SlideShare une entreprise Scribd logo
1  sur  106
Télécharger pour lire hors ligne
ประวัติศาสตร์วฒนธรรมอีสาน
ประวตศาสตรวฒนธรรมอสาน
              ั
   จากหลักฐานโบราณคดีี
          ั     โ


            ศูนย์พฒนาการเรียนรูประวัติศาสตร์
                  ั            ้
    โรงเรยนสนมวทยาคาร อําเภอสนม จังหวัดสรินทร์
    โรงเรียนสนมวิทยาคาร อาเภอสนม จงหวดสุรนทร
ซากปรักหักพังของอาคาร
โบราณสถานเศษซาก
ชิ้นส่วนของโบราณวัตถุ
คืือหลักฐานโบราณคดีี
       ั    โ
ที่แสดงถึงการมีอยู่ของ
                   ู
ผูคนที่ผ่ามาแล้วในอดีต
     ้
   ั
อน ยาวไกลของแตละ
         ไ           ่
ท้องถิ่น
การใช้หลักฐานโบราณคดีในการศึกษา
       ประวัติศาสตร์ทองถิ่น
                     ้
         โบราณวตถุ การขุดคน
         โบราณวัตถ / การขดค้น
      โบราณสถาน / การขดแต่ง
                  การขุดแตง
            ศลาจารก
            ศิลาจารึก
         บันทึึกการเดิินทาง
           ั
   ลักษณะรูปแบบศิลปะโบราณวัตถุสถาน
                    โ
การใช้หลักฐานโบราณคดี
เพื่อการอธิบาย หรือเล่าเรื่องทางสังคมวัฒนธรรม
           - คติความเชื่ อ
           - คติทางศาสนา
           - ภูมิปัญญา การประดิษฐ์คิดค้น
           - วิถีชีวิต
           - ความสัมพันธ์ระหว่างชุมชน
           - ประเพณี พิธีกรรม ฯลฯ
ความอุดมสมบูรณ์ของทรัพยากรธรรมชาติ
ทีี่ประกอบด้วยเทืือกเขา ทุ่งราบ สายนํํ้ า แหลงเกลืื อ คืือปจจยสํําคญ ที่ีทาใ ้
            ้                                ่            ปั ั     ั      ํ ให้
ผูคนเข้ามาตังถิ่นฐานอยู่ในบริเวณภาคอีสาน ตังแต่สมัยก่อนประวัติศาสตร์
    ้         ้                                 ้
อดีตอีสาน
จากหลักฐานโบราณคดีแบ่งได้เป็ น 4 สมัยทางวัฒนธรรม
       ฐานโบราณคดี
วัฒนธรรมสมัยก่อนประวัติศาสตร์         ประมาณ 1,000 – 14,,000 ปี ที่ผ่านมา
                                                     14

วัฒนธรรมสมัยทวารวดี
วฒนธรรมสมยทวารวด          ประมาณพุทธศตวรรษท่ 12 - 16
                          ประมาณพทธศตวรรษที

วัฒนธรรมแบบเขมรในประเทศไทย ประมาณพุทธศตวรรษที่ 14 - 18
  ั            ใ ป     ไ

วัฒนธรรมสมัยล้านช้าง - อยุธยา ตัง้ แต่พุทธศตวรรษ 19 เป็ นต้นมา
คนอีสานสมัยก่อนประวัติศาสตร์
           ในสังคมแบบนายพราน
นับตังแต่เมื่อประมาณ 15,000 ปี ที่ผ่านมา เป็ นช่วงเวลาที่ คนอีสาน
     ้ เมื           15,
ในสมัยก่อนประวัติศาสตร์มีวิถีชีวิตแบบสังคมเร่ร่อน ยังชีพด้วยการ
                                    แบบสั
หาอาหารที่มีอยู่ตามธรรมชาติ
คนอีสานสมัยก่อนประวัติศาสตร์
         ในสังคมแบบเกษตรกรรม
จนถึงช่วงประมาณ 5,600 ปี ที่ผ่านมา คนสมัยก่อนประวัติศาสตร์ใน
                                                นประวั
ภาคอีสานจึงเริ่มอย่ าศัยเป็ นหลักแหล่ง มวถชวตแบบสงคม
ภาคอสานจงเรมอยู
ภาคอสานจงเรมอยูอาศยเปนหลกแหลง มวถชวตแบบสังคม
    อี                                 มีวิถีชีวิตแบบสงคม
เกษตรกรรม รูจกทําการเพาะปลูก เลี้ยงสัตว์ หล่อโลหะ
             ้ ั
คนอีสานสมัยก่อนประวัติศาสตร์
     คนสมัยก่อนประวัติศาสตร์มีการประกอบพิธีกรรม บวงสรวง
บูชาในอํานาจเหนื อธรรมชาติ มุ่งหวังในความอุดมสมบูรณ์ มีการ
กําหนดพื้นที่ศกดิ์สิทธิ์ เชอเรองจตวญญาณและโลกหลงความตาย
กาหนดพนทศกดสทธ เชื่อเรื่องจิตวิญญาณและโลกหลังความตาย
               ั
มีการอุทิศสิ่งของเครื่องใช้ให้แก่คนตายในหลุมฝังศพ
วัฒนธรรมบ้านเชียง คือรากฐานวัฒนธรรม ของสังคม
เกษตรกรรมสมัยก่อนประวัติศาสตร์ ที่มีอายเก่าที่สดในภาค
เกษตรกรรมสมยกอนประวตศาสตร ทมอายุเกาทสุดในภาค
อีสาน และเอเชียตะวันออกเฉี ยงใต้




                                   บริเิ วณเนิิ นดินแหล่งโ
                                                   ิ    ่ โบราณคดีบานเชีียง
                                                                  ี ้
                                             อ.หนองหาน จ.อุดรธานี
ความหลากหลาย
ของโบราณวัตถุ
ที่พบในหลมขดค้น
ทพบในหลุมขุดคน
ทางโบราณคดีซึ่งใน
อดีตคือพื้นที่ที่เป็ น
สุสานฝังศพ
      ฝั
โครงกระดู
        โครงกระดูกคนสมัยก่อนประวัติศาสตร์
ทีี่พบจากการขุดค้นทางโบราณคดีี คืือหลักฐานสํําคัญทีีนํามา
     บจากการขุ ้ โ                     ั ฐานสํ ั
ใช้อธิบายเกี่ยวกับความเชื่ อ วถชวตของผูคนในอดต
ใชอธบายเกยวกบความเชอ วิถีชีวิตของผ้ นในอดีต
ใชอธิอธบายเกยวกบความเชอ
ภาชนะเครื่องปั้ นดินเผาที่มีพบในหลุมขุดค้นเป็ นจํานวนมากนันคือ
                                                  นวนมากนั้
ภาชนะที่ใส่อาหาร สิ่งของเครื่องใช้ แล้วนําไปวางอทิศใหผู ้
ภาชนะทใสอาหาร สงของเครองใช แลวนาไปวางอุทศใหผ้ตายใน ศให้ผู
                                                      ผ
หลุมฝังศพตามความเชื่อเรื่องโลกหลังความตาย
การฝังศพในไหของคนสมัยก่อนประวัติศาสตร์ตอนปลาย
บริเวณลุ่มแม่นํ้ามูล-ชี ในช่วงประมาณ 2,000 ปี ที่ผ่านมา
คนสมัยก่อนประวัติศาสตร์ในภาคอีสาน
รูจกการปลูกข้าว คืือการเริิ่มต้นพัฒนาเป็ นสังคมเมืือง
  ้ ั ป ้                      ้ ั    ป็ ั

                                เปลื อกเมล็ ดข้าวซึ่งเป็ น
                                เมล็ ดข้าวปลูกที่ติดอยู่
                                บนใบหอกเหลก
                                บนใบหอกเหล็ก
ภาชนะดนเผา
ภาชนะดินเผา
ที่มีลายเขียนสี
คือภาชนะที่ใช้ใน
พิธีกรรม ลวดลาย
เขยนสบนภาชนะ
เขียนสีบนภาชนะ
มีลกษณะเป็ นรูป
      ั
อวัยวะเพศชายเพศ
    ั
หญิ งซึ่งเป็ นสัญลักษณ์
   ญ
ที่มีความหมายถึง
ความอุดมสมบูรณ์
             ส
การหล่อโลหะ สําริด
       กําไลข้อมือ ข้อเท้า ที่หล่อจากสําริด




       กําไลข้อมือหล่อจากสําริดใส่ซอน
                                   ้
       หลายวงตลอดช่วงแขน
เครื่องมือ / อาวุธแบบต่างๆที่หล่อจากเหล็ ก
ร่องรอยผ้าไหมที่ติดอยู่บนเครื่องมือโลหะ
ความสําคัญของแหล่งโบราณคดีสมัยก่อนประวัติศาสตร์
    วัฒนธรรมบ้านเชีียง ทีี่พบในภาคอีีสาน
      ั       ้              ใ
     เป็ นวัฒนธรรมสมัยก่อนประวัติศาสตร์ ที่เป็ นสังคม
เกษตรกรรม ที่มีอายเก่าที่สดแห่งหนึ่ งในภมิภาคเอเชย
             ทมอายุเกาทสุดแหงหนงในภูมภาคเอเชีย
ตะวันออกเฉี ยงใต้ ที่มีอายุุไม่นอยกว่า 5,600 ปี ที่ผ่านมา
                                ้       ,

     เป็ นชุมชนสมัยก่่อนประวัติศาสตร์ท่ีมีความก้าวหน้า
      ป็          ั     ป ั          ์          ้    ้
ด้านโลหะกรรม และการปลกข้าวที่มีอายเก่าแก่ไม่นอยกว่า
ดานโลหะกรรม และการปลูกขาวทมอายุเกาแกไมนอยกวา      ้
แหล่งอารยธรรมแห่งอื่นๆของโลก หรืออาจจะเก่ามากกว่า
แหล่งภาพเขียนสีท่ีพบตามเทือกเขา ถํ้าและเพิงผาที่มีพบ
 ในบริเวณภาคอีสานมีอายุประมาณ 2,000 – 3,000 ปี ที่
ผ่านมาคือพื้นที่ศกดิ์สิทธิ์ของคนสมัยก่อนประวัติศาสตร์
ผานมาคอพนทศกดสทธของคนสมยกอนประวตศาสตร
                 ั
ภาพเขียนสีสมัยก่อนประวัติศาสตร์
บนเพิงผาริมฝังแม่นํ้าโขงที่ผาแต้ม อ โขงเจียม จ.อุบลราชธาน
             ่
บนเพงผารมฝงแมนาโขงทผาแตม อ.โขงเจยม จ อบลราชธานี
เป็ นภาพเขียนสีสมัยก่อนประวัติศาสตร์ที่มีพ้ ืนที่เขียนภาพ
ยาวที่สดในภูมิภาคเอเชียตะวันออกเฉี ยงใต้
       ุ
ภาพเขี ยนสีสมัยก่อนประวัติศาสตร์บนเพิงผา ถํ้า
มีีลกษณะเป็ นภาพสัญลักษณ์ท่ีใช้ในการสื่ือความหมาย
    ั      ป็      ั ั ์ ้
ภาพสัญลักษณ์รปมือ บนผนังถํ้าพระอานนท์ อ.โขงเจียม จ.อุบลราชธานี
             ู
กลองมโหระทึก กลองศักดิ์สิทธิ์ ทีมีพบในภาคอีสาน
 กลองมโหระทก กลองศกดสทธ ทมพบในภาคอสาน
สมัยก่อนประวัติสาสตร์ ในวัฒนธรรมดองซอน หล่อจากโลหะสําริด
แหล่งที่พบกลองมโหระทึก
 สมัยก่อนประวัติศาสตร์์
    ั     ป ั
   วฒนธรรมดองซอน
   วัฒนธรรมดองซอน
    ในประเทศไทย
ลายดาวกระจายเป็ นแฉกบนหน้ากลองมโหระทึก
คอเอกลกษณของกลองมโหระทกในวฒนธรรมดองซอน
คือเอกลักษณ์ของกลองมโหระทึกในวัฒนธรรมดองซอน
ลวดลายบนหน้ากลอง รวมทังรูปกบที่มีความหมายว่าเป็ นสัตว์ศกดิ์สิทธิ์
                      ้                                ั
  คือสัญลักษณ์ท่ีเกี่ยวกับนํ้า เสียงฟาร้อง และความอุดมสมบูรณ์
                                     ้
ลายบนหน้า
กลองมโหระทึึก
        โ
ที่เวียนซ้าย
ทเวยนซาย
ลายสลักที่เวียนไปทางซ้าย
ลายสลกทเวยนไปทางซาย
บนหน้ากลองมโหระทึก
เป็ นสัญลักษณ์ที่เกี่ยวกับความตาย ซึ่งอาจตีกลองมโหระทึกเพื่อส่งวิญญาณ
สมัยประวัติศาสตร์ตอนต้น
ชุมชนโบราณที่เป็ นสังคมเมืองในภาคอีสาน
    เริ่มรับวัฒนธรรมด้านการศาสนา
           สมัยทวารวดี
 ตังแต่เมื่อประมาณพุทธศตวรรษที่ 12- 16
   ้                            12-
คนอีสานสมัยทวารวดี
 เมื่อถึงประมาณพทธศตวรรษที่ 12 – 16 ผ้คนในภาคอสาน
 เมอถงประมาณพุทธศตวรรษท                  ผู นในภาคอีสาน
ได้พฒนาวิถีชีวิตไปสู่การเป็ นสังคมเมือง ในวัฒนธรรมแบบ
       ั
ทวารวดีี
เมืองโบราณสมัยทวารวดี มลกษณะผงเมองเปนคูน้าคนดน
เมองโบราณสมยทวารวด ั
เมองโบราณสมยทวารวด มีลกษณะผังเมืองเป็ นคนําคันดิน
      งโบราณสมั
ล้อมรอบเนิ นดินที่อยู่อาศัย
มีีการรับวัฒนธรรมและคติิความเชื่ื อทีี่เนืื่ องในศาสนาทีี่มี
         ั ั                                   ใ
แบบแผน มาจากอินเดีย โดยเฉพาะมีการนับถือพุทธ         ุ
ศาสนาเป็ นศาสนาหลักของชุมชน
วัฒนธรรมแบบทวารวดี
          ในบริเวณลุุ่มแม่มล-นํ้าชี
                           ู
   การเริ่มต้นประดิษฐานพุทธศาสนาในภาคอีสาน
บ้านเมืองในสังคมสมัยทวารวดีในลุุ่มแม่มล-นํ้าชี
                                      ู
  เมืองฟาแดดสงยาง อ.กมลาไสย จ.กาฬสินธุ ์ เมืองเสมา
        ้
  อ.สูงเนน จ.นครราชสมา บานชทวน อ เขื่องใน จ.อุบลราชธาน
  อ สงเนิ น จ นครราชสีมา บ้านชีทวน อ.เของใน จ อบลราชธานี
  บ้านตาดทอง อ.เมือง จ.ยโสธร ฯลฯ
ลักษณะเด่นของผังเมืองในวัฒนธรรมสมัยทวารวดี คือ มีแนวคูนํ้าคัน
                                                      ู
ดินซ้อนสองชัน ซึ่งมีพบหลายแห่งทังในบริเวณแอ่งโคราช และแอ่ง
            ้                   ้
สกลนคร
ภาพวาดแผนผังเมืองเสมา อ.สูงเนิ น จ.นครราชสีมา
                         อ. ู       จ.
   ซึ่งเป็ นเมืองในสมัยทวารวดี ในลุ่มแม่นํ้ามูล
แนวคูนาคนดนของเมองโบราณสมยทวารวด
แนวคนําคันดนของเมองโบราณสมยทวารวด
แนวคน้าคนดินของเมืองโบราณสมัยทวารวดี
    นํ
     ที่มีพบหลายๆแห่งในภาคอีสาน
โบราณวัตถุสถานสมัยทวารวดีท่ีพบทังบริเวณภาคอีสาน
                                             ้
ส่่วนใหญ่่เป็ นสิ่ิงที่ีสร้างขึ้ ึ นใ ทธศาสนา นิิ กายเถรวาท เช่่น
     ใ                     ้ ในพุ
พระพมพดนเผา สถปเจดีย เสมาหิน
พระพิมพ์ดินเผา สถูปเจดย ์ เสมาหน
การประดิษฐานพระบรมสารีริกฐานไว้ภายในอุุโมงค์ใต้พ้ ืนดิน แล้วก่อพระเจดีย ์
           ฐ                 ฐ
ทับไว้ขางบนแบบที่พบที่เมืองจัมปาศรี ที่นาดูนนัน เป็ นพุทธประเพณี แบบดังเดิม
        ้                                     ้                       ้
ทเคยถอปฏบตมาตงแตสมยพุทธกาลในอนเดย ซึ่งเป็ นแดนเกิดพระพทธ
ที่เคยถือปฏิบติมาตังแต่สมัยพทธกาลในอินเดีย ซงเปนแดนเกดพระพุทธ
             ั     ้
ศาสนา และเจดียองค์นนมีความหมายว่าเป็ น “ พระมหาธาตุเจดี ย”
                 ์    ั้                                           ์
สถูปสําริดและผอบบรรจุ
 พระบรมสารีริกธาตที่นาดน
 พระบรมสารรกธาตุทนาดูน
ผอบบรรจุพระบรมสารีริกธาตุทงสามั้
ชันที่ซอนอยู่ในสถูปสําริด โดยเฉพาะ
  ้ ้
ภายในผอบทองคําได้พบวัสดุเป็ นก้อน
แข็ งคล้ายรัตนชาติ ซึ่งชาวบ้านเชื่อกัน
วาคอ พระบรมสารรกธาตุ
ว่าคือ “ พระบรมสารี ริกธาต ”
กลุ ใบเสมาศลาทรายสมยทวารวด สลกรูปสถูปเจดยจาลอง
กล่มใบเสมาศิลาทรายสมัยทวารวดี สลักรปสถปเจดียจาลอง
                                            ์ํ
          มีพบในหลายพื้นที่ในเขตภาคอีสาน
เสมาหินสมัยทวารวดีท่ีสลักเป็ นรูปสถูปเจดียทรงหม้อนํ้า
                                                  ์
  พบแถบจงหวดอุบลราชธาน                 ที่มีความหมายของการเป็ น
  พบแถบจังหวัดอบลราชธานี ยโสธร ทมความหมายของการเปน
ศิลาศักดิ์สิทธิ์ และยังเป็ นสัญลักษณ์ของการบูชาพระบรมสารีริกธาตุ
เสมาหิินสมัยทวารวดีี สัญลักษณ์ของศิิลาศักดิ์ิสิทธิ์ิ
                   ั            ั ั ์              ั
เพื่อกําหนดเขตพื้นที่ศกดิ์สิทธิ์ ที่เป็ นเขตสังฆกรรมที่บริเวณ
เพอกาหนดเขตพนทศกดสทธ ทเปนเขตสงฆกรรมทบรเวณ
                      ั
พระธาตุก่องข้าวน้อย บ้านตาดทอง จ.ยโสธร
ภาพสลักบนเสมาหิน
แสดงเรื่องราวในพุทธ
ประวัั
ป ติ และชาดก
ตามการรับรูของ
           ู้
พุทธศาสนิ กชนในสังคม
สมยทวารวดีี ที่ีรบอิิทธิิพล
   ั             ั
มาจากอินเดีย
เสมาหินสมัยทวารวดี สัญลักษณ์ของศิลาศักดิ์สิทธิ์
ปั กรอบเพิงหินเพื่อกําหนดพื้นที่ศกดิ์สิทธิ์ ที่เป็ นเขตสังฆกรรม
ปกรอบเพงหนเพอกาหนดพนทศกดสทธ ทเปนเขตสงฆกรรม
                                 ั
แบบอรัญวาสี หรือวัดป่ า ที่ภูพระบาท อ.บ้านผื อ จ.อุดรธานี
ร่องรอยสถูปเจดียท่ีพบบริเวณเมืองโบราณ
                                 ์
เมองฟาแดดสงยางมลกษณะของการเปนพระมหาธาตุเจดย
เมืองฟาแดดสงยางมีลกษณะของการเป็ นพระมหาธาตเจดีย ์ และ
        ้                 ั
เป็ นพื้นที่ศกดิ์สิทธิ์ตามคติพุทธศาสนาแบบเถรวาท
             ั
มการตกแตงสถูปเจดยดวยรูปปูนปน และมการสรางพระพมพอุทศถวาย
มีการตกแต่งสถปเจดียดวยรปปนปั้ น และมีการสร้างพระพิมพ์อทิศถวาย
                      ์ ้
     เป็ นพุทธบูชา และเพื่ออานิ สงส์ในการสืบอายุพระพุทธศาสนา
กุลาวกชาดก
เตมยชาดก
เตมียชาดก
     ์                                               ภริฑตชาดก
                                                     ภูรฑตชาดก
                                                         ั

ใบเสมาที่มีภาพสลักเล่าเรื่องในชาดก เพื่อสื่อความหมายถึงการสังสม
ใบเสมาทมภาพสลกเลาเรองในชาดก เพอสอความหมายถงการสงสม           ่
    และบําเพ็ญบุญบารมีที่นําไปสู่การเป็ นพระสัมมาสัมพุทธเจ้า
วฒนธรรมเขมร
              วฒนธรรม ขมร
              วัฒนธรรมเขมร
แพร่่อิทธิิพลมาถึึงชุมชนโบราณในบริิเวณภาคอีีสาน
                        โ     ใ
ตลอดทงลุมแมนาโขง แมนามูล และแมนาชีตงแต่
ตลอดทังล่ แม่นํ้าโขง แม่นํ้ามล และแมนาชตงแต
           ้                    และแม่นํ้าชตงแต
                                            ั้
ประมาณพทธศตวรรษที14 โดยเฉพาะวั
ประมาณพทธศตวรรษที่14 – 18 โดยเฉพาะวัฒนธรรม
ประมาณพุทธศตวรรษท
              ธศตวรรษท        โดยเฉพาะวฒนธรรม
                                         วฒนธรรม
ที่เนื่ องในศาสนาฮินดูและพุทธศาสนานิ กายมหายาน
         งในศาสนาฮิ ู ละพุุ
อีสานสมัยวัฒนรรมแบบเขมร
  เมื่อถึงประมาณพุทธศตวรรษที่ 14 – 18 อิทธิพลวัฒนธรรม
                       ุ
เขมรจากเมืองพระนคร แพร่เข้ามาสู่บริเวณภาคอีสาน
ตลอดทังลุ่มแม่นํ้าโ แม่น้ํามูล และแม่น้ําชี
          ้           โขง
   มีการสร้างเทวาลัยเพื่อการอทิศถวายเทพเจ้าตามคติใน
   มการสรางเทวาลยเพอการอุทศถวายเทพเจาตามคตใน
ศาสนาฮินดูู และการสร้างวัดในพุทธศาสนานิ กายมหายาน
                                    ุ
ให้เป็ นพื้นที่ศกดิ์สิทธ์ที่มีความหมายว่าเป็ นศูนย์กลาง
                ั
จักรวาล และเป็ นศูนย์กลางชุมชน และเป็ นพื้นที่แห่งการ
สรางบุญกรยา ที่นําไปส่ ารหลุดพน คอนพพาน หรอ
สร้างบญกิริยา ทนาไปสูการหลดพ้น คอนิ พพาน หรือโมกษะ
                                       คือนพพาน หรอโมกษะ
เขาพนมบาแค็็ง/ยโศธรคีีรี ภูเขาศักดิิ์สิทธิ์ิกลางเมืืองพระนคร
                 โ              ั
  ศูนยกลางจกรวาลแหงเมองยโศธรปุร ปร เทศกมพูชา
  ศนย์กลางจักรวาลแห่งเมืองยโศธรประ ประเทศกัมพชา
 ได้รบการบูชาว่า เป็ นวิมานพระศิวะที่ตงอยู่บนเขาพระสุเมรุ
     ั                                 ั้
ปราสาทบากอง เมืองหริหราลัย/เสียมเรียบ มีฐานเป็ นชัน
               เมองหรหราลย/เสยมเรยบ มฐานเปนชน         ้
  เป็ นสัญลักษณ์เขาพระสุเมรุ ที่เป็ นศูนย์กลางจักรวาล
แผนที่แสดงเส้นทางโบราณในการเดินทางจากเมืองพระนคร/
แผนทแสดงเสนทางโบราณในการเดนทางจากเมองพระนคร/
   กัมพูชา เข้ามายังประเทศไทย และประเทศใกล้เคียง
ศิลาจารึกภาษาสันสกฤต
อายุราวพุทธสตวรรษที่
12-13 14-15 พบท อ.โขงเจยม จ.อุบลราชธาน บานดงเมองเตย
12 13 , 14 15 พบที่ อ โขงเจียม จ อบลราชธานี บ้านดงเมืองเตย  อ.คา
                                                            อ คํา
เขื่ อนแก้ว จ.ยโสธร และที่ อ.เขาสวนกวาง จ.ขอนแก่น มีพระนาม พระเจ้า
จิตรเสน / มเหนทรวรมัน อิทรวรมัน ยโศวรมัน หรรษวรมัน ทรงสร้างบุญ
กิริยาด้วยการสร้างเทวาลัยในศาสนาฮินดู และพระอารามในพุทธศาสนา
ประมาณพุทธศตวรรษที่ 14
                                             สมยพระเจาอนทรวรมน
                                             ส ั          จ้ ิ        ั
                                             วัฒนธรรมเขมรเข้าครอบครอง
                                             ถึงบริเวณลุ่มแม่นํ้ามูล แม่นํ้าชี
ปราสาทบ้านเมืองเตย อ.คําเขื่อนแก้ว จ.ยโสธร      ึ ื ศั ป ื ิ
                                             ถงเมองศงขปุระคอบรเวณ
                                             อ.มหาชนะชัย จ.ยโสธร จนถึง
                                             ราวพุทธศตวรรษที่ 17 ในสมัย
                                             พระเจ้าสุริยวรมันทีี่ 1 เทืือกเขา
                                                       ้          ั
                                             พนมรุงคือที่ตงต้นราชวงศ์
                                                    ุ้         ั้
                                             มหิธรปุระ โดยเรียกชื่อพื้นที่นน ั้
                                             ว่่า กษิิ ตีนทรคราม
        ปราสาทพนมรุง จ.บุรรมย์
                   ้      ีั
ประมาณพุทธศตวรรษที่ 16-
17 สมัยพระเจ้าหิิรณยวรมัน
         ั       ้ ั          ั
  และพระเทวหรณยลกษม
  และพระเทวีหิรณยลักษมี
                   ั
      วัฒนธรรมเขมรเข้า
  ครอบครองถึงบริเวณลุ่ม
แมนามูล แมนาช คือที่ตงต้น
แม่นํ้ามล แม่นํ้าชี คอทตงตนั้
 ราชวงศ์ มหิธรประ ที่เมือง
 ราชวงศ มหธรปุระ ทเมอง
กษิ ตีนทรคาม เชื้อพระวงศ์ท่ี
สืบต่อมาคือ กษิ ตินทราทิตย์
 สุริยวรมันที่ี 2 ชัยวรมันทีี่7
           ั         ั   ั
แนวคิดสําคัญในการสร้างปราสาท
           ในวัฒนธรรมเขมร
1.   สร้างปราสาทบนฐานเตี้ยๆ/บนพื้นที่ราบ
     สรางปราสาทบนฐานเตยๆ/บนพนทราบ
     เพื่ออทิศถวายบรรพบุรษ บรรพสตร
     เพออุทศถวายบรรพบรษ บรรพสตรีุ
2.   สร้างปราสาทบนฐานสง/บนภเขา เพื่ออทิศ
                       ฐ ู             ู       ุ
     ถวายเทพเจ้า หรือพระพุทธเจ้า
3.   ขุดสระนํ้า “ บาราย ” ให้มีความหมายว่า
     เป็็ นแหล่งนํ้าศักดิ์สิทธิ์ที่ไหลมาจากสวรรค์์
ปราสาทพระวหาร เทวลัยพระศิวะบนเขาพระสเมร
ปราสาทพระวิหาร เทวลยพระศวะบนเขาพระสุเมรุ
ศาสนบรรพตศักดิ์สิทธิ์ บนแนวเทือกเขาพนมดงรัก
จักรวาลมณฑล / ปั ญจบรรพตแห่งเขาพระสุเมรุ
            ป.พระวิหาร / ภวาลัยบรรพต (บนเทือกเขาพนมดงรัก)
                             เหนื อ

                                                  ป.วัดภู/
ป.พนมสันดัก/
  พนมสนดก/
  พนมสนดก                                         ลงคบรรพต
                                                   ึ
 พนมจิสอร์ ตก             เมืองยโศธรปุระ /    ออก
                            เมืองพระนคร             (เมืองจําปาสัก/ลาว)
                                                                   ลาว)
(ใ เมืองพระตะบอง,
 ใกล้ งพระตะบอง,        พนมบาแค็ง / ยโศ
        ศรีโสภณ )               ธรคีรี

                               ใต้
               ป.พนมกรอม/พนมบก (ใกล้กบตวลเลสาป)
                 พนมกรอม/            ั ตวลเลสาป)
องค์ศิวลึ งค์
รูปสญลกษณแทนองค
รปสัญลักษณ์แทนองค์
พระศิวะ/พระอิศวร
ตามคติในศาสนาฮินดู
หรอศาสนาพราหมณท่ี
  ื ศส            ์
ได้รบการสถาปนาเป็ น
    ั
ประธานประจําเทวาลัย
หรอปราสาทหนในลทธ
หรือปราสาทหินในลัทธิ
เทวราชาทุกแห่ง
ภููเขาในความหมายของ
        เขาพระสุเมรุ
        เขาพระสเมร
ที่เป็ นสัญลักษณ์ของศูนย์กลางจักรวาล
ตามคติในศาสนาฮินดู และพุทธศาสนา
ภููเขาในความหมายของ
  ศาสนบรรพตศักดิ์สิทธิ์
  ศาสนบรรพตศกดสทธ
ที่เป็ นสัญลักษณ์ของการเป็ นพื้ นที่ศกดิ์สิทธิ์
                                     ั
ซึ่งเป็ นศูนย์รวมอํานาจของเทพเจ้าตาม
ลัทธิเทวราชาคติในศาสนาฮินดู
แม่นํ้าในความหมายของ
      สายนํ้าศักดิ์สิทธิ์
      สายนาศกดสทธ
  คือชัยสินธุธาราที่ไหลมาจากสวรรค์
ในลักษณะของการเป็ นแม่นํ้าแห่งจักรวาล
สระนํ้ าที่มีความหมายถึงชัยสินธุธาราล้อมรอบปราสาทหินเมืองตํา
                                                           ่
ปราสาทวัดภู / เศรษฐปุระ / ลึงคบรรพต
สถาปนาขนโดยพระเจาเศรษฐวรมน แห่งอาณาจักรเจนละ
สถาปนาขึ้นโดยพระเจ้าเศรษฐวรมัน แหงอาณาจกรเจนละ
ปั จจุบนอยู่ในแขวงเมืองจําปาสัก สปป.ลาว
       ั
องค์ศิวลึ งค์ รูปสัญลักษณ์
   แทนองค์พระศิวะ /
         พระอศวร
         พระอิศวร
  ตามคติในศาสนาฮินดู หรือ
 ศาสนาพราหมณ์ ที่ได้รบการ
                      ั
  สถาปนาเปนประธานประจา
  สถาปนาเป็ นประธานประจํา
เทวาลัยในลัทธิเทวราชาทุกแห่ง
โบราณสถานดงเมืองเตย ที่ อ.คําเขื่ อนแก้ว จ.ยโสธร
เทวาลยศาสนาฮนดู ศูนยกลางจกรวาล ประจําเมืองศังขประ
เทวาลัยศาสนาฮินด ศนย์กลางจักรวาล ประจาเมองศงขปุระ
    แห่งอาณาจักรเจนละ อายุราวพุทธศตวรรษที่12 -13
ศลาจารก อาคารจาลองรูปกูฑ ศลาจาหลก
ศิลาจารึก อาคารจําลองรปกฑุ ศิลาจําหลัก
รูปกูฑ/บัญชร และส่วนยอดศิวลึงค์/รุทร
  ู ู ุ                           ุ
พบที่เทวาลัยบ้านดงเมืองเตย
ประติมากรรมรูปสิงห์ทวารบาล
   ที่เทวาลัยบ้านเมืองเตย
สญลกษณของผู ุ ้ ครองระหวาง
สัญลักษณ์ของผ้คมครองระหว่าง
แดนมนุษย์ กับต้นทางเข้าสู่แดน
 สวรรค์ คือป่ าหิมพานต์ และเขา
พระสเมรที่เป็ นศนย์กลางจักรวาล
พระสุเมรุทเปนศูนยกลางจกรวาล
ทับหลังสมัยก่อนเมืองพระนครแบบสมโบร์ไพรกุก / แบบถาราบริวตร    ั
    ิ ่ ป ั           ั ่ี ิ
เดมนาจะประดบเทวาลยทบรเวณภูหมาใน อ.โขงเจยม จ.อุบลราชธานี
                                  ใ โ ี                    ช
ซึ่งเป็ นเทวาลัยแบบเขมรในศาสนาฮินดูท่ีเก่าที่สดที่พบในประเทศไทย
                                              ุ
หอพระพิฆเณศ          หอพระอิศวร        หอพระนารายณ์

       ปราสาทบ้านเบญ และปราสาททองหลาง ท่ อ.เดชอดม
       ปราสาทบานเบญ                        ที อ.เดชอุดม
    มีความหมายว่าเป็ นเทวาลัยสถานศักดิ์สิทธิ์ในศาสนาฮินดู
ที่เป็ นศูนย์กลางจักรวาล และเป็ นหอสังเวยเทพเจ้าประจําเมือง
พระเจ้าชัยวรมันที่7
มหาราชองคสุดทายของรฐ
มหาราชองค์สดท้ายของรัฐ
กมพูชาโบราณ ผู รางปราสาท
กัมพชาโบราณ ผ้สร้างปราสาท
หินพิมาย และศาสนสถานอีก
หลายแห่งนัน พระองค์สืบเชื้อ
              ้
สายมาจากราชวงศ์มหิิธรปุระ
                        ์     ป
พระราชมารดาของพระองคคอ
พระราชมารดาของพระองค์คือ
พระเทวีชยราชจุุฑามณี เคยมี
            ั
ถิ่นที่อยู่อาศัยอยู่ที่เมืองวิมายะ หรือเมืองพิมาย มาก่อน
ศรีวเิ รนทราศรม




ปราสาทหินพิมาย ที่พระเจ้าชัยวรมันที่ 7 สร้างเป็ นพระอาราม
ปราสาทหนพมาย ทพร เจาชยวรมนท สรางเปนพร อาราม
ในพุทธศาสนา นิ กายมหายาน อุทิศส่วนกุศลแด่พระราชมารดา
อโรคยศาล / อโรคยศาลา
   โ          โ
พื้นที่แห่งการประกอบบุญกิริยาที่ย่ิ งใหญ่
         ของพระเจ้าชัยวรมันที่ 7
พระมหากษัตริยที่ได้รบการยกย่องให้เป็ นมหาราช
             ์      ั
  องค์สดท้ายแห่งราชอาณาจักรเขมรโบราณ
       ุ
จากจารกปราสาทตาพรหม
          จากจารึกปราสาทตาพรหม
พระเจ้าชัยวรมันที่7 ทรงนับถือพุทธศาสนาลัทธิมหายาน โดย
เชื่ือว่่าพระองค์คือ ”พระโพธิิสตว์” ที่ีจุติมาเป็ นพระมหากษัตริิย ์
                 ์       โ ั ์                 ป็           ั
ที่เป็ น “ ธรรมราชา” เพื่อมาช่วยสรรพสัตว์ ได้ขามสังสารวัฏ
ทเปน ธรรมราชา เพอมาชวยสรรพสตว ไดขามสงสารวฏ          ้
ให้พนทุกข์
       ้
ด้วยการสร้างบุญกิริยามหากุศลที่ยิ่งใหญ่ของพระองค์คือโปรด
ให้สร้าง “ อโรคยศาลา ” ให้เป็ นพระอาราม และเปนสถานท่
ใหสราง                     ใหเปนพระอาราม และเป็ นสถานที
ในการรักษาโรค จํานวน 102 แห่ง ในทุกย่านชุมชน ทัวพระ      ่
ราชอาณาจักร และบ้านเมืองในขอบขัณฑสีมา
อโรคยศาลที่มีพบศิลาจารึกในประเทศไทย
    เช่น ปราสาทหินโคกปราสาท จ.บุรีรมย์
                                     ั
        ปราสาทตาเมียนโต๊จ จ.สุรินทร์
          ปราสาทกู่แก้ว จ.ขอนแก่่น
          ป           ้
สาระสําคัญจากจารึกอโรคยศาล
1. กลาวบูชาพระไภษชยคุรไวฑูรยประภาตถาคต
1 กล่าวบชาพระไภษัชยครไวฑรยประภาตถาคต
                            ุ
2. กล่าวถึงความสนพระทัยของพระเจ้าชัยวรมันที่7 ที่มีต่อ
   กลาวถงความสนพระทยของพระเจาชยวรมนท7 ทมตอ
     ความทุกข์ในโรคภัยไข้เจ็บของประชาชน ที่นําไปสู่การ
                          ่
     สร้างอโรคยศาลไปทัวขอบขัณฑสีมา
3. กล่่าวถึึงจํานวนเจ้าหน้าที่ีต่างๆ เช่่น แพทย์์ พยาบาล
               ํ      ้ ้
     ผู รุงยา ผู ายยา
     ผ้ปรงยา ผ้จ่ายยา ฯลฯ
 4. กล่าวถึงการประกอบพิธีกรรมทางศาสนาที่อโรคยศาล
อโรคยศาล ป กู่ อ.ธวัชบุรี จ.ร้อยเอ็็ด
 โ       ปรางค์์    ั         ้
ปราสาทประธาน หรือสขตาลัย
                          หรอสุขตาลย
ที่หนหน้าไปทางทิศตะวันออก
    ั
อาคารบรรณาลัยหันหน้าไปทิศตะวันตก ภายในบริเวณอโรคยศาล
+
                                         บริเวณอาคารที่พกผูป่วย
                                                        ั ้                น


          1.อาคารสุขตาลัย
4.กําแพงแก้ว                                                      5.สระนํ้ า/บาราย



                       2.อาคารบรรณาลย
                       2 อาคารบรรณาลัย
                                                3.โคปุระ



                   ภาพวาดแผนผังบริเวณอโรคยศาล
               ที่สร้างตามคติพุทธศาสนา นิ กายมหายาน
พระไภษัชยคุรไวฑูรย
            ุ
ประภาตถาคตพุทธเจ้า
ตามคติพทธศาสนานิ กาย
         ุ
มหายาน คือพระพุทธเจ้าผู ้
เป็ นแพทย์ ทําหน้าที่รกษา
เปนแพทย ทาหนาทรกษา    ั
โรคภัยไข้เจ็บให้แก่สรรพ
สัตว์ทงหลาย ทรงถือผอบ
      ั้
โอสถหรืือสมุนไพรเพื่ือใ ใน
โ             ไ         ใช้้
การรกษาโรค
การรักษาโรค
พระโพธสตว
พระโพธิสตว์
         ั
วัชรปาณี ทรงครุฑ
               ุ
พบภายในอาคารบรรณาลัย
ของอโรคยศาล กู่แก้วอาจมี
ความหมายถงพุทธเทพแหง
ความหมายถึงพทธเทพแห่ง
แสงสว่างหรือผูให้กาเนิ ด
              ้ ํ
ชีวิต
ประติมากรรมศิลาทรายรูปพระยมทรงกระบือชื่อทุณพี
          เทพเจาแหงความตาย หรือลมปราณ
          เทพเจ้าแห่งความตาย หรอลมปราณ
ส่วนใหญ่พบภายในอาคารบรรณาลัยของอโรคยศาลกู่แก้ว
การประดิษฐานประติมากรรมรูปพระไวโรจนพุทธเจ้า สัญลักษณ์
ของแสงสว่่างและการเกิด กับรูปพระยมสัญลักษณ์แห่่งความตาย
                         ั          ั ั ์
   ไว้ค่กนในบรรณาลัยแห่งอโรคยศาล คือสัญลักษณ์ของ
        ู ั
    พลังสมดุลย์แห่งจักรวาลระหว่างการเกิด กับความตาย
โบราณสถานแบบเขมร
ในภาคตะวันออกเฉี ยงเหนื อของประเทศไทย
     ที่สร้างขึ้ นตามคติอโรคยศาล
ปราสาทนางรํา อ.ประทาย จ.นครราชสีมา
ปราสาทตาเหมืือนโต๊จ อ.พนมดงรัก จ.สุรินทร์์
ป                  โ ๊          ั
ปราสาทสระกาแพงนอย อ.เมือง จ.ศรสะเกษ
ปราสาทสระกําแพงน้อย อ.เมอง จ.ศรีสะเกษ
กู่พนนา อ.สว่างแดนดิน จ.สกลนคร
    ั
ปรางค์กู่ อ.ธวัชบุรี จ.ร้อยเอ็ด
                ฯลฯ
ปราสาทตาเมอน
ปราสาทตาเมือน /ธรรมศาลา สร้างตามแนวพระราชดําริ
                            สรางตามแนวพระราชดาร
พระเจ้าชัยวรมันที่ 7 ตามคติพุทธศาสนา นิ กายมหายาน
วัฒนธรรมแบบล้านช้าง
         วฒนธรรมแบบลานชาง
                        ้ ่           ่
 แพร่อิทธิพลครอบคลุมทังฝังซ้ายและฝังขวาลุ่มแม่น้ําโขง
          ตังแต่ราวพุทธศตวรรษที่ี 19 เป็ นต้นมา
            ้                         ป็ ้
โดยมี
โ ีพุทธศาสนานิิ กายเถรวาท แบบลังกา เป็ นศาสนา
                             แบบลัั ป็ นศาสนา
  หลักของชมชน
  หลกของชุมชน
อสานสมยวฒนรรมลานชางและอยุธยา
อีสานสมัยวัฒนรรมล้านช้างและอยธยา
        นับตังแต่่พุทธศตวรรษที่ี 19 เป็ นต้นมา พุทธศาสนา
            ั ั้                     ป็ ้
นิ กายเถรวาทจากลังกา ที่มีลกษณะเป็ นศาสนาของมหาชน
นกายเถรวาทจากลงกา ทมลกษณะเปนศาสนาของมหาชน
                                ั
ก็ได้รบการยอมรับอย่างแพร่หลายในราชอาณาจักรล้านช้าง
        ั
รวมทังในภาคอีสาน โดยมีการสร้างอานิ สงส์ดวยการสร้าง
          ้                                      ้ ยการสร้
พระมหาธาตุเจดย
พระมหาธาตเจดี
พระมหาธาตเจดีย ์
     มหาธาตุ
              ความหมายของพระมหาธาตุเจดีย ์ ตามคติพทธ   ุ
    ศาสนาเถรวาทแบบลังกา คือเจดียจุฬามณี ที่อยู่บนสวรรค์
                                         ์
    ชันดาวดึงส์ คือพื้นที่ศกดิ์สิทธิ์แห่งการแสวงบญ พื้นที่แห่ง
      ้                    ั                        ญ
                                                    ุ
    การข้ามสังสารวัฏ และการหลุดพ้น
คติการสร้างพระมหาธาตุุเจดีย ์
    ให้เป็ นศาสนสถานศักดิ์สิทธิ์
    ใหเปนศาสนสถานศกดสทธ
เปนศูนยกลางของบานของเมอง
เป็ นศนย์กลางของบ้านของเมือง
เป็ นความเชื่อตามคติในพทธศาสนา นิ กายเถรวาท
เปนความเชอตามคตในพุทธศาสนา นกายเถรวาท
         ที่มีตนแบบมาจากลังกา และให้อิทธิพลแก่
               ้
 พุทธศาสนิ กชนในภูมิภาคเอเชียตะวันออกเฉี ยงใต้
    ตังแต่่ราวพุทธศตวรรษที่ี 19 เป็ นต้นมา และเป็ น
      ั้                         ป็ ้          ป็
     ความเชื่อที่ได้รบการยอมรับมาจนถึงปั จจบัน
     ความเชอทไดรบการยอมรบมาจนถงปจจุบ
                     ั
การสร้างสิ่งศักดิ์สิทธิ์ตามคติในพุทธศาสนา
                                   ุ
นิ กายเถรวาท แบบลังกา ที่สําคัญมี 4 ประการ
1. การสร้างสถปเจดียท่ีประดิษฐาน
                 ู       ์     ฐ
   พระบรมสารีริกธาตุ และรวมถึงสถูปเจดีย ์
   ที่เกี่ยวกับพระพุทธองค์
2. การสร้างรอยพระพุทธบาท
            ้
3. การบชาต้นศรีมหาโพธิ์
   การบูชาตนศรมหาโพธ
4. การสร้างพระพุุทธรูปเป็ นพุุทธบูชา
                       ู          ู
การปรับเปลี่ ยนเทวาลัยในศาสนาฮินด
การปรบเปลยนเทวาลยในศาสนาฮนดู
   ที่เคยสร้างไว้ในวัฒนธรรมเขมร
   ทเคยสรางไวในวฒนธรรมเขมร
   และสถปเจดียโบราณที่ถกทงราง
   และสถูปเจดยโบราณทถูกทิ้งร้าง
                  ์
  ใหเปนสถูปเจดยในพุทธศาสนาในลกษณะของพระ
  ให้เป็ นสถปเจดียในพทธศาสนาในลักษณะของพระ
                  ์
  มหาธาตุเจดียท่ีเป็ นพื้นที่ศกดิ์สิทธิ์ท่ีเป็ นศูนย์กลาง
                ์             ั
ชุมชน เช่น :- พระธาตุพนม พระธาตุเชิงชุม พระ
              ธาตุพนขัน พระธาตุญาคู
                     ั
ในดินแดนแห่งราชอาณาจักรล้านช้าง
   รวมทังบริเวณภาคอีสานตอนบน
          ้
    เป็ นดินแดนแห่งพื้นที่ศกดิ์สิทธิ์
                           ั
ด้วยเป็ นที่ตงพระมหาธาตุเจดียอยู่ในหลายพื้นที่
             ั้              ์
แผนที่แสดงตําแหน่ งที่ตงองค์เจดียพระธาตุพนม
                                           ั้         ์
ในบริเวณที่แม่นํ้าสามสาย คือ แม่นํ้าโขง ลํานํ้ากํา และลํานํ้าเซบังไฟไหลมาบรรจบกันที่
                                                 ่               ้ ไฟไหลมาบรรจบกั
                          อําเภอธาตุพนม จังหวัดนครพนม
                             เภอธาตุ
                                จ.นครพนม
                                                       ประเทศสาธารณรัฐประชาธิปไตยประชาชนลาว
  ประเทศไทย



                                      พระธาตุพนม

                     ่
           ลํานํ้ ากํา




                         จ.มุกดาหาร
การปรับเทวาลัยให้เป็ น
หอพระ และปรับให้เป็ น
พระมหาธาตุเจดย
พระมหาธาตเจดีย ์
พระธาตุพนขัน
        ั
ผอบบรรจุใส่กระดูกคนตาย ที่พุทธศาสนิ กชนในสังคมไทย-ลาว นําไป
ฝงไวรอบๆกาแพงอโรคยศาล หรอปราสาทแบบเขมร ด้วยเชื่อว่า
ฝังไว้รอบๆกําแพงอโรคยศาล หรือปราสาทแบบเขมร ดวยเชอวา
วิญญาณบรรพบุรษจะได้พกพิงอยู่ในพุทธสถานที่ศกดิ์สิทธิ์
               ุ      ั                     ั
การสร้าง“ตํานาน”ผ่านโบราณวัตถุสถาน เพื่อ
                              ุ
    อธิบายความเป็ นมาของบรรพชน
ผูคนในท้องถิ่นที่ “มีชีวิต”อยู่ในช่วงระยะเวลาที่ยอนไปไม่ไกล ได้สร้าง
  ้                                               ้
     ตํานานเล่าเรื่องโบราณสถานที่ถกทิ้ งร้างอยู่ในแต่ละท้องถิ่นให้มี
                                       ู
    ความสัมพันธ์เข้ากับคนในท้องถิ่น เพื่อแสดงถึงการมีอย่ของผ้คนที่
    ความสมพนธเขากบคนในทองถน เพอแสดงถงการมอยู องผู นท
 เป็ นบรรพบุรษ ว่าเป็ นกลุ่มคนที่มีวฒนธรรม และมีประวัติศาสตร์การ
              ุ                      ั
          ตังถิ่นฐานมาแล้วในอดีตที่ยอนไปได้อย่างยาวนาน
            ้                            ้
พระธาตุภเู พ็ก จ.สกลนคร


                                                                                พระธาตุนารายณ์์เจงเวง
                                                                                     จ.สกลนคร


พระธาตุพนม จ.นครพนม




                                                                                 พระธาตุเชิงชุม     จ.
                                                              พระพุทธบาทบวบกั          สกลนคร
              พระธาตุขามแก่น   จ.   พระธาตุบงพวน
                                            ั        จ.
                                                                 จ.อุดรธานี
                    ขอนแก่น              หนองคาย
“ เมืองจัมปาศรี ” เมืองในวัฒนธรรมเขมร-ลาว
ชื่อเมืองจัมปาศรีในตํานาน มีโครงเรื่องหลักอธิบายถึงกลุ่มราชวงศ์
ชนเผ่าลาวจากเมืองจําปาศักดิ์ ที่สืบเชื้อสายมาจากอาณาจักรเขมร
ชนเผาลาวจากเมองจาปาศกด ทสบเชอสายมาจากอาณาจกรเขมร
โบราณ พากันมาสร้างเมือง ชื่อ “นครจัมปาศรี” อยู่ท่ีบริเวณท้อง
ทุ่งริมทะเลสาบที่มีความอุดมสมบูรณ์
ภาพวาดลายเส้นเจดียพระธาตุพนม
                  ์
 แสดงการสรางซอนทบหลายครง
  ส     ส้ ้ ั             ั้



1.ปราสาท-เทวาลัย
   ศาสนาฮินดู




2. อูบมุง-หอพระ      3.พระมหาธาตุเจดีย ์
พระธาตุพนม
ทิพยปัทม                           (กอนบูรณะ)
                                   (ก่อนบรณะ)
  (ดวงปลี / บัวเหลี่ยม)    ลายดอกไม้ทรงกลมประดับบน
                          สวนยอดเจดย ์ มความหมายถง
                            ่              ี ี            ึ
                          “ดอกมณฑารพ” ดอกไม้
                          ศักดิิ์สิทธิิ์จากสวรรค์ร่วงโปรยลง
                              ั                    ์ โป
                          มาเพื่อถวายเป็ นพุทธบูชา พระ
      ดอกมณฑารพ           อุรงคธาตุ
                                ั
                                ส่วนยอดเจดียเ์ ป็ นรูปดวงปลี
            พุทธวิมาน     หรือดอกบัวเหลี่ยม คือรูป
                          สัญลักษณ์ของ”ทิพยปั ทม”
                          หรือดอกบัวศักดิ์สิทธิ์ที่ประทับ
                          ขององค์อนาคตพทธเจ้าที่จะลง
                                               ุ
                          มาตรัสรูในกาลข้างหน้า
                                     ้
พระธาตุพนม
    พระมหาธาตเจดียท่ีประดิษฐาน
    พระมหาธาตุเจดยทประดษฐาน์
     พระบรมสารีริกธาตุส่วนที่เป็ น
               พระอุรงคธาตุ
                       ั
 และเป็ นพื้นที่ศกดิ์สิทธิ์แห่งการแสวงบญ
 และเปนพนทศกดสทธแหงการแสวงบุญ
                 ั
ของมหาชนมาตลอดระยะเวลาอันยาวนาน
ฉัตราวลี
                                พระธาตุพนม
                           (บูรณะ พ.ศ.2483- 2484)
                     ได้้ ี
                     ไ มการสร้้ างยอดเจดีย์ครอบยอดเจดีย์
                                         ี            ี
ลายพุ ขาวบณฑ
ลายพ่มขาวบณฑ
      ข้าวบิณฑ์
         วบิ         องค์ เดิม และเปลียนยอดเจดีย์ทรงดวง
                                       ่
                     ปลี ให้ เป็ นยอดฉัตรทีเ่ รียกว่ า “ฉัตรา
                     วลี”ตามคตินิยมแบบไทย ซึ่งเป็ น
                     สั ญลักษณ์ ของการเป็ น ธรรมิกราชา
                     สวนลายดอกมณฑารพ ไดเปลยนใหเปน
                     ส่ วนลายดอกมณฑารพ ได้ เปลียนให้ เป็ น่
                     ลายทรงพุ่มข้ าวบิณฑ์ ซึ่งเป็ นลวดลายที่
                     มีทมาจากเจดีย์ ทรงพุ่มข้้ าวบิิณฑ์ ทีี่
                        ี ี่        ี
                     ได้ รับการยกย่ องว่ าเป็ นเจดีย์ทความงาม
                                                       ี่
                     เป็ นยอดของศิลปะไทยสมัยสุ โขทัย
การสร้างความทรงจําใหม่
เกี่ยวกับโบราณวัตถุสถานของผูคนในปั จจุบน
                            ้          ั
มีการจัดงานประเพณี พิธีกรรมในบริเวณแหล่งโ
                           ใ            โบราณสถาน
อย่างหลากหลายเพื่อให้ชาวบ้านประกอบบญกิริยา ทงทาบุญบรจาค
อยางหลากหลายเพอใหชาวบานประกอบบุญกรยา ทังทําบญบริจาค
                                              ้
    ทาน เสี่ยงโชคปล่อยนก ปล่อยปลาเพื่อสะเดาะเคราะห์ ฯลฯ
มีการจัดแสดงแสง – เสียง เล่าเรื่องประวัติโบราณสถาน
       ในลักษณะของมหรสพเพื่อความบันเทิงใจ
ประวัติศาสตร์วัฒนธรรมอีสาน2

Contenu connexe

Tendances

วันสำคัญทางพระพุทธศาสนา
วันสำคัญทางพระพุทธศาสนาวันสำคัญทางพระพุทธศาสนา
วันสำคัญทางพระพุทธศาสนาThongsawan Seeha
 
8 3 สังคมและวัฒนธรรมไทย
8 3  สังคมและวัฒนธรรมไทย8 3  สังคมและวัฒนธรรมไทย
8 3 สังคมและวัฒนธรรมไทยMint NutniCha
 
Ptt อาณาจักรสูโขทัย
Ptt อาณาจักรสูโขทัยPtt อาณาจักรสูโขทัย
Ptt อาณาจักรสูโขทัยYim Wiphawan
 
ศาสนาเปรียบเทียบ (Comparative Religion) สังคมศึกษา ม.ปลาย
ศาสนาเปรียบเทียบ (Comparative Religion) สังคมศึกษา ม.ปลาย  ศาสนาเปรียบเทียบ (Comparative Religion) สังคมศึกษา ม.ปลาย
ศาสนาเปรียบเทียบ (Comparative Religion) สังคมศึกษา ม.ปลาย Bom Anuchit
 
ศิลปะไทย
ศิลปะไทยศิลปะไทย
ศิลปะไทยTonkao Limsila
 
ศาสนาอิสลาม
ศาสนาอิสลามศาสนาอิสลาม
ศาสนาอิสลามพัน พัน
 
พระพุทธศาสนา
พระพุทธศาสนาพระพุทธศาสนา
พระพุทธศาสนาPadvee Academy
 
07อาณาจักรอยุธยา
07อาณาจักรอยุธยา07อาณาจักรอยุธยา
07อาณาจักรอยุธยาJulPcc CR
 
ศาสนาอิสลาม
ศาสนาอิสลามศาสนาอิสลาม
ศาสนาอิสลามPadvee Academy
 
สังคม วัฒนธรรม และประเพณีไทย
สังคม วัฒนธรรม และประเพณีไทยสังคม วัฒนธรรม และประเพณีไทย
สังคม วัฒนธรรม และประเพณีไทยchickyshare
 
ศาสนากับการสร้างสรรค์งานดนตรีไทย
ศาสนากับการสร้างสรรค์งานดนตรีไทยศาสนากับการสร้างสรรค์งานดนตรีไทย
ศาสนากับการสร้างสรรค์งานดนตรีไทยSurin Keawkerd
 
อารยธรรมลุ่มแม่น้ำสินธุ(อินเดีย)
อารยธรรมลุ่มแม่น้ำสินธุ(อินเดีย)อารยธรรมลุ่มแม่น้ำสินธุ(อินเดีย)
อารยธรรมลุ่มแม่น้ำสินธุ(อินเดีย)พัน พัน
 
ศาสนาเปรียบเทียบ
ศาสนาเปรียบเทียบศาสนาเปรียบเทียบ
ศาสนาเปรียบเทียบthnaporn999
 
แผนวันสำคัญทางพระพุทธศาสนา
แผนวันสำคัญทางพระพุทธศาสนาแผนวันสำคัญทางพระพุทธศาสนา
แผนวันสำคัญทางพระพุทธศาสนาThongsawan Seeha
 
อารยธรรมจีนPdf
อารยธรรมจีนPdfอารยธรรมจีนPdf
อารยธรรมจีนPdfkruchangjy
 
เทศกาลและพิธีกรรมทางศาสนา
เทศกาลและพิธีกรรมทางศาสนาเทศกาลและพิธีกรรมทางศาสนา
เทศกาลและพิธีกรรมทางศาสนาCC Nakhon Pathom Rajabhat University
 
จิตวิทยาแนะแนวและการให้คำปรึกษา
จิตวิทยาแนะแนวและการให้คำปรึกษาจิตวิทยาแนะแนวและการให้คำปรึกษา
จิตวิทยาแนะแนวและการให้คำปรึกษาจารุวรรณ ชื่นใจชน
 
ศาสนาคริสต์
ศาสนาคริสต์ศาสนาคริสต์
ศาสนาคริสต์thnaporn999
 
ศาสนาคริสต์
ศาสนาคริสต์ศาสนาคริสต์
ศาสนาคริสต์Padvee Academy
 

Tendances (20)

วันสำคัญทางพระพุทธศาสนา
วันสำคัญทางพระพุทธศาสนาวันสำคัญทางพระพุทธศาสนา
วันสำคัญทางพระพุทธศาสนา
 
8 3 สังคมและวัฒนธรรมไทย
8 3  สังคมและวัฒนธรรมไทย8 3  สังคมและวัฒนธรรมไทย
8 3 สังคมและวัฒนธรรมไทย
 
Ptt อาณาจักรสูโขทัย
Ptt อาณาจักรสูโขทัยPtt อาณาจักรสูโขทัย
Ptt อาณาจักรสูโขทัย
 
ศาสนาเปรียบเทียบ (Comparative Religion) สังคมศึกษา ม.ปลาย
ศาสนาเปรียบเทียบ (Comparative Religion) สังคมศึกษา ม.ปลาย  ศาสนาเปรียบเทียบ (Comparative Religion) สังคมศึกษา ม.ปลาย
ศาสนาเปรียบเทียบ (Comparative Religion) สังคมศึกษา ม.ปลาย
 
ศิลปะไทย
ศิลปะไทยศิลปะไทย
ศิลปะไทย
 
ศาสนาอิสลาม
ศาสนาอิสลามศาสนาอิสลาม
ศาสนาอิสลาม
 
พระพุทธศาสนา
พระพุทธศาสนาพระพุทธศาสนา
พระพุทธศาสนา
 
07อาณาจักรอยุธยา
07อาณาจักรอยุธยา07อาณาจักรอยุธยา
07อาณาจักรอยุธยา
 
ศาสนาอิสลาม
ศาสนาอิสลามศาสนาอิสลาม
ศาสนาอิสลาม
 
สังคม วัฒนธรรม และประเพณีไทย
สังคม วัฒนธรรม และประเพณีไทยสังคม วัฒนธรรม และประเพณีไทย
สังคม วัฒนธรรม และประเพณีไทย
 
ศาสนากับการสร้างสรรค์งานดนตรีไทย
ศาสนากับการสร้างสรรค์งานดนตรีไทยศาสนากับการสร้างสรรค์งานดนตรีไทย
ศาสนากับการสร้างสรรค์งานดนตรีไทย
 
อารยธรรมลุ่มแม่น้ำสินธุ(อินเดีย)
อารยธรรมลุ่มแม่น้ำสินธุ(อินเดีย)อารยธรรมลุ่มแม่น้ำสินธุ(อินเดีย)
อารยธรรมลุ่มแม่น้ำสินธุ(อินเดีย)
 
ศาสนาเปรียบเทียบ
ศาสนาเปรียบเทียบศาสนาเปรียบเทียบ
ศาสนาเปรียบเทียบ
 
แผนวันสำคัญทางพระพุทธศาสนา
แผนวันสำคัญทางพระพุทธศาสนาแผนวันสำคัญทางพระพุทธศาสนา
แผนวันสำคัญทางพระพุทธศาสนา
 
อารยธรรมจีนPdf
อารยธรรมจีนPdfอารยธรรมจีนPdf
อารยธรรมจีนPdf
 
เทศกาลและพิธีกรรมทางศาสนา
เทศกาลและพิธีกรรมทางศาสนาเทศกาลและพิธีกรรมทางศาสนา
เทศกาลและพิธีกรรมทางศาสนา
 
จิตวิทยาแนะแนวและการให้คำปรึกษา
จิตวิทยาแนะแนวและการให้คำปรึกษาจิตวิทยาแนะแนวและการให้คำปรึกษา
จิตวิทยาแนะแนวและการให้คำปรึกษา
 
ศาสนาคริสต์
ศาสนาคริสต์ศาสนาคริสต์
ศาสนาคริสต์
 
ศาสนาคริสต์
ศาสนาคริสต์ศาสนาคริสต์
ศาสนาคริสต์
 
ศาสนาคริสต์
ศาสนาคริสต์ศาสนาคริสต์
ศาสนาคริสต์
 

Similaire à ประวัติศาสตร์วัฒนธรรมอีสาน2

ประวัติศาสตร์จีน
ประวัติศาสตร์จีนประวัติศาสตร์จีน
ประวัติศาสตร์จีนKittayaporn Changpan
 
หลักฐานทางประวัติศาสตร์
หลักฐานทางประวัติศาสตร์หลักฐานทางประวัติศาสตร์
หลักฐานทางประวัติศาสตร์Gob_duangkamon
 
หลักฐานทางประวัติศาสตร์
หลักฐานทางประวัติศาสตร์หลักฐานทางประวัติศาสตร์
หลักฐานทางประวัติศาสตร์Gob_duangkamon
 
หลักฐานทางประวัติศาสตร์
หลักฐานทางประวัติศาสตร์หลักฐานทางประวัติศาสตร์
หลักฐานทางประวัติศาสตร์Gob_duangkamon
 
หลักฐานทางประวัติศาสตร์
หลักฐานทางประวัติศาสตร์หลักฐานทางประวัติศาสตร์
หลักฐานทางประวัติศาสตร์ponderingg
 
การแบ่งยุคสมัยทางประวัติศาสตร์ ม.6.7 เลขที่4,10
การแบ่งยุคสมัยทางประวัติศาสตร์ ม.6.7 เลขที่4,10การแบ่งยุคสมัยทางประวัติศาสตร์ ม.6.7 เลขที่4,10
การแบ่งยุคสมัยทางประวัติศาสตร์ ม.6.7 เลขที่4,10mintmint2540
 
สังคม ม.6.7 เลขที่4,10
สังคม ม.6.7 เลขที่4,10สังคม ม.6.7 เลขที่4,10
สังคม ม.6.7 เลขที่4,10mintmint2540
 
การแบ่งยุคสมัยทางประวัติศาสตร์ ม.6.7 เลขที่ 4,10
การแบ่งยุคสมัยทางประวัติศาสตร์ ม.6.7 เลขที่ 4,10การแบ่งยุคสมัยทางประวัติศาสตร์ ม.6.7 เลขที่ 4,10
การแบ่งยุคสมัยทางประวัติศาสตร์ ม.6.7 เลขที่ 4,10mintmint2540
 
การแบ่งยุคสมัยทางประวัติศาสตร์ ม.6.7 เลขที่4,10
การแบ่งยุคสมัยทางประวัติศาสตร์ ม.6.7 เลขที่4,10การแบ่งยุคสมัยทางประวัติศาสตร์ ม.6.7 เลขที่4,10
การแบ่งยุคสมัยทางประวัติศาสตร์ ม.6.7 เลขที่4,10mintmint2540
 
เรื่องที่ 2 ยุคสมัยทางประวัติศาสตร์
เรื่องที่ 2 ยุคสมัยทางประวัติศาสตร์เรื่องที่ 2 ยุคสมัยทางประวัติศาสตร์
เรื่องที่ 2 ยุคสมัยทางประวัติศาสตร์numattapon
 
หลักฐานทางประวัติศาสตร์
หลักฐานทางประวัติศาสตร์หลักฐานทางประวัติศาสตร์
หลักฐานทางประวัติศาสตร์Pannaray Kaewmarueang
 
ถ้ำโม่เกาเมืองตุนหวง
ถ้ำโม่เกาเมืองตุนหวงถ้ำโม่เกาเมืองตุนหวง
ถ้ำโม่เกาเมืองตุนหวงSRINAKARIN MOTHER PRINCESS SCHOOL
 

Similaire à ประวัติศาสตร์วัฒนธรรมอีสาน2 (20)

Art
ArtArt
Art
 
ประวัติศาสตร์จีน
ประวัติศาสตร์จีนประวัติศาสตร์จีน
ประวัติศาสตร์จีน
 
หลักฐานทางประวัติศาสตร์
หลักฐานทางประวัติศาสตร์หลักฐานทางประวัติศาสตร์
หลักฐานทางประวัติศาสตร์
 
หลักฐานทางประวัติศาสตร์
หลักฐานทางประวัติศาสตร์หลักฐานทางประวัติศาสตร์
หลักฐานทางประวัติศาสตร์
 
หลักฐานทางประวัติศาสตร์
หลักฐานทางประวัติศาสตร์หลักฐานทางประวัติศาสตร์
หลักฐานทางประวัติศาสตร์
 
หลักฐานทางประวัติศาสตร์
หลักฐานทางประวัติศาสตร์หลักฐานทางประวัติศาสตร์
หลักฐานทางประวัติศาสตร์
 
Unit2 การสร้างสรรค์อารยธรรม
Unit2 การสร้างสรรค์อารยธรรมUnit2 การสร้างสรรค์อารยธรรม
Unit2 การสร้างสรรค์อารยธรรม
 
3.4 อารยธรรมกรีก
3.4 อารยธรรมกรีก3.4 อารยธรรมกรีก
3.4 อารยธรรมกรีก
 
อารยธรรมจีน
อารยธรรมจีน อารยธรรมจีน
อารยธรรมจีน
 
3.4 อารยธรรมกร ก
3.4 อารยธรรมกร ก3.4 อารยธรรมกร ก
3.4 อารยธรรมกร ก
 
G8 field trip (compress)
G8 field trip (compress)G8 field trip (compress)
G8 field trip (compress)
 
การแบ่งยุคสมัยทางประวัติศาสตร์ ม.6.7 เลขที่4,10
การแบ่งยุคสมัยทางประวัติศาสตร์ ม.6.7 เลขที่4,10การแบ่งยุคสมัยทางประวัติศาสตร์ ม.6.7 เลขที่4,10
การแบ่งยุคสมัยทางประวัติศาสตร์ ม.6.7 เลขที่4,10
 
สังคม ม.6.7 เลขที่4,10
สังคม ม.6.7 เลขที่4,10สังคม ม.6.7 เลขที่4,10
สังคม ม.6.7 เลขที่4,10
 
การแบ่งยุคสมัยทางประวัติศาสตร์ ม.6.7 เลขที่ 4,10
การแบ่งยุคสมัยทางประวัติศาสตร์ ม.6.7 เลขที่ 4,10การแบ่งยุคสมัยทางประวัติศาสตร์ ม.6.7 เลขที่ 4,10
การแบ่งยุคสมัยทางประวัติศาสตร์ ม.6.7 เลขที่ 4,10
 
การแบ่งยุคสมัยทางประวัติศาสตร์ ม.6.7 เลขที่4,10
การแบ่งยุคสมัยทางประวัติศาสตร์ ม.6.7 เลขที่4,10การแบ่งยุคสมัยทางประวัติศาสตร์ ม.6.7 เลขที่4,10
การแบ่งยุคสมัยทางประวัติศาสตร์ ม.6.7 เลขที่4,10
 
A2 thai-history
A2 thai-historyA2 thai-history
A2 thai-history
 
เรื่องที่ 2 ยุคสมัยทางประวัติศาสตร์
เรื่องที่ 2 ยุคสมัยทางประวัติศาสตร์เรื่องที่ 2 ยุคสมัยทางประวัติศาสตร์
เรื่องที่ 2 ยุคสมัยทางประวัติศาสตร์
 
หลักฐานทางประวัติศาสตร์
หลักฐานทางประวัติศาสตร์หลักฐานทางประวัติศาสตร์
หลักฐานทางประวัติศาสตร์
 
ถ้ำโม่เกาเมืองตุนหวง
ถ้ำโม่เกาเมืองตุนหวงถ้ำโม่เกาเมืองตุนหวง
ถ้ำโม่เกาเมืองตุนหวง
 
หนึ่ง
หนึ่งหนึ่ง
หนึ่ง
 

Plus de teacherhistory

คำสั่งแต่งตั้งคณะกรรมการศูนย์
คำสั่งแต่งตั้งคณะกรรมการศูนย์คำสั่งแต่งตั้งคณะกรรมการศูนย์
คำสั่งแต่งตั้งคณะกรรมการศูนย์teacherhistory
 
การพัฒนาการเรียนการสอนประวัติศาสตร์ โครงงาน
การพัฒนาการเรียนการสอนประวัติศาสตร์ โครงงานการพัฒนาการเรียนการสอนประวัติศาสตร์ โครงงาน
การพัฒนาการเรียนการสอนประวัติศาสตร์ โครงงานteacherhistory
 
กรณีพิพาทปราสาทพระวิหาร11
กรณีพิพาทปราสาทพระวิหาร11กรณีพิพาทปราสาทพระวิหาร11
กรณีพิพาทปราสาทพระวิหาร11teacherhistory
 
สอนโครงงาน1 [โหมดความเข้ากันได้]
สอนโครงงาน1 [โหมดความเข้ากันได้]สอนโครงงาน1 [โหมดความเข้ากันได้]
สอนโครงงาน1 [โหมดความเข้ากันได้]teacherhistory
 
กรณีพิพาทปราสาทพระวิหาร1
กรณีพิพาทปราสาทพระวิหาร1กรณีพิพาทปราสาทพระวิหาร1
กรณีพิพาทปราสาทพระวิหาร1teacherhistory
 
การอสอนประวัติศาสตร์
การอสอนประวัติศาสตร์การอสอนประวัติศาสตร์
การอสอนประวัติศาสตร์teacherhistory
 

Plus de teacherhistory (6)

คำสั่งแต่งตั้งคณะกรรมการศูนย์
คำสั่งแต่งตั้งคณะกรรมการศูนย์คำสั่งแต่งตั้งคณะกรรมการศูนย์
คำสั่งแต่งตั้งคณะกรรมการศูนย์
 
การพัฒนาการเรียนการสอนประวัติศาสตร์ โครงงาน
การพัฒนาการเรียนการสอนประวัติศาสตร์ โครงงานการพัฒนาการเรียนการสอนประวัติศาสตร์ โครงงาน
การพัฒนาการเรียนการสอนประวัติศาสตร์ โครงงาน
 
กรณีพิพาทปราสาทพระวิหาร11
กรณีพิพาทปราสาทพระวิหาร11กรณีพิพาทปราสาทพระวิหาร11
กรณีพิพาทปราสาทพระวิหาร11
 
สอนโครงงาน1 [โหมดความเข้ากันได้]
สอนโครงงาน1 [โหมดความเข้ากันได้]สอนโครงงาน1 [โหมดความเข้ากันได้]
สอนโครงงาน1 [โหมดความเข้ากันได้]
 
กรณีพิพาทปราสาทพระวิหาร1
กรณีพิพาทปราสาทพระวิหาร1กรณีพิพาทปราสาทพระวิหาร1
กรณีพิพาทปราสาทพระวิหาร1
 
การอสอนประวัติศาสตร์
การอสอนประวัติศาสตร์การอสอนประวัติศาสตร์
การอสอนประวัติศาสตร์
 

ประวัติศาสตร์วัฒนธรรมอีสาน2