SlideShare une entreprise Scribd logo
1  sur  96
Télécharger pour lire hors ligne
ศาสตร์แห่งสมาธิ
The Science of Meditation
โดย
พระมหาสมชาย ฐานวุฑฺโฒ M.D., Ph.D
ผู้ช่วยเจ้าอาวาสวัดพระธรรมกาย
BookmeditionForPress09062555.indd 1 9/6/2555 12:05:28
ศาสตร์แห่งสมาธิ
พระมหาสมชาย ฐานวุฑฺโฒ M.D., Ph.D
พิมพ์ครั้งแรก	 มิถุนายน ๒๕๕๕
จ�ำนวนพิมพ์	 ๔๔,๐๐๐ เล่ม
พิมพ์ที่		 บริษัท โอ.เอส.พริ้นติ้ง เฮ้าส์ จ�ำกัด
		 ๑๑๓/๑๓ ซอยวัดสุวรรณคีรี ถนนบรมราชชนนี 		
		า
BookmeditionForPress09062555.indd 2 9/6/2555 12:05:28
3
ศาสตร์แห่งสมาธิ
คำ�นำ�
	การศึกษากับการพัฒนาศีลธรรมมีความสัมพันธ์กัน
อย่างใกล้ชิด  ค�ำว่า“ศึกษา” มาจากภาษาสันสกฤต  ตรงกับ
ค�ำบาลีว่า “สิกขา” พระสัมมาสัมพุทธเจ้าตรัสว่า ระบบ
การศึกษาที่สมบูรณ์ต้องประกอบด้วย ไตรสิกขา  คือ  ศีล  
สมาธิ ปัญญา เป็นการศึกษาบนหลักการที่ว่า ศีล
เป็นพื้นฐานของสมาธิ  ผู้ที่รักษาศีลดี  ใจย่อมปลอดโปร่ง  
ไม่มีความเดือดร้อนใจ  ท�ำให้ใจเป็นสมาธิได้ง่ายและสมาธิ
ท�ำให้เกิดปัญญา จะเห็นได้ว่าสมาธิอยู่ในฐานะเป็นแกนกลาง
ของการศึกษา
BookmeditionForPress09062555.indd 3 9/6/2555 12:05:30
ศาสตร์แห่งสมาธิ
4
	ระบบการศึกษาในปัจจุบันเน้นการแสวงหาปัญญา
จากการอ่าน การจ�ำ (สุตมยปัญญา)  การตรึกตรอง
การขบคิด  การค้นคว้าวิจัย (จินตามยปัญญา) โดยละเลย
ศีล สมาธิ  และภาวนามยปัญญา (ความเห็นแจ้ง)  ฐานของ
ปัญญาจึงง่อนแง่น ก่อให้เกิดปัญหาต่างๆ ตามมามากมาย  
ปัจจุบันในโลกตะวันตกเริ่มตระหนักถึงความบกพร่อง
ของระบบการศึกษาที่ใช้กันอยู่และหันมาสนใจสมาธิมากขึ้น
เรื่อยๆ จนถึงขั้นยกสมาธิว่าเป็นศาสตร์แขนงหนึ่ง
ที่ทรงคุณค่ายิ่งต่อความสุขความส�ำเร็จของมนุษย์ทุกคน  
ข้ามพ้นความเชื่อในศาสนา กลายเป็นสิ่งที่มนุษย์ทุกคน
ควรปฏิบัติ
BookmeditionForPress09062555.indd 4 9/6/2555 12:05:30
5
ศาสตร์แห่งสมาธิ
	“ศาสตร์แห่งสมาธิ”ได้สรุปสาระที่น่ารู้เกี่ยวกับสมาธิ
ในฐานะเป็นฐานของการศึกษาที่ส�ำคัญยิ่ง  
	ธรรมะของพระสัมมาสัมพุทธเจ้า  เป็นมรดกธรรม
ล�้ำค่าที่บรรพบุรุษไทยได้รักษาสืบทอดมาถึงเราในปัจจุบัน  
เราจึงควรศึกษาอย่างจริงจังและน�ำหลักค�ำสอนของ
พระพุทธองค์นี้  มาเป็นแนวทางในการพัฒนาการศึกษา
ของชาติ ให้เยาวชนไทย  เก่ง  ดี  มีสุข  เป็นอนาคตที่ส�ำคัญ
ของประเทศชาติสืบไป		
วันวิสาขบูชาที่ ๔ มิถุนายน ๒๕๕๕
BookmeditionForPress09062555.indd 5 9/6/2555 12:05:31
ศาสตร์แห่งสมาธิ
6
สารบัญ
สมาธิ		 	 	 	 	 	 ๗
ปัญญา ๓ ระดับ		 	 	 	 ๑๒
สมาธิในสังคมตะวันตก		 	 	 ๑๘
ชีวิตหลังความตายมีจริงหรือไม่	 	 ๓๗
กรณีตัวอย่างที่ ๑  สตีฟ จ็อปส์	 	 ๔๗
กรณีตัวอย่างที่ ๒  ดร.สตีเฟ่น โควี่		 ๗๑
วิธีฝึกสมาธิเบื้องต้น	 	 	 	 ๘๑
BookmeditionForPress09062555.indd 6 9/6/2555 12:05:32
สมาธิ
BookmeditionForPress09062555.indd 7 9/6/2555 12:05:32
BookmeditionForPress09062555.indd 8 9/6/2555 12:05:34
9
ศาสตร์แห่งสมาธิ
สมาธิ... คือ อาการที่ใจหยุดนิ่ง
ตั้งมั่นอยู่ในอารมณ์เดียว
ใจสงบรวมเป็นหนึ่ง
ความบริสุทธิ์ผ่องใสผุดขึ้นในใจ
สมาธิคืออะไร
BookmeditionForPress09062555.indd 9 9/6/2555 12:05:36
ศาสตร์แห่งสมาธิ
10
สมาธิในพระพุทธศาสนา
	 วางใจไว้ในตัว เช่น ที่ศูนย์กลางกายฐานที่ ๗
สมาธินอกพระพุทธศาสนา
	 วางใจไว้นอกตัว เช่น ฤาษีบูชาไฟ ก็วางใจ
ไว้ที่กองไฟ   
	 เตโชกสินในพระพุทธศาสนา ใช้ไฟเป็นนิมิต
เหมือนกัน แต่น�ำภาพไฟนั้นมาไว้ในตัว ไม่ได้วางไว้
นอกตัวอย่างฤาษีกสินประเภทอื่นๆก็ในท�ำนองเดียวกัน
ความเหมือนบนความต่าง
BookmeditionForPress09062555.indd 10 9/6/2555 12:05:36
11
ศาสตร์แห่งสมาธิ
สมองกับใจเป็นคนละส่วนกัน
	 สมอง 	 เป็นส่วนหนึ่งของร่างกาย  
   	 	 	 ท�ำหน้าที่คล้าย computer
	 ใจ 	 	 เป็นส่วนของจิตใจ
    	 	 	 ท�ำหน้าที่คล้าย user
“ใจเป็นนาย กายเป็นบ่าว”
BookmeditionForPress09062555.indd 11 9/6/2555 12:05:37
ศาสตร์แห่งสมาธิ
12
๖
ปัญญา ๓ ระดับ
BookmeditionForPress09062555.indd 12 9/6/2555 12:05:38
13
ศาสตร์แห่งสมาธิ
ปัญญา ๓ ระดับ
๑. สุตมยปัญญา (รู้จ�ำ)
    ปัญญาที่เกิดจากการฟัง อ่าน
๒. จินตามยปัญญา (รู้คิด)
    ปัญญาที่เกิดจากการขบคิด  พิจารณาหา
    เหตุผล
๓. ภาวนามยปัญญา (รู้แจ้ง)
    ปัญญาที่เกิดจากการท�ำสมาธิภาวนา
    เห็นแจ้งสิ่งต่างๆ ตามความเป็นจริง
BookmeditionForPress09062555.indd 13 9/6/2555 12:05:38
ศาสตร์แห่งสมาธิ
14
สมถกรรมฐานและวิปัสสนากรรมฐาน
สมถกรรมฐาน คือ
  	 การท�ำสมาธิ ให้ใจหยุดนิ่ง ตั้งมั่น
วิปัสสนากรรมฐาน คือ  
	 การใช้ญาณทัสนะที่เกิดขึ้นจากการท�ำสมาธิ
เห็นแจ้งสิ่งต่างๆตามความเป็นจริงเช่นเห็นอริยสัจ๔,
ขันธ์ ๕, อายตนะ ๑๒, นรก-สวรรค์ ฯลฯ
BookmeditionForPress09062555.indd 14 9/6/2555 12:05:39
15
ศาสตร์แห่งสมาธิ
วิปัสสนา		 ไม่ใช่	 วิปัสสนึก
  ภาวนามยปัญญา 	        จินตามยปัญญา


BookmeditionForPress09062555.indd 15 9/6/2555 12:05:40
ศาสตร์แห่งสมาธิ
16
ประโยชน์ของสมาธิ
๑. ท�ำให้เราใช้ศักยภาพของตนเองได้เต็มที่
    เหมือนเลนส์รวมแสงอาทิตย์
๒. ท�ำให้สุขภาพดีทั้งกายและใจ
    • สภาวะต่างๆ ของร่างกายและจิตใจ
      มีความสมดุล
    • กายและใจ ส่งผลเนื่องถึงกัน
๓. ท�ำให้เกิดความรู้แจ้ง (ภาวนามยปัญญา)
    เห็นโลกและชีวิตไปตามความเป็นจริง
BookmeditionForPress09062555.indd 16 9/6/2555 12:05:40
17
ศาสตร์แห่งสมาธิ
สมาธิในสังคมตะวันตก
BookmeditionForPress09062555.indd 17 9/6/2555 12:05:42
ศาสตร์แห่งสมาธิ
18
BookmeditionForPress09062555.indd 18 9/6/2555 12:05:43
19
ศาสตร์แห่งสมาธิ
“Time” นิตยสารรายสัปดาห์ที่ทรง
อิทธิพลอันดับหนึ่งของโลก  ตระหนักถึงกระแส
ความนิยมเรื่องสมาธิที่เพิ่มขึ้นอย่างมหาศาล
ทั่วโลกโดยเฉพาะในสหรัฐอเมริกาและยุโรป  
จึงได้น�ำเรื่องสมาธิเสนอเป็นข่าวใหญ่
ประจ�ำฉบับขึ้นหน้าปก
BookmeditionForPress09062555.indd 19 9/6/2555 12:05:44
ศาสตร์แห่งสมาธิ
20
นักวิทยาศาสตร์ก็ศึกษาวิจัยเรื่องสมาธิ
แพทย์ก็เชียร์ให้นั่งสมาธิ
ชาวอเมริกันนับสิบล้านคนก็นั่งสมาธิทุกวัน
ถามว่า.....นั่งไปท�ำไม ?
ตอบว่า.....ก็เพราะมันดีน่ะสิ
BookmeditionForPress09062555.indd 20 9/6/2555 12:05:45
21
ศาสตร์แห่งสมาธิ
ในสหรัฐอเมริกา  
คนอเมริกันสิบล้านคน  นั่งสมาธิอย่างสม�่ำเสมอ
เป็นสองเท่าของสิบปีก่อน
สถานที่หลายแห่งในสหรัฐอเมริกา
เช่น ที่นิวยอร์กเปลี่ยนเป็นที่นั่งสมาธิเป็นจ�ำนวนมาก
คนเรียกแถบนั้นว่าเป็นแถบของชาวพุทธ
BookmeditionForPress09062555.indd 21 9/6/2555 12:05:45
ศาสตร์แห่งสมาธิ
22
นักเรียนนั่งสมาธิก่อนเข้าห้องเรียนทุกเช้า
นักกฎหมาย  นักธุรกิจ  คนท�ำงานสาขาอาชีพต่างๆ
นั่งสมาธิตามที่หน่วยงานของตน
จัดให้นั่งอย่างสม�่ำเสมอ  
  ดาราภาพยนตร์  นักการเมือง  
  นักเขียน ต่างก็นั่งสมาธิ
BookmeditionForPress09062555.indd 22 9/6/2555 12:05:46
23
ศาสตร์แห่งสมาธิ
BookmeditionForPress09062555.indd 23 9/6/2555 12:05:47
ศาสตร์แห่งสมาธิ
24
การนั่งสมาธิท�ำให้ร่างกาย
มีสภาวะเหมือนก่อนจะหลับ แต่ไม่ได้หลับ
มีสติรู้ตัวอยู่เสมอ
และท�ำให้จิตใจสดชื่น แจ่มใส
BookmeditionForPress09062555.indd 24 9/6/2555 12:05:48
25
ศาสตร์แห่งสมาธิ
สมาธิยังช่วยขจัด ความขัดแย้งในจิตใจ
ท�ำให้ใจนิ่ง
ท่ามกลางความสับสน ว่าจะเอาอย่างไรดี
เมื่อใจนิ่งแล้ว
จะเข้าใจสถานการณ์และเรื่องราวต่างๆ ได้ดีขึ้น
ยอมรับมันด้วยความสงบและมีความสุขมากขึ้น
BookmeditionForPress09062555.indd 25 9/6/2555 12:05:48
ศาสตร์แห่งสมาธิ
26
๑๖
BookmeditionForPress09062555.indd 26 9/6/2555 12:05:50
27
ศาสตร์แห่งสมาธิ
แพทย์แนะน�ำ 
ให้คนไข้นั่งสมาธิเป็นประจ�ำและสม�่ำเสมอมากขึ้น
เพราะผลการทดลองทางวิทยาศาสตร์
จากการสแกนคลื่นสมองพบว่า
สมองจะมีระบบปิดกั้นเรื่องราวต่างๆ ไม่ให้เข้ามาและ
ไม่ส่งเรื่องเข้าไปย่อย ในส่วนลึกของเนื้อสมองอย่างเคย
แต่ท�ำให้ระบบลิมบิค (Limbic System)
ซึ่งเป็นส่วนควบคุมด้านอารมณ์และความจ�ำดีขึ้น
BookmeditionForPress09062555.indd 27 9/6/2555 12:05:51
ศาสตร์แห่งสมาธิ
28
สมาธิช่วยท�ำให้ร่างกาย
สร้างภูมิคุ้มกันโรคได้มากขึ้น
สามารถรักษาโรคร้ายแรงเรื้อรัง เช่น โรคหัวใจ
เอดส์ มะเร็ง ความดันโลหิตสูง โรคใจสั่น ฯลฯ
นอกจากนี้พลังของสมาธิ ยังสามารถรักษาคนไข้
ที่เป็นโรคผิวหนังอักเสบ ร้อนแดง
ให้มีผิวใสขึ้นเป็น ๔ เท่าของผู้ที่ไม่ได้นั่งสมาธิ
BookmeditionForPress09062555.indd 28 9/6/2555 12:05:52
29
ศาสตร์แห่งสมาธิ
นักเขียนที่เคยกินยาแก้เครียด
มาเกือบจะตลอดชีวิต
เมื่อนั่งสมาธิ
ก็ไม่จ�ำเป็นต้องพึ่งยาอีกต่อไป
ผู้ก�ำกับการแสดงและดาราภาพยนตร์ฮอลลีวู้ด
ก็นั่งสมาธิ ท�ำให้ลดความกดดันจากอาชีพ
และความเป็นคนดังมีชื่อเสียง
BookmeditionForPress09062555.indd 29 9/6/2555 12:05:53
ศาสตร์แห่งสมาธิ
30
ท�ำให้มีความสุขมากขึ้น รู้ตัวมากขึ้น
มองเห็นสิ่งต่างๆ มากขึ้น
พัฒนาบุคลิกภาพให้สง่างาม
ดูมีอ�ำนาจมากขึ้น
มองเห็นตัวเองได้มากขึ้น
และรู้ว่าควรแก้ไขข้อบกพร่อง
ของตัวเองได้อย่างไร  
เพียงแต่นั่งเงียบและท�ำจิตใจให้สงบเท่านั้น   
BookmeditionForPress09062555.indd 30 9/6/2555 12:05:53
31
ศาสตร์แห่งสมาธิ
BookmeditionForPress09062555.indd 31 9/6/2555 12:05:54
ศาสตร์แห่งสมาธิ
32
	 Meditation classes today are being
filled by mainstream Americans.
	 Meditation is the smart person's
bubble bath.
	 In a confluence of Eastern mysticism
and Westernscience,doctorsareembracing
meditation not because they think it’s hip
or cool but because scientific studies are
beginning to show that it works.
BookmeditionForPress09062555.indd 32 9/6/2555 12:05:55
33
ศาสตร์แห่งสมาธิ
	 สถานที่ฝึกสมาธิในปัจจุบัน เต็มไปด้วยชาวอเมริกัน
กระแสหลัก ซึ่งเป็นคนส่วนใหญ่ของสังคม
	 สมาธิเป็นเหมือนแหล่งสร้างความสดชื่นผ่อนคลาย
ของบุคคลที่สมาร์ท
	 ในการมาบรรจบรวมกันของศาสตร์ที่ลี้ลับของ
ตะวันออกและวิทยาศาสตร์ของตะวันตก  การที่แพทย์
ทั้งหลายยอมรับสมาธิ  ไม่ได้เป็นเพราะกระแสนิยม
แต่เป็นเพราะผลการศึกษาวิจัยทางวิทยาศาสตร์ได้แสดง
ให้เห็นว่าสมาธิให้ผลดีจริง
BookmeditionForPress09062555.indd 33 9/6/2555 12:05:55
ศาสตร์แห่งสมาธิ
34
	 What’s exciting about the new research
is how meditation can train the mind and
reshape the brain.
	 But meditation does more than reduce
stress, bring harmony and increase focus.
	 “I catch more ideas at deeper and
deeper levels of consciousness, and they
have more clarity and power”.
BookmeditionForPress09062555.indd 34 9/6/2555 12:05:56
35
ศาสตร์แห่งสมาธิ
สิ่งน่าตื่นเต้นจากการวิจัยชิ้นใหม่ๆ คือ ท�ำให้เรา
ทราบว่า สมาธิสามารถฝึกฝนจิตใจและพัฒนา
การท�ำงานของสมองได้อย่างไร
สมาธิไม่เพียงแต่ช่วยผ่อนคลายความตึงเครียด
น�ำมาซึ่งความสงบและความจดจ่อในการท�ำสิ่งต่างๆ
เท่านั้น  แต่ยังช่วยเพิ่มพูนความคิดสติปัญญาได้อย่างมากมาย
มีผู้กล่าวไว้ว่า “ฉันเกิดไอเดียใหม่ๆขึ้น เมื่อนั่งสมาธิ
ถึงระดับที่ใจนิ่งมากขึ้นๆ  และไอเดียนี้มีความแจ่มชัดและ
ทรงพลังมาก”
BookmeditionForPress09062555.indd 35 9/6/2555 12:05:56
ศาสตร์แห่งสมาธิ
36
คนไม่เชื่อเรื่องสมาธิกลายเป็นคนกลุ่มน้อย
ในสหรัฐอเมริกาไปเสียแล้ว
แพทย์แห่งมหาวิทยาลัยฮาร์เวิร์ด
แนะน�ำคนไข้ให้นั่งสมาธิเป็นประจ�ำ
ฮิลลารี  คลินตัน  พูดถึงสมาธิ  
อัล กอร์  นั่งสมาธิและแนะน�ำให้ทุกคนนั่งสมาธิด้วย
สมาธิไม่ได้นิยมเพียงในหมู่ประชาชนทั่วไปเท่านั้น
แต่ระดับผู้น�ำประเทศก็นั่งสมาธิ
(จากนิตยสารไทม์ ฉบับวันที่ ๔ สิงหาคม พ.ศ. ๒๕๔๖)
BookmeditionForPress09062555.indd 36 9/6/2555 12:05:57
37
ศาสตร์แห่งสมาธิ
ชีวิตภายหลังความตาย
มีอยู่จริงหรือไม่?
เป็นปริศนา
ที่อยู่ในความสนใจของมนุษย์ทุกชาติ
ทุกศาสนามาโดยตลอด
นับตั้งแต่ครั้งโบราณกาลจนกระทั่งถึงทุกวันนี้
BookmeditionForPress09062555.indd 37 9/6/2555 12:05:58
ศาสตร์แห่งสมาธิ
38
ศ.นพ.เอียน สตีเวนสัน
(Ian Stevenson, M.D.)
นักวิทยาศาสตร์ที่ท�ำการศึกษา
วิจัยเกี่ยวกับ
“การกลับชาติมาเกิด”
มานานกว่า ๔๗ ปี
BookmeditionForPress09062555.indd 38 9/6/2555 12:05:59
39
ศาสตร์แห่งสมาธิ
การศึกษาวิจัยของ            
ศ.นพ.เอียน สตีเวนสัน  
ได้พบผู้ที่จ�ำอดีตชาติได้        
มากกว่า ๓,๐๐๐ ราย
การทดลองเรื่องการรับรู้พิเศษ
(Extra Sensory Perception)
BookmeditionForPress09062555.indd 39 9/6/2555 12:06:00
ศาสตร์แห่งสมาธิ
40
 ผลงานการศึกษาวิจัยของ ศ.นพ.เอียน ได้ตีพิมพ์
ออกมาเป็นรายงานทางวิชาการในนิตยสารชั้นน�ำทาง
วิทยาศาสตร์ มากกว่า ๒๐๐ เล่ม
จนเป็นที่ยอมรับจากบรรดานักวิทยาศาสตร์ทั่วโลก
BookmeditionForPress09062555.indd 40 9/6/2555 12:06:01
41
ศาสตร์แห่งสมาธิ
	 เมื่อท่านได้เสียชีวิตลง นสพ.วอชิงตันโพสต์ ของ
สหรัฐอเมริกา ได้สดุดีว่า
	 “ท่านเป็นบุคคลที่ท�ำการค้นคว้าหาหลักฐานเกี่ยวกับ
การจ�ำอดีตชาติได้อย่างมีหลักการ ยากที่จะปฏิเสธได้”
	 ค�ำสอนของพระพุทธเจ้าได้รับการพิสูจน์ โดย
วิทยาศาสตร์สมัยใหม่ เหมือนดังค�ำกล่าวของ
	 อัลเบิร์ต ไอน์สไตน์  (Albert Einstein) ที่ว่า .....
BookmeditionForPress09062555.indd 41 9/6/2555 12:06:01
ศาสตร์แห่งสมาธิ
42
	 “The religion of the future will be a cosmic
religion. The religion which is based on experience,
which refuses dogmatism. If there is any religion
that would cope with the scientific needs it will be
Buddhism.”
	 “ศาสนาแห่งอนาคตจะเป็นศาสนาแห่งสากล
จักรวาล  ศาสนาซึ่งตั้งอยู่บนประสบการณ์ ซึ่งปฏิเสธ
ความเชื่อที่ไร้ข้อพิสูจน์  หากมีศาสนาใดศาสนาหนึ่งที่
พอจะรับมือกับความต้องการทางวิทยาศาสตร์ได้
ศาสนานั้นคือศาสนาพุทธ”
BookmeditionForPress09062555.indd 42 9/6/2555 12:06:02
43
ศาสตร์แห่งสมาธิ
การเวียนว่ายตายเกิดในวัฏสงสารตามที่
พระสัมมาสัมพุทธเจ้าตรัสไว้  จึงได้รับการพิสูจน์แล้วว่า
เป็นเรื่องจริง  ตายแล้วไม่สูญ  กรรมดีกรรมชั่ว ที่เราท�ำ
ไว้ในชาตินี้ ไม่ว่าจะมีใครเห็นหรือไม่ก็ตาม ก็จะตามส่งผล
ต่อเราในภพชาติต่อๆ ไปด้วย เป็นค�ำตอบว่า ท�ำไมคนเรา
เกิดมาในครอบครัวที่มีฐานะตระกูลต่างกัน มีรูปร่าง
หน้าตา สติปัญญาต่างกัน  ทั้งหมดก็ด้วยผลแห่งกรรม
ที่เราได้ท�ำไว้ในอดีตนั่นเอง
BookmeditionForPress09062555.indd 43 9/6/2555 12:06:03
ศาสตร์แห่งสมาธิ
44
ขนาดของอะตอม
พุทธศาสตร์	 ๑ ใน ๘๒ ล้านส่วนเศษของเมล็ดข้าวสาร
วิทยาศาสตร์	๑ ใน ๑๐๐ ล้านส่วนของ ๑ เซนติเมตร
จ�ำนวน Galaxy (จักรวาล)
พุทธศาสตร์  มีมากนับไม่ถ้วน ๑ โลกธาตุขนาดใหญ่
มี ๑ ล้านล้านจักรวาล  
วิทยาศาสตร์ เท่าที่พบแล้ว ๑ แสนล้าน Galaxy
แต่มวลสารยังน้อยไป ๑๐ เท่า กว่าที่ควรมี
หลักฐานพิสูจน์ว่าญาณทัสนะจากสมาธิมีจริง
BookmeditionForPress09062555.indd 44 9/6/2555 12:06:03
45
ศาสตร์แห่งสมาธิ
เล็กสุดอย่างขนาดอะตอม  พระสัมมาสัมพุทธเจ้า
ก็ทรงทราบ  ใหญ่ขนาด Galaxy (จักรวาล), Universe
(เอกภพ), พระองค์ก็ทรงทราบ ซึ่งเป็นไปไม่ได้เลย
ที่จะเดาถูก ในยุค  ๒,๐๐๐ กว่าปีก่อน ที่เครื่องมือ
ทางวิทยาศาสตร์ยังไม่ก้าวหน้า  พระสัมมาสัมพุทธเจ้า
ทรงรู้สิ่งเหล่านี้ได้ก็ด้วยญาณทัสนะจากสมาธิ
BookmeditionForPress09062555.indd 45 9/6/2555 12:06:04
ศาสตร์แห่งสมาธิ
46
ท�ำสมาธิสม�่ำเสมอทุกวันจะช่วยให้เรามี
	  สุขภาพกายแข็งแรง
	  อารมณ์เบิกบานผ่องใส
	  สติปัญญาดี  
	  มีความสุขความส�ำเร็จในชีวิต
	  เป็นทางมาแห่งบุญกุศล (ภาวนามัย
          เห็นแจ้งโลกและชีวิตตามความเป็นจริง)
สรุป
BookmeditionForPress09062555.indd 46 9/6/2555 12:06:05
47
ศาสตร์แห่งสมาธิ
กรณีตัวอย่างที่ ๑
BookmeditionForPress09062555.indd 47 9/6/2555 12:06:06
ศาสตร์แห่งสมาธิ
48
BookmeditionForPress09062555.indd 48 9/6/2555 12:06:07
49
ศาสตร์แห่งสมาธิ
สตีฟ จ๊อบส์
การเดินทางไปอินเดียของ สตีฟ จ็อบส์
ท�ำให้เขาเปลี่ยนตัวเอง
เป็น CEO ที่ยิ่งใหญ่แห่งศตวรรษได้อย่างไร ?
BookmeditionForPress09062555.indd 49 9/6/2555 12:06:08
ศาสตร์แห่งสมาธิ
50
ท�ำไม?
สตีฟ จ็อบส์ จึงได้รับการยกย่องให้เป็น CEO
ที่ยิ่งใหญ่ที่สุดในศตวรรษนี้
ในเดือน สิงหาคม ๒๕๕๔ ก่อนที่สตีฟ จ็อบส์   
จะก้าวลงจากต�ำแหน่ง CEO แอปเปิ้ลได้กลาย
เป็นบริษัทที่มีมูลค่าการตลาดมากที่สุดในโลก
คือมากกว่า ๓๕๐,๐๐๐ ล้านดอลล่าร์
(เมษายน ๒๕๕๕ ~ ๖ แสนล้านดอลล่าร์)
BookmeditionForPress09062555.indd 50 9/6/2555 12:06:09
51
ศาสตร์แห่งสมาธิ
BookmeditionForPress09062555.indd 51 9/6/2555 12:06:09
ศาสตร์แห่งสมาธิ
52
สตีฟ จ็อบส์
ได้ท�ำการปฏิวัติอุตสาหกรรม  ๖ ประเภท คือ
๑) คอมพิวเตอร์ส่วนบุคคล
๒) ภาพยนตร์แอนนิเมชั่น
๓) ดนตรี
๔) โทรศัพท์มือถือ
๕) Tablet Computer
๖) Application Store
BookmeditionForPress09062555.indd 52 9/6/2555 12:06:10
53
ศาสตร์แห่งสมาธิ
คอมพิวเตอร์ส่วนบุคคล
				 ภาพยนตร์แอนนิเมชั่น
BookmeditionForPress09062555.indd 53 9/6/2555 12:06:11
ศาสตร์แห่งสมาธิ
54
ดนตรี
BookmeditionForPress09062555.indd 54 9/6/2555 12:06:12
55
ศาสตร์แห่งสมาธิ
โทรศัพท์มือถือ
BookmeditionForPress09062555.indd 55 9/6/2555 12:06:12
ศาสตร์แห่งสมาธิ
56
Tablet Computer
BookmeditionForPress09062555.indd 56 9/6/2555 12:06:14
57
ศาสตร์แห่งสมาธิ
Application Store
BookmeditionForPress09062555.indd 57 9/6/2555 12:06:14
ศาสตร์แห่งสมาธิ
58
BookmeditionForPress09062555.indd 58 9/6/2555 12:06:16
59
ศาสตร์แห่งสมาธิ
ท�ำไม
สตีฟ จ็อบส์ ถึงไปอินเดีย
?
BookmeditionForPress09062555.indd 59 9/6/2555 12:06:17
ศาสตร์แห่งสมาธิ
60
เพื่อนของเขา คือ คุณโรเบิร์ต
   เคยไปอินเดียในช่วงฤดูร้อน
และได้แนะน�ำ
ให้จ็อบส์เดินทางไปค้นหาบางสิ่งบางอย่าง
   ทางจิตวิญญาณที่นั่น....
BookmeditionForPress09062555.indd 60 9/6/2555 12:06:17
61
ศาสตร์แห่งสมาธิ
   จ็อบส์กล่าวว่า... การเดินทางนี้เป็นการแสวงหา
ที่จริงจัง  เขาได้มีความสนใจเกี่ยวกับแนวความคิด
เรื่องการตรัสรู้และพยายามแสวงหาค�ำตอบว่า
“เราเป็นใคร และ เราสามารถปรับตัวเอง
เข้ากับสิ่งต่างๆได้อย่างไร”
จ็อบส์ ใช้เวลาถึง ๗ เดือน ในอินเดีย
BookmeditionForPress09062555.indd 61 9/6/2555 12:06:18
ศาสตร์แห่งสมาธิ
62
BookmeditionForPress09062555.indd 62 9/6/2555 12:06:19
63
ศาสตร์แห่งสมาธิ
จ็อบส์
ค้นพบอะไร จากการไปอินเดีย
?
BookmeditionForPress09062555.indd 63 9/6/2555 12:06:20
ศาสตร์แห่งสมาธิ
64
จ็อบส์กล่าวว่า... “คนอินเดียในชนบท
ไม่ใช้วิธีแสวงความรู้อย่างที่เราใช้กัน  
แต่ใช้การผุดรู้ (Intuition) แทน และ Intuition
ของพวกเขาก็พัฒนาไปไกลกว่าชาวตะวันตกมาก”
“Intuitionเป็นสิ่งที่ทรงพลังมาก
มีพลังมากกว่าปัญญา จากความคิด,
ในความเห็นของข้าพเจ้า Intuition คือ สิ่งที่มีผล
อย่างใหญ่หลวงต่อการท�ำงานของข้าพเจ้า...”
BookmeditionForPress09062555.indd 64 9/6/2555 12:06:21
65
ศาสตร์แห่งสมาธิ
“หลังจาก ๗ เดือนในหมู่บ้านที่อินเดีย
เมื่อกลับมาสู่โลกเดิม
  ข้าพเจ้าได้เห็นถึงความโง่เขลาของโลกตะวันตก
  พร้อมๆ กับเห็นถึงความสามารถในการคิด
อย่างมีเหตุผลของโลกตะวันตกนั้น”
“ถ้าคุณแค่เพียงนั่งและสังเกต
คุณจะเห็นว่า ใจของคุณไม่สงบขนาดไหน”
BookmeditionForPress09062555.indd 65 9/6/2555 12:06:22
ศาสตร์แห่งสมาธิ
66
BookmeditionForPress09062555.indd 66 9/6/2555 12:06:23
67
ศาสตร์แห่งสมาธิ
“ถ้าคุณพยายามบังคับที่จะสงบใจ
มันก็จะท�ำให้ยิ่งแย่ลง   
  แต่เมื่อเวลาผ่านไป  อาการนั้นจะค่อยๆ สงบลง  
และเมื่อมันเป็นเช่นนั้น ใจเราจะเริ่มโปร่งเบา
และท�ำให้เรา ได้ยิน ได้รู้สิ่งที่ลึกซึ้งละเอียดยิ่งขึ้น”
“และเมื่อ Intuition ของคุณได้เริ่มต้นเบ่งบาน   
คุณจะเริ่มมองเห็นสิ่งต่างๆ ได้ชัดเจนยิ่งขึ้น
และอยู่กับปัจจุบันมากขึ้น”
BookmeditionForPress09062555.indd 67 9/6/2555 12:06:24
ศาสตร์แห่งสมาธิ
68
“จิตใจของคุณจะเย็นลง และคุณจะรู้สึกว่า
   ใจขยายกว้างออกไปอย่างกว้างขวาง
   ในช่วงเวลานั้น
คุณจะเห็น
มากกว่าที่คุณเคยเห็น
มันมีความเป็นระเบียบแบบแผน
และคุณต้องฝึกมัน”
BookmeditionForPress09062555.indd 68 9/6/2555 12:06:24
69
ศาสตร์แห่งสมาธิ
สิ่งที่
จ็อบส์
ค้นพบจากอินเดีย
?
BookmeditionForPress09062555.indd 69 9/6/2555 12:06:25
ศาสตร์แห่งสมาธิ
70
Steve Jobs
ค้นพบ
“Intuition จากการท�ำสมาธิ”
ซึ่งน�ำเขาไปสู่การสร้างนวัตกรรมที่เปลี่ยนโลก
BookmeditionForPress09062555.indd 70 9/6/2555 12:06:25
71
ศาสตร์แห่งสมาธิ
กรณีตัวอย่างที่ ๒
BookmeditionForPress09062555.indd 71 9/6/2555 12:06:26
ศาสตร์แห่งสมาธิ
72
ดร.สตีเฟ่น โควี่
ทางสายกลาง...
เป็นเส้นทางสู่ชัยชนะจากอุปสรรคทั้งปวง
BookmeditionForPress09062555.indd 72 9/6/2555 12:06:27
73
ศาสตร์แห่งสมาธิ
Stephen R. Covey
ได้รับการยกย่องว่าเป็น ๑ ใน ๒๕
ผู้ทรงอิทธิพลสูงสุดต่อโลกในรอบศตวรรษ
ปริญญาโทด้านบริหารจาก มหาวิทยาลัยฮาร์วาร์ด
ปริญญาเอกจาก Brigham Young University
BookmeditionForPress09062555.indd 73 9/6/2555 12:06:27
ศาสตร์แห่งสมาธิ
74
BookmeditionForPress09062555.indd 74 9/6/2555 12:06:28
75
ศาสตร์แห่งสมาธิ
ดร.สตีเฟ่น โควี่ เป็นผู้เขียนหนังสือ
๗ อุปนิสัย
ส�ำหรับผู้ทรงประสิทธิผลยิ่ง
ซึ่งได้ชื่อว่าเป็นหนังสือทางธุรกิจอันดับ ๑
มีอิทธิพลมากที่สุดของศตวรรษที่ ๒๐
มียอดขายทั่วโลกมากกว่า ๑๕ ล้านเล่ม
     แปลเป็น ๓๘ ภาษาทั่วโลก
BookmeditionForPress09062555.indd 75 9/6/2555 12:06:29
ศาสตร์แห่งสมาธิ
76
วงการนักบริหารทั่วโลก
ต่างตื่นตะลึงว่า
มีวิธีการฝึกคนที่ยอดเยี่ยม
อย่างนี้ด้วยหรือ  
   นักบริหารระดับโลกจ�ำนวนมาก
อาทิ ประธานบริษัทแอมเวย์ ถึงขนาดหยิบ
   หนังสือเล่มนี้ขึ้นมาอ่านรอบแล้วรอบเล่า
BookmeditionForPress09062555.indd 76 9/6/2555 12:06:29
77
ศาสตร์แห่งสมาธิ
   ดร.สตีเฟ่น โควี่  ได้กล่าวว่า  
“The Middle Way”
เส้นทางสายกลาง
ที่ชาวพุทธเรียกกันนั้น
เป็นทางเลือกอันประเสริฐ ที่ท�ำให้คนเราเอาชนะ
ความขัดแย้งทั้งหลายและด�ำรงอยู่ในโลก
ได้อย่างมีความสุข
BookmeditionForPress09062555.indd 77 9/6/2555 12:06:30
ศาสตร์แห่งสมาธิ
78
Stephen R. Covey ได้แนวความคิดหลัก
ในการเขียนหนังสือเล่มนี้มาจาก...
หลักค�ำสอนในพระพุทธศาสนา
น่าทึ่งว่า  หลักการในพระพุทธศาสนา  
เมื่อได้มีการน�ำมาศึกษาอธิบายให้เข้าใจง่าย  
เมื่อน�ำเสนอต่อโลกแล้ว  จะส่งผลสั่นสะเทือน
อย่างยิ่งใหญ่  จนผู้เขียนหนังสือได้รับยกย่องเป็น
๑ ใน ๒๕ ผู้ทรงอิทธิพลสูงสุดต่อโลกในรอบศตวรรษ
BookmeditionForPress09062555.indd 78 9/6/2555 12:06:30
79
ศาสตร์แห่งสมาธิ
ดังนั้น ...  
เราจึงควรน้อมน�ำ
หลักค�ำสอน
ในพระพุทธศาสนา
มาเป็นแนวทาง
ในการพัฒนาเยาวชนไทย
BookmeditionForPress09062555.indd 79 9/6/2555 12:06:31
ศาสตร์แห่งสมาธิ
80
บันทึก
	 “ปัจจุบันในโลกตะวันตกเริ่มตระหนัก
ถึงความบกพร่องของระบบการศึกษาที่ใช้
กันอยู่และหันมาสนใจสมาธิมากขึ้นเรื่อยๆ
จนถึงขั้นยกสมาธิว่าเป็นศาสตร์แขนงหนึ่ง
ที่ทรงคุณค่ายิ่งต่อความสุขความส�ำเร็จของ
มนุษย์ทุกคน  ข้ามพ้นความเชื่อในศาสนา
กลายเป็นสิ่งที่มนุษย์ทุกคนควรปฏิบัติ”
BookmeditionForPress09062555.indd 80 9/6/2555 12:06:32
81
ศาสตร์แห่งสมาธิ
วิธีฝึกสมาธิเบื้องต้น
BookmeditionForPress09062555.indd 81 9/6/2555 12:06:32
ศาสตร์แห่งสมาธิ
82
BookmeditionForPress09062555.indd 82 9/6/2555 12:06:33
83
ศาสตร์แห่งสมาธิ
	 การฝึกสมาธิท�ำได้หลายวิธีตามจริตอัธยาศัย
ของแต่ละบุคคล  วิธีที่จะแนะน�ำต่อไปนี้เป็นวิธีที่
เรียกว่า“อาโลกกสิน”คือกสินแสงสว่างร่วมกับ
“พุทธานุสติ” คือ การมีสติระลึกถึงพระพุทธเจ้า  
ซึ่งเป็นวิธีที่คนทุกเพศทุกวัยสามารถปฏิบัติได้ง่าย
ได้ผลเร็ว  โดยมีแนวการปฏิบัติดังนี้
	 ๑. กราบบูชาพระรัตนตรัย เป็นการเตรียม
ตัวเตรียมใจให้นุ่มนวลไว้เป็นเบื้องต้นแล้วสมาทาน
BookmeditionForPress09062555.indd 83 9/6/2555 12:06:34
ศาสตร์แห่งสมาธิ
84
BookmeditionForPress09062555.indd 84 9/6/2555 12:06:35
85
ศาสตร์แห่งสมาธิ
ศีล ๕ หรือ ศีล ๘ เพื่อย�้ำความมั่นคงในคุณธรรม
ของตนเอง
	 ๒. นั่งขัดสมาธิ เท้าขวาทับเท้าซ้าย มือขวา
ทับมือซ้าย นิ้วชี้ของมือข้างขวาจรดนิ้วหัวแม่มือ
ข้างซ้าย นั่งให้อยู่ในท่าที่พอดี ไม่ฝืนร่างกายมาก
จนเกินไป ไม่ถึงกับเกร็ง แต่อย่าให้หลังโค้งงอ
หลับตาพอสบายคล้ายกับก�ำลังพักผ่อน ไม่บีบ
กล้ามเนื้อตาหรือขมวดคิ้วแล้วตั้งใจมั่นวางอารมณ์
BookmeditionForPress09062555.indd 85 9/6/2555 12:06:35
ศาสตร์แห่งสมาธิ
86
สบาย สร้างความรู้สึกให้พร้อมทั้งกายและใจว่า
ก�ำลังจะเข้าไปสู่ภาวะแห่งความสงบสบายอย่างยิ่ง
	 ๓. นึกก�ำหนดนิมิต เป็น “ดวงแก้วกลมใส”
ขนาดเท่าแก้วตาด�ำ ใสบริสุทธิ์ปราศจากรอยต�ำหนิ
ใดๆ ขาวใส เย็นตาเย็นใจ ดังประกายของดวงดาว
ดวงแก้วกลมใสนี้ เรียกว่าบริกรรมนิมิตนึกสบายๆ
นึกเหมือนดวงแก้วนั้นมานิ่งสนิทอยู่ ณ ศูนย์กลาง
กายฐานที่ ๗ นึกไปภาวนาไปอย่างนุ่มนวล เป็น
พุทธานุสติว่า “สัมมา อะระหัง ๆๆๆ...” หรือค่อยๆ
BookmeditionForPress09062555.indd 86 9/6/2555 12:06:36
87
ศาสตร์แห่งสมาธิ
BookmeditionForPress09062555.indd 87 9/6/2555 12:06:37
ศาสตร์แห่งสมาธิ
88
น้อมนึกดวงแก้วกลมใสให้ค่อยๆ เคลื่อนเข้าสู่
ศูนย์กลางกาย ตามแนวฐาน โดยเริ่มต้นตั้งแต่ฐาน
ที่ ๑ เป็นต้นไป น้อมนึกอย่างสบายๆ ใจเย็นๆ ไป
พร้อมๆ กับค�ำภาวนา
	 ๔. เมื่อนิมิตดวงแก้วกลมใสปรากฏแล้ว
ณ กลางกาย ให้วางอารมณ์สบายๆ กับนิมิตนั้น
จนเหมือนกับว่าดวงนิมิตเป็นส่วนหนึ่งของอารมณ์
หากดวงนิมิตนั้นอันตรธานหายไป ก็ไม่ต้องนึก
เสียดาย ให้วางอารมณ์สบาย แล้วนึกนิมิตนั้นขึ้น
BookmeditionForPress09062555.indd 88 9/6/2555 12:06:38
89
ศาสตร์แห่งสมาธิ
BookmeditionForPress09062555.indd 89 9/6/2555 12:06:39
ศาสตร์แห่งสมาธิ
90
มาใหม่แทนดวงเก่า หรือเมื่อนิมิตนั้นไปปรากฏที่
อื่น ที่มิใช่ศูนย์กลางกาย ให้ค่อยๆ น้อมนิมิตเข้า
มาอย่างค่อยเป็นค่อยไป ไม่มีการบังคับ และเมื่อ
นิมิตมาหยุดสนิท ณ ศูนย์กลางกาย ให้วางสติลง
ไปยังจุดศูนย์กลางของดวงนิมิต ด้วยความรู้สึก
คล้ายมีดวงดาวดวงเล็กๆ อีกดวงหนึ่ง ซ้อนอยู่
ตรงกลางดวงนิมิตดวงเดิม แล้วสนใจเอาใจใส่แต่
ดวงเล็กๆ ตรงกลางนั้นไปเรื่อยๆ ใจจะปรับจนหยุด
ได้ถูกส่วน เกิดการตกศูนย์และเกิดดวงสว่างขึ้น
BookmeditionForPress09062555.indd 90 9/6/2555 12:06:39
91
ศาสตร์แห่งสมาธิ
มาแทนที่ ดวงนี้เรียกว่า “ดวงธรรม” หรือ
“ดวงปฐมมรรค” อันเป็นประตูเบื้องต้นที่จะเปิด
ไปสู่หนทางแห่งมรรคผลนิพพาน
	 ๕. การระลึกนึกถึงนิมิตสามารถท�ำได้ในทุก
แห่ง ทุกที่ ทุกอิริยาบถ ไม่ว่าจะนั่ง นอน ยืน เดิน
หรือขณะท�ำภารกิจใดๆ
	 ๖. หลักส�ำคัญ คือ ต้องท�ำให้สม�่ำเสมอเป็น
ประจ�ำ ท�ำเรื่อยๆ ท�ำอย่างสบายๆ ไม่เร่ง ไม่บังคับ
ท�ำได้แค่ไหน ให้พอใจแค่นั้น ซึ่งจะเป็นการป้องกัน
BookmeditionForPress09062555.indd 91 9/6/2555 12:06:40
ศาสตร์แห่งสมาธิ
92
มิให้เกิดความอยากจนเกินไป จนถึงกับท�ำให้ใจ
ต้องสูญเสียความเป็นกลาง และเมื่อการฝึกสมาธิ
บังเกิดผลจนได้ “ดวงปฐมมรรค” ที่ใสเกินใส
สวยเกินสวย ติดสนิทมั่นคงอยู่ที่ศูนย์กลางกาย
แล้ว ให้หมั่นตรึกระลึกนึกถึงอยู่เสมอ
	 ๗. เมื่อปฏิบัติอย่างนี้แล้ว ผลแห่งสมาธิจะ
ท�ำให้ชีวิตด�ำรงอยู่บนเส้นทางแห่งความสุขความ
ส�ำเร็จและความไม่ประมาทได้ตลอดไป ทั้งยังจะ
ท�ำให้สมาธิละเอียดลุ่มลึกไปตามล�ำดับอีกด้วย
BookmeditionForPress09062555.indd 92 9/6/2555 12:06:40
93
ศาสตร์แห่งสมาธิ
BookmeditionForPress09062555.indd 93 9/6/2555 12:06:46
ศาสตร์แห่งสมาธิ
94
BookmeditionForPress09062555.indd 94 9/6/2555 12:06:47
95
ศาสตร์แห่งสมาธิ
BookmeditionForPress09062555.indd 95 9/6/2555 12:06:48
ศาสตร์แห่งสมาธิ
96
BookmeditionForPress09062555.indd 96 9/6/2555 12:06:49

Contenu connexe

Tendances

วิชาพระพุทธศาสนามหายาน ตอน นิกายโยคาจาร
วิชาพระพุทธศาสนามหายาน ตอน นิกายโยคาจารวิชาพระพุทธศาสนามหายาน ตอน นิกายโยคาจาร
วิชาพระพุทธศาสนามหายาน ตอน นิกายโยคาจารPadvee Academy
 
ธรรมภาคปฏิบัติ บทที่ ๒ กรรมฐาน และบุรพกิจของการปฏิบัติกรรมฐาน
ธรรมภาคปฏิบัติ บทที่ ๒ กรรมฐาน และบุรพกิจของการปฏิบัติกรรมฐานธรรมภาคปฏิบัติ บทที่ ๒ กรรมฐาน และบุรพกิจของการปฏิบัติกรรมฐาน
ธรรมภาคปฏิบัติ บทที่ ๒ กรรมฐาน และบุรพกิจของการปฏิบัติกรรมฐานPadvee Academy
 
วิเคราะห์ปฏิจจสมุปบาท
วิเคราะห์ปฏิจจสมุปบาทวิเคราะห์ปฏิจจสมุปบาท
วิเคราะห์ปฏิจจสมุปบาทPadvee Academy
 
พระพรหมคุณาภรณ์ (ป.อ. ปยุตฺโต) โพชฌงค์ พุทธวิธีเสริมสุขภาพ
พระพรหมคุณาภรณ์ (ป.อ. ปยุตฺโต)   โพชฌงค์ พุทธวิธีเสริมสุขภาพพระพรหมคุณาภรณ์ (ป.อ. ปยุตฺโต)   โพชฌงค์ พุทธวิธีเสริมสุขภาพ
พระพรหมคุณาภรณ์ (ป.อ. ปยุตฺโต) โพชฌงค์ พุทธวิธีเสริมสุขภาพTongsamut vorasan
 
โพชฌงค์ พุทธวิธีเสริมสุขภาพ
โพชฌงค์ พุทธวิธีเสริมสุขภาพโพชฌงค์ พุทธวิธีเสริมสุขภาพ
โพชฌงค์ พุทธวิธีเสริมสุขภาพTongsamut vorasan
 
บทที่ ๒ กรรมฐาน และบุรพกิจของการปฏิบัติกรรมฐาน
บทที่ ๒ กรรมฐาน และบุรพกิจของการปฏิบัติกรรมฐานบทที่ ๒ กรรมฐาน และบุรพกิจของการปฏิบัติกรรมฐาน
บทที่ ๒ กรรมฐาน และบุรพกิจของการปฏิบัติกรรมฐานpop Jaturong
 
ธรรมภาคปฏิบัติ บทที่ ๓ การเจริญวิปัสสนากรรมฐานตามแนวสติปัฏฐาน ๔
ธรรมภาคปฏิบัติ บทที่ ๓ การเจริญวิปัสสนากรรมฐานตามแนวสติปัฏฐาน ๔ธรรมภาคปฏิบัติ บทที่ ๓ การเจริญวิปัสสนากรรมฐานตามแนวสติปัฏฐาน ๔
ธรรมภาคปฏิบัติ บทที่ ๓ การเจริญวิปัสสนากรรมฐานตามแนวสติปัฏฐาน ๔Padvee Academy
 
พุทธวิธีคลายเครียด
พุทธวิธีคลายเครียดพุทธวิธีคลายเครียด
พุทธวิธีคลายเครียดPadvee Academy
 
พระพุทธศาสนานิกายเซน
พระพุทธศาสนานิกายเซนพระพุทธศาสนานิกายเซน
พระพุทธศาสนานิกายเซนPadvee Academy
 
จริยศาสตร์ประเมินบทที่666 3-ปี
จริยศาสตร์ประเมินบทที่666 3-ปีจริยศาสตร์ประเมินบทที่666 3-ปี
จริยศาสตร์ประเมินบทที่666 3-ปีPa'rig Prig
 
เครียดได้ก็หายได้
เครียดได้ก็หายได้เครียดได้ก็หายได้
เครียดได้ก็หายได้Phairot Odthon
 
อารมณ์การจัดการอารมณ์
อารมณ์การจัดการอารมณ์อารมณ์การจัดการอารมณ์
อารมณ์การจัดการอารมณ์nok_bb
 
เป้าหมายของชีวิตตามหลักพระพุทธศาสนา
เป้าหมายของชีวิตตามหลักพระพุทธศาสนาเป้าหมายของชีวิตตามหลักพระพุทธศาสนา
เป้าหมายของชีวิตตามหลักพระพุทธศาสนาppompuy pantham
 
บทที่ 7 สมถกัมมัฏฐาน
บทที่ 7 สมถกัมมัฏฐานบทที่ 7 สมถกัมมัฏฐาน
บทที่ 7 สมถกัมมัฏฐานOnpa Akaradech
 
กลุ่มน้องเต่าชิกูเมะ --มนุษยกับการแสวงหาความจริงและความหมายของชีวิต
กลุ่มน้องเต่าชิกูเมะ --มนุษยกับการแสวงหาความจริงและความหมายของชีวิตกลุ่มน้องเต่าชิกูเมะ --มนุษยกับการแสวงหาความจริงและความหมายของชีวิต
กลุ่มน้องเต่าชิกูเมะ --มนุษยกับการแสวงหาความจริงและความหมายของชีวิตfreelance
 
ธรรมะภาคปฏิบัติ : ประวัติและวิวัฒนาการของการปฏิบัติกรรมฐาน
ธรรมะภาคปฏิบัติ : ประวัติและวิวัฒนาการของการปฏิบัติกรรมฐานธรรมะภาคปฏิบัติ : ประวัติและวิวัฒนาการของการปฏิบัติกรรมฐาน
ธรรมะภาคปฏิบัติ : ประวัติและวิวัฒนาการของการปฏิบัติกรรมฐานPadvee Academy
 
อัคคิวัจฉโคตตสูตร บ่อเกิดแนวคิดมหายาน
อัคคิวัจฉโคตตสูตร บ่อเกิดแนวคิดมหายานอัคคิวัจฉโคตตสูตร บ่อเกิดแนวคิดมหายาน
อัคคิวัจฉโคตตสูตร บ่อเกิดแนวคิดมหายานPadvee Academy
 

Tendances (20)

๐๐๐ ๒๕๔ ธรรมภาคปฏิบัติ ๔
๐๐๐ ๒๕๔ ธรรมภาคปฏิบัติ ๔๐๐๐ ๒๕๔ ธรรมภาคปฏิบัติ ๔
๐๐๐ ๒๕๔ ธรรมภาคปฏิบัติ ๔
 
วิชาพระพุทธศาสนามหายาน ตอน นิกายโยคาจาร
วิชาพระพุทธศาสนามหายาน ตอน นิกายโยคาจารวิชาพระพุทธศาสนามหายาน ตอน นิกายโยคาจาร
วิชาพระพุทธศาสนามหายาน ตอน นิกายโยคาจาร
 
ธรรมภาคปฏิบัติ บทที่ ๒ กรรมฐาน และบุรพกิจของการปฏิบัติกรรมฐาน
ธรรมภาคปฏิบัติ บทที่ ๒ กรรมฐาน และบุรพกิจของการปฏิบัติกรรมฐานธรรมภาคปฏิบัติ บทที่ ๒ กรรมฐาน และบุรพกิจของการปฏิบัติกรรมฐาน
ธรรมภาคปฏิบัติ บทที่ ๒ กรรมฐาน และบุรพกิจของการปฏิบัติกรรมฐาน
 
วิเคราะห์ปฏิจจสมุปบาท
วิเคราะห์ปฏิจจสมุปบาทวิเคราะห์ปฏิจจสมุปบาท
วิเคราะห์ปฏิจจสมุปบาท
 
พระพรหมคุณาภรณ์ (ป.อ. ปยุตฺโต) โพชฌงค์ พุทธวิธีเสริมสุขภาพ
พระพรหมคุณาภรณ์ (ป.อ. ปยุตฺโต)   โพชฌงค์ พุทธวิธีเสริมสุขภาพพระพรหมคุณาภรณ์ (ป.อ. ปยุตฺโต)   โพชฌงค์ พุทธวิธีเสริมสุขภาพ
พระพรหมคุณาภรณ์ (ป.อ. ปยุตฺโต) โพชฌงค์ พุทธวิธีเสริมสุขภาพ
 
ธรรมภาคปฏิบัติ ๕
ธรรมภาคปฏิบัติ ๕ธรรมภาคปฏิบัติ ๕
ธรรมภาคปฏิบัติ ๕
 
โพชฌงค์ พุทธวิธีเสริมสุขภาพ
โพชฌงค์ พุทธวิธีเสริมสุขภาพโพชฌงค์ พุทธวิธีเสริมสุขภาพ
โพชฌงค์ พุทธวิธีเสริมสุขภาพ
 
บทที่ ๒ กรรมฐาน และบุรพกิจของการปฏิบัติกรรมฐาน
บทที่ ๒ กรรมฐาน และบุรพกิจของการปฏิบัติกรรมฐานบทที่ ๒ กรรมฐาน และบุรพกิจของการปฏิบัติกรรมฐาน
บทที่ ๒ กรรมฐาน และบุรพกิจของการปฏิบัติกรรมฐาน
 
ธรรมภาคปฏิบัติ บทที่ ๓ การเจริญวิปัสสนากรรมฐานตามแนวสติปัฏฐาน ๔
ธรรมภาคปฏิบัติ บทที่ ๓ การเจริญวิปัสสนากรรมฐานตามแนวสติปัฏฐาน ๔ธรรมภาคปฏิบัติ บทที่ ๓ การเจริญวิปัสสนากรรมฐานตามแนวสติปัฏฐาน ๔
ธรรมภาคปฏิบัติ บทที่ ๓ การเจริญวิปัสสนากรรมฐานตามแนวสติปัฏฐาน ๔
 
พุทธวิธีคลายเครียด
พุทธวิธีคลายเครียดพุทธวิธีคลายเครียด
พุทธวิธีคลายเครียด
 
พระพุทธศาสนานิกายเซน
พระพุทธศาสนานิกายเซนพระพุทธศาสนานิกายเซน
พระพุทธศาสนานิกายเซน
 
จริยศาสตร์ประเมินบทที่666 3-ปี
จริยศาสตร์ประเมินบทที่666 3-ปีจริยศาสตร์ประเมินบทที่666 3-ปี
จริยศาสตร์ประเมินบทที่666 3-ปี
 
ธรรมภาคปฏิบัติ ๓
ธรรมภาคปฏิบัติ ๓ธรรมภาคปฏิบัติ ๓
ธรรมภาคปฏิบัติ ๓
 
เครียดได้ก็หายได้
เครียดได้ก็หายได้เครียดได้ก็หายได้
เครียดได้ก็หายได้
 
อารมณ์การจัดการอารมณ์
อารมณ์การจัดการอารมณ์อารมณ์การจัดการอารมณ์
อารมณ์การจัดการอารมณ์
 
เป้าหมายของชีวิตตามหลักพระพุทธศาสนา
เป้าหมายของชีวิตตามหลักพระพุทธศาสนาเป้าหมายของชีวิตตามหลักพระพุทธศาสนา
เป้าหมายของชีวิตตามหลักพระพุทธศาสนา
 
บทที่ 7 สมถกัมมัฏฐาน
บทที่ 7 สมถกัมมัฏฐานบทที่ 7 สมถกัมมัฏฐาน
บทที่ 7 สมถกัมมัฏฐาน
 
กลุ่มน้องเต่าชิกูเมะ --มนุษยกับการแสวงหาความจริงและความหมายของชีวิต
กลุ่มน้องเต่าชิกูเมะ --มนุษยกับการแสวงหาความจริงและความหมายของชีวิตกลุ่มน้องเต่าชิกูเมะ --มนุษยกับการแสวงหาความจริงและความหมายของชีวิต
กลุ่มน้องเต่าชิกูเมะ --มนุษยกับการแสวงหาความจริงและความหมายของชีวิต
 
ธรรมะภาคปฏิบัติ : ประวัติและวิวัฒนาการของการปฏิบัติกรรมฐาน
ธรรมะภาคปฏิบัติ : ประวัติและวิวัฒนาการของการปฏิบัติกรรมฐานธรรมะภาคปฏิบัติ : ประวัติและวิวัฒนาการของการปฏิบัติกรรมฐาน
ธรรมะภาคปฏิบัติ : ประวัติและวิวัฒนาการของการปฏิบัติกรรมฐาน
 
อัคคิวัจฉโคตตสูตร บ่อเกิดแนวคิดมหายาน
อัคคิวัจฉโคตตสูตร บ่อเกิดแนวคิดมหายานอัคคิวัจฉโคตตสูตร บ่อเกิดแนวคิดมหายาน
อัคคิวัจฉโคตตสูตร บ่อเกิดแนวคิดมหายาน
 

Similaire à ศาสตร์แห่งสมาธิ

Lunch talk - ธรรมะข้างสำรับ
Lunch talk - ธรรมะข้างสำรับLunch talk - ธรรมะข้างสำรับ
Lunch talk - ธรรมะข้างสำรับWatpadhammaratana Pittsburgh
 
ปริศนาธรรมในพุทธปรัชญา
ปริศนาธรรมในพุทธปรัชญาปริศนาธรรมในพุทธปรัชญา
ปริศนาธรรมในพุทธปรัชญาpentanino
 
สุภีร์ ทุมทอง สติปัฏฐาน ๔ เสันทางตรงสู่พระนิพพาน
สุภีร์ ทุมทอง   สติปัฏฐาน ๔ เสันทางตรงสู่พระนิพพาน สุภีร์ ทุมทอง   สติปัฏฐาน ๔ เสันทางตรงสู่พระนิพพาน
สุภีร์ ทุมทอง สติปัฏฐาน ๔ เสันทางตรงสู่พระนิพพาน Tongsamut vorasan
 
Dhammaratana journal 8 - วารสารธรรมรัตน์
Dhammaratana journal 8 - วารสารธรรมรัตน์Dhammaratana journal 8 - วารสารธรรมรัตน์
Dhammaratana journal 8 - วารสารธรรมรัตน์Watpadhammaratana Pittsburgh
 
Dhammaratana journal 8 - วารสารธรรมรัตน์
Dhammaratana journal 8 - วารสารธรรมรัตน์Dhammaratana journal 8 - วารสารธรรมรัตน์
Dhammaratana journal 8 - วารสารธรรมรัตน์Watpadhammaratana Pittsburgh
 
ชีวประวัติท่านพุทธทาส แก่นพุทธศาสน์
ชีวประวัติท่านพุทธทาส แก่นพุทธศาสน์ชีวประวัติท่านพุทธทาส แก่นพุทธศาสน์
ชีวประวัติท่านพุทธทาส แก่นพุทธศาสน์พระอภิชัช ธมฺมโชโต
 

Similaire à ศาสตร์แห่งสมาธิ (20)

Dhammaratana journal 3
Dhammaratana journal 3Dhammaratana journal 3
Dhammaratana journal 3
 
Saengdhamma Vol.36 No. 427 November 2010
Saengdhamma Vol.36 No. 427 November 2010Saengdhamma Vol.36 No. 427 November 2010
Saengdhamma Vol.36 No. 427 November 2010
 
Saengdhamma April, 2010
Saengdhamma April, 2010 Saengdhamma April, 2010
Saengdhamma April, 2010
 
Seang Dhamma Vol. 36 No. 433 May, 2011
Seang Dhamma Vol. 36 No. 433 May, 2011Seang Dhamma Vol. 36 No. 433 May, 2011
Seang Dhamma Vol. 36 No. 433 May, 2011
 
Saeng Dhamma Vol. 30 No. 425 September 2010
Saeng Dhamma Vol. 30 No. 425 September 2010Saeng Dhamma Vol. 30 No. 425 September 2010
Saeng Dhamma Vol. 30 No. 425 September 2010
 
Saengdhamam Vol. 36 No. 431 March 2011
Saengdhamam Vol. 36 No. 431 March 2011 Saengdhamam Vol. 36 No. 431 March 2011
Saengdhamam Vol. 36 No. 431 March 2011
 
Lunch talk - ธรรมะข้างสำรับ
Lunch talk - ธรรมะข้างสำรับLunch talk - ธรรมะข้างสำรับ
Lunch talk - ธรรมะข้างสำรับ
 
ปริศนาธรรมในพุทธปรัชญา
ปริศนาธรรมในพุทธปรัชญาปริศนาธรรมในพุทธปรัชญา
ปริศนาธรรมในพุทธปรัชญา
 
Saeng Dhamma Vol. 37 No. 441 January 2012
Saeng Dhamma Vol. 37 No. 441 January 2012Saeng Dhamma Vol. 37 No. 441 January 2012
Saeng Dhamma Vol. 37 No. 441 January 2012
 
Dhammaratana journal 6
Dhammaratana journal 6Dhammaratana journal 6
Dhammaratana journal 6
 
Seang Dhamma Vol. 37 No. 443 March 2012
Seang Dhamma Vol. 37 No. 443 March 2012Seang Dhamma Vol. 37 No. 443 March 2012
Seang Dhamma Vol. 37 No. 443 March 2012
 
สุภีร์ ทุมทอง สติปัฏฐาน ๔ เสันทางตรงสู่พระนิพพาน
สุภีร์ ทุมทอง   สติปัฏฐาน ๔ เสันทางตรงสู่พระนิพพาน สุภีร์ ทุมทอง   สติปัฏฐาน ๔ เสันทางตรงสู่พระนิพพาน
สุภีร์ ทุมทอง สติปัฏฐาน ๔ เสันทางตรงสู่พระนิพพาน
 
Saeng Dhamma Vol. 37 No. 436 August 2011
Saeng Dhamma Vol. 37 No. 436 August 2011 Saeng Dhamma Vol. 37 No. 436 August 2011
Saeng Dhamma Vol. 37 No. 436 August 2011
 
Seangdhamma Vol. 37 No. 439 November 2011
Seangdhamma Vol. 37 No. 439 November 2011Seangdhamma Vol. 37 No. 439 November 2011
Seangdhamma Vol. 37 No. 439 November 2011
 
Saeng Dhamma Vol 35 No. 419 March, 2010
Saeng Dhamma Vol 35 No. 419 March, 2010Saeng Dhamma Vol 35 No. 419 March, 2010
Saeng Dhamma Vol 35 No. 419 March, 2010
 
Dhammaratana journal 8 - วารสารธรรมรัตน์
Dhammaratana journal 8 - วารสารธรรมรัตน์Dhammaratana journal 8 - วารสารธรรมรัตน์
Dhammaratana journal 8 - วารสารธรรมรัตน์
 
Dhammaratana journal 8 - วารสารธรรมรัตน์
Dhammaratana journal 8 - วารสารธรรมรัตน์Dhammaratana journal 8 - วารสารธรรมรัตน์
Dhammaratana journal 8 - วารสารธรรมรัตน์
 
9 mantra
9 mantra9 mantra
9 mantra
 
Saengdhamma in august 2010
Saengdhamma in august 2010Saengdhamma in august 2010
Saengdhamma in august 2010
 
ชีวประวัติท่านพุทธทาส แก่นพุทธศาสน์
ชีวประวัติท่านพุทธทาส แก่นพุทธศาสน์ชีวประวัติท่านพุทธทาส แก่นพุทธศาสน์
ชีวประวัติท่านพุทธทาส แก่นพุทธศาสน์
 

Plus de Teacher Sophonnawit

คู่มือการใช้งาน Logbook
คู่มือการใช้งาน Logbookคู่มือการใช้งาน Logbook
คู่มือการใช้งาน LogbookTeacher Sophonnawit
 
วิทยฐานะ ว 21 2560 ล่าสุด
วิทยฐานะ ว 21 2560 ล่าสุดวิทยฐานะ ว 21 2560 ล่าสุด
วิทยฐานะ ว 21 2560 ล่าสุดTeacher Sophonnawit
 
ว21 2560 (ดร.สำเริง)
ว21 2560 (ดร.สำเริง)ว21 2560 (ดร.สำเริง)
ว21 2560 (ดร.สำเริง)Teacher Sophonnawit
 
คู่มือประเมินสมรรถนะสำคัญของผู้เรียนระดับการศึกษาขั้นพื้นฐาน ชั้นมัธยมศึกษาปี...
คู่มือประเมินสมรรถนะสำคัญของผู้เรียนระดับการศึกษาขั้นพื้นฐาน ชั้นมัธยมศึกษาปี...คู่มือประเมินสมรรถนะสำคัญของผู้เรียนระดับการศึกษาขั้นพื้นฐาน ชั้นมัธยมศึกษาปี...
คู่มือประเมินสมรรถนะสำคัญของผู้เรียนระดับการศึกษาขั้นพื้นฐาน ชั้นมัธยมศึกษาปี...Teacher Sophonnawit
 
แผน 1 the curious boy and the fish
แผน 1 the curious boy and the fishแผน 1 the curious boy and the fish
แผน 1 the curious boy and the fishTeacher Sophonnawit
 
คู่มือหนังสือส่งเสริมการอ่าน
คู่มือหนังสือส่งเสริมการอ่านคู่มือหนังสือส่งเสริมการอ่าน
คู่มือหนังสือส่งเสริมการอ่านTeacher Sophonnawit
 
คู่มือการใช้สื่อปฏิสัมพันธ์ (Interactive Solfwear) หนังสือ Upstream ม.4
คู่มือการใช้สื่อปฏิสัมพันธ์ (Interactive Solfwear) หนังสือ Upstream ม.4คู่มือการใช้สื่อปฏิสัมพันธ์ (Interactive Solfwear) หนังสือ Upstream ม.4
คู่มือการใช้สื่อปฏิสัมพันธ์ (Interactive Solfwear) หนังสือ Upstream ม.4Teacher Sophonnawit
 
ว7 แนวทางและแบบฟอร์มการเสนอรายชื่อผู้ทรงคุณวุฒิเพื่อให้ ก.ค.ศ. พิจารณา
ว7 แนวทางและแบบฟอร์มการเสนอรายชื่อผู้ทรงคุณวุฒิเพื่อให้ ก.ค.ศ. พิจารณาว7 แนวทางและแบบฟอร์มการเสนอรายชื่อผู้ทรงคุณวุฒิเพื่อให้ ก.ค.ศ. พิจารณา
ว7 แนวทางและแบบฟอร์มการเสนอรายชื่อผู้ทรงคุณวุฒิเพื่อให้ ก.ค.ศ. พิจารณาTeacher Sophonnawit
 
PA.3/4 แบบข้อเสนอในการพัฒนางานตามหน้าที่และความรับผิดชอบ (สายงานนิเทศการศึกษา)
PA.3/4 แบบข้อเสนอในการพัฒนางานตามหน้าที่และความรับผิดชอบ (สายงานนิเทศการศึกษา)PA.3/4 แบบข้อเสนอในการพัฒนางานตามหน้าที่และความรับผิดชอบ (สายงานนิเทศการศึกษา)
PA.3/4 แบบข้อเสนอในการพัฒนางานตามหน้าที่และความรับผิดชอบ (สายงานนิเทศการศึกษา)Teacher Sophonnawit
 
PA.3/3 แบบข้อเสนอในการพัฒนางานตามหน้าที่และความรับผิดชอบ (สายงานบริหารสถานศึกษา)
PA.3/3 แบบข้อเสนอในการพัฒนางานตามหน้าที่และความรับผิดชอบ (สายงานบริหารสถานศึกษา)PA.3/3 แบบข้อเสนอในการพัฒนางานตามหน้าที่และความรับผิดชอบ (สายงานบริหารสถานศึกษา)
PA.3/3 แบบข้อเสนอในการพัฒนางานตามหน้าที่และความรับผิดชอบ (สายงานบริหารสถานศึกษา)Teacher Sophonnawit
 
PA.3/2 แบบข้อเสนอในการพัฒนางานตามหน้าที่และความรับผิดชอบ (สายงานบริหารสถานศึกษา)
PA.3/2 แบบข้อเสนอในการพัฒนางานตามหน้าที่และความรับผิดชอบ (สายงานบริหารสถานศึกษา)PA.3/2 แบบข้อเสนอในการพัฒนางานตามหน้าที่และความรับผิดชอบ (สายงานบริหารสถานศึกษา)
PA.3/2 แบบข้อเสนอในการพัฒนางานตามหน้าที่และความรับผิดชอบ (สายงานบริหารสถานศึกษา)Teacher Sophonnawit
 
PA.3/1 แบบข้อเสนอในการพัฒนางานตามหน้าที่และความรับผิดชอบ (สายงานการสอน)
PA.3/1 แบบข้อเสนอในการพัฒนางานตามหน้าที่และความรับผิดชอบ (สายงานการสอน)PA.3/1 แบบข้อเสนอในการพัฒนางานตามหน้าที่และความรับผิดชอบ (สายงานการสอน)
PA.3/1 แบบข้อเสนอในการพัฒนางานตามหน้าที่และความรับผิดชอบ (สายงานการสอน)Teacher Sophonnawit
 
PA.2 แบบรายงานและรับรองด้านวินัย คุณธรรม จริยธรรม และจรรยาบรรณวิชาชีพ
PA.2 แบบรายงานและรับรองด้านวินัย คุณธรรม จริยธรรม และจรรยาบรรณวิชาชีพPA.2 แบบรายงานและรับรองด้านวินัย คุณธรรม จริยธรรม และจรรยาบรรณวิชาชีพ
PA.2 แบบรายงานและรับรองด้านวินัย คุณธรรม จริยธรรม และจรรยาบรรณวิชาชีพTeacher Sophonnawit
 
ว7 กรอบและแนวทางการทดสอบความรู้ความสามารถเชิงทฤษฎีและการประเมินประสบการณ์วิชาชีพ
ว7 กรอบและแนวทางการทดสอบความรู้ความสามารถเชิงทฤษฎีและการประเมินประสบการณ์วิชาชีพว7 กรอบและแนวทางการทดสอบความรู้ความสามารถเชิงทฤษฎีและการประเมินประสบการณ์วิชาชีพ
ว7 กรอบและแนวทางการทดสอบความรู้ความสามารถเชิงทฤษฎีและการประเมินประสบการณ์วิชาชีพTeacher Sophonnawit
 
ว7 ปฏิทินการดำเนินงานตามหลักเกณฑ์
ว7 ปฏิทินการดำเนินงานตามหลักเกณฑ์ว7 ปฏิทินการดำเนินงานตามหลักเกณฑ์
ว7 ปฏิทินการดำเนินงานตามหลักเกณฑ์Teacher Sophonnawit
 
ว7 คำอธิบายและตัวอย่าง
ว7 คำอธิบายและตัวอย่างว7 คำอธิบายและตัวอย่าง
ว7 คำอธิบายและตัวอย่างTeacher Sophonnawit
 
ว7 หลักเกณฑ์และวิธีการ
ว7 หลักเกณฑ์และวิธีการว7 หลักเกณฑ์และวิธีการ
ว7 หลักเกณฑ์และวิธีการTeacher Sophonnawit
 

Plus de Teacher Sophonnawit (20)

คู่มือการใช้งาน Logbook
คู่มือการใช้งาน Logbookคู่มือการใช้งาน Logbook
คู่มือการใช้งาน Logbook
 
วิทยฐานะ ว 21 2560 ล่าสุด
วิทยฐานะ ว 21 2560 ล่าสุดวิทยฐานะ ว 21 2560 ล่าสุด
วิทยฐานะ ว 21 2560 ล่าสุด
 
ว21 2560 (ดร.สำเริง)
ว21 2560 (ดร.สำเริง)ว21 2560 (ดร.สำเริง)
ว21 2560 (ดร.สำเริง)
 
Lookbook teacher
Lookbook teacherLookbook teacher
Lookbook teacher
 
คู่มือประเมินสมรรถนะสำคัญของผู้เรียนระดับการศึกษาขั้นพื้นฐาน ชั้นมัธยมศึกษาปี...
คู่มือประเมินสมรรถนะสำคัญของผู้เรียนระดับการศึกษาขั้นพื้นฐาน ชั้นมัธยมศึกษาปี...คู่มือประเมินสมรรถนะสำคัญของผู้เรียนระดับการศึกษาขั้นพื้นฐาน ชั้นมัธยมศึกษาปี...
คู่มือประเมินสมรรถนะสำคัญของผู้เรียนระดับการศึกษาขั้นพื้นฐาน ชั้นมัธยมศึกษาปี...
 
แผน 1 the curious boy and the fish
แผน 1 the curious boy and the fishแผน 1 the curious boy and the fish
แผน 1 the curious boy and the fish
 
คู่มือหนังสือส่งเสริมการอ่าน
คู่มือหนังสือส่งเสริมการอ่านคู่มือหนังสือส่งเสริมการอ่าน
คู่มือหนังสือส่งเสริมการอ่าน
 
คู่มือการใช้สื่อปฏิสัมพันธ์ (Interactive Solfwear) หนังสือ Upstream ม.4
คู่มือการใช้สื่อปฏิสัมพันธ์ (Interactive Solfwear) หนังสือ Upstream ม.4คู่มือการใช้สื่อปฏิสัมพันธ์ (Interactive Solfwear) หนังสือ Upstream ม.4
คู่มือการใช้สื่อปฏิสัมพันธ์ (Interactive Solfwear) หนังสือ Upstream ม.4
 
Access m.3 wordlists
Access m.3 wordlistsAccess m.3 wordlists
Access m.3 wordlists
 
ว7 แนวทางและแบบฟอร์มการเสนอรายชื่อผู้ทรงคุณวุฒิเพื่อให้ ก.ค.ศ. พิจารณา
ว7 แนวทางและแบบฟอร์มการเสนอรายชื่อผู้ทรงคุณวุฒิเพื่อให้ ก.ค.ศ. พิจารณาว7 แนวทางและแบบฟอร์มการเสนอรายชื่อผู้ทรงคุณวุฒิเพื่อให้ ก.ค.ศ. พิจารณา
ว7 แนวทางและแบบฟอร์มการเสนอรายชื่อผู้ทรงคุณวุฒิเพื่อให้ ก.ค.ศ. พิจารณา
 
PA.3/4 แบบข้อเสนอในการพัฒนางานตามหน้าที่และความรับผิดชอบ (สายงานนิเทศการศึกษา)
PA.3/4 แบบข้อเสนอในการพัฒนางานตามหน้าที่และความรับผิดชอบ (สายงานนิเทศการศึกษา)PA.3/4 แบบข้อเสนอในการพัฒนางานตามหน้าที่และความรับผิดชอบ (สายงานนิเทศการศึกษา)
PA.3/4 แบบข้อเสนอในการพัฒนางานตามหน้าที่และความรับผิดชอบ (สายงานนิเทศการศึกษา)
 
PA.3/3 แบบข้อเสนอในการพัฒนางานตามหน้าที่และความรับผิดชอบ (สายงานบริหารสถานศึกษา)
PA.3/3 แบบข้อเสนอในการพัฒนางานตามหน้าที่และความรับผิดชอบ (สายงานบริหารสถานศึกษา)PA.3/3 แบบข้อเสนอในการพัฒนางานตามหน้าที่และความรับผิดชอบ (สายงานบริหารสถานศึกษา)
PA.3/3 แบบข้อเสนอในการพัฒนางานตามหน้าที่และความรับผิดชอบ (สายงานบริหารสถานศึกษา)
 
PA.3/2 แบบข้อเสนอในการพัฒนางานตามหน้าที่และความรับผิดชอบ (สายงานบริหารสถานศึกษา)
PA.3/2 แบบข้อเสนอในการพัฒนางานตามหน้าที่และความรับผิดชอบ (สายงานบริหารสถานศึกษา)PA.3/2 แบบข้อเสนอในการพัฒนางานตามหน้าที่และความรับผิดชอบ (สายงานบริหารสถานศึกษา)
PA.3/2 แบบข้อเสนอในการพัฒนางานตามหน้าที่และความรับผิดชอบ (สายงานบริหารสถานศึกษา)
 
PA.3/1 แบบข้อเสนอในการพัฒนางานตามหน้าที่และความรับผิดชอบ (สายงานการสอน)
PA.3/1 แบบข้อเสนอในการพัฒนางานตามหน้าที่และความรับผิดชอบ (สายงานการสอน)PA.3/1 แบบข้อเสนอในการพัฒนางานตามหน้าที่และความรับผิดชอบ (สายงานการสอน)
PA.3/1 แบบข้อเสนอในการพัฒนางานตามหน้าที่และความรับผิดชอบ (สายงานการสอน)
 
PA.2 แบบรายงานและรับรองด้านวินัย คุณธรรม จริยธรรม และจรรยาบรรณวิชาชีพ
PA.2 แบบรายงานและรับรองด้านวินัย คุณธรรม จริยธรรม และจรรยาบรรณวิชาชีพPA.2 แบบรายงานและรับรองด้านวินัย คุณธรรม จริยธรรม และจรรยาบรรณวิชาชีพ
PA.2 แบบรายงานและรับรองด้านวินัย คุณธรรม จริยธรรม และจรรยาบรรณวิชาชีพ
 
PA.1 แบบคำขอ
PA.1 แบบคำขอPA.1 แบบคำขอ
PA.1 แบบคำขอ
 
ว7 กรอบและแนวทางการทดสอบความรู้ความสามารถเชิงทฤษฎีและการประเมินประสบการณ์วิชาชีพ
ว7 กรอบและแนวทางการทดสอบความรู้ความสามารถเชิงทฤษฎีและการประเมินประสบการณ์วิชาชีพว7 กรอบและแนวทางการทดสอบความรู้ความสามารถเชิงทฤษฎีและการประเมินประสบการณ์วิชาชีพ
ว7 กรอบและแนวทางการทดสอบความรู้ความสามารถเชิงทฤษฎีและการประเมินประสบการณ์วิชาชีพ
 
ว7 ปฏิทินการดำเนินงานตามหลักเกณฑ์
ว7 ปฏิทินการดำเนินงานตามหลักเกณฑ์ว7 ปฏิทินการดำเนินงานตามหลักเกณฑ์
ว7 ปฏิทินการดำเนินงานตามหลักเกณฑ์
 
ว7 คำอธิบายและตัวอย่าง
ว7 คำอธิบายและตัวอย่างว7 คำอธิบายและตัวอย่าง
ว7 คำอธิบายและตัวอย่าง
 
ว7 หลักเกณฑ์และวิธีการ
ว7 หลักเกณฑ์และวิธีการว7 หลักเกณฑ์และวิธีการ
ว7 หลักเกณฑ์และวิธีการ
 

ศาสตร์แห่งสมาธิ