SlideShare une entreprise Scribd logo
1  sur  50
การเปลี่ยนแปลงของภูมิอากาศโลก Climate Change โดย อ.ตติยา  ใจบุญ ส่วนวิชาการ ศูนย์วิทยาศาสตร์เพื่อการศึกษา
ภูมิอากาศบรรพกาล   Paleoclimate อุณหภูมิเฉลี่ยของโลกในยุคต่างๆ =   การสูญพันธุ์ครั้งใหญ่ของสิ่งมีชีวิต
วิธีการศึกษาภูมิอากาศบรรพกาล ,[object Object],[object Object],[object Object],[object Object],[object Object],[object Object],[object Object],Paleoclimatology = the study of past climates .
ซากดึกดำบรรพ์ และซากสิ่งมีชีวิตขนาดเล็ก   fossil   and m icrobial life ฟอแรมเป็นโพรโทซัวที่มีเปลือกแข็งเป็นสารปูน  calcium carbonate   CaCO 3 ไดอะทอมเป็นสาหร่ายที่มีเปลือกแข็งเป็นสารซิลิกา  silicon dioxide SiO 2 www . sudipan . net /phpBB2/files/diatom.jpg  http :// serc . carleton . edu : 80 / images / microbelife / topics / proxies / foraminefera . jpg
วงปี  tree rings ,[object Object],[object Object],[object Object]
แท่งหิน และแท่งตะกอน   rock core and sediment core http :// serc . carleton . edu / details / images / 6683 . html ,[object Object],[object Object],[object Object]
แท่งน้ำแข็ง   ice core http :// www . csa . com / news / csa - news . php?SID = t7vbajfnhrmhand85r3q30ul15
สิ่งที่แท่งน้ำแข็งเก็บรักษาไว้ ,[object Object],[object Object],[object Object],[object Object],[object Object]
ออกซิเจนไอโซโทป   Oxygen-16 and Oxygen-18 isotopes ,[object Object],O - 18 = heavy oxygen  O - 16   = light oxygen   ระเหยง่าย พอออกซิเจนทั้งสองระเหยขึ้นไปในบรรยากาศ จะกลายเป็นหิมะ เป็นฝนตกลงมา
ออกซิเจนไอโซโทปเมื่อโลกร้อน ,[object Object],[object Object],[object Object],[object Object],[object Object]
สาเหตุที่ทำให้ภูมิอากาศโลกมีการเปลี่ยนแปลง ,[object Object],[object Object],[object Object],[object Object],[object Object]
การเปลี่ยนแปลงของอุณหภูมิโลกบางช่วงเวลา จากการระเบิดของภูเขาไฟ Spencer, 2003 0.5  0  ซ 13.30  ล้านตัน 1991 พินาตูโบ 0.2  0  ซ 12  ล้านตัน 1982 เอลชิชอน 0.1  0  ซ ปานกลาง 1980 เซนต์เฮเลนส์ 0.3  0  ซ 55  ล้านตัน 1883 กรากะตัว 0.4-0.7  0  ซ 150  ล้านตัน 1815 แทมบอรา อุณหภูมิโลกลดลง ปริมาณเถ้าธุลีและก๊าซที่พ่นออกมา ปีที่ระเบิด ( ค . ศ .) ภูเขาไฟ
ทฤษฎีมิลานโควิทช์  ( Milankovitch Theory ) ,[object Object],[object Object],[object Object],[object Object]
วงโคจรของโลกรอบดวงอาทิตย์เปลี่ยนแปลงขนาดความรี eccentricity วงโคจรของโลกรอบดวงอาทิตย์เปลี่ยนแปลงขนาดความรี  ( รีมาก - รีน้อย )  เป็นวงรอบประมาณ  100 , 000  ปี  เมื่อโลกเข้าใกล้ดวงอาทิตย์อุณหภูมิก็จะสูงขึ้น  เมื่อโลกอยู่ไกลอุณหภูมิก็จะต่ำลง
แกนหมุนของโลกส่าย  Precession of the equinoxes แกนหมุนของโลกส่าย   เป็นวงคล้ายลูกข่าง  รอบละเฉลี่ยประมาณ  23 , 000  ปี  ทำให้แต่ละพื้นที่ของโลกได้รับพลังงานจากดวงอาทิตย์ไม่เท่ากัน  ในช่วงเวลาเดียวกันของแต่ละปี
แกนของโลกเอียงทำมุมกับระนาบของวงโคจรรอบดวงอาทิตย์เปลี่ยนกลับไปกลับมา แกนของโลกเอียงทำมุมระหว่าง  21.5-24.5  องศา  กลับไปกลับมา ในคาบเวลา  41 , 000  ปี  แกนของโลกเอียงเป็นสาเหตุทำให้เกิดฤดูกาล  ปัจจุบันแกนของโลกเอียง  23.5  องศา  หากแกนของโลกเอียงมากขึ้น  ก็จะทำให้ขั้วโลกได้รับแสงอาทิตย์มากขึ้นในฤดูร้อนและน้อยลงในฤดูหนาว  ซึ่งมีผลทำให้ฤดูร้อนและฤดูหนาวมีอุณหภูมิแตกต่างกันมากขึ้น
ปรากฏการณ์เรือนกระจก และภาวะโลกร้อน  (Greenhouse effect  and Global Warming)
ปรากฏการณ์เรือนกระจก   ( greenhouse effect)   ,[object Object]
ภาวะโลกร้อน   ( Global Warming)   ,[object Object],[object Object]
วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี กับ ภาวะโลกร้อน ,[object Object],[object Object],[object Object],[object Object],[object Object]
รังสีดวงอาทิตย์ ,[object Object],[object Object],[object Object],[object Object],[object Object]
รังสีดวงอาทิตย์ สั้นที่สุด ยาวที่สุด รังสีที่มองเห็นได้
ชนิดของรังสีดวงอาทิตย์ที่ลงสู่พื้นโลก ,[object Object],[object Object],[object Object],[object Object]
การดูดกลืนและการสะท้อนกลับของรังสีอินฟราเรด
ก๊าซเรือนกระจก   ( greenhouse gas)   ,[object Object],[object Object]
ก๊าซเรือนกระจก   ( greenhouse gas)   ,[object Object],[object Object],[object Object],[object Object],[object Object],[object Object]
[object Object]
การดูดกลืนรังสีช่วงคลื่นต่างๆของก๊าซต่างๆ
ก๊าซ คาร์บอนไดออกไซด์   (CO 2 ) ,[object Object],[object Object],ส่งผลให้โลกร้อนขึ้น   57 %
CO 2   ดูดซับรังสีอินฟราเรดไว้ IR  มาก IR  น้อยลง CO 2 ยิ่งมี  CO 2   มาก ยิ่งมีรังสีอินฟราเรดมาก  มีความร้อนมาก
การหมุนเวียนของคาร์บอน
ก๊าซมีเทน   (CH 4 ) 1.  จากแหล่งธรรมชาติ เช่น จากการย่อยสลายของสิ่งมีชีวิต การเผาไหม้ที่เกิดจากธรรมชาติ 2.  จากมนุษย์ เช่น จากนาข้าว   แหล่งน้ำท่วม   จากการเผาไหม้เชื้อเพลิง ประเภทถ่านหิน น้ำมัน และก๊าซธรรมชาติ   ส่งผลให้โลกร้อนขึ้น   12 %
ก๊าซไนตรัสออกไซด์   (N 2 O) ส่งผลให้โลกร้อนขึ้น   6 % ,[object Object],[object Object],[object Object],[object Object]
ก๊าซที่มีส่วนประกอบคลอโรฟลูออโรคาร์บอน   (CFCs) ,[object Object],ที่มา  http:// www.aksorn.com/lib/libshow.asp?sid =148&sara=&level =  ส่งผลให้โลกร้อนขึ้น   25 %
ผลกระทบจากสภาวะโลกร้อน ,[object Object],[object Object],[object Object],[object Object],[object Object],[object Object],[object Object]
การละลายของน้ำแข็งทั่วโลก แอนตาร์กติก อาร์กติก เทือกเขาแอนดีส ทวีปอเมริกาใต้
ระดับน้ำทะเลสูงขึ้น
เกิดพายุหมุนที่มีความถี่มากขึ้น  และมีความรุนแรงมากขึ้นด้วย พายุ  Katrina  ถล่มนิวออร์ลีนส์  สหรัฐอเมริกา
บางบริเวณประสบกับ สภาวะแห้งแล้งอย่างไม่เคยมีมาก่อน
สิ่งมีชีวิตบางชนิดอาจสูญพันธุ์ ประชากรหมีขั้วโลกจะลดลง  30 %  ในปี ค . ศ .  2050
รูโอโซน   Ozone hole รูโอโซนที่ขั้วโลกใต้ เมื่อกันยายน  2006
การทำลายโอโซนด้วยสารคลอโรฟลูออโรคาร์บอน
เอลนีโญ  (El Nino) ,[object Object],[object Object]
ลานีญา –ภาวะปกติ - เอลนีโญ
เอนโซ  (ENSO) ,[object Object]
ความผันแปรของระบบอากาศในซีกโลกใต้ ,[object Object]
ลมสินค้า   (Trade wind) ,[object Object],[object Object]
ความสัมพันธ์ของลมสินค้าและกระแสน้ำ
กระแสน้ำในมหาสมุทร
การหมุนเวียนของกระแสน้ำอุ่นและกระแสน้ำเย็น

Contenu connexe

Tendances

สงครามโลกครั้งที่ 1
สงครามโลกครั้งที่ 1สงครามโลกครั้งที่ 1
สงครามโลกครั้งที่ 1Taraya Srivilas
 
รัฐเดี่ยว รัฐรวม
รัฐเดี่ยว รัฐรวมรัฐเดี่ยว รัฐรวม
รัฐเดี่ยว รัฐรวมthnaporn999
 
เหตุการณ์สำคัญในยุโรปสมัยกลาง
เหตุการณ์สำคัญในยุโรปสมัยกลางเหตุการณ์สำคัญในยุโรปสมัยกลาง
เหตุการณ์สำคัญในยุโรปสมัยกลางSherry Srwchrp
 
สงครามเย็น
สงครามเย็นสงครามเย็น
สงครามเย็นTaraya Srivilas
 
ส่วนประกอบของโลก
ส่วนประกอบของโลกส่วนประกอบของโลก
ส่วนประกอบของโลกพัน พัน
 
ลมฟ้าอากาศ บรรยากาศ
ลมฟ้าอากาศ บรรยากาศลมฟ้าอากาศ บรรยากาศ
ลมฟ้าอากาศ บรรยากาศSupaluk Juntap
 
การคำนวณกระจกเว้า
การคำนวณกระจกเว้าการคำนวณกระจกเว้า
การคำนวณกระจกเว้าsripai52
 
ตัวอย่างชื่อโครงงานวิทยาศาสตร์
ตัวอย่างชื่อโครงงานวิทยาศาสตร์ตัวอย่างชื่อโครงงานวิทยาศาสตร์
ตัวอย่างชื่อโครงงานวิทยาศาสตร์Jiraporn
 
เปรียบเทียบสงครามโลกครั้งที่ 1 และ 2
เปรียบเทียบสงครามโลกครั้งที่ 1 และ 2เปรียบเทียบสงครามโลกครั้งที่ 1 และ 2
เปรียบเทียบสงครามโลกครั้งที่ 1 และ 2Taraya Srivilas
 
บทที่3ทรัพยากรธรณีม 2
บทที่3ทรัพยากรธรณีม 2บทที่3ทรัพยากรธรณีม 2
บทที่3ทรัพยากรธรณีม 2Wichai Likitponrak
 
การลำเลียงน้ำและอาหารของพืช
การลำเลียงน้ำและอาหารของพืชการลำเลียงน้ำและอาหารของพืช
การลำเลียงน้ำและอาหารของพืชThanyamon Chat.
 
โครงสร้างคลอโรพลาส
โครงสร้างคลอโรพลาสโครงสร้างคลอโรพลาส
โครงสร้างคลอโรพลาสOui Nuchanart
 
11.โครงสรา้งและหน้าที่ของราก ลำต้น ใบ ตอน2
11.โครงสรา้งและหน้าที่ของราก ลำต้น ใบ ตอน211.โครงสรา้งและหน้าที่ของราก ลำต้น ใบ ตอน2
11.โครงสรา้งและหน้าที่ของราก ลำต้น ใบ ตอน2Wichai Likitponrak
 
แรงและการเคลื่อนที่
แรงและการเคลื่อนที่แรงและการเคลื่อนที่
แรงและการเคลื่อนที่Supaluk Juntap
 
โครงสร้างและหน้าที่ของราก
โครงสร้างและหน้าที่ของรากโครงสร้างและหน้าที่ของราก
โครงสร้างและหน้าที่ของรากThanyamon Chat.
 

Tendances (20)

สงครามโลกครั้งที่ 1
สงครามโลกครั้งที่ 1สงครามโลกครั้งที่ 1
สงครามโลกครั้งที่ 1
 
รัฐเดี่ยว รัฐรวม
รัฐเดี่ยว รัฐรวมรัฐเดี่ยว รัฐรวม
รัฐเดี่ยว รัฐรวม
 
เหตุการณ์สำคัญในยุโรปสมัยกลาง
เหตุการณ์สำคัญในยุโรปสมัยกลางเหตุการณ์สำคัญในยุโรปสมัยกลาง
เหตุการณ์สำคัญในยุโรปสมัยกลาง
 
สงครามเย็น
สงครามเย็นสงครามเย็น
สงครามเย็น
 
ส่วนประกอบของโลก
ส่วนประกอบของโลกส่วนประกอบของโลก
ส่วนประกอบของโลก
 
ลมฟ้าอากาศ บรรยากาศ
ลมฟ้าอากาศ บรรยากาศลมฟ้าอากาศ บรรยากาศ
ลมฟ้าอากาศ บรรยากาศ
 
ชนิดของเมฆ
ชนิดของเมฆชนิดของเมฆ
ชนิดของเมฆ
 
การคำนวณกระจกเว้า
การคำนวณกระจกเว้าการคำนวณกระจกเว้า
การคำนวณกระจกเว้า
 
ดิน
ดินดิน
ดิน
 
ตัวอย่างชื่อโครงงานวิทยาศาสตร์
ตัวอย่างชื่อโครงงานวิทยาศาสตร์ตัวอย่างชื่อโครงงานวิทยาศาสตร์
ตัวอย่างชื่อโครงงานวิทยาศาสตร์
 
บทที่ 5 เอกภพ
บทที่ 5  เอกภพบทที่ 5  เอกภพ
บทที่ 5 เอกภพ
 
เปรียบเทียบสงครามโลกครั้งที่ 1 และ 2
เปรียบเทียบสงครามโลกครั้งที่ 1 และ 2เปรียบเทียบสงครามโลกครั้งที่ 1 และ 2
เปรียบเทียบสงครามโลกครั้งที่ 1 และ 2
 
บทที่3ทรัพยากรธรณีม 2
บทที่3ทรัพยากรธรณีม 2บทที่3ทรัพยากรธรณีม 2
บทที่3ทรัพยากรธรณีม 2
 
การลำเลียงน้ำและอาหารของพืช
การลำเลียงน้ำและอาหารของพืชการลำเลียงน้ำและอาหารของพืช
การลำเลียงน้ำและอาหารของพืช
 
บทที่1 บทนำ
บทที่1 บทนำบทที่1 บทนำ
บทที่1 บทนำ
 
โครงสร้างคลอโรพลาส
โครงสร้างคลอโรพลาสโครงสร้างคลอโรพลาส
โครงสร้างคลอโรพลาส
 
11.โครงสรา้งและหน้าที่ของราก ลำต้น ใบ ตอน2
11.โครงสรา้งและหน้าที่ของราก ลำต้น ใบ ตอน211.โครงสรา้งและหน้าที่ของราก ลำต้น ใบ ตอน2
11.โครงสรา้งและหน้าที่ของราก ลำต้น ใบ ตอน2
 
พลังงาน (Energy)
พลังงาน (Energy)พลังงาน (Energy)
พลังงาน (Energy)
 
แรงและการเคลื่อนที่
แรงและการเคลื่อนที่แรงและการเคลื่อนที่
แรงและการเคลื่อนที่
 
โครงสร้างและหน้าที่ของราก
โครงสร้างและหน้าที่ของรากโครงสร้างและหน้าที่ของราก
โครงสร้างและหน้าที่ของราก
 

En vedette

การเปลี่ยนแปลงเชิงภูมิศาสตร์บรรยากาศ
การเปลี่ยนแปลงเชิงภูมิศาสตร์บรรยากาศการเปลี่ยนแปลงเชิงภูมิศาสตร์บรรยากาศ
การเปลี่ยนแปลงเชิงภูมิศาสตร์บรรยากาศคุณครู กดชะกอน
 
ภูมิศาสตร์
ภูมิศาสตร์ภูมิศาสตร์
ภูมิศาสตร์Makiya Khompong
 
ภูมิศาสตร์
ภูมิศาสตร์ภูมิศาสตร์
ภูมิศาสตร์Makiya Khompong
 
กลางภาค ส42101 ม.5 docx
กลางภาค ส42101  ม.5 docxกลางภาค ส42101  ม.5 docx
กลางภาค ส42101 ม.5 docxthnaporn999
 
การเปลี่ยนแปลงเชิงภูมิศาสตร์ธรณี
การเปลี่ยนแปลงเชิงภูมิศาสตร์ธรณีการเปลี่ยนแปลงเชิงภูมิศาสตร์ธรณี
การเปลี่ยนแปลงเชิงภูมิศาสตร์ธรณีคุณครู กดชะกอน
 
ปฏิสัมพันธ์เชิงภูมิศาสตร์
ปฏิสัมพันธ์เชิงภูมิศาสตร์ ปฏิสัมพันธ์เชิงภูมิศาสตร์
ปฏิสัมพันธ์เชิงภูมิศาสตร์ Pikcolo Pik
 
1.12 สังคมไทย copy
1.12 สังคมไทย   copy1.12 สังคมไทย   copy
1.12 สังคมไทย copyKittayaporn Changpan
 
การใช้แผนที่
การใช้แผนที่การใช้แผนที่
การใช้แผนที่thnaporn999
 
บรรยากาศ
บรรยากาศบรรยากาศ
บรรยากาศkulruedee_chm
 
สอนเด็ก ม3
สอนเด็ก ม3สอนเด็ก ม3
สอนเด็ก ม3Sukanda Panpetch
 
World War I สงครามโลกครั้งที่ 1
World War I สงครามโลกครั้งที่ 1World War I สงครามโลกครั้งที่ 1
World War I สงครามโลกครั้งที่ 1Peeranat Lar
 
เครื่องมือทางภูมิศาสตร์
เครื่องมือทางภูมิศาสตร์เครื่องมือทางภูมิศาสตร์
เครื่องมือทางภูมิศาสตร์Penny Lighter
 
สงครามโลก เปรียบเทียบ แจก
สงครามโลก เปรียบเทียบ แจกสงครามโลก เปรียบเทียบ แจก
สงครามโลก เปรียบเทียบ แจกTaraya Srivilas
 
แนวข้อสอบวิชาเศรษฐศาสตร์ ม.๖
แนวข้อสอบวิชาเศรษฐศาสตร์ ม.๖แนวข้อสอบวิชาเศรษฐศาสตร์ ม.๖
แนวข้อสอบวิชาเศรษฐศาสตร์ ม.๖Makiya Khompong
 
บทเรียนสำเร็จรูป เรื่อง-แผนที่
บทเรียนสำเร็จรูป เรื่อง-แผนที่บทเรียนสำเร็จรูป เรื่อง-แผนที่
บทเรียนสำเร็จรูป เรื่อง-แผนที่ครูอ้อ วิรยา
 

En vedette (20)

การเปลี่ยนแปลงเชิงภูมิศาสตร์บรรยากาศ
การเปลี่ยนแปลงเชิงภูมิศาสตร์บรรยากาศการเปลี่ยนแปลงเชิงภูมิศาสตร์บรรยากาศ
การเปลี่ยนแปลงเชิงภูมิศาสตร์บรรยากาศ
 
02 global warming
02 global warming02 global warming
02 global warming
 
ภูมิศาสตร์
ภูมิศาสตร์ภูมิศาสตร์
ภูมิศาสตร์
 
ภูมิศาสตร์
ภูมิศาสตร์ภูมิศาสตร์
ภูมิศาสตร์
 
กลางภาค ส42101 ม.5 docx
กลางภาค ส42101  ม.5 docxกลางภาค ส42101  ม.5 docx
กลางภาค ส42101 ม.5 docx
 
การเปลี่ยนแปลงเชิงภูมิศาสตร์ธรณี
การเปลี่ยนแปลงเชิงภูมิศาสตร์ธรณีการเปลี่ยนแปลงเชิงภูมิศาสตร์ธรณี
การเปลี่ยนแปลงเชิงภูมิศาสตร์ธรณี
 
พลเมืองโลก
พลเมืองโลกพลเมืองโลก
พลเมืองโลก
 
ปฏิสัมพันธ์เชิงภูมิศาสตร์
ปฏิสัมพันธ์เชิงภูมิศาสตร์ ปฏิสัมพันธ์เชิงภูมิศาสตร์
ปฏิสัมพันธ์เชิงภูมิศาสตร์
 
Key vocabulary
Key vocabularyKey vocabulary
Key vocabulary
 
แผ่นดินไหว
แผ่นดินไหวแผ่นดินไหว
แผ่นดินไหว
 
1.12 สังคมไทย copy
1.12 สังคมไทย   copy1.12 สังคมไทย   copy
1.12 สังคมไทย copy
 
ส 32101 ม.5
ส 32101 ม.5ส 32101 ม.5
ส 32101 ม.5
 
การใช้แผนที่
การใช้แผนที่การใช้แผนที่
การใช้แผนที่
 
บรรยากาศ
บรรยากาศบรรยากาศ
บรรยากาศ
 
สอนเด็ก ม3
สอนเด็ก ม3สอนเด็ก ม3
สอนเด็ก ม3
 
World War I สงครามโลกครั้งที่ 1
World War I สงครามโลกครั้งที่ 1World War I สงครามโลกครั้งที่ 1
World War I สงครามโลกครั้งที่ 1
 
เครื่องมือทางภูมิศาสตร์
เครื่องมือทางภูมิศาสตร์เครื่องมือทางภูมิศาสตร์
เครื่องมือทางภูมิศาสตร์
 
สงครามโลก เปรียบเทียบ แจก
สงครามโลก เปรียบเทียบ แจกสงครามโลก เปรียบเทียบ แจก
สงครามโลก เปรียบเทียบ แจก
 
แนวข้อสอบวิชาเศรษฐศาสตร์ ม.๖
แนวข้อสอบวิชาเศรษฐศาสตร์ ม.๖แนวข้อสอบวิชาเศรษฐศาสตร์ ม.๖
แนวข้อสอบวิชาเศรษฐศาสตร์ ม.๖
 
บทเรียนสำเร็จรูป เรื่อง-แผนที่
บทเรียนสำเร็จรูป เรื่อง-แผนที่บทเรียนสำเร็จรูป เรื่อง-แผนที่
บทเรียนสำเร็จรูป เรื่อง-แผนที่
 

Similaire à Climate change2009

โลกร้อน
โลกร้อนโลกร้อน
โลกร้อนsudsanguan
 
การเปลี่ยนแปลงอุณหภูมิของโลก
การเปลี่ยนแปลงอุณหภูมิของโลกการเปลี่ยนแปลงอุณหภูมิของโลก
การเปลี่ยนแปลงอุณหภูมิของโลกdnavaroj
 
โครงงานวิทย์ งานคอม
โครงงานวิทย์  งานคอม โครงงานวิทย์  งานคอม
โครงงานวิทย์ งานคอม Aungkana Na Na
 
งานไอเอสที่ต้องใช้ส่งภายในอาทิตย์นี้สิ่งจำเป็น
งานไอเอสที่ต้องใช้ส่งภายในอาทิตย์นี้สิ่งจำเป็นงานไอเอสที่ต้องใช้ส่งภายในอาทิตย์นี้สิ่งจำเป็น
งานไอเอสที่ต้องใช้ส่งภายในอาทิตย์นี้สิ่งจำเป็นfocuswirakarn
 
โครงงานเรื่องภาวะโลกร้อน
โครงงานเรื่องภาวะโลกร้อนโครงงานเรื่องภาวะโลกร้อน
โครงงานเรื่องภาวะโลกร้อนsongpol
 
องค์ประกอบและการแบ่งชั้นบรรยากาศ
องค์ประกอบและการแบ่งชั้นบรรยากาศองค์ประกอบและการแบ่งชั้นบรรยากาศ
องค์ประกอบและการแบ่งชั้นบรรยากาศdnavaroj
 
อากาศภาค
อากาศภาคอากาศภาค
อากาศภาคPa'rig Prig
 
โครงสร้างบรรยากาศ
โครงสร้างบรรยากาศโครงสร้างบรรยากาศ
โครงสร้างบรรยากาศSunflower_aiaui
 
บรรยากาศ (Atmosphere)
บรรยากาศ (Atmosphere)บรรยากาศ (Atmosphere)
บรรยากาศ (Atmosphere)พัน พัน
 
9789740336686
97897403366869789740336686
9789740336686CUPress
 
โลกและการเปลี่ยนแปลง
โลกและการเปลี่ยนแปลงโลกและการเปลี่ยนแปลง
โลกและการเปลี่ยนแปลงnasanunwittayakom
 
โลกและการเปลี่ยนแปลง
โลกและการเปลี่ยนแปลงโลกและการเปลี่ยนแปลง
โลกและการเปลี่ยนแปลงkalita123
 
โครงงานวิทย์ (งานคอม)
โครงงานวิทย์ (งานคอม)โครงงานวิทย์ (งานคอม)
โครงงานวิทย์ (งานคอม)Aungkana Na Na
 
แผ่นดินไหว
แผ่นดินไหวแผ่นดินไหว
แผ่นดินไหวsangkom
 
โลกร้อน222
โลกร้อน222โลกร้อน222
โลกร้อน222sangkom
 
โลกร้อน222
โลกร้อน222โลกร้อน222
โลกร้อน222sangkom
 
พาวเวอร์พ้อยท์ภาวะโลกร้อน2
พาวเวอร์พ้อยท์ภาวะโลกร้อน2พาวเวอร์พ้อยท์ภาวะโลกร้อน2
พาวเวอร์พ้อยท์ภาวะโลกร้อน2sudsanguan
 

Similaire à Climate change2009 (20)

โลกร้อน
โลกร้อนโลกร้อน
โลกร้อน
 
การเปลี่ยนแปลงอุณหภูมิของโลก
การเปลี่ยนแปลงอุณหภูมิของโลกการเปลี่ยนแปลงอุณหภูมิของโลก
การเปลี่ยนแปลงอุณหภูมิของโลก
 
โครงงานวิทย์ งานคอม
โครงงานวิทย์  งานคอม โครงงานวิทย์  งานคอม
โครงงานวิทย์ งานคอม
 
งานไอเอสที่ต้องใช้ส่งภายในอาทิตย์นี้สิ่งจำเป็น
งานไอเอสที่ต้องใช้ส่งภายในอาทิตย์นี้สิ่งจำเป็นงานไอเอสที่ต้องใช้ส่งภายในอาทิตย์นี้สิ่งจำเป็น
งานไอเอสที่ต้องใช้ส่งภายในอาทิตย์นี้สิ่งจำเป็น
 
โครงงานเรื่องภาวะโลกร้อน
โครงงานเรื่องภาวะโลกร้อนโครงงานเรื่องภาวะโลกร้อน
โครงงานเรื่องภาวะโลกร้อน
 
องค์ประกอบและการแบ่งชั้นบรรยากาศ
องค์ประกอบและการแบ่งชั้นบรรยากาศองค์ประกอบและการแบ่งชั้นบรรยากาศ
องค์ประกอบและการแบ่งชั้นบรรยากาศ
 
อากาศภาค
อากาศภาคอากาศภาค
อากาศภาค
 
โครงสร้างบรรยากาศ
โครงสร้างบรรยากาศโครงสร้างบรรยากาศ
โครงสร้างบรรยากาศ
 
บรรยากาศ (Atmosphere)
บรรยากาศ (Atmosphere)บรรยากาศ (Atmosphere)
บรรยากาศ (Atmosphere)
 
Atmosphere
AtmosphereAtmosphere
Atmosphere
 
9789740336686
97897403366869789740336686
9789740336686
 
โลกและการเปลี่ยนแปลง
โลกและการเปลี่ยนแปลงโลกและการเปลี่ยนแปลง
โลกและการเปลี่ยนแปลง
 
โลกและการเปลี่ยนแปลง
โลกและการเปลี่ยนแปลงโลกและการเปลี่ยนแปลง
โลกและการเปลี่ยนแปลง
 
Physical geology 1 3
Physical geology 1 3Physical geology 1 3
Physical geology 1 3
 
28 feb07
28 feb0728 feb07
28 feb07
 
โครงงานวิทย์ (งานคอม)
โครงงานวิทย์ (งานคอม)โครงงานวิทย์ (งานคอม)
โครงงานวิทย์ (งานคอม)
 
แผ่นดินไหว
แผ่นดินไหวแผ่นดินไหว
แผ่นดินไหว
 
โลกร้อน222
โลกร้อน222โลกร้อน222
โลกร้อน222
 
โลกร้อน222
โลกร้อน222โลกร้อน222
โลกร้อน222
 
พาวเวอร์พ้อยท์ภาวะโลกร้อน2
พาวเวอร์พ้อยท์ภาวะโลกร้อน2พาวเวอร์พ้อยท์ภาวะโลกร้อน2
พาวเวอร์พ้อยท์ภาวะโลกร้อน2
 

Plus de Kobwit Piriyawat

แฟ้มสะสมผลงานดีเด่นระดับปริญญาเอก นายกอบวิทย์ พิริยะวัฒน์
แฟ้มสะสมผลงานดีเด่นระดับปริญญาเอก นายกอบวิทย์  พิริยะวัฒน์แฟ้มสะสมผลงานดีเด่นระดับปริญญาเอก นายกอบวิทย์  พิริยะวัฒน์
แฟ้มสะสมผลงานดีเด่นระดับปริญญาเอก นายกอบวิทย์ พิริยะวัฒน์Kobwit Piriyawat
 
แฟ้มสะสมงานการจัดการเรียนรู้ของครู นายกอบวิทย์ พิริยะวัฒน์
แฟ้มสะสมงานการจัดการเรียนรู้ของครู นายกอบวิทย์  พิริยะวัฒน์แฟ้มสะสมงานการจัดการเรียนรู้ของครู นายกอบวิทย์  พิริยะวัฒน์
แฟ้มสะสมงานการจัดการเรียนรู้ของครู นายกอบวิทย์ พิริยะวัฒน์Kobwit Piriyawat
 
P pt wpp สุราษฎร์ตอนที่5 ปรับวิถีการจัดการเรียนรู้่
P pt wpp สุราษฎร์ตอนที่5 ปรับวิถีการจัดการเรียนรู้่P pt wpp สุราษฎร์ตอนที่5 ปรับวิถีการจัดการเรียนรู้่
P pt wpp สุราษฎร์ตอนที่5 ปรับวิถีการจัดการเรียนรู้่Kobwit Piriyawat
 
P pt wpp สุราษฎร์ตอนที่4 เพิ่มโอกาสด้วย ict
P pt wpp สุราษฎร์ตอนที่4 เพิ่มโอกาสด้วย ictP pt wpp สุราษฎร์ตอนที่4 เพิ่มโอกาสด้วย ict
P pt wpp สุราษฎร์ตอนที่4 เพิ่มโอกาสด้วย ictKobwit Piriyawat
 
P pt wpp สุราษฎร์ตอนที่3 หลากกลเม็ดการสอนวิทย์
P pt wpp สุราษฎร์ตอนที่3 หลากกลเม็ดการสอนวิทย์P pt wpp สุราษฎร์ตอนที่3 หลากกลเม็ดการสอนวิทย์
P pt wpp สุราษฎร์ตอนที่3 หลากกลเม็ดการสอนวิทย์Kobwit Piriyawat
 
P pt wpp สุราษฎร์ตอนที่2 ก้าวสู่ครูในศตวรรษที่ 21
P pt wpp สุราษฎร์ตอนที่2 ก้าวสู่ครูในศตวรรษที่ 21P pt wpp สุราษฎร์ตอนที่2 ก้าวสู่ครูในศตวรรษที่ 21
P pt wpp สุราษฎร์ตอนที่2 ก้าวสู่ครูในศตวรรษที่ 21Kobwit Piriyawat
 
P pt wpp สุราษฎร์ตอนที่1 เตรียมพร้อมก่อนเรียนรู้
P pt wpp สุราษฎร์ตอนที่1 เตรียมพร้อมก่อนเรียนรู้P pt wpp สุราษฎร์ตอนที่1 เตรียมพร้อมก่อนเรียนรู้
P pt wpp สุราษฎร์ตอนที่1 เตรียมพร้อมก่อนเรียนรู้Kobwit Piriyawat
 
รูปแบบ/วิธีการนำสื่อการเรียนรู้ออนไลน์มาบูรณาการในการจัดการศึกษา โดยกอบวิทย์...
รูปแบบ/วิธีการนำสื่อการเรียนรู้ออนไลน์มาบูรณาการในการจัดการศึกษา  โดยกอบวิทย์...รูปแบบ/วิธีการนำสื่อการเรียนรู้ออนไลน์มาบูรณาการในการจัดการศึกษา  โดยกอบวิทย์...
รูปแบบ/วิธีการนำสื่อการเรียนรู้ออนไลน์มาบูรณาการในการจัดการศึกษา โดยกอบวิทย์...Kobwit Piriyawat
 
The evolution of science curriculum in the United States (Thai Version) โดย ก...
The evolution of science curriculum in the United States (Thai Version) โดย ก...The evolution of science curriculum in the United States (Thai Version) โดย ก...
The evolution of science curriculum in the United States (Thai Version) โดย ก...Kobwit Piriyawat
 
รายงานการเยี่ยมบ้านนักเรียน ครูกอบวิทย์ พิริยะวัฒน์
รายงานการเยี่ยมบ้านนักเรียน  ครูกอบวิทย์ พิริยะวัฒน์รายงานการเยี่ยมบ้านนักเรียน  ครูกอบวิทย์ พิริยะวัฒน์
รายงานการเยี่ยมบ้านนักเรียน ครูกอบวิทย์ พิริยะวัฒน์Kobwit Piriyawat
 
แฟ้มสะสมผลงานสมรรถนะครู นายกอบวิทย์ พิริยะวัฒน์
แฟ้มสะสมผลงานสมรรถนะครู นายกอบวิทย์  พิริยะวัฒน์แฟ้มสะสมผลงานสมรรถนะครู นายกอบวิทย์  พิริยะวัฒน์
แฟ้มสะสมผลงานสมรรถนะครู นายกอบวิทย์ พิริยะวัฒน์Kobwit Piriyawat
 
ปรับการเรียนเปลี่ยนการสอนด้วย Inspiring science
ปรับการเรียนเปลี่ยนการสอนด้วย Inspiring scienceปรับการเรียนเปลี่ยนการสอนด้วย Inspiring science
ปรับการเรียนเปลี่ยนการสอนด้วย Inspiring scienceKobwit Piriyawat
 
ปรับการเรียนเปลี่ยนการสอนด้วย Inspiring science
ปรับการเรียนเปลี่ยนการสอนด้วย Inspiring scienceปรับการเรียนเปลี่ยนการสอนด้วย Inspiring science
ปรับการเรียนเปลี่ยนการสอนด้วย Inspiring scienceKobwit Piriyawat
 
แบบฟอร์มแฟ้มสะสมผลงานนักเรียน 2555 โดยครูกอบวิทย์ พิริยะวัฒน์
แบบฟอร์มแฟ้มสะสมผลงานนักเรียน 2555 โดยครูกอบวิทย์ พิริยะวัฒน์แบบฟอร์มแฟ้มสะสมผลงานนักเรียน 2555 โดยครูกอบวิทย์ พิริยะวัฒน์
แบบฟอร์มแฟ้มสะสมผลงานนักเรียน 2555 โดยครูกอบวิทย์ พิริยะวัฒน์Kobwit Piriyawat
 
แผนผังวิเคราะห์การจัดการเรียนรู้ ว21101 วิทยาศาสตร์1 ครูกอบวิทย์ พิริยะวัฒน์
แผนผังวิเคราะห์การจัดการเรียนรู้ ว21101 วิทยาศาสตร์1 ครูกอบวิทย์ พิริยะวัฒน์แผนผังวิเคราะห์การจัดการเรียนรู้ ว21101 วิทยาศาสตร์1 ครูกอบวิทย์ พิริยะวัฒน์
แผนผังวิเคราะห์การจัดการเรียนรู้ ว21101 วิทยาศาสตร์1 ครูกอบวิทย์ พิริยะวัฒน์Kobwit Piriyawat
 
การเตรียมความพร้อมเพื่อรับการประเมินผลนักเรียนนานาชาติ (Pisa)
การเตรียมความพร้อมเพื่อรับการประเมินผลนักเรียนนานาชาติ (Pisa)การเตรียมความพร้อมเพื่อรับการประเมินผลนักเรียนนานาชาติ (Pisa)
การเตรียมความพร้อมเพื่อรับการประเมินผลนักเรียนนานาชาติ (Pisa)Kobwit Piriyawat
 
รูปแบบการจัดทำแผนการจัดการเรียนรู้รายวิชา ปรับปรุง 2555 ครูกอบวิทย์ พิริยะวัฒน์
รูปแบบการจัดทำแผนการจัดการเรียนรู้รายวิชา ปรับปรุง 2555 ครูกอบวิทย์ พิริยะวัฒน์รูปแบบการจัดทำแผนการจัดการเรียนรู้รายวิชา ปรับปรุง 2555 ครูกอบวิทย์ พิริยะวัฒน์
รูปแบบการจัดทำแผนการจัดการเรียนรู้รายวิชา ปรับปรุง 2555 ครูกอบวิทย์ พิริยะวัฒน์Kobwit Piriyawat
 
Partners in learning 2012 Report by Mr.Kobwit Piriyawat
Partners in learning 2012 Report by Mr.Kobwit PiriyawatPartners in learning 2012 Report by Mr.Kobwit Piriyawat
Partners in learning 2012 Report by Mr.Kobwit PiriyawatKobwit Piriyawat
 
Learning with ict, biotechnology issues mr.kobwit piriyawat
Learning with ict, biotechnology issues mr.kobwit piriyawatLearning with ict, biotechnology issues mr.kobwit piriyawat
Learning with ict, biotechnology issues mr.kobwit piriyawatKobwit Piriyawat
 
สอนวิทยาศาสตร์อย่างไร ให้สนุก โดยครูกอบวิทย์ พิริยะวัฒน์ ฉบับเผยแพร่
สอนวิทยาศาสตร์อย่างไร ให้สนุก โดยครูกอบวิทย์ พิริยะวัฒน์ ฉบับเผยแพร่สอนวิทยาศาสตร์อย่างไร ให้สนุก โดยครูกอบวิทย์ พิริยะวัฒน์ ฉบับเผยแพร่
สอนวิทยาศาสตร์อย่างไร ให้สนุก โดยครูกอบวิทย์ พิริยะวัฒน์ ฉบับเผยแพร่Kobwit Piriyawat
 

Plus de Kobwit Piriyawat (20)

แฟ้มสะสมผลงานดีเด่นระดับปริญญาเอก นายกอบวิทย์ พิริยะวัฒน์
แฟ้มสะสมผลงานดีเด่นระดับปริญญาเอก นายกอบวิทย์  พิริยะวัฒน์แฟ้มสะสมผลงานดีเด่นระดับปริญญาเอก นายกอบวิทย์  พิริยะวัฒน์
แฟ้มสะสมผลงานดีเด่นระดับปริญญาเอก นายกอบวิทย์ พิริยะวัฒน์
 
แฟ้มสะสมงานการจัดการเรียนรู้ของครู นายกอบวิทย์ พิริยะวัฒน์
แฟ้มสะสมงานการจัดการเรียนรู้ของครู นายกอบวิทย์  พิริยะวัฒน์แฟ้มสะสมงานการจัดการเรียนรู้ของครู นายกอบวิทย์  พิริยะวัฒน์
แฟ้มสะสมงานการจัดการเรียนรู้ของครู นายกอบวิทย์ พิริยะวัฒน์
 
P pt wpp สุราษฎร์ตอนที่5 ปรับวิถีการจัดการเรียนรู้่
P pt wpp สุราษฎร์ตอนที่5 ปรับวิถีการจัดการเรียนรู้่P pt wpp สุราษฎร์ตอนที่5 ปรับวิถีการจัดการเรียนรู้่
P pt wpp สุราษฎร์ตอนที่5 ปรับวิถีการจัดการเรียนรู้่
 
P pt wpp สุราษฎร์ตอนที่4 เพิ่มโอกาสด้วย ict
P pt wpp สุราษฎร์ตอนที่4 เพิ่มโอกาสด้วย ictP pt wpp สุราษฎร์ตอนที่4 เพิ่มโอกาสด้วย ict
P pt wpp สุราษฎร์ตอนที่4 เพิ่มโอกาสด้วย ict
 
P pt wpp สุราษฎร์ตอนที่3 หลากกลเม็ดการสอนวิทย์
P pt wpp สุราษฎร์ตอนที่3 หลากกลเม็ดการสอนวิทย์P pt wpp สุราษฎร์ตอนที่3 หลากกลเม็ดการสอนวิทย์
P pt wpp สุราษฎร์ตอนที่3 หลากกลเม็ดการสอนวิทย์
 
P pt wpp สุราษฎร์ตอนที่2 ก้าวสู่ครูในศตวรรษที่ 21
P pt wpp สุราษฎร์ตอนที่2 ก้าวสู่ครูในศตวรรษที่ 21P pt wpp สุราษฎร์ตอนที่2 ก้าวสู่ครูในศตวรรษที่ 21
P pt wpp สุราษฎร์ตอนที่2 ก้าวสู่ครูในศตวรรษที่ 21
 
P pt wpp สุราษฎร์ตอนที่1 เตรียมพร้อมก่อนเรียนรู้
P pt wpp สุราษฎร์ตอนที่1 เตรียมพร้อมก่อนเรียนรู้P pt wpp สุราษฎร์ตอนที่1 เตรียมพร้อมก่อนเรียนรู้
P pt wpp สุราษฎร์ตอนที่1 เตรียมพร้อมก่อนเรียนรู้
 
รูปแบบ/วิธีการนำสื่อการเรียนรู้ออนไลน์มาบูรณาการในการจัดการศึกษา โดยกอบวิทย์...
รูปแบบ/วิธีการนำสื่อการเรียนรู้ออนไลน์มาบูรณาการในการจัดการศึกษา  โดยกอบวิทย์...รูปแบบ/วิธีการนำสื่อการเรียนรู้ออนไลน์มาบูรณาการในการจัดการศึกษา  โดยกอบวิทย์...
รูปแบบ/วิธีการนำสื่อการเรียนรู้ออนไลน์มาบูรณาการในการจัดการศึกษา โดยกอบวิทย์...
 
The evolution of science curriculum in the United States (Thai Version) โดย ก...
The evolution of science curriculum in the United States (Thai Version) โดย ก...The evolution of science curriculum in the United States (Thai Version) โดย ก...
The evolution of science curriculum in the United States (Thai Version) โดย ก...
 
รายงานการเยี่ยมบ้านนักเรียน ครูกอบวิทย์ พิริยะวัฒน์
รายงานการเยี่ยมบ้านนักเรียน  ครูกอบวิทย์ พิริยะวัฒน์รายงานการเยี่ยมบ้านนักเรียน  ครูกอบวิทย์ พิริยะวัฒน์
รายงานการเยี่ยมบ้านนักเรียน ครูกอบวิทย์ พิริยะวัฒน์
 
แฟ้มสะสมผลงานสมรรถนะครู นายกอบวิทย์ พิริยะวัฒน์
แฟ้มสะสมผลงานสมรรถนะครู นายกอบวิทย์  พิริยะวัฒน์แฟ้มสะสมผลงานสมรรถนะครู นายกอบวิทย์  พิริยะวัฒน์
แฟ้มสะสมผลงานสมรรถนะครู นายกอบวิทย์ พิริยะวัฒน์
 
ปรับการเรียนเปลี่ยนการสอนด้วย Inspiring science
ปรับการเรียนเปลี่ยนการสอนด้วย Inspiring scienceปรับการเรียนเปลี่ยนการสอนด้วย Inspiring science
ปรับการเรียนเปลี่ยนการสอนด้วย Inspiring science
 
ปรับการเรียนเปลี่ยนการสอนด้วย Inspiring science
ปรับการเรียนเปลี่ยนการสอนด้วย Inspiring scienceปรับการเรียนเปลี่ยนการสอนด้วย Inspiring science
ปรับการเรียนเปลี่ยนการสอนด้วย Inspiring science
 
แบบฟอร์มแฟ้มสะสมผลงานนักเรียน 2555 โดยครูกอบวิทย์ พิริยะวัฒน์
แบบฟอร์มแฟ้มสะสมผลงานนักเรียน 2555 โดยครูกอบวิทย์ พิริยะวัฒน์แบบฟอร์มแฟ้มสะสมผลงานนักเรียน 2555 โดยครูกอบวิทย์ พิริยะวัฒน์
แบบฟอร์มแฟ้มสะสมผลงานนักเรียน 2555 โดยครูกอบวิทย์ พิริยะวัฒน์
 
แผนผังวิเคราะห์การจัดการเรียนรู้ ว21101 วิทยาศาสตร์1 ครูกอบวิทย์ พิริยะวัฒน์
แผนผังวิเคราะห์การจัดการเรียนรู้ ว21101 วิทยาศาสตร์1 ครูกอบวิทย์ พิริยะวัฒน์แผนผังวิเคราะห์การจัดการเรียนรู้ ว21101 วิทยาศาสตร์1 ครูกอบวิทย์ พิริยะวัฒน์
แผนผังวิเคราะห์การจัดการเรียนรู้ ว21101 วิทยาศาสตร์1 ครูกอบวิทย์ พิริยะวัฒน์
 
การเตรียมความพร้อมเพื่อรับการประเมินผลนักเรียนนานาชาติ (Pisa)
การเตรียมความพร้อมเพื่อรับการประเมินผลนักเรียนนานาชาติ (Pisa)การเตรียมความพร้อมเพื่อรับการประเมินผลนักเรียนนานาชาติ (Pisa)
การเตรียมความพร้อมเพื่อรับการประเมินผลนักเรียนนานาชาติ (Pisa)
 
รูปแบบการจัดทำแผนการจัดการเรียนรู้รายวิชา ปรับปรุง 2555 ครูกอบวิทย์ พิริยะวัฒน์
รูปแบบการจัดทำแผนการจัดการเรียนรู้รายวิชา ปรับปรุง 2555 ครูกอบวิทย์ พิริยะวัฒน์รูปแบบการจัดทำแผนการจัดการเรียนรู้รายวิชา ปรับปรุง 2555 ครูกอบวิทย์ พิริยะวัฒน์
รูปแบบการจัดทำแผนการจัดการเรียนรู้รายวิชา ปรับปรุง 2555 ครูกอบวิทย์ พิริยะวัฒน์
 
Partners in learning 2012 Report by Mr.Kobwit Piriyawat
Partners in learning 2012 Report by Mr.Kobwit PiriyawatPartners in learning 2012 Report by Mr.Kobwit Piriyawat
Partners in learning 2012 Report by Mr.Kobwit Piriyawat
 
Learning with ict, biotechnology issues mr.kobwit piriyawat
Learning with ict, biotechnology issues mr.kobwit piriyawatLearning with ict, biotechnology issues mr.kobwit piriyawat
Learning with ict, biotechnology issues mr.kobwit piriyawat
 
สอนวิทยาศาสตร์อย่างไร ให้สนุก โดยครูกอบวิทย์ พิริยะวัฒน์ ฉบับเผยแพร่
สอนวิทยาศาสตร์อย่างไร ให้สนุก โดยครูกอบวิทย์ พิริยะวัฒน์ ฉบับเผยแพร่สอนวิทยาศาสตร์อย่างไร ให้สนุก โดยครูกอบวิทย์ พิริยะวัฒน์ ฉบับเผยแพร่
สอนวิทยาศาสตร์อย่างไร ให้สนุก โดยครูกอบวิทย์ พิริยะวัฒน์ ฉบับเผยแพร่
 

Climate change2009

Notes de l'éditeur

  1. Past climate can be reconstructed using a combination of different types of proxy records . These records can then be integrated with observations of Earth's modern climate and placed into a computer model to infer past as well as predict future climate .
  2. ฟอแรมมินิเฟอราบางชนิดอยู่เฉพาะน้ำเย็น บางชนิดอยู่เฉพาะน้ำอุ่น . ส่วนประกอบทางเคมีของเปลือกสะท้อนถึงเคมีของน้ำทะเลขณะสร้างเปลือก น้ำอุ่นจะระเหยออกซิเจน 16 มากกกว่า ดังนั้นเปลือกที่สร้างในน้ำอุ่นจะมีออกซิเจน 18 มากกว่า
  3. อะตอมของธาตุเดียวกันที่มีความแตกต่างของจำนวนนิวตรอน เรียกว่าไอโซโทป 16,17,18 น้ำหนักอะตอม White spheres are neutrons and blue spheres are protons . นิวเคลียสของออกซิเจน 18 มีนิวตรอนมากกว่า O-16 จำนวน 2
  4. เถ้าธุลีและก๊าซที่พ่นออกมาสู่บรรยากาศระหว่างการระเบิดมีผลต่ออุณหภูมิโลก
  5. โดยปรกติปรากฏการณ์เรือนกระจกตามธรรมชาติจะช่วยรักษาอุณหภูมิของโลกไม่ให้เย็นเกินไปสำหรับสิ่งมีชีวิต โดยทำให้อุณหภูมิเฉลี่ยที่ผิวโลกเป็นเพียง 15  ซ . ซึ่งเป็นอุณหภูมิที่เพียงพอต่อการดำรงชีวิต เพราะถ้าในชั้นบรรยากาศไม่มีก๊าซเรือนกระจกเลยอุณหภูมิที่ผิวโลกจะเย็นลงต่ำได้ถึง -18  ซ .
  6. รังสีจากดวงอาทิตย์จะประกอบไปด้วย - รังสีแกมมา รังสีเอ๊กซ์ และรังสีอัลตราไวโอเลต มีอยู่ประมาณร้อยละ 9 ของพลังงานทั้งหมด - รังสีที่มองเห็นได้ มีอยู่ประมาณร้อยละ 41 ของพลังงานทั้งหมด - รังสีอินฟราเรด มีอยู่ประมาณร้อยละ 50 ของพลังงานทั้งหมด
  7. ก๊าซเรือนกระจกสามารถดูดกลืนรังสีอินฟราเรดได้เป็นอย่างดี เรียงลำดับจากไอน้ำ คาร์บอนไดออกไซด์ ไนตรัสออกไซด์ มีเทน และโอโซน
  8. อุณหภูมิที่สูงขึ้นจะเหมาะสมกับการเจริญเติบโตของเชื้อจุลินทรีย์ที่ก่อโรคบางชนิด จึงทำให้เชื้อโรคมีความคงทนในสภาพแวดล้อมและมีการแพร่กระจายสู่คนได้มากขึ้น
  9. แผ่นน้ำแข็งของมหาสมุทรอาร์กติกเกือบ 7 ล้านตารางกิโลเมตร หดตัวเหลือเพียง 5.32 ล้านตารางกิโลเมตร หรือขนาดสองเท่าของรัฐเท็กซัส ตั้งแต่ปี 2002 เป็นต้นมา ช่วงเวลาน้ำแข็งละลายซึ่งจะเริ่มในฤดูใบไม้ผลิ เกิดขึ้นเร็วกว่าปกติในบริเวณทางตอนเหนือของอลาสก้า และไซบีเรีย และเมื่อปี 2005 ช่วงเวลาน้ำแข็งละลายทั่วอาร์กติกเร็วขึ้นถึง 17 วัน ธารน้ำแข็งที่แอนตาร์กติก ละลายเร็วขึ้นยี่สิบเท่า ธารน้ำแข็งบนเทือกเขาหิมาลัยละลายเร็วขึ้น อีกห้าสิบปีข้างหน้าธารน้ำแข็งในแอนดีสจะเหือดแห้ง
  10. ภาวะโลกร้อนยังทำให้พายุหมุนมีความรุนแรงมากขึ้น เพราะตัวมันเองเกิดจากอากาศร้อนที่ลอยตัวสูงขึ้น และอากาศเย็นรอบข้างเคลื่อนเข้ามาแทนที่ โดยอุณหภูมิที่สูงจะเป็นตัวเร่งให้พายุมีความรุนแรงขึ้นตามไปด้วย
  11. ภาวะโลกร้อนจะทำให้มีฝนตกมากขึ้นและมีระดับน้ำที่สูงขึ้นเฉพาะแผ่นดินตามชายฝั่ง แต่มีความแห้งแล้งมากขึ้นในแผ่นดินที่อยู่ลึกเข้าไปในทวีปนักวิทยาศาสตร์จึงคาดการณ์ว่าในอนาคตจะมีน้ำท่วมมากขึ้นตามชายฝั่ง ในขณะเดียวกันก็มีปริมาณน้ำลดลงตามแหล่งน้ำบนแผ่นดินที่อยู่ลึกเข้าไป
  12. แม่หมีขั้วโลกต้องย้ายถิ่นฐานจากแผ่นน้ำแข็งในมหาสมุทรอาร์กติก ขึ้นฝั่งทางตอนเหนือของอลาสก้า เพื่อใช้เป็นสถานที่ให้กำเนิดลูก โดยธรรมชาติหมีตัวเมียที่ตั้งครรภ์ จะสร้างถ้ำจากหิมะที่ทับถมบนแผ่นน้ำแข็ง เพื่อให้กำเนิดและเลี้ยงดูลูก นักวิทยาศาสตร์พบว่า ในระหว่างปี 1985 – 1994 แม่หมีขั้วโลกจำนวน 62% สร้างถ้ำเพื่อให้กำเนิดลูกบนแผ่นน้ำแข็งในมหาสมุทรอาร์กติก แต่ในระหว่างปี 1998 – 2004 มีจำนวนลดลง 37% ระดับน้ำทะเลที่สูงและอุ่น ได้ทำลายปะการังของโลกไปร้อยละ 10 นอกจากนั้นยังทำให้เกิดการสูญพันธุ์ของกบ 50 ชนิด ในคอสตาริก้า ( Costa Rica ) มีผลกระทบต่อการสืบพันธุ์ของสัตว์น้ำเย็น ในมหาสมุทรอาร์คติก แมวน้ำและหมีขาวกำลังเผชิญชะตากรรมเลวร้ายจากฤดูหนาวที่สั้นลง และหากอุณหภูมิโลกเพิ่มสูงขึ้นอีกระหว่าง 1.5 ถึง 2.5 องศาเซลเซียส จะมีสิ่งมีชีวิตสูญพันธุ์ 20 – 30 ชนิด