็นระเบียบไว้ในความจำาระยะยาว แล้วเรียกกลับมาใช้ได้ในเวลาที่ 
ต้องการจะถ่ายโยงความรู้และทักษะต่างๆ ส่วนบทบาทของผู้สอนมหีน้าทจีั่ด 
สิ่งแวดล้อมให้ผู้เรียนสามารถรับข้อมูลให้ได้มากที่สุด
คอนสตรัคติ 
วิสต์ 
มุ่งเน้นการพัฒนากระบวนการคิดอย่างอิสระและสร้างความรู้ได้ด้วยตนเองของผู้ 
เรียน ดังนนั้บทบาทของผู้สอนสำาคัญมากในการช่วยนักเรียนใหเ้กิดการเรียนรู้โดย 
จัดสิ่งแวดล้อมทางการเรียนรู้ให้ผู้เรียนเกิดการเรียนรู้ด้วยตนเองอย่างมี 
ประสิทธิภาพ และผู้เรียนก็มหีน้าทสี่ร้างความรู้อย่างตื่นตัว
มีความสัมพันธ์ คือ จากพื้นฐานแนวคิดดังกล่าว นักออกแบบการเรียนรู้ต้อง 
คำานึง แนวคิดทั้งสามมาผสมผสานกัน ให้มีความสอดคล้องกับกระบวนการเรียนรู้ โดย 
เน้นผู้เรียนเป็นผู้สร้างการเรียนรู้และร่วมกันแก้ปัญหา โดยครผูู้สอนมีหน้าที่ให้คำา 
แนะนำาต่างๆ ให้แนวความคิด เพื่อให้ผู้เรียนสามารถเรียนรู้ได้ด้วยตนเองอย่างเต็ม 
ศกัยภาพ 
พื้นฐานแนวคิดทั้งสามแนวคิดมีความจำาเป็นต่อการออกแบบการสอน เนื่องจากว่า 
การเรียนรู้ที่มีประสิทธิภาพต้องอาศัยประสบการณ์เดิมที่ถูกจัดไว้ในโครงสร้างทาง 
ปัญญาอย่างเป็นระบบ(แนวคิดพุทธิปัญญานิยม) และประสบการณ์เดิมที่นำามาใช้จะถูก 
ใช้อย่างเชี่ยวชาญ เมื่อได้รับการฝึกฝน และทำาซำ้าบ่อยๆ(แนวคิดพฤติกรรมนิยม) และ 
ท้ายที่สุด เราจะประสบผลสำาเรจ็ในการเรียนรเู้มื่อเราสามารถสร้างองค์ความรู้ด้วยความ 
เข้าใจได้ด้วยตัวของเราเอง (แนวคิด คอนสตรัคติวิสต์)
ภารกิจที่ 3 วิเคราะห์ว่าในยุคปัจจุบันที่สังคมโลกมกีารเปลี่ยนแปลง 
ตลอดจนกระบวนทัศน์ใหมข่องการจัดการศึกษา ในการออกแบบการ 
สอนและสื่อการสอนนั้นควรอยู่พนื้ฐานของสิ่งใดบ้าง อธิบายพร้อมให้ 
เห็นผลและยกตัวอย่างประกอบ
จากพนื้ฐานการออกแบบทงั้ 3 แนวคิด เราควรนำาเอาทงั้สามแนวคิดมา 
บูรณาการร่วมกันเพื่อให้เหมาะสมกับยุคที่สังคมเปลี่ยนแปลงและมีกระบวน 
ทศัน์ใหมท่างการศึกษา ที่เน้นผู้เรียนเป็นศูนย์กลาง ยกตัวอย่างเช่น เราใช้ 
แนวคิดกลุ่มคอนสตรัคติอวิสต์มาออกแบบสิ่งแวดล้อมในการเรียนรู้ให้กับผู้ 
เรียน ได้เรียนรู้อย่างมปีระสิทธิภาพ โดยบางครั้งในระหว่างการเรียนรู้อาจ 
ใช้โปรแกรมคอมพิวเตอร์มาช่วยในการสอนเพื่อให้ผู้เรียนได้มองเห็นภาพ 
ได้ชัดเจนยิ่งขึ้นตามแนวความคิดพื้นฐานของกลุ่มพฤติกรรมนิยม จนเมอื่ 
การเรียนรู้เสร็จสิ้น ผู้เรียนสามารถสร้างองค์ความรู้ได้ด้วยตนเอง ผู้ 
ออกแบบการสอนอาจช่วยสรุปหรือเชื่องโยงความรู้ให้ผู้เรียนบันทึกสิ่งที่ตน 
ได้เรียนรู้ในรูปของแผนผังเชื่อมโยงตามแนวคิดของกลุ่มพุทธิปัญญานิยม 
เป็นต้น
TThhaannkk yyoouu!! 
Contact Address: 
Prof. Somchai Doe 
Tel: 
Email: 
www.kku.ac.th

Contenu connexe

Tendances

บทคัดย่อไทย
บทคัดย่อไทยบทคัดย่อไทย
บทคัดย่อไทย
Pak Ubss
 

Tendances (18)

ท(1)
ท(1)ท(1)
ท(1)
 
สื่อการเรียนรู้(Chapter4)
สื่อการเรียนรู้(Chapter4)สื่อการเรียนรู้(Chapter4)
สื่อการเรียนรู้(Chapter4)
 
resume M6
resume M6resume M6
resume M6
 
moodle ผู้ดูแลระบบ
moodle ผู้ดูแลระบบmoodle ผู้ดูแลระบบ
moodle ผู้ดูแลระบบ
 
Work2
Work2Work2
Work2
 
[report] Thai school library medium 2010 (award)
[report] Thai school library medium 2010 (award)[report] Thai school library medium 2010 (award)
[report] Thai school library medium 2010 (award)
 
แบบสำรวจ
แบบสำรวจแบบสำรวจ
แบบสำรวจ
 
บทที่ 5 คอมพิวเตอร์เพื่อการเรียนรู้
บทที่ 5 คอมพิวเตอร์เพื่อการเรียนรู้บทที่ 5 คอมพิวเตอร์เพื่อการเรียนรู้
บทที่ 5 คอมพิวเตอร์เพื่อการเรียนรู้
 
Moodle e-learning สำหรับผู้สอน
Moodle e-learning สำหรับผู้สอนMoodle e-learning สำหรับผู้สอน
Moodle e-learning สำหรับผู้สอน
 
ใบงานที่1 แบบสำรวจตนเอง
ใบงานที่1 แบบสำรวจตนเองใบงานที่1 แบบสำรวจตนเอง
ใบงานที่1 แบบสำรวจตนเอง
 
บทคัดย่อไทย
บทคัดย่อไทยบทคัดย่อไทย
บทคัดย่อไทย
 
Chapter10
Chapter10Chapter10
Chapter10
 
บทที่ 4 สื่อการเรียนรู้
บทที่ 4 สื่อการเรียนรู้บทที่ 4 สื่อการเรียนรู้
บทที่ 4 สื่อการเรียนรู้
 
บุคลากรที่มีวิทยฐานะชำนาญการพิเศษ
บุคลากรที่มีวิทยฐานะชำนาญการพิเศษบุคลากรที่มีวิทยฐานะชำนาญการพิเศษ
บุคลากรที่มีวิทยฐานะชำนาญการพิเศษ
 
999 บทสัมภาษณ์ infographic ทำสื่อ
999 บทสัมภาษณ์ infographic ทำสื่อ999 บทสัมภาษณ์ infographic ทำสื่อ
999 บทสัมภาษณ์ infographic ทำสื่อ
 
999 บทสัมภาษณ์ smedu ทำสื่อ
999 บทสัมภาษณ์  smedu ทำสื่อ999 บทสัมภาษณ์  smedu ทำสื่อ
999 บทสัมภาษณ์ smedu ทำสื่อ
 
5555
55555555
5555
 
999 บทสัมภาษณ์ dlit ทำสื่อ
999 บทสัมภาษณ์ dlit ทำสื่อ999 บทสัมภาษณ์ dlit ทำสื่อ
999 บทสัมภาษณ์ dlit ทำสื่อ
 

En vedette

My future job pia 2subir
My future job pia 2subirMy future job pia 2subir
My future job pia 2subir
spclass
 
Siska komputr
Siska komputrSiska komputr
Siska komputr
ratuaji
 
Contents format, mai 2011 frances
Contents format, mai 2011 francesContents format, mai 2011 frances
Contents format, mai 2011 frances
audreycj
 
Herniaseventracionyevisceracion 120419212825-phpapp01
Herniaseventracionyevisceracion 120419212825-phpapp01Herniaseventracionyevisceracion 120419212825-phpapp01
Herniaseventracionyevisceracion 120419212825-phpapp01
iberzamz
 
La brèche de rolland
La brèche de rollandLa brèche de rolland
La brèche de rolland
2M2
 
Contents format, mars 2011 frances
Contents format, mars 2011 francesContents format, mars 2011 frances
Contents format, mars 2011 frances
audreycj
 
Coursera acoustics2 2014
Coursera acoustics2 2014Coursera acoustics2 2014
Coursera acoustics2 2014
Sayan Datta
 

En vedette (17)

Méditation devant la crèche
Méditation devant la crècheMéditation devant la crèche
Méditation devant la crèche
 
My future job pia 2subir
My future job pia 2subirMy future job pia 2subir
My future job pia 2subir
 
Siska komputr
Siska komputrSiska komputr
Siska komputr
 
Appendix
AppendixAppendix
Appendix
 
Nepal and Bhutan Tour Packages by Cox and Kings
Nepal and Bhutan Tour Packages by Cox and KingsNepal and Bhutan Tour Packages by Cox and Kings
Nepal and Bhutan Tour Packages by Cox and Kings
 
TSEM Fath Spring 2015
TSEM Fath Spring 2015TSEM Fath Spring 2015
TSEM Fath Spring 2015
 
Auteur theory
Auteur theoryAuteur theory
Auteur theory
 
Dinosaurs
DinosaursDinosaurs
Dinosaurs
 
Cooking With A Halogen Oven
Cooking With A Halogen OvenCooking With A Halogen Oven
Cooking With A Halogen Oven
 
Contents format, mai 2011 frances
Contents format, mai 2011 francesContents format, mai 2011 frances
Contents format, mai 2011 frances
 
Herniaseventracionyevisceracion 120419212825-phpapp01
Herniaseventracionyevisceracion 120419212825-phpapp01Herniaseventracionyevisceracion 120419212825-phpapp01
Herniaseventracionyevisceracion 120419212825-phpapp01
 
Flickor med ADHD
Flickor med ADHDFlickor med ADHD
Flickor med ADHD
 
La brèche de rolland
La brèche de rollandLa brèche de rolland
La brèche de rolland
 
WEB 2.0 El los procesos de formación
WEB 2.0 El los procesos de formaciónWEB 2.0 El los procesos de formación
WEB 2.0 El los procesos de formación
 
Sector updates for the week ending 22nd Nov'14
Sector updates for the week ending 22nd Nov'14Sector updates for the week ending 22nd Nov'14
Sector updates for the week ending 22nd Nov'14
 
Contents format, mars 2011 frances
Contents format, mars 2011 francesContents format, mars 2011 frances
Contents format, mars 2011 frances
 
Coursera acoustics2 2014
Coursera acoustics2 2014Coursera acoustics2 2014
Coursera acoustics2 2014
 

Similaire à Chapter 3 งานกลุ่ม

Past 3 Introduction to technologies and educational media
Past 3 Introduction to technologies and educational mediaPast 3 Introduction to technologies and educational media
Past 3 Introduction to technologies and educational media
Pimploy Sornchai
 
บันทึุกความดี ภาคเรียนที่ 2 ปีการศึกษา 2553
บันทึุกความดี ภาคเรียนที่ 2 ปีการศึกษา 2553บันทึุกความดี ภาคเรียนที่ 2 ปีการศึกษา 2553
บันทึุกความดี ภาคเรียนที่ 2 ปีการศึกษา 2553
Nattapon
 
ภารกิจระดับครูผู้ช่วย
ภารกิจระดับครูผู้ช่วยภารกิจระดับครูผู้ช่วย
ภารกิจระดับครูผู้ช่วย
นภสร ยั่งยืน
 
ทฤษฎีการเรียนรู้กลุ่มพุทธิปัญญานิยมและการออกแบบการสอน
ทฤษฎีการเรียนรู้กลุ่มพุทธิปัญญานิยมและการออกแบบการสอนทฤษฎีการเรียนรู้กลุ่มพุทธิปัญญานิยมและการออกแบบการสอน
ทฤษฎีการเรียนรู้กลุ่มพุทธิปัญญานิยมและการออกแบบการสอน
Nisachol Poljorhor
 
ภารกิจระดับครูผู้ช่วย
ภารกิจระดับครูผู้ช่วยภารกิจระดับครูผู้ช่วย
ภารกิจระดับครูผู้ช่วย
NetchanOk Maneechai
 
การเปลี่ยนแปลงของเทคโนโลยีการศึกษา
การเปลี่ยนแปลงของเทคโนโลยีการศึกษาการเปลี่ยนแปลงของเทคโนโลยีการศึกษา
การเปลี่ยนแปลงของเทคโนโลยีการศึกษา
Pakakul Budken
 

Similaire à Chapter 3 งานกลุ่ม (20)

Chapter 2 งานกลุ่ม
Chapter 2 งานกลุ่มChapter 2 งานกลุ่ม
Chapter 2 งานกลุ่ม
 
Chapter 2 งานกล ม
Chapter 2 งานกล  มChapter 2 งานกล  ม
Chapter 2 งานกล ม
 
Chapter 2 งานกล ม
Chapter 2 งานกล  มChapter 2 งานกล  ม
Chapter 2 งานกล ม
 
บทที่ 3 มุมมองทางจิตวิทยาการเรียนรู้กับเทคโนโลยี
บทที่ 3 มุมมองทางจิตวิทยาการเรียนรู้กับเทคโนโลยีบทที่ 3 มุมมองทางจิตวิทยาการเรียนรู้กับเทคโนโลยี
บทที่ 3 มุมมองทางจิตวิทยาการเรียนรู้กับเทคโนโลยี
 
Past 3 Introduction to technologies and educational media
Past 3 Introduction to technologies and educational mediaPast 3 Introduction to technologies and educational media
Past 3 Introduction to technologies and educational media
 
chapter5
chapter5chapter5
chapter5
 
Chapter 9 การเลือกใช้สื่อและวิธีการจัดการเรียนรู้
Chapter 9  การเลือกใช้สื่อและวิธีการจัดการเรียนรู้ Chapter 9  การเลือกใช้สื่อและวิธีการจัดการเรียนรู้
Chapter 9 การเลือกใช้สื่อและวิธีการจัดการเรียนรู้
 
บันทึุกความดี ภาคเรียนที่ 2 ปีการศึกษา 2553
บันทึุกความดี ภาคเรียนที่ 2 ปีการศึกษา 2553บันทึุกความดี ภาคเรียนที่ 2 ปีการศึกษา 2553
บันทึุกความดี ภาคเรียนที่ 2 ปีการศึกษา 2553
 
Chapter 4 งานกลุ่ม
Chapter 4 งานกลุ่มChapter 4 งานกลุ่ม
Chapter 4 งานกลุ่ม
 
Charpter 3
Charpter 3Charpter 3
Charpter 3
 
ภารกิจระดับครูผู้ช่วย
ภารกิจระดับครูผู้ช่วยภารกิจระดับครูผู้ช่วย
ภารกิจระดับครูผู้ช่วย
 
Chapter 8 อิอิ
Chapter 8 อิอิChapter 8 อิอิ
Chapter 8 อิอิ
 
ทฤษฎีการเรียนรู้กลุ่มพุทธิปัญญานิยมและการออกแบบการสอน
ทฤษฎีการเรียนรู้กลุ่มพุทธิปัญญานิยมและการออกแบบการสอนทฤษฎีการเรียนรู้กลุ่มพุทธิปัญญานิยมและการออกแบบการสอน
ทฤษฎีการเรียนรู้กลุ่มพุทธิปัญญานิยมและการออกแบบการสอน
 
Chapter 2 งานกล ม แนวความค_ด
Chapter 2 งานกล  ม แนวความค_ดChapter 2 งานกล  ม แนวความค_ด
Chapter 2 งานกล ม แนวความค_ด
 
Chapter 2 งานกล ม แนวความค_ด
Chapter 2 งานกล  ม แนวความค_ดChapter 2 งานกล  ม แนวความค_ด
Chapter 2 งานกล ม แนวความค_ด
 
Lesson 3 มุมมองทางจิตวิทยาที่เกี่ยวกับเทคโนโลยี และสื่อการศึกษา
Lesson 3 มุมมองทางจิตวิทยาที่เกี่ยวกับเทคโนโลยี และสื่อการศึกษาLesson 3 มุมมองทางจิตวิทยาที่เกี่ยวกับเทคโนโลยี และสื่อการศึกษา
Lesson 3 มุมมองทางจิตวิทยาที่เกี่ยวกับเทคโนโลยี และสื่อการศึกษา
 
ภารกิจระดับครูผู้ช่วย
ภารกิจระดับครูผู้ช่วยภารกิจระดับครูผู้ช่วย
ภารกิจระดับครูผู้ช่วย
 
Chapter6
Chapter6Chapter6
Chapter6
 
การเปลี่ยนแปลงของเทคโนโลยีการศึกษา
การเปลี่ยนแปลงของเทคโนโลยีการศึกษาการเปลี่ยนแปลงของเทคโนโลยีการศึกษา
การเปลี่ยนแปลงของเทคโนโลยีการศึกษา
 
C2
C2C2
C2
 

Chapter 3 งานกลุ่ม

  • 1.
  • 2. สมาชิก ใ น สกมลาุ่มชิก 1.นายทัตพงศ์ นนยะโส รหัส 563050094-7 2.นายสหภาพ เนาวะราช รหัส 563050144-8 3.นายศุภรัตน์ บุญคมุ้ รหัส 563050394-5 4.นายไกรวุฒิ เทศประสทิธิ์ รหัส 563050073-5
  • 3. สมาชิก ในกลุ่ม สถานการ ณ์ปัญหา หลังจากที่ใช้วิธีการสอนที่เน้นให้นักเรียนจดจำาความรู้ ของครูเป็นหลัก ครูสมศรีจึงเปลี่ยนวิธีการสอนใหม่เพื่อให้ สอดคล้องกับความเปลี่ยนแปลงของเทคโนโลยีสารสนเทศ โดยนำาสื่อเข้ามาใช้ในการเรียนการสอนโดยครูสมศรีได้ สร้างสอื่ขนึ้มาตามแนวความคดิ และประสบการณ์ของตนเอง เช่นในสื่ออยากให้มีข้อความรู้ก็นำาเนื้อหามาบรรจุอยากให้มี รูปภาพประกอบก็นำารูปภาพมาบรรจุในสอื่ แทนการบอกจาก ครูและเพมิ่เทคนิคทางกราฟิกต่างๆ เข้าไปเพอื่ให้เกิดความ สวยงามตรงตามแนวคิดของตนและส่งเสริมการสอนของ ตนเองให้มีประสิทธิภาพมากขึ้นแต่พอใช้ไปได้ระยะหนึ่งพบ ว่า ในช่วงแรกๆ ผู้เรียนให้ความสนใจเป็นอย่างมากเพราะมี กราฟิกที่ดึงดูดความสนใจแต่พอหลังจากนั้นไปสักระยะผู้ เรียนก็ไม่ให้ความสนใจกับสื่อที่ครูสมศรีสร้างขึ้นทั้งผลการ เรียนและกระบวนการเรียนรู้ของผู้เรียนเมื่อเปรียบเทียบกับวิธี การสอนแบบเดิมที่เคยใช้ก็ไม่แตกต่างกันจึงทำาให้ครูสมศรี กลับมาทบทวนใหม่ว่าทาไมจึงเป็นเช่นนี้ในฐานะที่นักศึกษา
  • 4. ภารกิจที่ 1 วิเคราะห์หาสาเหตุที่ทำาให้การเรียนรู้ จากสื่อของครูสมศรีไม่ตรงตามเป้าประสงค์ที่ ต้องการให้เกิดขึ้น พร้อมอธิบายเหตุผล
  • 5. ผู้เรียน ครูสมศรี สาเหตุที่ทำาให้การเรียนรู้จาก สื่อของครูสมศรีไม่ตรงตาม เป้าประสงค์ที่ต้องการให้เกิดขึ้น สื่อการเรียน รู้
  • 6. ด้านครูผู้สอน (ครูสมศรี) ครูสมศรี สร้างสื่อขึ้นมาตาม แนวความคิด และ ประสบการณ์ของตนเอง การสอนจากสื่อ ทคี่รูสมศรี เตรียมมา ยังไมใ่ช่การสอนที่ เน้นผู้เรียนเป็นศูนย์กลาง ซึ่ง ยังเป็นการท่องจำาอยู่ การสอนของครูสมศรีไมมี่ ความหลากหลาย และแปลก ใหม่ทำาใหเ้ด็กขาดความ สนใจที่จะเรียน
  • 7. ด้านผู้เรียน นักเรียนยังรอรับความรู้จาก ครูเพียงอย่างเดียว โดยไมไ่ด้ นำาความรู้ที่ได้ไปคิดต่อยอด ผู้เรียนไม่มีความสนใจในสื่อ การสอนของครูจึงทำาให้ขาด ความกระตือรือร้นในการ เรียน ผู้เรียนไม่ได้สร้างองค์ความรู้ ด้วยตัวเอง มแีตรั่บมาจากครู
  • 8. ด้านสื่อการ สอน การมีเทคนิคทางกราฟิกมาก เกินไป อาจทาให้ผู้เรียนมุ่ง ความสนใจไปยังสิ่งนั้นๆ มากกว่าเนื้อหาที่ครูต้องการ สื่อ สื่อการเรียนรู้ขาดการ ออกแบบทดีี่ ไม่มคีวามหลาก หลายทำาให้นักเรียนเบื่อได้ ง่าย สื่อการเรียนรู้ที่ดีควรเป็นสื่อ การเรียนรู้ที่สร้างจากความ ต้องการและความสนใจของผู้ เรียน
  • 9. ภารกิจที่ 2 วิเคราะห์ว่าแนวคิดเกี่ยวกับแนวคดิในการ ออกแบบการสอนและสื่อการสอนว่ามาจากพื้นฐานใดบ้าง และพื้นฐานดังกล่าวมีความสัมพันธ์กันอย่างไร
  • 10. แนวคดิในการออกแบบ การสอนและสื่อการสอน พุทธิปัญญา นิยม พฤติกรรม นิยม คอนสตรัคติ วิสต์
  • 11. พฤติกรรมนิยม มงุ่เน้นเฉพาะพฤติกรรมที่สามารถวัดและสังเกตได้เทา่นั้น ออกแบบเพอื่ใหผู้้ เรียนจดจำาความรู้ใหไ้ด้มากทสีุ่ด โดยผู้เรียนมหีน้าทรี่อรับความรู้และผู้สอน มีหน้าที่นำาเสนอข้อมูลสารสนเทศ
  • 12. พุทธิปัญญานิยม ผู้เรียนรอรับความรู้ที่เน้นปริมาณและคุณภาพ โดยผู้เรียนสามารถจัดระบบ ความรู้ให้เป็นระเบียบไว้ในความจำาระยะยาว แล้วเรียกกลับมาใช้ได้ในเวลาที่ ต้องการจะถ่ายโยงความรู้และทักษะต่างๆ ส่วนบทบาทของผู้สอนมหีน้าทจีั่ด สิ่งแวดล้อมให้ผู้เรียนสามารถรับข้อมูลให้ได้มากที่สุด
  • 13. คอนสตรัคติ วิสต์ มุ่งเน้นการพัฒนากระบวนการคิดอย่างอิสระและสร้างความรู้ได้ด้วยตนเองของผู้ เรียน ดังนนั้บทบาทของผู้สอนสำาคัญมากในการช่วยนักเรียนใหเ้กิดการเรียนรู้โดย จัดสิ่งแวดล้อมทางการเรียนรู้ให้ผู้เรียนเกิดการเรียนรู้ด้วยตนเองอย่างมี ประสิทธิภาพ และผู้เรียนก็มหีน้าทสี่ร้างความรู้อย่างตื่นตัว
  • 14. มีความสัมพันธ์ คือ จากพื้นฐานแนวคิดดังกล่าว นักออกแบบการเรียนรู้ต้อง คำานึง แนวคิดทั้งสามมาผสมผสานกัน ให้มีความสอดคล้องกับกระบวนการเรียนรู้ โดย เน้นผู้เรียนเป็นผู้สร้างการเรียนรู้และร่วมกันแก้ปัญหา โดยครผูู้สอนมีหน้าที่ให้คำา แนะนำาต่างๆ ให้แนวความคิด เพื่อให้ผู้เรียนสามารถเรียนรู้ได้ด้วยตนเองอย่างเต็ม ศกัยภาพ พื้นฐานแนวคิดทั้งสามแนวคิดมีความจำาเป็นต่อการออกแบบการสอน เนื่องจากว่า การเรียนรู้ที่มีประสิทธิภาพต้องอาศัยประสบการณ์เดิมที่ถูกจัดไว้ในโครงสร้างทาง ปัญญาอย่างเป็นระบบ(แนวคิดพุทธิปัญญานิยม) และประสบการณ์เดิมที่นำามาใช้จะถูก ใช้อย่างเชี่ยวชาญ เมื่อได้รับการฝึกฝน และทำาซำ้าบ่อยๆ(แนวคิดพฤติกรรมนิยม) และ ท้ายที่สุด เราจะประสบผลสำาเรจ็ในการเรียนรเู้มื่อเราสามารถสร้างองค์ความรู้ด้วยความ เข้าใจได้ด้วยตัวของเราเอง (แนวคิด คอนสตรัคติวิสต์)
  • 15. ภารกิจที่ 3 วิเคราะห์ว่าในยุคปัจจุบันที่สังคมโลกมกีารเปลี่ยนแปลง ตลอดจนกระบวนทัศน์ใหมข่องการจัดการศึกษา ในการออกแบบการ สอนและสื่อการสอนนั้นควรอยู่พนื้ฐานของสิ่งใดบ้าง อธิบายพร้อมให้ เห็นผลและยกตัวอย่างประกอบ
  • 16. จากพนื้ฐานการออกแบบทงั้ 3 แนวคิด เราควรนำาเอาทงั้สามแนวคิดมา บูรณาการร่วมกันเพื่อให้เหมาะสมกับยุคที่สังคมเปลี่ยนแปลงและมีกระบวน ทศัน์ใหมท่างการศึกษา ที่เน้นผู้เรียนเป็นศูนย์กลาง ยกตัวอย่างเช่น เราใช้ แนวคิดกลุ่มคอนสตรัคติอวิสต์มาออกแบบสิ่งแวดล้อมในการเรียนรู้ให้กับผู้ เรียน ได้เรียนรู้อย่างมปีระสิทธิภาพ โดยบางครั้งในระหว่างการเรียนรู้อาจ ใช้โปรแกรมคอมพิวเตอร์มาช่วยในการสอนเพื่อให้ผู้เรียนได้มองเห็นภาพ ได้ชัดเจนยิ่งขึ้นตามแนวความคิดพื้นฐานของกลุ่มพฤติกรรมนิยม จนเมอื่ การเรียนรู้เสร็จสิ้น ผู้เรียนสามารถสร้างองค์ความรู้ได้ด้วยตนเอง ผู้ ออกแบบการสอนอาจช่วยสรุปหรือเชื่องโยงความรู้ให้ผู้เรียนบันทึกสิ่งที่ตน ได้เรียนรู้ในรูปของแผนผังเชื่อมโยงตามแนวคิดของกลุ่มพุทธิปัญญานิยม เป็นต้น
  • 17. TThhaannkk yyoouu!! Contact Address: Prof. Somchai Doe Tel: Email: www.kku.ac.th