SlideShare une entreprise Scribd logo
1  sur  88
Télécharger pour lire hors ligne
“             ”

                                                        ”




                       086-3551183,
                       086-3551183,   080-5814610
                                      080-5814610
Office: 034-252409 Fax : 034-252409
        034-               034-
E mail: kruvijai.foodtech@gmail.com
(                                     ),               .
                                       (Food Engineering), Virginia Tech, USA
                                                           Engineering)
                                        (Biological System Engineering), Virginia Tech, USA

                              -
                              -
                              -   fourier transform infrared attenuated total reflectance
                              -   chemosensory system
      . .                     -
                              -
          081-
          081-3032273         -                                            105
E-mail b_innawong@yahoo.com   -                                PCA
                              -
                              -
                              -



                                                                       (         .)
(                 ) .
                                                                  (                 ) .


                                                                                                   University.
                              - Teaching Assistant (TA), Department of Food Technology, Silpakorn University.
                              -                            (Ready to eat, seasoning, sauce and Rice)
                                                                     eat,
                                .     -         .23                                       .         .              10540
                              -                                           (            )                                and         Noodle)
                                                                                               (Rice cracker, seasoning and Instant Noodle) .
                                .


           081-
           081-8053325
E-mail joke44_p@hotmail.com                                                                   (    .)
(                ) .
                                                                (                 ) .



                                                                                                University.
                            - Teaching Assistant (TA), Department of Food Technology, Silpakorn University.
                            -
                            -
                            -



           089-
           089-1995990                                                                       (    .)
E-mail nui157@hotmail.com
(                  )



                         -   Touristmo Thai
                         -
                         -            Food Innovation & Design


           085-
           085-9765089
                                                                 (   .)
E-mail -
(                 ) .
                                                                (                 ) .


                           - Teaching Assistant (TA), Department of Food Technology, Silpakorn University.
                                          Supervisor
                           - Outsourcing Supervisor                           (        )
                           -                  Food Innovation & Design
                           -                                                                  .
          086-375-
          086-375-7784
                           - Technical Sale Representative
E-mail moo2120@yahoo.com
                           -                                         .



                                                                                           (    .)
(       ) .



                                -       .



                                                  (   .)
             (       )
           087-
           087-1557701
E-mail salapao315@hotmail.com
(             ) .
                                            (               ) .


                            -
                            -
                            -           :
                            -       :
           086
           086-3746477      -           :       ...
E-mail oi_ly135@yahoo.com   -   /
                            -
                            -           :       ...



                                                                  (   .)
กําหนดการ โครงการครุวจัยศู นย์ นวัตกรรมและการจัดการเทคโนโลยีอาหาร
                                     ิ
                          กลยุทธ์ : 4 ตลาดนํา 5 ตลาดบก 6 อุตสาหกรรม

วันพุธที 31 มีนาคม 2553 (หน้ าลิฟต์ ชัน 3 คณะวิศวกรรมศาสตร์ )
13.00 - 16.00 น.               รายงานตัวทีภาควิชาเทคโนโลยีอาหาร คณะวิศวกรรมศาสตร์ ฯ ม.ศิลปากร
                                เข้าทีพักที สิ ทธิกานต์ แมนชั น (ติดต่อพีไก่ 085-9765089)

                     **********************************************************
วันพฤหัสบดีที 1 เมษายน 2553 (ห้ อง ท.330 คณะวิศวฯ)
8.30 - 9.30 น.                  กล่าวต้อนรับและทําความรู ้จกกัน
                                                           ั
9.30 - 9.50 น.                  ค้นตนบนความคิด (Think Difference)
9.50 - 10.00 น.                 สรุ ปแนวคิดและร่ วมแลกเปลียน
10.00 - 10.30 น.                กิจกรรมละลายพฤติกรรม
10.30 - 10.45 น.                พักรับประทานอาหารว่าง
10.45 - 12.00 น.                เล่นเกมส์
12.00 - 13.00 น.                พักรับประทานอาหารกลางวันตามอัธยาศัย
13.00 - 16.00 น.                ชมสื อวีดีทศน์ เข้าใจและเห็นนวัตกรรมและการจัดการเทคโนโลยี
                                            ั
16.00 - 16.30 น.                สรุ ปและร่ วมแลกเปลียนความคิดเห็น

                       **********************************************************
วันศุกร์ ที 2 เมษายน 2553 (ห้ อง ท.330 คณะวิศวฯ)
8.30 - 10.30 น.                    จุดประกายและสร้าง Idea ในการทําโจทย์วจย
                                                                        ิั
10.00 - 10.30 น.                   กิจกรรมละลายพฤติกรรม
10.30 - 10.45 น.                   พักรับประทานอาหารว่าง
10.45 - 12.00 น.                   ชมสื อวีดีทศน์
                                               ั
12.00 - 13.00 น.                   พักรับประทานอาหารกลางวันตามอัธยาศัย
13.00 - 16.00 น.                   รับฟัง Concept โครงศูนย์ ฯ
16.00 - 16.30 น.                   สรุ ปและร่ วมแลกเปลียนความคิดเห็น

                    **********************************************************
วันเสาร์ ที 3 เมษายน 2553 (อาหารไทยในมิติวฒนธรรม)
                                           ั
6.00 น.                         ออกเดินทางจากสิ ทธิ กานต์แมนชัน
6.00 - 12.00 น.                 เดินทางไปเทียวตลาดนําท่าคา / ตลาดนําบางนกแขวก / ตลาดนําบางน้อย
12.00 - 16.30 น.                เทียวชมศิลปวัฒนธรรมดืมดํากับธรรมชาติใน อ.อัมพวา
                                              ้                ่                  ่
                                - ไปค่ายบางกุง ชมโบสถ์เก่าทีอยูในต้นโพธิ กราบองค์พอตากสิ น
                                - วัดบางแคน้อย ชมโบสถ์ไม้สักทองมูลค่ากว่า ๓๐ ล้านบาท
                                - วัดบางแคใหญ่ ชมจิตรกรรมฝาผนังสมัย รัชกาลที 2
16.30 - 20.00 น.                เดินทางไปตลาดนําอัมพวา / เทียวไปชิมไป รับประทานอาหารตามวิถีชาวบ้าน
20.00 - 21.00 น.                เดินกลับถึงทีพัก พักผ่อนนอนหลับตามสบาย

                         **********************************************************
วันจันทร์ ที 5 เมษายน 2553 (ห้ อง ท.330 คณะวิศวฯ)
เรียนรู้ เทคนิคต่ าง ๆ ในกระบวนการรับความคิด
8.30 - 9.30 น.                    มารู ้จกกับ “ช่วยกันคิด ... ช่วยกันเขียน”
                                             ั
                                  ร่ วมโหวตพลังแห่งความคิดจากการเนรมิตแห่งคําพูด
09.30 - 10.30 น.                  “ช่วยกันคิด ... ช่วยกันเขียน” (ภาค 1)
10.30 - 10.45 น.                  พักทานอาหารว่าง / ดูของดีแบบ Chill ๆ
10.45 - 12.00 น.                  ทํา “ช่วยกันคิด ... ช่วยกันเขียน” (ภาค 2)
12.00 - 13.00 น.                  อิมอร่ อยกับอาหารกลางวัน
13.00 - 14.00 น.                  “คิด” จากกรณี ศึกษา/โฆษณาแบบ “คิด”
14.00 - 14.15 น.                  มารู ้จกกับ “9 กระบวนท่าจับความคิด”
                                           ั
14.15 - 15.15 น.                  เริ มวิทยายุทธ์ “9 กระบวนท่าจับความคิด”
15.15 - 15.30 น.                  พักทานอาหารว่าง / ดูของดีแบบ Chill ๆ
15.30 – 15.45 น.                  ร่ วมโหวตจอมยุทธ์ทีมีกระบวนท่างามทีสุ ด
15.45 – 16.00 น.                  มารู ้จกกับ “วิชาสกัด Idea ขันเทพ”
                                         ั
16.00- 16.30 น.                   เริ ม สกัด Idea ขันเทพ กันได้เลย ร่ วมโหวต Idea ขันเทพ

                     **********************************************************
วันอังคารที 6 เมษายน 2553 (ห้ อง ท.330 คณะวิศวฯ)
8.30 – 10.30 น.                  เรี ยนรู ้วธีการสื บค้นข้อมูล
                                            ิ
10.30 -10.45 น.                  พักรับประทานอาหารว่าง
10.45 -12.00 น.                  เรี ยนรู ้วธีการเขียนและสร้างโปสเตอร์
                                              ิ
12.00 – 13.00 น.                 พักรับประทานอาหารกลางวันตามอัธยาศัย
13.00 – 16.30 น.                 ทดลองสื บค้นหาข้อมูลสําหรับงานวิจย (หอสมุด/ห้องคอมพิวเตอร์ )
                                                                       ั

                      **********************************************************
วันพุธที 7 เมษายน 2553 (ห้ อง ท.330 คณะวิศวฯ)
ครุ วจัยอาหาร: ทําอะไร ทําอย่ างไร ได้ อะไร โดย รศ.ดร. สุ ธีระ ประเสริฐสรรพ์ (คณะวิศวกรรมศาสตร์ ม.อ. )
     ิ
8.30- 10.30 น.                    เป้ าชีวตของครุ วจยจากกระบวนการวิจย การทําวิจยให้ได้ดี
                                          ิ        ิั                  ั         ั
10.30 - 10.45 น.                  พักรับประทานอาหารว่าง
10.45 - 12.00 น.                  ตรรกะในงานวิจย การสร้างคุณค่าในการวิจยของครู
                                                   ั                        ั
12.00 - 13.00 น.                  พักรับประทานอาหารกลางวันตามอัธยาศัย
13.00 - 14.00 น.                  Work shop หาวัตถุประสงค์และวิธีการวิจย  ั
14.00 - 14.30 น.                  แลกเปลียนและซักถามข้อสงสัย
14.30 - 14.45 น.                  พักรับประทานอาหารว่าง
14.45 -16.30 น.                   สรุ ปวิธีการศึกษาวิจย
                                                      ั

                       **********************************************************
วันพฤหัสบดีที 8 เมษายน 2553 (ห้ อง ท.330 คณะวิศวฯ)
เรียนรู้ กระบวนการสร้ าง Methodology
8.30 - 10.30 น.                 แนะนําเครื องมือและอุปกรณ์ต่าง ๆ ของภาควิชาเทคโนโลยีอาหาร
10.30 - 10.45 น.                พักรับประทานอาหารว่าง
10.45 -12.00 น.                 ร่ วมทํากิจกรรม / เกมส์
12.00 - 13.00 น.                พักรับประทานอาหารกลางวันตามอัธยาศัย
13.00 - 16.00 น.                เข้ากลุ่มเพือหา Methodology

                     **********************************************************
วันศุกร์ ที 9 เมษายน 2553 (ห้ อง ท.330 คณะวิศวฯ)
พัฒนาข้ อเสนอโครงการ/ Full proposal
8.30 - 10.30 น.                   รับฟังการเสวนาจากผูประกอบการผูผลิตขนมขบคิด
                                                          ้            ้
                                  โดย คุณพีระพล เลาหเสรี กล   ุ
                                  (เจ้าของกิจการ ห้างหุ นส่ วนสิ นสาลี แอนด์บิสกิต จ.ราชบุรี)
                                                        ้
                                  จากปั ญหาในโรงงานสู่ ...งานวิจย...ไปสู่ เชิงพาณิ ชย์
                                                                  ั
                                  ********** อุตสาหกรรมอาหาร 1
10.30 -10.45 น.                   พักรับประทานอาหารว่าง
10.45 - 12.00 น.                  รับฟังการบรรยาย เรื อง การออกแบบบรรจุภณฑ์    ั
                                  โดย คุณอนุชิต ปัญญาวัชระ (คุณเอ) บริ ษทยินดีออกแบบ
                                                                             ั
12.00 - 13.00 น.                  พักรับประทานอาหารกลางวันตามอัธยาศัย
13.00 - 14.30 น.                  รับฟังการเสวนาจากผูประกอบการด้านการแปรรู ปผลไม้
                                                            ้
                                  โดย คุณมาลินี วราหกิจ บริ ษทเอ็มวี ฟู้ ด ซัพพลาย จํากัด จ.นครปฐม
                                                                ั
                                  ********** อุตสาหกรรมอาหาร 2
14.30 - 14.45 น.                  พักรับประทานอาหารว่าง
14.45 - 16.00 น.                  ร่ วมประชุมหารื อ Full proposal
16.00 - 16.30 น.                  แลกเปลียนความคิดเห็น

                      **********************************************************
วันเสาร์ ที 10 เมษายน 2553 อาหารกับการพาณิ ชย์
05.30 น.                       ออกเดินทางจากสิ ทธิ กานต์แมนชันไป อ.พัฒนานิคม จ. ลพบุรี
09.30 - 11.30 น.               ดูงานอุตสาหกรรมอาหารสัตว์ บริ ษทเบทาโกร จํากัด (มหาชน)
                                                                    ั
                               ********** อุตสาหกรรมอาหาร 3
11.30 - 13.00 น.               พักรับประทานอาหารกลางวันตามอัธยาศัย
13.00 - 16.00 น.               ดูงานโรงงานอุตสาหกรรมแปรรู ปเนือไก่
                               บริ ษท บี ฟู้ ด อินเตอร์ เนชันแนล จํากัด (ในเครื อเบทาโกร)
                                    ั
                               ********** อุตสาหกรรมอาหาร 4
16.00 - 18.30 น.               ออกเดินทางไป อ.แก่งคอย จ.สระบุรี
19.00 – 19.30 น.               เข้าทีพัก พักผ่อนตามใจท่าน
19.30 - 21.30 น.               รับประทานอาหารคํา
21.30 น.                       นอนหลับฝันดี
                      **********************************************************
วันอาทิตย์ ที 11 เมษายน 2553 อาหารกับการพาณิ ชย์
06.30 น.                       รับประทานอาหารเช้า
07.30 น.                       ออกเดินทางไปดูโรงงาน
09.00 - 10.00 น.               ดูงานโรงงานทําบะหมี อ.เมือง จ.สระบุรี
                               ********** อุตสาหกรรมอาหาร 5
10.00 - 10.40 น.               เดินทางไป อ. มวกเหล็ก จ.สระบุรี (แจกขนมเบรกลองท้องทานบนรถ)
11.00 - 13.30 น.               ดูงานบริ ษทองค์การส่ งเสริ มกิจการโคนมแห่งประเทศไทย (อสค.)
                                         ั
                               ********** อุตสาหกรรมอาหาร 6
13.30 - 14.00 น.               รับประทานอาหารกลางวัน
14.00 - 17.30 น.               เดินทางกลับจังหวัดนครปฐม

                      **********************************************************
วันจันทร์ ที 12 เมษายน 2553 (ห้ อง ท.330 คณะวิศวฯ)
8.30 - 10.30 น.                   เรี ยนรู ้เทคนิคการนําเสนอผลงานอย่างมืออาชีพ
                                  (โปสเตอร์ /บทความ/สาระการเรี ยนรู ้/จัดนิทรรศการ)
10.30 - 10.45 น.                  พักรับประทานอาหารว่าง
10.45 - 12.00 น.                  เรี ยนรู ้เทคนิคการนําเสนอผลงานอย่างมืออาชีพ (การนําเสนอ/เทคนิคการพูด)
12.00 - 13.00 น.                  พักรับประทานอาหารกลางวันตามอัธยาศัย
13.00 - 16.30 น.                  ทดลองจัดทําโปสเตอร์ และวางแผนการทํางานวิจยร่ วมกับพีเลียงกลุ่ม
                                                                                 ั

                       **********************************************************
วันอังคารที 13 เมษายน 2553 - วันเสาร์ ที 24 เมษายน 2553
8.30 - 16.30 น.                   ทํางานวิจย
                                           ั
หมายเหตุ:        วันที 16 และ 24 เมษายน 2553 รายงานความก้าวหน้าของกลุ่ม ทีห้อง ท.330
                 (วันละ 2 ชัวโมง กลุ่มละ 10 นาที)
วันเสาร์ ที 17 เมษายน 2553 ทัศนศึกษาตลาดบก (อาหารไทยกับการท่องเทียว)
06.00 -07.00 น.                ออกเดินทางจากสิ ทธิ กานต์แมนชัน- อ. สองพีน้อง
07.00 – 08.30 น.               เทียวชมตลาดเก้าห้อง อ.สองพีน้อง จ.สุ พรรณบุรี ชิมอาหารเช้าในตลาดอย่าง
                               เพลิดเพลิน
08.30 – 09.15 น.               ออกเดินทางไปตลาดศรี ประจันต์
09.15 – 10.15 น.               เทียวชม-แวะชมอาหารตลาดศรี ประจันต์
10.15- 10.45 น.                เดินทางไปทัศนศึกษาตลาด 100 ปี สามชุก
11.00 – 14.00 น.                                                           ั
                               เทียวชมตลาด 100 ปี สามชุก ศึกษาและรื นรมย์กบอาหารนานาชนิด
14.00 – 14.30 น.               ออกเดินทางไปเทียวชมบ้านควาย
14.30 – 16.00 น.               ชมวิถีชีวตของชาวนาแบบดังเดิมทีบ้านควาย อ.ศรี ประจันต์ จ.สุ พรรณบุรี
                                        ิ
16.00 – 17.30 น.               เดินทางกลับถึงทีพักโดยสวัสดิภาพ

                      **********************************************************
วันที 26 - 28 เมษายน 2553
8.30 - 16.30 น.                จัดทําสาระการเรี ยนรู ้ /โปสเตอร์ /นิทรรศการ/รู ปเล่มรายงาน
วันที 28 เมษายน 2553
18.30 - 21.30 น.               Party สั งสรรค์ อาลา อาลัยครุ วจัย ศูนย์ นวัตกรรมฯ รุ่ น 1
                                                ํ             ิ
                               กิจกรรมสั งสรรค์ ฮาเฮ เกมส์ /เพลง

                     **********************************************************
วันพฤหัสบดีที 29 เมษายน 2553
8.30 - 9.30 น.                จัดของและเตรี ยม check out ออกจากโรงแรม
9.30 น. - 10.00 น.            ขึนรถเดินทางไป กทม. เพือจัดนิทรรศการแสดงผลงาน
12.00 น.                      ถึงโรงแรมทีพัก
12.00 - 13.00 น.              พักรับประทานอาหารกลางวัน

                     **********************************************************

วันศุกร์ ที 30 เมษายน 2553 - วันเสาร์ ที 1 พฤษภาคม 2553
9.00 - 16.30 น.                   นําเสนอผลงานวิจย ั
หมายเหตุ:         รอกําหนดการและแจ้ งรายละเอียดของทีพักจากส่ วนกลางอีกครัง
                                                                  ่ ั
รายละเอียดกิจกรรมอาจมีการเปลียนแปลงตามความเหมาะสม ทังนีขึนอยูกบสถานการณ์ปัจจุบน
                                                                              ั
ภาควิชาเทคโนโลยีอาหาร คณะวิศวกรรมศาสตรและเทคโนโลยีอุตสาหกรรม
                   มหาวิทยาลัยศิลปากร วิทยาเขตพระราชวังสนามจันทร
                              อําเภอเมือง จังหวัดนครปฐม

                                                                                    กุมภาพันธ 2553
อารัมภบท

        กอนอื่นขอบอกกอนวาขอมูลที่จะไดอานตอไปนี้ "ลับเฉพาะ" สุดๆ สําหรับชาวครุวิจัยทุกคน แนนอน
วาสวนหนึ่งเปนขอมูลที่ไดมาจากภาควิชาเทคโนโลยีอาหารสําหรับทําความรูจักมักจี่ อีกสวนหนึ่งเปนลายแทง
มหาสมบัติ สําหรับใชชีวิตอยูบนภาควิชาฯ แหงนี้อยางผาสุก ดังนั้นขอจงโปรดอานสิ่งที่จะบังเกิดขึ้นตอจากนี้
ใหดี เพราะนี่คือที่มาแหงโชคลาภที่อาจไดรับจากครุวิจัยครั้งนี้ ... ขอความโชคดีจงอยูเคียงคุณ

หนวย SWAT

        ชาวครุวิจัยที่มีความฉงนสงสัย อยากไดขอมูลเพิ่มเติมเกี่ยวกับการใชชีวิตในภาควิชาเทคโนโลยีอาหาร
แหงนี้สามารถสงสัญญาณเพื่อเรียกหนวย SWAT ไดทาง 080-581-4610 เรียก คุณหมู รับรองวาจะไดรับการ
ชวยเหลืออยางรวดเร็วที่สุด จึงขอแจงมา ณ โอกาสนี้

รูจักกับเรา

        ในป พ.ศ. 2530 มหาวิทยาลัย ศิลปากรไดมีนโยบายในการจัดตั้ งคณะเทคโนโลยีอุตสาหกรรมขึ้ น
พรอมทั้งพิจารณาหลักสูตรสาขาวิชาตางๆ ที่ควรเปดสอนในคณะเทคโนโลยีอุตสาหกรรม โดยคํานึงถึงความ
เหมาะสม ความสอดคลองกับการพัฒนาอุตสาหกรรมของภูมิภาคตะวันตก การตอบสนองตอความตองการ
ของประเทศที่เนนการพึ่งตนเองในดานเทคโนโลยี และความมีศักยภาพสําหรับการพัฒนาประเทศในปจจุบัน
และอนาคต

        ในป พ.ศ. 2532 จึงไดดําเนินการรางหลักสูตรสาขาวิชาเทคโนโลยีอาหาร ซึ่งหลักสูตรดังกลาว ได
ดําเนินการแลวเสร็จในป พ.ศ. 2533 ในป พ.ศ. 2535 ภาควิชาเทคโนโลยีอาหารไดเปดรับนักศึกษารุนแรกเขา
ศึกษา จํานวน 20 คน ในป พ.ศ. 2544 ภาควิชาเทคโนโลยีอาหารไดเริ่มเปดรับนักศึกษาระดับปริญญาโทใน
สาขาวิชา เทคโนโลยีอาหาร และภายในป 2554 คาดวาจะเปดรับนักศึกษาระดับปริญญาเอก สาขาเทคโนโลยี
อาหาร
ปณิธานของเรา

       ภาควิ ช าเทคโนโลยีอาหารมี ป ณิ ธ านที่ มุงมั่ น ในการจั ดโปรแกรมการเรี ย นการสอน การวิ จั ย การ
ใหบริการวิชาการ และการจัดกิจกรรมสรางสรรคทางดานวิทยาศาสตรและวิศวกรรมศาสตรที่เนน คุณภาพ
ของแตละภารกิจเปนพิเศษ ทั้งนี้เพื่อสงเสริมและสนับสนุนการพัฒนาทรัพยากรมนุษย การพัฒนาเศรษฐกิจ
และสังคมของภูมิภาคตะวันตก และของประเทศใหสามารถแขงขัน ไดอยางสมศักดิ์ศรีทั้งในระดับภูมิภาค และ
ระดับสากล

เปาหมายของเรา

    1. มุงเนนการผลิตบัณฑิตใหเปนผูมีความรูความสามารถทั้ง ดานทฤษฎีและปฏิบัติควบคูกัน เปนบัณฑิต
       ที่มีคุณธรรม จริยธรรม มีวินัย มีความสํานึกทางสังคม สามารถรับฟงความคิดเห็นที่แตกตางกันของ
       ผูอื่น และสามารถทํางานรวมกับผูอื่นไดอยางมีความสุข
    2. สงเสริมและสนับสนุนทั้งงานวิจัยที่สรางองคความรูใหม และงานวิจัยและพัฒนาที่สามารถนําไปใช
       ประโยชนในการพัฒ นาชุมชนและประเทศชาติ ได รวมทั้ งสงเสริมและสนั บสนุน ใหมีการวิ จัย และ
       พัฒนาในลักษณะพหุสาขา
    3. สงเสริมและสนับสนุนใหมีการบริการวิชาการแกชุมชนและ สังคมตามศักยภาพของภาควิชาฯ และให
       มีการเผยแพรผลงานทางวิชาการทั้งในระดับประเทศและนานาชาติ
    4. สนับสนุนและสงเสริมการระดมความคิด เพื่อนําแนวคิดและศักยภาพของบุคลากรขององคกรมาสราง
       ความแข็งแกรงทางวิชาการ และการบริหารจัดการของภาควิชา
    5. จัดหาบุคลากรที่มีความรูความสามารถใหเพียงพอกับความตองการ และจัดสวัสดิการใหเหมาะสมตาม
       ศักยภาพของภาควิชาฯ เพื่อจูงใจใหบุคลากรที่มี ความรูความสามารถเขามาทํางานในภาควิชาฯ และ
       จะพัฒนาบุคลากรประจําใหมีความรูความสามารถ โดยการจัดหาทุนไปฝกอบรม ดูงาน และศึกษาตอ
       ทั้งในและตางประเทศ
    6. ดํ า เนิ น การพั ฒ นาคุ ณภาพการศึ กษาโดยการจั ด หาวั ส ดุ ครุ ภั ณฑที่ ทั น สมั ย และเพี ย งพอตอความ
       ตองการใชงานทั้งในดานการเรียนการสอน และงานสนับสนุนวิชาการ
    7. สรางบรรยากาศการทํางานรวมกันภายในภาควิชาฯ เพื่อใหทุกคนรูจักบทบาทหนาที่ของตนเอง มี
       ความรับผิดชอบ และใชเหตุผลในการดําเนินงาน
    8. สงเสริมใหอาจารย นักศึกษา และบุคลากรของภาควิชาฯ มีสวนรวมในการสรางสภาวะแวดลอมทาง
       กายภาพภายในบริเวณภาควิชาฯ มหาวิทยาลัย และชุมชนใหรมรื่นนาอยู
มาหาเราไดอยางไร

         จากแผนที่นี้สามารถมาไดหลายชองทาง ทั้งจากกรุงเทพมหานคร ราชบุรี หรือ สุพรรณบุรี อยางไรก็
ตามหากมี ขอสงสั ย ในการเดิ น ทางมาสามารถโทรศั พทหา "คุ ณ หมู " ไดที่ เ บอร 080-581-4610 ตลอด
24 ชั่วโมงเลยนะครับ
คณาจารยประจําภาควิชาเทคโนโลยีอาหาร




    ผศ.ดร.สุเชษฐ สมุหเสนีโต1              อ.ดร.ดวงใจ ถิรธรรมถาวร (กบ)   ผศ.ดร.ประสงค ศิริวงศวิไลชาติ (เดียร)




ผศ.ดร.ปริญดา เพ็ญโรจน (ปริ๊นซ) ผศ.ดร.อรุณศรี ลีจีรจําเนียร (ออย)           ผศ.ดร.บุศรากรณ มหาโยธี (กี้)




  ผศ.ดร.บัณฑิต อินณวงศ (หนึ่ง)             ผศ.ดร.โสภาค สอนไว (เบน)         ผศ.ดร.เอกพันธ แกวมณีชัย (เอ)




   ผศ.ดร.ปราโมทย คูวิจิตรจารุ               อ.อุกฤษฏ สายสิทธิ์ (ออง)        อ.วิญ ู โชครุงกาญจน (ฟุย)




        อ.สินี หนองเตาดํา2                    อ.ธัชพงศ ชูศรี2 (เอ)
หมายเหตุ: 1 - หัวหนาภาคฯ, 2 - ลาศึกษาตอ
บุคลากรสายสนับสนุนประจําภาควิชาเทคโนโลยีอาหาร




 คุณกัญรณี จันทิพยวงษ (ณี)         คุณสายทอง แซตัน (นุช)          คุณธนรัตน พวงพรอม (เดี่ยว)
      นักวิชาการศึกษา             เจาหนาที่บริหารงานทั่วไป            คนงานหองทดลอง




   คุณปยะฉัตร ใจเอื้อ (โจ)   คุณทิพยดนยา ทิพนาถศิริสกุล (แกว)     คุณฉัตรชัย วัฒนไพโรจน (ปน)
 นักวิทยาศาสตรชํานาญการ              นักวิทยาศาสตร                      นักวิทยาศาสตร


ลายแทงแผนที่บนภาควิชาเทคโนโลยีอาหาร

        เมื่อมาถึงคณะวิศวกรรมศาสตรและเทคโนโลยีอุตสาหกรรม แลวขึ้นลิฟทมายังชั้น 3 แลว หลังจากที่
ลิฟทเปดออก จะพบกับตัวอักษร "ภาควิชาเทคโนโลยีอาหาร DEPARTMENT OF FOOD TECHNOLOGY" ซึ่ง
นั่นแสดงวาไดมาถึงจุดหมายปลายทางแลว (ไมหลงแนๆ :-)
นับจากนี้ตอไปโปรดจงตั้งสติ ;-< เมื่อกาวเดินตรงออกมาจากลิฟท ดานซายมือ คือ ทางขึ้นลงบันได
ระหวางชั้นของตัวอาคาร สวนดานขวาจะเห็นเปนระเบียงที่สามารถนั่งได เอาหละ แนนอนวาคงไมเดินไป
ทางซายมือแนนอน เพราะสถานที่ทําวิจัยนั้นจะอยูภายในอัครสถานแหงนี้ ดังนั้น อันดับแรกหลังออกมาจาก
ลิฟทใหเดินไปทางขวา ไดเลย (เดินนิดเดียวจริงๆ นะ)

         จากนั้นจะเห็นเปนทางเดินทอดยาวเต็มบริเวณของภาควิชาฯ โดยหากเดินไปทางขวามือ จะพบ
กั บ ทางสามแพรง             ซึ่ ง ถาตรงไป คื อ เสนทางสู สํ า นั ก งานภาควิ ช าเทคโนโลยี อ าหาร / หอง
คอมพิวเตอร / และหองพักคณาจารยของภาควิชาฯ ซึ่งแนนอนวาสามารถพบเจอ คุณณี / คุณนุช / คุณ
เดี่ยว ไดที่หองสํานักงานภาควิชาฯ ที่สําคัญไปกวานั้น 3 คนนี้แหละ คือ ผูชวยเหลือที่นารัก และใจดีของ
ภาควิชาฯ หากตองการสอบถามขอมูลอะไรเกี่ยวกับภาควิชาฯ ละก็ เปนอันสมหวังทุกครั้งไป ครั้นถาจะเลี้ยว
ขวา จะพบกับสุขาวดี (หองน้ํา                 ) สวนเลี้ยวซาย  จะเปนทางเดินเชื่อมไปยังโซนหองปฏิบัติการ
ทางดานจุลชีววิทยา (เกี่ยวกับเชื้อจุลินทรีย) / หองปฏิบัติการทางดานเคมี




                   ทางเดินเชื่อม                   สํานัก                   ทางไปสุขาวดี
                                                  งานภาคฯ




        แตถาเดินไปทางซายมือ  จะเห็นเปนทางเดินทอดยาวไป โดยดานขวาเปนเวิ้งอากาศกลางคณะอัน
สวยงาม โดยเมื่อมองไปดานลางจะเห็นสวนหยอม และบอน้ําที่จัดแตงขึ้นอยางเปนธรรมชาติ ในขณะที่ดาน
ซายมือเปนหองตางๆ ของภาควิชา โดยมีชื่อเรียกหองเปน "ท 3XX" โดย "ท" หมายถึง เทคโนโลยีอุตสาหกรรม
(...แตกอนคณะนี้มีชื่ อวา คณะเทคโนโลยี อุต สาหกรรม แลวมาเปลี่ ยนชื่ อเปน คณะวิ ศวกรรมศาสตรและ
เทคโนโลยีอุตสาหกรรม ภายหลัง) สวนเลข "3" หมายถึง ชั้น 3 ของอาคาร และเลข "XX" 2 ตัวสุดทาย
หมายถึง ลําดับเลขหอง โดยหองแรกดานซายมือที่เห็น คือหอง ท 311
เรื่อยไปจนกระทั่งถึงหอง ท 314 ก็จะพบทางเดินเล็กๆ ดานซายมือสําหรับเดินออกไปลานกิจกรรม
ของภาควิชาฯ (ขอบอกวาภาควิชาเทคโนโลยีอาหาร เปนภาควิชาเดียวที่มีพื้นที่ดานขางสําหรับจัดกิจกรรมของ
ภาควิชาฯ ... :-) แตหากเดินตอไปอีกสักนิด (จนเลยหอง ท 315) จะพบกับทางแยกซาย-ขวา               โดย
หากเลี้ยวซายจะเปนหอง ท 316 เรื่อยไปจนถึงหอง ท 319 ซึ่งตรงหอง ท 316 นี้จะพบกับบันไดเวียนขึ้นลง
ระหวางชั้น 2 และ 4 ในขณะที่เมื่อเดินไปจนสุดทางคือ หอง ท 319 จะพบกับบันไดดานหลังสําหรับเดินขึ้นลง
ระหวางชั้น 2 และ 4 และจะพบลานกิจกรรมเล็กๆ ดานขางหอง ท 319




                                                           บันไดเวียน
   ทางเดินเบี่ยง             ทางเดินเชื่อม
 ลานกิจกรรม
                    ทางเดินไป
                    หอง ท 319                   หอง ท 319


          ทั้งนี้จากทางแยกซาย-ขวา       ดังกลาว หากเลี้ยวขวาก็จะพบทางเดินเชื่อมตอไปยังอีกโซนหนึ่ง
ของตึก ซึ่งตรงนี้แหละจะเขาสูบริเวณหลักที่จะใชในการทํากิจกรรมรวมกันของทุกคน โดยเมื่อผานทางเดิน
เชื่อมนี้แลวจะเห็นหองทํากิจกรรมหองแรกคือหอง ท 333 (หรืออาจเรียกวา "หองมานเขียว")




                       หอง ท 333
                       (หองมานเขียว)
                                                        เมื่อเลี้ยวขวาจะ
                                                        พบทางเดินเชื่อม


         รวมถึงจะเห็นทางแยกเปนทางเดินสี่เหลี่ยม ซึ่งบริเวณตรงกลางคือชองอากาศขนาดใหญของอาคาร
โดยเมื่อมองลงไปดานลางจะเห็นบริเวณลานใตคณะฯ ทั้งนี้หากเลี้ยวซายตรงแยกหอง ท 333 (หองมานเขียว)
แลวเดินตรงมาอีกเล็กนอยจะพบกับหองทํางานของทีมงานครุวิจัย คือ หอง ท 326 และ ท 327 สวนที่ติดๆ
กันคือ หองพักสําหรับนักศึกษาปริญญาโทของภาควิชา ซึ่งเมื่อเดินมาแลวสามารถเดินวนเปนสี่เหลี่ยม (อยางที่
ไดบอกไวขางตน)
หอง ท 326
                                                   หอง ท 326




         แตถาหากไมเลี้ยวไปทางไหนแลวเดินตรงไปตอจากหอง ท 333 (หองมานเขียว) จะพบกับหองสําหรับ
ทํากิจกรรมหลักอีกหองหนึ่ง นั่นคือหอง ท 330 (หรือมักเรียกวา "หองมานฟา") ซึ่งเมื่อเดินถัดไปจากหอง
ท 330 นี้จะพบกับอีกโซนหนึ่งของอาคาร (จําไดหรือเปลา...วาก็คือ โซนเดียวกับที่เคยบอกไวตั้งแตตนวา
สามารถไปไดโดยเลี้ยวซายตรงทางสามแพรงกอนเขาสูสํานักภาคฯ นั่นเอง) โดยถาอยูตรงหอง ท 330 (หอง
มานฟา) แลวเดินตรงออกไปเล็กนอยจะเห็นหองสุขาวดี (หองน้ํา        ) อยูทางดานซายมือ สวนดานขวามือ
เมื่อมองลงไปจะเห็นสวนสีเขียวสวยงามอยูดานลาง




                                                                         หอง ท 330
          สุขาวดี                                                       (หองมานฟา)


        แตถาเดินตรงไปอีกจะพบลิฟททางดานซายมือ (แตปกติจะไมไดเปดใหใชงาน :-( และดานขวามือ คือ
หองปฏิบัติการ (หองแล็บ) ตางๆ ไดแก หองเครื่องมือกลาง (ท 343) หองปฏิบัติการขนมอบ (ท 344 และ
ท 345) หองปฏิบัติการเคมีอาหาร (ท 348) หองปฏิบัติการจุลชีววิทยาทางอาหาร (ท 351) โดยเมื่อเดินถึง
หองปฏิบัติการขนมอบ (ท 344 และ ท 345) จะเห็นทางแยกที่สามารถเลี้ยวซายเพื่อเดินผานทางเชื่อมระหวาง
อาคารไปยังสํานักงานภาคฯ (ยังจําไดหรือเปลา...) ซึ่งทางเดินเชื่อมนี้จะอยูตรงหองปฏิบัติการเคมีอาหาร
(ท 348) พอดี และตรงบริเวณนี้จะมีลิฟท ซึ่งปกติจะใชงานไดเฉพาะวันและเวลาราชการเทานั้น :-S ถัดจากนั้น
ไปอีกเล็กนอยจะเปนบริเวณหองปฏิบัติการจุลชีววิทยาทางอาหาร (ท 351) ซึ่งจะมีบันไดขึ้นลงระหวางชั้น 2
และ 4 ดวย
หองปฏิบัติการเคมีอาหาร

                                                                        ลิฟท


                                                   ทางเดินเชื่อมไปสํานักงานภาคฯ

        ทางเดินไป
       หองปฏิบัติการ




หองมานเขียว                                              หองมานฟา




                       บรรยากาศหนาหองปฏิบัติการขนมอบ




                            บันไดขึ้นลง
                                                  ลิฟท

                  บริเวณหนาหองปฏิบัติการจุลชีววิทยาทางอาหาร
ข้ อมูลทัวไปจังหวัดนครปฐม
                    “ส้ มโอหวาน ข้ าวสารขาว ลูกสาวงาม ข้ าวหลามหวานมัน
                  สนามจันทร์ งามล้ น พุทธมณฑลคู่ธานี พระปฐมเจดีย์เสี ยดฟา”
                                                                        ้

ข้ อมูลทัวไป :

                                   ่
        นครปฐมจังหวัดเล็กๆ ซึ งอยูไม่ไกลจากกรุ งเทพฯ ด้วยระยะทางประมาณ 56 กิโลเมตร เป็ น
เมืองแห่งปูชนียสถานเก่าแก่ทีสําคัญคือ “พระปฐมเจดีย” ซึ งนับเป็ นร่ องรอยแห่งแรก ของการเผยแผ่
                                                  ์
อารยธรรมพุทธศาสนา เข้ามาในประเทศไทย ทังยังเป็ นเมืองทีอุดมสมบูรณ์ มากมายไปด้วยผลไม้
และอาหารขึนชื อนานาชนิด

ประวัติความเป็ นมา :

         เมืองนครปฐม เดิมตังอยูริมทะเลเคยเป็ นเมืองเก่าแห่ งหนึ งซึ งเจริ ญรุ่ งเรื องมาก ในสมัยทวา
                                  ่
ราวดี เพราะเป็ นราชธานี ทีสําคัญ มีหลักฐานเชื อว่า ศาสนาพุทธและอารยธรรม จากประเทศอินเดีย
เผยแผ่เข้ามาทีนครปฐม เป็ นแห่ งแรก โดยสันนิ ษฐาน จากองค์พระปฐมเจดีย ์ และซากโบราณวัตถุ
ต่างๆ ทีค้นพบทีจังหวัดนครปฐม นครปฐม จึงเป็ นศูนย์กลาง ของความเจริ ญ มีชนชาติต่างๆ อพยพ
เข้ามาตังถินฐาน อยูเ่ ป็ นจํานวนมาก ต่อมาเกิดความแห้งแล้งขึน ในเมืองนครปฐม เพราะกระแสนํา
ทีไหลผ่านตัวเมือง เปลี ยนเส้นทาง ประชาชนจึงอพยพไปตังหลักแหล่ง อยู่ริมนํา และสร้ างเมือง
ใหม่ขึน ชือว่า “นครชั ยศรี” หรื อ “ศิริชัย” นครปฐมจึงกลายเป็ นเมืองร้างมาหลายร้อยปี

                                                        ่ ั
         จนกระทังในสมัยพระบาทสมเด็จพระจอมเกล้าเจ้าอยูหว ขณะทียังทรงผนวชได้เสด็จธุ ดงค์
ไปพบพระปฐมเจดีย ์ และทรงเห็นว่าเป็ นเจดียองค์ใหญ่ ไม่มีทีไหนจะเทียบเท่า เมือพระบาทสมเด็จ
                                          ์
พระจอมเกล้าเจ้าอยูหว ขึนครองราชย์ จึงโปรดเกล้าฯ ให้ก่อเจดียแบบลังกา ครอบเจดียองค์เดิมไว้
                      ่ ั                                   ์                       ์
ทรงปฏิสังขรณ์ สิงต่าง ๆ ในบริ เวณองค์พระปฐมเจดีย ์ ให้มีสภาพดี และโปรดเกล้าฯ ให้ขุดคลอง
เจดียบูชา เพือให้การคมนาคมสะดวกขึน ต่อมา ในสมัยพระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยูหัว
     ์                                                                                     ่
รัชกาลที 5 ได้เริ มทําทางรถไฟสายใต้ แต่ตอนนัน เมืองนครปฐม ยังเป็ นป่ ารกอยู่ จึงโปรดเกล้าฯ ให้
ย้ายเมืองจากตําบลท่านา อําเภอนครชัยศรี มาตังทีบริ เวณพระปฐมเจดีย ์ เหมือนทีเคยตังมาแล้วใน
สมัยโบราณ เมืองนครปฐม จึงอยูต่อมาจนตราบเท่าทุกวันนี
                               ่

                                                       ่ ั
         ในรัชสมัยของพระบาทสมเด็จพระมงกุฎเกล้าเจ้าอยูหว ได้โปรดเกล้าฯ ให้สร้างพระราชวัง
ขึน ทีตําบลสนามจันทร์ เป็ นทีเสด็จแปรพระราชฐาน และ โปรดเกล้าฯ ให้ตดถนน เพิมขึนอีกหลาย
                                                                    ั
สาย ให้สร้างสะพานใหญ่ ข้ามคลองเจดียบูชา ขึน ทรงพระราชทานนามว่า “สะพานเจริ ญศรัทธา”
                                          ์
ต่อมาให้เปลียนชื อเมือง “นครชัยศรี ” เป็ น “นครปฐม” แต่ชือมณฑลยังคงเรี ยกว่า “มณฑลนครชัย
ศรี ” อยู่ จนกระทังยุบเลิก ในสมัยพระบาทสมเด็จพระปกเกล้าเจ้าอยูหว ในปั จจุบน นครชัยศรี มี
                                                              ่ ั         ั
                           ่ ั
ฐานะเป็ นอําเภอหนึงขึนอยูกบจังหวัดนครปฐม

การเดินทาง :

ทางรถยนต์

        จากกรุ งเทพฯ ใช้เส้นทางสายเก่า สายถนนเพชรเกษม (ทางหลวงหมายเลข 4) ผ่านอ้อมน้อย
อ้อมใหญ่ สามพราน ไปจนถึงจังหวัดนครปฐม หรื อ เส้นทางสายใหม่ จากกรุ งเทพฯ ถนนบรมราช
ชนนี ผ่านพุทธมณฑล นครชัยศรี ไปจนถึงตัวจังหวัดนครปฐม

ทางรถไฟ

       การรถไฟแห่ งประเทศไทย มีบริ การรถไฟไปจังหวัดนครปฐมทุกวัน วันละหลายเทียว ใช้
เวลาประมาณ 1 ชัวโมง สอบถามรายละเอี ยดเพิมเติมได้ที สถานี รถไฟหัวลําโพง โทร. 1690,
02-220-4334, 02-220-4444 และทีสถานีรถไฟธนบุรี โทร. 02-411-3102 หรื อ www.railway.co.th

ทางรถโดยสารประจําทาง

        การเดินทางไปจังหวัดนครปฐม สามารถเดินทางได้จากสถานี ขนส่ งสายใต้ ถนนบรมราช
ชนนี ตังแต่เวลา 05.30-23.15 น. ซึ งมีรถโดยสารประจําทางปรับอากาศวิง 2 เส้นทาง คือ

        สายเก่ า (กรุ งเทพฯ-อ้อมใหญ่-สามพราน-นครปฐม) มีรถโดยสารประจําทางปรับอากาศ
ชัน 2 สายกรุ งเทพฯ-นครปฐม, กรุ งเทพฯ-ราชบุรี, กรุ งเทพฯ-บางลี

           สายใหม่ (กรุ งเทพฯ-พุทธมณฑล-นครชัยศรี -นครปฐม) สามารถใช้บริ การรถโดยสาร
ประจํา ทางปรั บ อากาศชัน 1 สายกรุ ง เทพฯ-นครปฐม, กรุ ง เทพฯ-ด่ า นช้า ง (สี นาเงิ น) หรื อ
                                                                                ํ
รถโดยสารปรับอากาศชัน 2 สายกรุ งเทพฯ-นครปฐม, สายกรุ งเทพฯ-ดําเนิ นสะดวก, กรุ งเทพฯ-
เพชรบุรี ตังแต่เวลา 05.30-23.00 น. รถออกทุก 15 นาที สอบถามรายละเอียดเพิมเติมได้ทีสถานี
ขนส่ งสายใต้ ถนนบรมราชชนนี โทร. 02-435-1199, 02-435-5605, 02-434-7192 และ นครปฐม
ทัวร์ กรุ งเทพฯ โทร. 02-435-4971 นครปฐม โทร.034-243-113 หรื อทีเว็บไซต์ www.transport.co.th
การเดินทางจากนครปฐมไปยังจังหวัดใกล้ เคียง

       ราชบุรี        41      กิโลเมตร
       สมุทรสาคร      48      กิโลเมตร
       นนทบุรี        65      กิโลเมตร
       สุ พรรณบุรี    105     กิโลเมตร
       กาญจนบุรี      112     กิโลเมตร

หมายเลขโทรศัพท์ ทสํ าคัญ
                     ี
                     สถานที                                เบอร์ โทรศัพท์
ตํารวจภูธรภาค 7                             โทร. 034-243-751-2, 034-241-426
ทีทําการไปรษณี ยนครปฐม
                   ์                        โทร. 034-251-986, 034-242-356
เทศบาลเมืองนครปฐม                           โทร. 034-253-850-4
โทรศัพท์จงหวัดนครปฐม
          ั                                 โทร. 034-251-070, 034-242-356
ประชาสัมพันธ์จงหวัดนครปฐม
                 ั                          โทร. 034-340-011-2
พิพิธภัณฑ์หุ่นขีผึงไทย                      โทร. 034-332-061, 034-332-067, 034-332-109
โรงพยาบาลศูนย์นครปฐม                        โทร. 034-254-150-4
สถานีเดินรถโดยสารประจําทาง                  โทร. 034-251-155, 034-514-438
สถานีตารวจภูธร จังหวัดนครปฐม
        ํ                                   โทร. 034-242-886, 034-511-560
สถานีรถไฟจังหวัดนครปฐม                      โทร. 034-242-305
สํานักงานขนส่ งนครปฐม                       โทร. 034-241-378
สํานักงานจังหวัดนครปฐม                      โทร. 034-243-811, 034-258-678
สํานักงาน ททท. ภาคกลาง เขต 1                โทร. 034-512-500, 034-623-691
ศูนย์การท่องเทียวกีฬาและนันทนาการ จังหวัด
                                            โทร. 034-340-065-6
นครปฐม
หอการค้าจังหวัดนครปฐม                       โทร. 034-254-231, 034-254-647, 034-210-230
ตํารวจท่องเทียว                             โทร. 1155
ตํารวจทางหลวง                               โทร. 1193
มารู้ จักมหาวิทยาลัยศิลปากร
           มหาวิ ท ยาลัย ศิ ล ปากรเป็ นสถาบัน การศึ ก ษา ระดับ อุ ด มศึ ก ษาของรั ฐ ในสั ง กั ด
ทบวงมหาวิทยาลัย เดิมคือโรงเรี ยนประณี ตศิลปกรรมสังกัดกรมศิลปากร เปิ ดสอนวิชาจิตรกรรม
และประติมากรรมให้แก่ขาราชการและนักเรี ยนในสมัยนันโดยไม่เก็บค่าเล่าเรี ยน ศาสตราจารย์
                              ้
ศิลป์ พีระศรี (เดิมชือ Corrado Feroci) ชาวอิตาเลียนซึ งเดินทางมารับราชการในประเทศ ไทยในรัช
สมัยพระบาทสมเด็จพระมงกุฎเกล้าเจ้าอยู่หว รัชกาลที 6 เป็ นผูก่อตังโรงเรี ยน แห่ งนี ขึน และได้
                                              ั                 ้
เจริ ญเติบโตเป็ นลําดับเรื อยมา จนกระทังได้รับการยกฐานะขึนเป็ น มหาวิทยาลัยศิลปากร เมือวันที
12 ตุ ลาคม พ.ศ. 2486 คณะจิ ตรกรรมและประติ มากรรม ได้รับการจัดตังขึ นเป็ นคณะวิชาแรก
(ปั จจุบนคือคณะจิตรกรรมประติมากรรมและภาพพิมพ์) ในปี พ.ศ. 2498 จัดตังคณะสถาปั ตยกรรม
         ั
ไทย (ซึ งต่อมาได้ปรับหลักสู ตรและเปลียน ชื อเป็ นคณะสถาปั ตยกรรมศาสตร์ ) และคณะโบราณคดี
หลังจากนันได้จดตังคณะมัณฑนศิลป์ ขึนในปี ต่อมา
                  ั
                                    ปี พ.ศ. 2509 มหาวิทยาลัยศิลปากร มีนโยบายทีจะเปิ ดคณะวิชา
                             และสาขาวิชาที หลากหลายขึน แต่เนื องจากบริ เวณพืนทีในวังท่าพระคับ
                             แคบมาก ไม่สามารถจะขยายพืนทีออกไปได้ จึงได้ขยายเขตการศึกษาไป
                             ยังพระราชวังสนามจันทร์ จังหวัดนครปฐม โดยจัดตังคณะอักษรศาสตร์
พ.ศ. 2511 คณะศึกษาศาสตร์ พ.ศ. 2513 และคณะวิทยาศาสตร์ พ.ศ. 2515 ตามลําดับ หลังจากนัน
จัดตังคณะเภสัชศาสตร์ พ.ศ. 2529 คณะเทคโนโลยี อุตสาหกรรม พ.ศ. 2535 และจัดตังคณะดุ ริ
ยางคศาสตร์ ขึน เมือ พ.ศ. 2542 เพือให้เป็ น มหาวิทยาลัยทีมีความสมบูรณ์ ทางด้านศิลปะมากยิงขึน
           พ.ศ. 2540 มหาวิทยาลัยศิ ลปากรได้ขยายเขตการศึ กษาไปจัดตัง วิทยาเขตแห่ งใหม่ ที
จังหวัดเพชรบุรี เพือกระจายการศึกษาไปสู่ ภูมิภาค ใช้ชือว่า "วิทยาเขตสารสนเทศเพชรบุรี" จัดตัง
คณะสัตวศาสตร์ และเทคโนโลยีการเกษตร ในปี พ.ศ. 2544 คณะวิทยาการจัดการ ในปี พ.ศ. 2545
คณะเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื อสาร ในปี พ.ศ. 2546 และวิทยาลัยนานาชาติ ในปี พ.ศ. 2546
           มหาวิทยาลัยศิลปากรได้ขยายงานในระดับบัณฑิตศึกษา พ.ศ. 2515 โดยการจัดตัง บัณฑิต
วิทยาลัยขึน เพือรับผิดชอบในการดําเนินการ
สถานทีตังของมหาวิทยาลัยศิลปากร

สํ านักงานอธิการบดี ตลิงชั น
สถานทีตัง 22 ถนนบรมราชชนนี เขตตลิงชัน กรุ งเทพฯ 10170
โทรศัพท์ กลาง: 02-880-7374, 02-880-9925-36
โทรสาร: 02-880-7372
วังท่ าพระ
สถานทีตัง 31 ถนนหน้าพระลาน แขวงพระบรมมหาราชวัง เขตพระนคร กรุ งเทพฯ 10200
โทรศัพท์ กลาง: 02-623-6115-22
โทรสาร : 02-225-7258
วิทยาเขตพระราชวังสนามจันทร์
สถานทีตัง ถนนราชมรรคาใน อําเภอเมือง จังหวัดนครปฐม 73000
โทรศัพท์ กลาง: 034-253-910-9, 034-253840-1, 034-270-222-4
โทรสาร: 034-255-099
วิทยาเขตสารสนเทศเพชรบุรี
สถานทีตัง เลขที 1 หมู่ที 3 ถนนชะอํา-ปราณบุรี ตําบลสามพระยา
อําเภอชะอํา จังหวัดเพชรบุรี 76120
โทรศัพท์ กลาง: 032-594-026, 032-594-030
โทรสาร: 032-594-026
สะพานสระแก้ วภายในมหาวิทยาลัยศิลปากร

อาหารการกินภายในมหาวิทยาลัยศิลปากร
          มหาวิทยาลัยศิลปากรจะมีโรงอาหารหลักใหญ่ ๆ อยู่ 2 โรงอาหาร คือ 1.Union (ยูเนี ยน) จะ
                                         ่
เป็ นโรงอาหารกลางของมหาวิทยาลัยอยูติดกับหอประชุ มใหญ่ ส่ วน 2. เพชรชอป จะอยูใกล้คณะ       ่
วิศวกรรมศาสตร์ และเทคโนโลยีอุตสาหกรรมมากทีสุ ด สามารถเดินเท้าได้ แต่โรงอาหารทังสองจะ
มีร้านค้าเปิ ดน้อยถ้าเป็ นช่วงปิ ดเทอม
อาหารการกินภายในตัวเมือง นครปฐม
          อาหารการกินภายในตัวจังหวัดนครปฐมมีให้เลือกกินหลากหลายมากมาย เราสามารถแบ่ง
ได้เป็ นช่วงเวลา คือ
          - ช่ ว งเช้ า จะเป็ นอาหารประเภทขนมปั ง ข้า วเหนี ย วหมู โจ๊ ก เป็ นต้น สามารถหา
              รั บประทานได้ทีแนะนําคื อ โจ๊กโรงเรี ยนสว่าง ข้าวเหนี ยวหมูเจ๊ง้อ หรื อถ้าต้องการ
              อาหารทีมีความหลากหลายก็ทีตลาดซอย 2 จะมีให้เลือกมากมายทุกอย่างทังของคาว
              ของหวาน
          - ช่วงเวลากลางวัน ก็เช่นก๋ วยเตียว ข้าวหมูแดง ข้าวมันไก่ ข้าวหน้าเป็ ด หรื ออาหารตาม
                                                           ่
              สังเป็ นต้น อาหารตามสังก็เช่นร้านป้ าวรรณ อยูในโรงเรี ยนตํารวจภูธรภาค 7 แต่จะเปิ ด
              เฉพาะวันเวลาราชการเท่านัน ร้านข้าวมันไก่ ข้าวหน้าเป็ ด ข้าวหมูแดงก็ร้านตุมทอง อยู่
                                                                                        ้
              บริ เวณสนามพระภายในบริ เวณองค์พระปฐมเจดีย ์ ส่ วนร้ านก๋ วยเตียวก็ร้านซอยร้านคี
                                           ่
              เซ่ งเฮง หรื อซอยถังขยะ อยูถนนต้นสน ใกล้วงเวียนสนามจันทร์ หรื ออาจจะเป็ นร้ าน
                            ่
              สวัสดีซึงอยูถนนเส้นเดียวกันแต่ใกล้องค์พระปฐมเจดียหน่อยก็อร่ อยไม่แพ้กน
                                                                 ์                    ั
บรรยากาศ ถนนต้นสน (สังเกตจะมีตนสนสองข้างทาง)
                                                   ้

       - ช่ วงเวลาเย็นถึ งกลางคื น ถ้าคิดไม่ออกว่าจะไปทีไหน เห็ นยอดองค์พระปฐมเจดี ยอยู่         ์
             ตรงไหน ไปตามนันเลย เพราะว่า ภายในบริ เวณองค์พ ระปฐมเจดี ยจะมี ร้านอาหาร   ์
             จํา หน่ า ยอยู่เริ มเปิ ดร้ า นกันก็ ป ระมาณ 17.00 น. จํา หน่ า ยไปเรื อย ๆช่ วงประมาณ
             23.00 น.ก็จะเริ มร้านค้าน้อยแล้ว เพราะว่าของหมด นักท่องเทียวมักจะนิ ยมมาทานกัน
             ทีนี รวมถึ งคนนครปฐมเองก็มกทานที นี เหมื อนกัน อาหารแนะนําก็คือ หอยนางรม
                                                    ั
             ทอด บะหมีจอนยาว บูราดหน้า ขนมเบืองสู ตรโบราณ ลองถามร้านค้าทุกร้านจะรู ้หมด
                                           ้
             แต่ตองอดทนนิดนึงนะ เพราะบางร้านคนจะเยอะมาก ต้องรอนานหน่อย
                  ้
    อาหารการกิ นเรี ยบร้ อยแล้วเรามาต่อกันเรื องทีท่องเทียวเลยดี กว่าสถานทีท่องเทียวภายในตัว
เมืองนครปฐมมีไม่มากนัก การเดิ นทางด้วยระยะเวลาสัน ๆ ก็คงเทียวได้ไม่กีที แต่ถาต้องการเทียว้
ไกลหน่อยคงต้องมียานพาหนะ
    1. องค์ พระปฐมเจดีย์ อยูห่างจากมหาวิทยาลัยศิลปากรประมาณ 1 กิ โลเมตร เท่านัน ถ้าให้
                                     ่
       แนะนําสําหรั บท่านที ไม่เคยมานครปฐม ก็เรี ยกรถมอเตอร์ ไซค์รับจ้าง (คนนครปฐมจะ
                                                      ่
       เรี ยกว่า เมล์เครื อง)ได้เลย ราคาจะอยูทีประมาณ 25 -30 บาท ไม่เกินนี ถ้าราคาเกินนี แสดง
       ว่าโก่งราคาอย่านัง สําหรับข้อมูลขององค์พระปฐมเจดียโดยละเอียดก็มีดงนี
                                                                 ์                   ั
พระปฐมเจดียสร้างขึนเมือใด และใครเป็ นผูสร้างนันจะต้องย้อนกล่าวตังแต่ พระพุทธองค์เสด็จ
                 ์                          ้
                                              ่
ดับขันธนิ พพาน พระพุทธศาสนาได้แพร่ หลายอยูในมัชฌิมประเทศ หรื ออินเดียตอนกลาง ในสมัย
พระเจ้าอโศกมหาราชขึนครองราชสมบัติ ทรงเป็ นกษัตริ ยทีมีพระเดชานุ ภาพใหญ่หลวง พระองค์
                                                      ์
สลดพระทัย ในการพุ่ ง รบ แต่ มุ่ ง หมายจะแผ่ พ ระเดชานุ ภ าพทางธรรมเพราะทรงเห็ น ว่ า
พระพุทธศาสนามีคติธรรมลําเลิศ กว่าศาสนาอืน ๆ จึงทรงอุปถัมภ์และเผยแผ่ในนานาประเทศ โดย
ส่ งพระสงฆ์เป็ นสมณฑูตออกไปยังประเทศต่าง ๆ โดยพระโสณเถระกับพระอุตรได้เดินทางไปเผย
แผ่พระพุทธศาสนายังดินแดนสุ วรรณภูมิ

    องค์พระปฐมเจดี ย ์ สันนิ ษฐานว่าสร้ างในสมัยเดียวกับครังพระเจ้าอโศกมหาราชยังครองราช
สมบัติอยู่แน่ นอนเพราะลักษณะองค์เจดี ยนน เดิ มเป็ นสถู ปกลมรู ปทรงคล้ายบาตรควํา (โอควํา)
                                         ์ ั
แบบสัญจิเจดีย ์ ในประเทศอินเดียทีพระเจ้าอโศกมหาราชสร้างไว้ มีผรู้หลายท่านได้สันนิ ษฐานว่า
                                                                 ู้
องค์พระปฐมเจดียมีการสร้างและปฏิสังขรณ์มาอย่างน้อย 3 ครังแล้ว
                  ์



    •   สมัยสุ วรรณภูมิ คือ ระยะการสร้างครังแรก ราวพุทธศักราช 300-1000
    •   สมัยทวารวด◌ี มีการสร้างเพิมเติม ประมาณช่วงพุทธศักราช 1000-1600
    •   ครังที 3 ก็คือสมัยทีมีการบูรณะปฏิสังขรณ์ใน สมัยรัตนโกสิ นทร์

                                                                                  ่
     ใน เรื องการสร้ างองค์ เจดีย์แต่ เดิมนัน มีการเล่าสื บ ๆ กันมาเป็ นตํานานอยูหลายตํานานด้วยกัน
เช่น "ตํานานพระยากง พระยาพาน" ได้ เล่ าไว้ ว่า พระยากงได้ครองเมืองศรี วิชยหรื อนครชัยศรี แทน
                                                                                ั
ท้าวสิ การาช พระบิดาพระมเหสี ประสู ติพระกุมารพระองค์หนึ ง โหรทํานายว่ากุมารี บุญญาธิ การ
มากแต่จะทําปิ ตุฆาต พระองค์จึงรับสังให้นากุมารไปทิง ก็มียายหอมมาเก็บกุมารได้แล้วเลียงจนเติบ
                                              ํ
ใหญ่ เมือเติบใหญ่กุมารจึงลายายหอมขึนไปเมืองเหนื อถึงสุ โขทัย บังเอิญไปพบช้างพระเจ้าแผ่นดิน
สุ โขทัยอาละวาดสลัดหมอควาญหลุ ดและสาละวนไล่แทงผูคน กุมารจึงจับช้างกดลงกับดินคนทัง
                                                                 ้
ปวงจึงจับช้างได้ ความทราบถึงพระเจ้าแผ่นดิน จึงชุ บเลียงกุมารเป็ นบุตรบุญธรรมจนกระทังกุมาร
                                                  ั
ได้ยกทับมารบกับพระยากง โดยกระทํายุทธหัตถีกน พระยากงเสี ยทีกุมารถูกฟั นด้วยของ้าวคอขาด
หลังจากนันกุมารจึงยกรี พลเข้าไปตังอยูในเมืองและต้องการได้พระมเหสี พระยากงเป็ นภรรยา แต่ก็
                                        ่
มีเหตุดลใจให้ทราบว่าเป็ นพระมารดา โดยเทพยดาเนรมิตเป็ นแพะแม่ลูกอ่อน นอนขวางบันได
ปราสาทของมเหสี กุมารจึงข้ามไปขณะนันก็ได้ยินลูกแพะพูดกับแม่แพะว่า "เราเป็ นสั ตว์ เดรั จฉาน
ท่ านจึ งข้ ามเราไป" แม่แพะเสริ มว่า "นับประสาอะไร กับท่ านแม้ มารดายังจะเอาเป็ นเมีย" กุมารได้
ฟังจึงเกิดความละอายใจ จึงตังสัจอธิ ษฐานว่า ถ้าหญิงผูนีเป็ นมารดาจริ งขอให้นานมไหลออกจากถัน
                                                    ้                      ํ
ทังคู่ ถ้าไม่ใช่จงอย่าปรากฏเลย แต่แล้วก็เกิดมีนานมไหลออกมาจากถันทังคู่จริ ง
                                               ํ

     เมือแม่ลูกรู ้จกกันแล้วและทราบว่าพระยากงเป็ นพระบิดาก็เสี ยใจ และโกรธยายหอมมาก จึงจับ
                    ั
ยายหอมฆ่าเสี ยทันทีดวยเหตุนีเอง คนทังปวงจึงเรี ยกกุมารนันว่า พระยาพาล ครันเมือฆ่าพระบิดา
                           ้
และยายหอมแล้วก็เกิ ดความรู ้ สึกว่าจะเป็ นเวรต่อกันจึงทําบุญให้ทานไม่ขาด ต่อมาเมือพระมเหสี
ของพระองค์ให้ประสู ติพระโอรสพระยาพานจึ งเกิ ดความรู ้ สึกถึ งความรั กทีพ่อมี ต่อลูก และเกิ ด
สํานึ กในสิ งทีกระทําไปจึงให้อามาตย์นิมนต์พระอรหันต์มาบิณฑบาตในวัง เมือได้โอกาสก็ถามถึง
                                 ํ
การแก้ไขสิ งทีตนได้ทาปิ ตุฆาต พระอรหันต์ตอบว่า "สิ งนีเป็ นกรรมหนักนักต้ องตกมหานรกอเวจี มี
                         ํ
แต่ ทางผ่ อนหนักให้ เป็ นเบาได้ เท่ านัน คื อสร้ างพระเจดี ย์สูงเท่ ากับนกเขาเหิ น กรรมอาจจะลดลงไป
ได้ สัก 1 ในสิ บส่ วน" พระยาพานจึงสังให้สร้างเจดียดงกล่าวแล้วบรรจุพระบรมธาตุพระเขียวแก้วไว้
                                                      ์ั
ในเจดียใหญ่ดวย
         ์      ้

   นีคือตํานานหนึงทีชาวนครปฐมรู้ จักเป็ นอย่ างดี ส่ วนถ้าท่านไหนต้องการเห็นรู ปปั นพญากงก็
สามารถไปดูได้ทีถนนพญากง อยูบริ เวณ “ตลาดบน” ของจังหวัดนครปฐม ยืนชีนิ วอยู่ ไม่ไกลมาก
                           ่
จากองค์พระปฐมเจดีย ์

        แต่ทีเราทราบกันดีก็ เมือครังพระบาทสมเด็จพระจอมเกล้าเจ้าอยูหว เมือครังยังทรงผนวช
                                                                    ่ ั
   ่
อยูได้เสด็จธุ ดงค์ทีเมืองนครปฐมพร้ อมด้วยคณะสงฆ์ และทรงปั กกลดประทับ ณ โคนต้นตะคร้ อ
ได้สังเกตลักษณะขององค์พระเจดียทรงเห็นว่า ไม่มีพระเจดียใดทีเก่าแก่ และยิงใหญ่เท่าเจดียองค์นี
                                 ์                    ์                              ์
ต่อมาเมือพระบาทสมเด็จพระจอมเกล้าฯ เสวยราชย์ได้ 2 ปี โปรดให้เริ มลงมือก่อสร้ าง
ปฏิสังขรณ์องค์พระปฐมเจดียเ์ ป็ นการใหญ่ในปี แรก พ.ศ. 2395 โปรดให้ สมเด็จเจ้าพระยาพระบรม
มหาประยูรวงศ์ ควบคุมการสร้าง ต่อมาถึงแก่พิราลัย จึงโปรดเกล้าฯให้ เจ้าพระยาทิพากรวงศ์มหา
โกษาธิ บดี เป็ นแม่กองเจ้าของการ จัดทําต่อไปเมือวันอังคารที 23 มีนาคม พ.ศ. 2400 (เดือน 5 ขึน 9
คํา ปี มะเมีย) พระบาทสมเด็จพระจอมเกล้าฯ ได้เสด็จพระราชดําเนิ นมายังวัดปฐมเจดีย ์ และทรงก่อ
พระปฐมเจดียเ์ ป็ นปฐมฤกษ์ ตามรู ปแบบทีช่างได้จดทํารู ปถวาย โดยจัดทําครอบองค์ไว้ภายใน การ
                                                ั
เสด็จครังนีนับเป็ นครังแรกตังแต่เสด็จขึนครองราชย์

          การปฏิ สังขรณ์พระปฐมเจดี ย ์ สร้างเป็ นเจดียใหญ่หุ้มองค์เดิมเปลียนจากบาตรควํามีพุทธ
                                                      ์
บัลลังก์ ฐานสี เหลียมซ้อนระฆัง มียอดนพศูลและมีพระมหามงกุฎสวมไว้บนยอดองค์พระเจดีย ์ มี
ขนาดสู ง 3 เส้น 1 คืบ 6 นิว (120.5 เมตร) ฐานโดยรอบยาว 5 เส้น 17 วา 3 ศอก (233 เมตร) รอบฐาน
องค์ปฐมเจดี ยสร้างเป็ นวิหารคตล้อมรอบเป็ น 2 ชันทัง 4 ทิศ พระบาทสมเด็จพระจอมเกล้าฯ ยัง
               ์
โปรดให้สร้างพระราชวังทีประทับไว้คู่กนกับวัดชือว่า วังปฐมนคร ปั จจุบนพระตําหนักได้ปรับปรุ ง
                                        ั                               ั
เป็ นทีทําการเทศบาลจังหวัดนครปฐม

          เมือ พ.ศ. 2413 ได้เสด็จพระราชดําเนิ นมายกยอดพระปฐมเจดี ยโปรดให้ สั งกระเบือง
                                                                   ์
เคลือบสี เหลืองทอง จากเมืองจีนมาประดับมหาสถูปทังองค์ ซึ งมาแล้วเสร็ จในรัชกาลที 6 แต่ก็ยง
                                                                                        ั
เป็ นป่ ารกอยู่ จนกระทังในสมัยรัชกาลที 6 เมือมีการตัดถนนมากขึน และสร้างทีทําการของรัฐบาล
สร้างสถานทีพักของข้าราชการ สร้างตลาดบริ เวณพระปฐมเจดียกลายเป็ นศูนย์กลางของเมือง และ
                                                           ์
Kruvijai manual
Kruvijai manual
Kruvijai manual
Kruvijai manual
Kruvijai manual
Kruvijai manual
Kruvijai manual
Kruvijai manual
Kruvijai manual
Kruvijai manual
Kruvijai manual
Kruvijai manual
Kruvijai manual
Kruvijai manual
Kruvijai manual
Kruvijai manual
Kruvijai manual
Kruvijai manual
Kruvijai manual
Kruvijai manual
Kruvijai manual
Kruvijai manual
Kruvijai manual
Kruvijai manual
Kruvijai manual
Kruvijai manual
Kruvijai manual
Kruvijai manual
Kruvijai manual
Kruvijai manual
Kruvijai manual
Kruvijai manual
Kruvijai manual
Kruvijai manual
Kruvijai manual
Kruvijai manual
Kruvijai manual
Kruvijai manual
Kruvijai manual
Kruvijai manual
Kruvijai manual
Kruvijai manual
Kruvijai manual
Kruvijai manual
Kruvijai manual
Kruvijai manual
Kruvijai manual
Kruvijai manual
Kruvijai manual
Kruvijai manual
Kruvijai manual

Contenu connexe

En vedette

กำหนดการสอบธรรมศึกษาสนามหลวงในสหรัฐอเมริกา
กำหนดการสอบธรรมศึกษาสนามหลวงในสหรัฐอเมริกากำหนดการสอบธรรมศึกษาสนามหลวงในสหรัฐอเมริกา
กำหนดการสอบธรรมศึกษาสนามหลวงในสหรัฐอเมริกาหนุ่มน้อย ดาร์จีลิ่ง
 
อัลบั้มประเมินครู คศ.2
อัลบั้มประเมินครู คศ.2อัลบั้มประเมินครู คศ.2
อัลบั้มประเมินครู คศ.2krupornpana55
 
กำหนดการอบรม Cervical
กำหนดการอบรม Cervicalกำหนดการอบรม Cervical
กำหนดการอบรม Cervicaltarat_mod
 
โครงการค่ายวิชาการEisปี54
โครงการค่ายวิชาการEisปี54โครงการค่ายวิชาการEisปี54
โครงการค่ายวิชาการEisปี54Lao-puphan Pipatsak
 
กำหนดการสัมมนา
กำหนดการสัมมนากำหนดการสัมมนา
กำหนดการสัมมนาsupranee wisetnun
 
พรีเซนต์ค.ศ.2
พรีเซนต์ค.ศ.2พรีเซนต์ค.ศ.2
พรีเซนต์ค.ศ.2Kwanrat Kwanlert
 
แผนการจัดหน่วยการเรียนรู้ วิทย์ 1 ม.1 ปี 56
แผนการจัดหน่วยการเรียนรู้ วิทย์ 1 ม.1 ปี 56แผนการจัดหน่วยการเรียนรู้ วิทย์ 1 ม.1 ปี 56
แผนการจัดหน่วยการเรียนรู้ วิทย์ 1 ม.1 ปี 56dnavaroj
 
กำหนดการโครงการต่าง ๆ
กำหนดการโครงการต่าง ๆกำหนดการโครงการต่าง ๆ
กำหนดการโครงการต่าง ๆLooktan Kp
 
รายงานผลการวิจัย ปี 2553 การจัดกิจกรรมปลูกป่าชายเลน ครูกอบวิทย์ พิริยะวัฒน์
รายงานผลการวิจัย ปี 2553 การจัดกิจกรรมปลูกป่าชายเลน ครูกอบวิทย์ พิริยะวัฒน์รายงานผลการวิจัย ปี 2553 การจัดกิจกรรมปลูกป่าชายเลน ครูกอบวิทย์ พิริยะวัฒน์
รายงานผลการวิจัย ปี 2553 การจัดกิจกรรมปลูกป่าชายเลน ครูกอบวิทย์ พิริยะวัฒน์Kobwit Piriyawat
 
นำเสนองานวิจัยประชุมวิชาการ มศว นายกอบวิทย์ พิริยะวัฒน์
นำเสนองานวิจัยประชุมวิชาการ มศว นายกอบวิทย์ พิริยะวัฒน์นำเสนองานวิจัยประชุมวิชาการ มศว นายกอบวิทย์ พิริยะวัฒน์
นำเสนองานวิจัยประชุมวิชาการ มศว นายกอบวิทย์ พิริยะวัฒน์Kobwit Piriyawat
 
การผลิตและใช้สื่อการเรียนการสอนวิทยาศาสตร์ นายกอบวิทย์ พิริยะวัฒน์
การผลิตและใช้สื่อการเรียนการสอนวิทยาศาสตร์ นายกอบวิทย์ พิริยะวัฒน์การผลิตและใช้สื่อการเรียนการสอนวิทยาศาสตร์ นายกอบวิทย์ พิริยะวัฒน์
การผลิตและใช้สื่อการเรียนการสอนวิทยาศาสตร์ นายกอบวิทย์ พิริยะวัฒน์Kobwit Piriyawat
 
การประดิษฐ์สื่อการเรียนการสอนแบบจำลองน้ำตกจากวัสดุเหลือใช้
การประดิษฐ์สื่อการเรียนการสอนแบบจำลองน้ำตกจากวัสดุเหลือใช้การประดิษฐ์สื่อการเรียนการสอนแบบจำลองน้ำตกจากวัสดุเหลือใช้
การประดิษฐ์สื่อการเรียนการสอนแบบจำลองน้ำตกจากวัสดุเหลือใช้Kobwit Piriyawat
 
แผนการจัดหน่วยการเรียนรู้ วิทยาศาสตร์ 2 ภาคเรียนที่ 2 ปีการศึกษา 2556
แผนการจัดหน่วยการเรียนรู้ วิทยาศาสตร์ 2 ภาคเรียนที่ 2  ปีการศึกษา 2556แผนการจัดหน่วยการเรียนรู้ วิทยาศาสตร์ 2 ภาคเรียนที่ 2  ปีการศึกษา 2556
แผนการจัดหน่วยการเรียนรู้ วิทยาศาสตร์ 2 ภาคเรียนที่ 2 ปีการศึกษา 2556dnavaroj
 
เค้าโครงสอน ม.1
เค้าโครงสอน ม.1เค้าโครงสอน ม.1
เค้าโครงสอน ม.1Kobwit Piriyawat
 
เอกสารประกอบการเรียนรู้เรื่องพลังงานความร้อน
เอกสารประกอบการเรียนรู้เรื่องพลังงานความร้อนเอกสารประกอบการเรียนรู้เรื่องพลังงานความร้อน
เอกสารประกอบการเรียนรู้เรื่องพลังงานความร้อนKobwit Piriyawat
 
ปรับการเรียนเปลี่ยนการสอนด้วย Inspiring science
ปรับการเรียนเปลี่ยนการสอนด้วย Inspiring scienceปรับการเรียนเปลี่ยนการสอนด้วย Inspiring science
ปรับการเรียนเปลี่ยนการสอนด้วย Inspiring scienceKobwit Piriyawat
 
How to Make Awesome SlideShares: Tips & Tricks
How to Make Awesome SlideShares: Tips & TricksHow to Make Awesome SlideShares: Tips & Tricks
How to Make Awesome SlideShares: Tips & TricksSlideShare
 
Getting Started With SlideShare
Getting Started With SlideShareGetting Started With SlideShare
Getting Started With SlideShareSlideShare
 

En vedette (18)

กำหนดการสอบธรรมศึกษาสนามหลวงในสหรัฐอเมริกา
กำหนดการสอบธรรมศึกษาสนามหลวงในสหรัฐอเมริกากำหนดการสอบธรรมศึกษาสนามหลวงในสหรัฐอเมริกา
กำหนดการสอบธรรมศึกษาสนามหลวงในสหรัฐอเมริกา
 
อัลบั้มประเมินครู คศ.2
อัลบั้มประเมินครู คศ.2อัลบั้มประเมินครู คศ.2
อัลบั้มประเมินครู คศ.2
 
กำหนดการอบรม Cervical
กำหนดการอบรม Cervicalกำหนดการอบรม Cervical
กำหนดการอบรม Cervical
 
โครงการค่ายวิชาการEisปี54
โครงการค่ายวิชาการEisปี54โครงการค่ายวิชาการEisปี54
โครงการค่ายวิชาการEisปี54
 
กำหนดการสัมมนา
กำหนดการสัมมนากำหนดการสัมมนา
กำหนดการสัมมนา
 
พรีเซนต์ค.ศ.2
พรีเซนต์ค.ศ.2พรีเซนต์ค.ศ.2
พรีเซนต์ค.ศ.2
 
แผนการจัดหน่วยการเรียนรู้ วิทย์ 1 ม.1 ปี 56
แผนการจัดหน่วยการเรียนรู้ วิทย์ 1 ม.1 ปี 56แผนการจัดหน่วยการเรียนรู้ วิทย์ 1 ม.1 ปี 56
แผนการจัดหน่วยการเรียนรู้ วิทย์ 1 ม.1 ปี 56
 
กำหนดการโครงการต่าง ๆ
กำหนดการโครงการต่าง ๆกำหนดการโครงการต่าง ๆ
กำหนดการโครงการต่าง ๆ
 
รายงานผลการวิจัย ปี 2553 การจัดกิจกรรมปลูกป่าชายเลน ครูกอบวิทย์ พิริยะวัฒน์
รายงานผลการวิจัย ปี 2553 การจัดกิจกรรมปลูกป่าชายเลน ครูกอบวิทย์ พิริยะวัฒน์รายงานผลการวิจัย ปี 2553 การจัดกิจกรรมปลูกป่าชายเลน ครูกอบวิทย์ พิริยะวัฒน์
รายงานผลการวิจัย ปี 2553 การจัดกิจกรรมปลูกป่าชายเลน ครูกอบวิทย์ พิริยะวัฒน์
 
นำเสนองานวิจัยประชุมวิชาการ มศว นายกอบวิทย์ พิริยะวัฒน์
นำเสนองานวิจัยประชุมวิชาการ มศว นายกอบวิทย์ พิริยะวัฒน์นำเสนองานวิจัยประชุมวิชาการ มศว นายกอบวิทย์ พิริยะวัฒน์
นำเสนองานวิจัยประชุมวิชาการ มศว นายกอบวิทย์ พิริยะวัฒน์
 
การผลิตและใช้สื่อการเรียนการสอนวิทยาศาสตร์ นายกอบวิทย์ พิริยะวัฒน์
การผลิตและใช้สื่อการเรียนการสอนวิทยาศาสตร์ นายกอบวิทย์ พิริยะวัฒน์การผลิตและใช้สื่อการเรียนการสอนวิทยาศาสตร์ นายกอบวิทย์ พิริยะวัฒน์
การผลิตและใช้สื่อการเรียนการสอนวิทยาศาสตร์ นายกอบวิทย์ พิริยะวัฒน์
 
การประดิษฐ์สื่อการเรียนการสอนแบบจำลองน้ำตกจากวัสดุเหลือใช้
การประดิษฐ์สื่อการเรียนการสอนแบบจำลองน้ำตกจากวัสดุเหลือใช้การประดิษฐ์สื่อการเรียนการสอนแบบจำลองน้ำตกจากวัสดุเหลือใช้
การประดิษฐ์สื่อการเรียนการสอนแบบจำลองน้ำตกจากวัสดุเหลือใช้
 
แผนการจัดหน่วยการเรียนรู้ วิทยาศาสตร์ 2 ภาคเรียนที่ 2 ปีการศึกษา 2556
แผนการจัดหน่วยการเรียนรู้ วิทยาศาสตร์ 2 ภาคเรียนที่ 2  ปีการศึกษา 2556แผนการจัดหน่วยการเรียนรู้ วิทยาศาสตร์ 2 ภาคเรียนที่ 2  ปีการศึกษา 2556
แผนการจัดหน่วยการเรียนรู้ วิทยาศาสตร์ 2 ภาคเรียนที่ 2 ปีการศึกษา 2556
 
เค้าโครงสอน ม.1
เค้าโครงสอน ม.1เค้าโครงสอน ม.1
เค้าโครงสอน ม.1
 
เอกสารประกอบการเรียนรู้เรื่องพลังงานความร้อน
เอกสารประกอบการเรียนรู้เรื่องพลังงานความร้อนเอกสารประกอบการเรียนรู้เรื่องพลังงานความร้อน
เอกสารประกอบการเรียนรู้เรื่องพลังงานความร้อน
 
ปรับการเรียนเปลี่ยนการสอนด้วย Inspiring science
ปรับการเรียนเปลี่ยนการสอนด้วย Inspiring scienceปรับการเรียนเปลี่ยนการสอนด้วย Inspiring science
ปรับการเรียนเปลี่ยนการสอนด้วย Inspiring science
 
How to Make Awesome SlideShares: Tips & Tricks
How to Make Awesome SlideShares: Tips & TricksHow to Make Awesome SlideShares: Tips & Tricks
How to Make Awesome SlideShares: Tips & Tricks
 
Getting Started With SlideShare
Getting Started With SlideShareGetting Started With SlideShare
Getting Started With SlideShare
 

Plus de Kobwit Piriyawat

แฟ้มสะสมผลงานดีเด่นระดับปริญญาเอก นายกอบวิทย์ พิริยะวัฒน์
แฟ้มสะสมผลงานดีเด่นระดับปริญญาเอก นายกอบวิทย์  พิริยะวัฒน์แฟ้มสะสมผลงานดีเด่นระดับปริญญาเอก นายกอบวิทย์  พิริยะวัฒน์
แฟ้มสะสมผลงานดีเด่นระดับปริญญาเอก นายกอบวิทย์ พิริยะวัฒน์Kobwit Piriyawat
 
แฟ้มสะสมงานการจัดการเรียนรู้ของครู นายกอบวิทย์ พิริยะวัฒน์
แฟ้มสะสมงานการจัดการเรียนรู้ของครู นายกอบวิทย์  พิริยะวัฒน์แฟ้มสะสมงานการจัดการเรียนรู้ของครู นายกอบวิทย์  พิริยะวัฒน์
แฟ้มสะสมงานการจัดการเรียนรู้ของครู นายกอบวิทย์ พิริยะวัฒน์Kobwit Piriyawat
 
P pt wpp สุราษฎร์ตอนที่5 ปรับวิถีการจัดการเรียนรู้่
P pt wpp สุราษฎร์ตอนที่5 ปรับวิถีการจัดการเรียนรู้่P pt wpp สุราษฎร์ตอนที่5 ปรับวิถีการจัดการเรียนรู้่
P pt wpp สุราษฎร์ตอนที่5 ปรับวิถีการจัดการเรียนรู้่Kobwit Piriyawat
 
P pt wpp สุราษฎร์ตอนที่4 เพิ่มโอกาสด้วย ict
P pt wpp สุราษฎร์ตอนที่4 เพิ่มโอกาสด้วย ictP pt wpp สุราษฎร์ตอนที่4 เพิ่มโอกาสด้วย ict
P pt wpp สุราษฎร์ตอนที่4 เพิ่มโอกาสด้วย ictKobwit Piriyawat
 
P pt wpp สุราษฎร์ตอนที่3 หลากกลเม็ดการสอนวิทย์
P pt wpp สุราษฎร์ตอนที่3 หลากกลเม็ดการสอนวิทย์P pt wpp สุราษฎร์ตอนที่3 หลากกลเม็ดการสอนวิทย์
P pt wpp สุราษฎร์ตอนที่3 หลากกลเม็ดการสอนวิทย์Kobwit Piriyawat
 
P pt wpp สุราษฎร์ตอนที่2 ก้าวสู่ครูในศตวรรษที่ 21
P pt wpp สุราษฎร์ตอนที่2 ก้าวสู่ครูในศตวรรษที่ 21P pt wpp สุราษฎร์ตอนที่2 ก้าวสู่ครูในศตวรรษที่ 21
P pt wpp สุราษฎร์ตอนที่2 ก้าวสู่ครูในศตวรรษที่ 21Kobwit Piriyawat
 
P pt wpp สุราษฎร์ตอนที่1 เตรียมพร้อมก่อนเรียนรู้
P pt wpp สุราษฎร์ตอนที่1 เตรียมพร้อมก่อนเรียนรู้P pt wpp สุราษฎร์ตอนที่1 เตรียมพร้อมก่อนเรียนรู้
P pt wpp สุราษฎร์ตอนที่1 เตรียมพร้อมก่อนเรียนรู้Kobwit Piriyawat
 
รูปแบบ/วิธีการนำสื่อการเรียนรู้ออนไลน์มาบูรณาการในการจัดการศึกษา โดยกอบวิทย์...
รูปแบบ/วิธีการนำสื่อการเรียนรู้ออนไลน์มาบูรณาการในการจัดการศึกษา  โดยกอบวิทย์...รูปแบบ/วิธีการนำสื่อการเรียนรู้ออนไลน์มาบูรณาการในการจัดการศึกษา  โดยกอบวิทย์...
รูปแบบ/วิธีการนำสื่อการเรียนรู้ออนไลน์มาบูรณาการในการจัดการศึกษา โดยกอบวิทย์...Kobwit Piriyawat
 
The evolution of science curriculum in the United States (Thai Version) โดย ก...
The evolution of science curriculum in the United States (Thai Version) โดย ก...The evolution of science curriculum in the United States (Thai Version) โดย ก...
The evolution of science curriculum in the United States (Thai Version) โดย ก...Kobwit Piriyawat
 
รายงานการเยี่ยมบ้านนักเรียน ครูกอบวิทย์ พิริยะวัฒน์
รายงานการเยี่ยมบ้านนักเรียน  ครูกอบวิทย์ พิริยะวัฒน์รายงานการเยี่ยมบ้านนักเรียน  ครูกอบวิทย์ พิริยะวัฒน์
รายงานการเยี่ยมบ้านนักเรียน ครูกอบวิทย์ พิริยะวัฒน์Kobwit Piriyawat
 
ปรับการเรียนเปลี่ยนการสอนด้วย Inspiring science
ปรับการเรียนเปลี่ยนการสอนด้วย Inspiring scienceปรับการเรียนเปลี่ยนการสอนด้วย Inspiring science
ปรับการเรียนเปลี่ยนการสอนด้วย Inspiring scienceKobwit Piriyawat
 
แบบฟอร์มแฟ้มสะสมผลงานนักเรียน 2555 โดยครูกอบวิทย์ พิริยะวัฒน์
แบบฟอร์มแฟ้มสะสมผลงานนักเรียน 2555 โดยครูกอบวิทย์ พิริยะวัฒน์แบบฟอร์มแฟ้มสะสมผลงานนักเรียน 2555 โดยครูกอบวิทย์ พิริยะวัฒน์
แบบฟอร์มแฟ้มสะสมผลงานนักเรียน 2555 โดยครูกอบวิทย์ พิริยะวัฒน์Kobwit Piriyawat
 
แผนผังวิเคราะห์การจัดการเรียนรู้ ว21101 วิทยาศาสตร์1 ครูกอบวิทย์ พิริยะวัฒน์
แผนผังวิเคราะห์การจัดการเรียนรู้ ว21101 วิทยาศาสตร์1 ครูกอบวิทย์ พิริยะวัฒน์แผนผังวิเคราะห์การจัดการเรียนรู้ ว21101 วิทยาศาสตร์1 ครูกอบวิทย์ พิริยะวัฒน์
แผนผังวิเคราะห์การจัดการเรียนรู้ ว21101 วิทยาศาสตร์1 ครูกอบวิทย์ พิริยะวัฒน์Kobwit Piriyawat
 
การเตรียมความพร้อมเพื่อรับการประเมินผลนักเรียนนานาชาติ (Pisa)
การเตรียมความพร้อมเพื่อรับการประเมินผลนักเรียนนานาชาติ (Pisa)การเตรียมความพร้อมเพื่อรับการประเมินผลนักเรียนนานาชาติ (Pisa)
การเตรียมความพร้อมเพื่อรับการประเมินผลนักเรียนนานาชาติ (Pisa)Kobwit Piriyawat
 
รูปแบบการจัดทำแผนการจัดการเรียนรู้รายวิชา ปรับปรุง 2555 ครูกอบวิทย์ พิริยะวัฒน์
รูปแบบการจัดทำแผนการจัดการเรียนรู้รายวิชา ปรับปรุง 2555 ครูกอบวิทย์ พิริยะวัฒน์รูปแบบการจัดทำแผนการจัดการเรียนรู้รายวิชา ปรับปรุง 2555 ครูกอบวิทย์ พิริยะวัฒน์
รูปแบบการจัดทำแผนการจัดการเรียนรู้รายวิชา ปรับปรุง 2555 ครูกอบวิทย์ พิริยะวัฒน์Kobwit Piriyawat
 
Partners in learning 2012 Report by Mr.Kobwit Piriyawat
Partners in learning 2012 Report by Mr.Kobwit PiriyawatPartners in learning 2012 Report by Mr.Kobwit Piriyawat
Partners in learning 2012 Report by Mr.Kobwit PiriyawatKobwit Piriyawat
 
Learning with ict, biotechnology issues mr.kobwit piriyawat
Learning with ict, biotechnology issues mr.kobwit piriyawatLearning with ict, biotechnology issues mr.kobwit piriyawat
Learning with ict, biotechnology issues mr.kobwit piriyawatKobwit Piriyawat
 
สอนวิทยาศาสตร์อย่างไร ให้สนุก โดยครูกอบวิทย์ พิริยะวัฒน์ ฉบับเผยแพร่
สอนวิทยาศาสตร์อย่างไร ให้สนุก โดยครูกอบวิทย์ พิริยะวัฒน์ ฉบับเผยแพร่สอนวิทยาศาสตร์อย่างไร ให้สนุก โดยครูกอบวิทย์ พิริยะวัฒน์ ฉบับเผยแพร่
สอนวิทยาศาสตร์อย่างไร ให้สนุก โดยครูกอบวิทย์ พิริยะวัฒน์ ฉบับเผยแพร่Kobwit Piriyawat
 
จดหมายข่าวเทคโนโลยีชีวภาพ 3
จดหมายข่าวเทคโนโลยีชีวภาพ 3จดหมายข่าวเทคโนโลยีชีวภาพ 3
จดหมายข่าวเทคโนโลยีชีวภาพ 3Kobwit Piriyawat
 
จดหมายข่าวเทคโนโลยีชีวภาพ 2
จดหมายข่าวเทคโนโลยีชีวภาพ 2จดหมายข่าวเทคโนโลยีชีวภาพ 2
จดหมายข่าวเทคโนโลยีชีวภาพ 2Kobwit Piriyawat
 

Plus de Kobwit Piriyawat (20)

แฟ้มสะสมผลงานดีเด่นระดับปริญญาเอก นายกอบวิทย์ พิริยะวัฒน์
แฟ้มสะสมผลงานดีเด่นระดับปริญญาเอก นายกอบวิทย์  พิริยะวัฒน์แฟ้มสะสมผลงานดีเด่นระดับปริญญาเอก นายกอบวิทย์  พิริยะวัฒน์
แฟ้มสะสมผลงานดีเด่นระดับปริญญาเอก นายกอบวิทย์ พิริยะวัฒน์
 
แฟ้มสะสมงานการจัดการเรียนรู้ของครู นายกอบวิทย์ พิริยะวัฒน์
แฟ้มสะสมงานการจัดการเรียนรู้ของครู นายกอบวิทย์  พิริยะวัฒน์แฟ้มสะสมงานการจัดการเรียนรู้ของครู นายกอบวิทย์  พิริยะวัฒน์
แฟ้มสะสมงานการจัดการเรียนรู้ของครู นายกอบวิทย์ พิริยะวัฒน์
 
P pt wpp สุราษฎร์ตอนที่5 ปรับวิถีการจัดการเรียนรู้่
P pt wpp สุราษฎร์ตอนที่5 ปรับวิถีการจัดการเรียนรู้่P pt wpp สุราษฎร์ตอนที่5 ปรับวิถีการจัดการเรียนรู้่
P pt wpp สุราษฎร์ตอนที่5 ปรับวิถีการจัดการเรียนรู้่
 
P pt wpp สุราษฎร์ตอนที่4 เพิ่มโอกาสด้วย ict
P pt wpp สุราษฎร์ตอนที่4 เพิ่มโอกาสด้วย ictP pt wpp สุราษฎร์ตอนที่4 เพิ่มโอกาสด้วย ict
P pt wpp สุราษฎร์ตอนที่4 เพิ่มโอกาสด้วย ict
 
P pt wpp สุราษฎร์ตอนที่3 หลากกลเม็ดการสอนวิทย์
P pt wpp สุราษฎร์ตอนที่3 หลากกลเม็ดการสอนวิทย์P pt wpp สุราษฎร์ตอนที่3 หลากกลเม็ดการสอนวิทย์
P pt wpp สุราษฎร์ตอนที่3 หลากกลเม็ดการสอนวิทย์
 
P pt wpp สุราษฎร์ตอนที่2 ก้าวสู่ครูในศตวรรษที่ 21
P pt wpp สุราษฎร์ตอนที่2 ก้าวสู่ครูในศตวรรษที่ 21P pt wpp สุราษฎร์ตอนที่2 ก้าวสู่ครูในศตวรรษที่ 21
P pt wpp สุราษฎร์ตอนที่2 ก้าวสู่ครูในศตวรรษที่ 21
 
P pt wpp สุราษฎร์ตอนที่1 เตรียมพร้อมก่อนเรียนรู้
P pt wpp สุราษฎร์ตอนที่1 เตรียมพร้อมก่อนเรียนรู้P pt wpp สุราษฎร์ตอนที่1 เตรียมพร้อมก่อนเรียนรู้
P pt wpp สุราษฎร์ตอนที่1 เตรียมพร้อมก่อนเรียนรู้
 
รูปแบบ/วิธีการนำสื่อการเรียนรู้ออนไลน์มาบูรณาการในการจัดการศึกษา โดยกอบวิทย์...
รูปแบบ/วิธีการนำสื่อการเรียนรู้ออนไลน์มาบูรณาการในการจัดการศึกษา  โดยกอบวิทย์...รูปแบบ/วิธีการนำสื่อการเรียนรู้ออนไลน์มาบูรณาการในการจัดการศึกษา  โดยกอบวิทย์...
รูปแบบ/วิธีการนำสื่อการเรียนรู้ออนไลน์มาบูรณาการในการจัดการศึกษา โดยกอบวิทย์...
 
The evolution of science curriculum in the United States (Thai Version) โดย ก...
The evolution of science curriculum in the United States (Thai Version) โดย ก...The evolution of science curriculum in the United States (Thai Version) โดย ก...
The evolution of science curriculum in the United States (Thai Version) โดย ก...
 
รายงานการเยี่ยมบ้านนักเรียน ครูกอบวิทย์ พิริยะวัฒน์
รายงานการเยี่ยมบ้านนักเรียน  ครูกอบวิทย์ พิริยะวัฒน์รายงานการเยี่ยมบ้านนักเรียน  ครูกอบวิทย์ พิริยะวัฒน์
รายงานการเยี่ยมบ้านนักเรียน ครูกอบวิทย์ พิริยะวัฒน์
 
ปรับการเรียนเปลี่ยนการสอนด้วย Inspiring science
ปรับการเรียนเปลี่ยนการสอนด้วย Inspiring scienceปรับการเรียนเปลี่ยนการสอนด้วย Inspiring science
ปรับการเรียนเปลี่ยนการสอนด้วย Inspiring science
 
แบบฟอร์มแฟ้มสะสมผลงานนักเรียน 2555 โดยครูกอบวิทย์ พิริยะวัฒน์
แบบฟอร์มแฟ้มสะสมผลงานนักเรียน 2555 โดยครูกอบวิทย์ พิริยะวัฒน์แบบฟอร์มแฟ้มสะสมผลงานนักเรียน 2555 โดยครูกอบวิทย์ พิริยะวัฒน์
แบบฟอร์มแฟ้มสะสมผลงานนักเรียน 2555 โดยครูกอบวิทย์ พิริยะวัฒน์
 
แผนผังวิเคราะห์การจัดการเรียนรู้ ว21101 วิทยาศาสตร์1 ครูกอบวิทย์ พิริยะวัฒน์
แผนผังวิเคราะห์การจัดการเรียนรู้ ว21101 วิทยาศาสตร์1 ครูกอบวิทย์ พิริยะวัฒน์แผนผังวิเคราะห์การจัดการเรียนรู้ ว21101 วิทยาศาสตร์1 ครูกอบวิทย์ พิริยะวัฒน์
แผนผังวิเคราะห์การจัดการเรียนรู้ ว21101 วิทยาศาสตร์1 ครูกอบวิทย์ พิริยะวัฒน์
 
การเตรียมความพร้อมเพื่อรับการประเมินผลนักเรียนนานาชาติ (Pisa)
การเตรียมความพร้อมเพื่อรับการประเมินผลนักเรียนนานาชาติ (Pisa)การเตรียมความพร้อมเพื่อรับการประเมินผลนักเรียนนานาชาติ (Pisa)
การเตรียมความพร้อมเพื่อรับการประเมินผลนักเรียนนานาชาติ (Pisa)
 
รูปแบบการจัดทำแผนการจัดการเรียนรู้รายวิชา ปรับปรุง 2555 ครูกอบวิทย์ พิริยะวัฒน์
รูปแบบการจัดทำแผนการจัดการเรียนรู้รายวิชา ปรับปรุง 2555 ครูกอบวิทย์ พิริยะวัฒน์รูปแบบการจัดทำแผนการจัดการเรียนรู้รายวิชา ปรับปรุง 2555 ครูกอบวิทย์ พิริยะวัฒน์
รูปแบบการจัดทำแผนการจัดการเรียนรู้รายวิชา ปรับปรุง 2555 ครูกอบวิทย์ พิริยะวัฒน์
 
Partners in learning 2012 Report by Mr.Kobwit Piriyawat
Partners in learning 2012 Report by Mr.Kobwit PiriyawatPartners in learning 2012 Report by Mr.Kobwit Piriyawat
Partners in learning 2012 Report by Mr.Kobwit Piriyawat
 
Learning with ict, biotechnology issues mr.kobwit piriyawat
Learning with ict, biotechnology issues mr.kobwit piriyawatLearning with ict, biotechnology issues mr.kobwit piriyawat
Learning with ict, biotechnology issues mr.kobwit piriyawat
 
สอนวิทยาศาสตร์อย่างไร ให้สนุก โดยครูกอบวิทย์ พิริยะวัฒน์ ฉบับเผยแพร่
สอนวิทยาศาสตร์อย่างไร ให้สนุก โดยครูกอบวิทย์ พิริยะวัฒน์ ฉบับเผยแพร่สอนวิทยาศาสตร์อย่างไร ให้สนุก โดยครูกอบวิทย์ พิริยะวัฒน์ ฉบับเผยแพร่
สอนวิทยาศาสตร์อย่างไร ให้สนุก โดยครูกอบวิทย์ พิริยะวัฒน์ ฉบับเผยแพร่
 
จดหมายข่าวเทคโนโลยีชีวภาพ 3
จดหมายข่าวเทคโนโลยีชีวภาพ 3จดหมายข่าวเทคโนโลยีชีวภาพ 3
จดหมายข่าวเทคโนโลยีชีวภาพ 3
 
จดหมายข่าวเทคโนโลยีชีวภาพ 2
จดหมายข่าวเทคโนโลยีชีวภาพ 2จดหมายข่าวเทคโนโลยีชีวภาพ 2
จดหมายข่าวเทคโนโลยีชีวภาพ 2
 

Kruvijai manual

  • 1. ” ” 086-3551183, 086-3551183, 080-5814610 080-5814610 Office: 034-252409 Fax : 034-252409 034- 034- E mail: kruvijai.foodtech@gmail.com
  • 2. ( ), . (Food Engineering), Virginia Tech, USA Engineering) (Biological System Engineering), Virginia Tech, USA - - - fourier transform infrared attenuated total reflectance - chemosensory system . . - - 081- 081-3032273 - 105 E-mail b_innawong@yahoo.com - PCA - - - ( .)
  • 3. ( ) . ( ) . University. - Teaching Assistant (TA), Department of Food Technology, Silpakorn University. - (Ready to eat, seasoning, sauce and Rice) eat, . - .23 . . 10540 - ( ) and Noodle) (Rice cracker, seasoning and Instant Noodle) . . 081- 081-8053325 E-mail joke44_p@hotmail.com ( .)
  • 4. ( ) . ( ) . University. - Teaching Assistant (TA), Department of Food Technology, Silpakorn University. - - - 089- 089-1995990 ( .) E-mail nui157@hotmail.com
  • 5. ( ) - Touristmo Thai - - Food Innovation & Design 085- 085-9765089 ( .) E-mail -
  • 6. ( ) . ( ) . - Teaching Assistant (TA), Department of Food Technology, Silpakorn University. Supervisor - Outsourcing Supervisor ( ) - Food Innovation & Design - . 086-375- 086-375-7784 - Technical Sale Representative E-mail moo2120@yahoo.com - . ( .)
  • 7. ( ) . - . ( .) ( ) 087- 087-1557701 E-mail salapao315@hotmail.com
  • 8. ( ) . ( ) . - - - : - : 086 086-3746477 - : ... E-mail oi_ly135@yahoo.com - / - - : ... ( .)
  • 9. กําหนดการ โครงการครุวจัยศู นย์ นวัตกรรมและการจัดการเทคโนโลยีอาหาร ิ กลยุทธ์ : 4 ตลาดนํา 5 ตลาดบก 6 อุตสาหกรรม วันพุธที 31 มีนาคม 2553 (หน้ าลิฟต์ ชัน 3 คณะวิศวกรรมศาสตร์ ) 13.00 - 16.00 น. รายงานตัวทีภาควิชาเทคโนโลยีอาหาร คณะวิศวกรรมศาสตร์ ฯ ม.ศิลปากร เข้าทีพักที สิ ทธิกานต์ แมนชั น (ติดต่อพีไก่ 085-9765089) ********************************************************** วันพฤหัสบดีที 1 เมษายน 2553 (ห้ อง ท.330 คณะวิศวฯ) 8.30 - 9.30 น. กล่าวต้อนรับและทําความรู ้จกกัน ั 9.30 - 9.50 น. ค้นตนบนความคิด (Think Difference) 9.50 - 10.00 น. สรุ ปแนวคิดและร่ วมแลกเปลียน 10.00 - 10.30 น. กิจกรรมละลายพฤติกรรม 10.30 - 10.45 น. พักรับประทานอาหารว่าง 10.45 - 12.00 น. เล่นเกมส์ 12.00 - 13.00 น. พักรับประทานอาหารกลางวันตามอัธยาศัย 13.00 - 16.00 น. ชมสื อวีดีทศน์ เข้าใจและเห็นนวัตกรรมและการจัดการเทคโนโลยี ั 16.00 - 16.30 น. สรุ ปและร่ วมแลกเปลียนความคิดเห็น ********************************************************** วันศุกร์ ที 2 เมษายน 2553 (ห้ อง ท.330 คณะวิศวฯ) 8.30 - 10.30 น. จุดประกายและสร้าง Idea ในการทําโจทย์วจย ิั 10.00 - 10.30 น. กิจกรรมละลายพฤติกรรม 10.30 - 10.45 น. พักรับประทานอาหารว่าง 10.45 - 12.00 น. ชมสื อวีดีทศน์ ั 12.00 - 13.00 น. พักรับประทานอาหารกลางวันตามอัธยาศัย 13.00 - 16.00 น. รับฟัง Concept โครงศูนย์ ฯ 16.00 - 16.30 น. สรุ ปและร่ วมแลกเปลียนความคิดเห็น **********************************************************
  • 10. วันเสาร์ ที 3 เมษายน 2553 (อาหารไทยในมิติวฒนธรรม) ั 6.00 น. ออกเดินทางจากสิ ทธิ กานต์แมนชัน 6.00 - 12.00 น. เดินทางไปเทียวตลาดนําท่าคา / ตลาดนําบางนกแขวก / ตลาดนําบางน้อย 12.00 - 16.30 น. เทียวชมศิลปวัฒนธรรมดืมดํากับธรรมชาติใน อ.อัมพวา ้ ่ ่ - ไปค่ายบางกุง ชมโบสถ์เก่าทีอยูในต้นโพธิ กราบองค์พอตากสิ น - วัดบางแคน้อย ชมโบสถ์ไม้สักทองมูลค่ากว่า ๓๐ ล้านบาท - วัดบางแคใหญ่ ชมจิตรกรรมฝาผนังสมัย รัชกาลที 2 16.30 - 20.00 น. เดินทางไปตลาดนําอัมพวา / เทียวไปชิมไป รับประทานอาหารตามวิถีชาวบ้าน 20.00 - 21.00 น. เดินกลับถึงทีพัก พักผ่อนนอนหลับตามสบาย ********************************************************** วันจันทร์ ที 5 เมษายน 2553 (ห้ อง ท.330 คณะวิศวฯ) เรียนรู้ เทคนิคต่ าง ๆ ในกระบวนการรับความคิด 8.30 - 9.30 น. มารู ้จกกับ “ช่วยกันคิด ... ช่วยกันเขียน” ั ร่ วมโหวตพลังแห่งความคิดจากการเนรมิตแห่งคําพูด 09.30 - 10.30 น. “ช่วยกันคิด ... ช่วยกันเขียน” (ภาค 1) 10.30 - 10.45 น. พักทานอาหารว่าง / ดูของดีแบบ Chill ๆ 10.45 - 12.00 น. ทํา “ช่วยกันคิด ... ช่วยกันเขียน” (ภาค 2) 12.00 - 13.00 น. อิมอร่ อยกับอาหารกลางวัน 13.00 - 14.00 น. “คิด” จากกรณี ศึกษา/โฆษณาแบบ “คิด” 14.00 - 14.15 น. มารู ้จกกับ “9 กระบวนท่าจับความคิด” ั 14.15 - 15.15 น. เริ มวิทยายุทธ์ “9 กระบวนท่าจับความคิด” 15.15 - 15.30 น. พักทานอาหารว่าง / ดูของดีแบบ Chill ๆ 15.30 – 15.45 น. ร่ วมโหวตจอมยุทธ์ทีมีกระบวนท่างามทีสุ ด 15.45 – 16.00 น. มารู ้จกกับ “วิชาสกัด Idea ขันเทพ” ั 16.00- 16.30 น. เริ ม สกัด Idea ขันเทพ กันได้เลย ร่ วมโหวต Idea ขันเทพ **********************************************************
  • 11. วันอังคารที 6 เมษายน 2553 (ห้ อง ท.330 คณะวิศวฯ) 8.30 – 10.30 น. เรี ยนรู ้วธีการสื บค้นข้อมูล ิ 10.30 -10.45 น. พักรับประทานอาหารว่าง 10.45 -12.00 น. เรี ยนรู ้วธีการเขียนและสร้างโปสเตอร์ ิ 12.00 – 13.00 น. พักรับประทานอาหารกลางวันตามอัธยาศัย 13.00 – 16.30 น. ทดลองสื บค้นหาข้อมูลสําหรับงานวิจย (หอสมุด/ห้องคอมพิวเตอร์ ) ั ********************************************************** วันพุธที 7 เมษายน 2553 (ห้ อง ท.330 คณะวิศวฯ) ครุ วจัยอาหาร: ทําอะไร ทําอย่ างไร ได้ อะไร โดย รศ.ดร. สุ ธีระ ประเสริฐสรรพ์ (คณะวิศวกรรมศาสตร์ ม.อ. ) ิ 8.30- 10.30 น. เป้ าชีวตของครุ วจยจากกระบวนการวิจย การทําวิจยให้ได้ดี ิ ิั ั ั 10.30 - 10.45 น. พักรับประทานอาหารว่าง 10.45 - 12.00 น. ตรรกะในงานวิจย การสร้างคุณค่าในการวิจยของครู ั ั 12.00 - 13.00 น. พักรับประทานอาหารกลางวันตามอัธยาศัย 13.00 - 14.00 น. Work shop หาวัตถุประสงค์และวิธีการวิจย ั 14.00 - 14.30 น. แลกเปลียนและซักถามข้อสงสัย 14.30 - 14.45 น. พักรับประทานอาหารว่าง 14.45 -16.30 น. สรุ ปวิธีการศึกษาวิจย ั ********************************************************** วันพฤหัสบดีที 8 เมษายน 2553 (ห้ อง ท.330 คณะวิศวฯ) เรียนรู้ กระบวนการสร้ าง Methodology 8.30 - 10.30 น. แนะนําเครื องมือและอุปกรณ์ต่าง ๆ ของภาควิชาเทคโนโลยีอาหาร 10.30 - 10.45 น. พักรับประทานอาหารว่าง 10.45 -12.00 น. ร่ วมทํากิจกรรม / เกมส์ 12.00 - 13.00 น. พักรับประทานอาหารกลางวันตามอัธยาศัย 13.00 - 16.00 น. เข้ากลุ่มเพือหา Methodology **********************************************************
  • 12. วันศุกร์ ที 9 เมษายน 2553 (ห้ อง ท.330 คณะวิศวฯ) พัฒนาข้ อเสนอโครงการ/ Full proposal 8.30 - 10.30 น. รับฟังการเสวนาจากผูประกอบการผูผลิตขนมขบคิด ้ ้ โดย คุณพีระพล เลาหเสรี กล ุ (เจ้าของกิจการ ห้างหุ นส่ วนสิ นสาลี แอนด์บิสกิต จ.ราชบุรี) ้ จากปั ญหาในโรงงานสู่ ...งานวิจย...ไปสู่ เชิงพาณิ ชย์ ั ********** อุตสาหกรรมอาหาร 1 10.30 -10.45 น. พักรับประทานอาหารว่าง 10.45 - 12.00 น. รับฟังการบรรยาย เรื อง การออกแบบบรรจุภณฑ์ ั โดย คุณอนุชิต ปัญญาวัชระ (คุณเอ) บริ ษทยินดีออกแบบ ั 12.00 - 13.00 น. พักรับประทานอาหารกลางวันตามอัธยาศัย 13.00 - 14.30 น. รับฟังการเสวนาจากผูประกอบการด้านการแปรรู ปผลไม้ ้ โดย คุณมาลินี วราหกิจ บริ ษทเอ็มวี ฟู้ ด ซัพพลาย จํากัด จ.นครปฐม ั ********** อุตสาหกรรมอาหาร 2 14.30 - 14.45 น. พักรับประทานอาหารว่าง 14.45 - 16.00 น. ร่ วมประชุมหารื อ Full proposal 16.00 - 16.30 น. แลกเปลียนความคิดเห็น ********************************************************** วันเสาร์ ที 10 เมษายน 2553 อาหารกับการพาณิ ชย์ 05.30 น. ออกเดินทางจากสิ ทธิ กานต์แมนชันไป อ.พัฒนานิคม จ. ลพบุรี 09.30 - 11.30 น. ดูงานอุตสาหกรรมอาหารสัตว์ บริ ษทเบทาโกร จํากัด (มหาชน) ั ********** อุตสาหกรรมอาหาร 3 11.30 - 13.00 น. พักรับประทานอาหารกลางวันตามอัธยาศัย 13.00 - 16.00 น. ดูงานโรงงานอุตสาหกรรมแปรรู ปเนือไก่ บริ ษท บี ฟู้ ด อินเตอร์ เนชันแนล จํากัด (ในเครื อเบทาโกร) ั ********** อุตสาหกรรมอาหาร 4 16.00 - 18.30 น. ออกเดินทางไป อ.แก่งคอย จ.สระบุรี 19.00 – 19.30 น. เข้าทีพัก พักผ่อนตามใจท่าน 19.30 - 21.30 น. รับประทานอาหารคํา 21.30 น. นอนหลับฝันดี **********************************************************
  • 13. วันอาทิตย์ ที 11 เมษายน 2553 อาหารกับการพาณิ ชย์ 06.30 น. รับประทานอาหารเช้า 07.30 น. ออกเดินทางไปดูโรงงาน 09.00 - 10.00 น. ดูงานโรงงานทําบะหมี อ.เมือง จ.สระบุรี ********** อุตสาหกรรมอาหาร 5 10.00 - 10.40 น. เดินทางไป อ. มวกเหล็ก จ.สระบุรี (แจกขนมเบรกลองท้องทานบนรถ) 11.00 - 13.30 น. ดูงานบริ ษทองค์การส่ งเสริ มกิจการโคนมแห่งประเทศไทย (อสค.) ั ********** อุตสาหกรรมอาหาร 6 13.30 - 14.00 น. รับประทานอาหารกลางวัน 14.00 - 17.30 น. เดินทางกลับจังหวัดนครปฐม ********************************************************** วันจันทร์ ที 12 เมษายน 2553 (ห้ อง ท.330 คณะวิศวฯ) 8.30 - 10.30 น. เรี ยนรู ้เทคนิคการนําเสนอผลงานอย่างมืออาชีพ (โปสเตอร์ /บทความ/สาระการเรี ยนรู ้/จัดนิทรรศการ) 10.30 - 10.45 น. พักรับประทานอาหารว่าง 10.45 - 12.00 น. เรี ยนรู ้เทคนิคการนําเสนอผลงานอย่างมืออาชีพ (การนําเสนอ/เทคนิคการพูด) 12.00 - 13.00 น. พักรับประทานอาหารกลางวันตามอัธยาศัย 13.00 - 16.30 น. ทดลองจัดทําโปสเตอร์ และวางแผนการทํางานวิจยร่ วมกับพีเลียงกลุ่ม ั ********************************************************** วันอังคารที 13 เมษายน 2553 - วันเสาร์ ที 24 เมษายน 2553 8.30 - 16.30 น. ทํางานวิจย ั หมายเหตุ: วันที 16 และ 24 เมษายน 2553 รายงานความก้าวหน้าของกลุ่ม ทีห้อง ท.330 (วันละ 2 ชัวโมง กลุ่มละ 10 นาที)
  • 14. วันเสาร์ ที 17 เมษายน 2553 ทัศนศึกษาตลาดบก (อาหารไทยกับการท่องเทียว) 06.00 -07.00 น. ออกเดินทางจากสิ ทธิ กานต์แมนชัน- อ. สองพีน้อง 07.00 – 08.30 น. เทียวชมตลาดเก้าห้อง อ.สองพีน้อง จ.สุ พรรณบุรี ชิมอาหารเช้าในตลาดอย่าง เพลิดเพลิน 08.30 – 09.15 น. ออกเดินทางไปตลาดศรี ประจันต์ 09.15 – 10.15 น. เทียวชม-แวะชมอาหารตลาดศรี ประจันต์ 10.15- 10.45 น. เดินทางไปทัศนศึกษาตลาด 100 ปี สามชุก 11.00 – 14.00 น. ั เทียวชมตลาด 100 ปี สามชุก ศึกษาและรื นรมย์กบอาหารนานาชนิด 14.00 – 14.30 น. ออกเดินทางไปเทียวชมบ้านควาย 14.30 – 16.00 น. ชมวิถีชีวตของชาวนาแบบดังเดิมทีบ้านควาย อ.ศรี ประจันต์ จ.สุ พรรณบุรี ิ 16.00 – 17.30 น. เดินทางกลับถึงทีพักโดยสวัสดิภาพ ********************************************************** วันที 26 - 28 เมษายน 2553 8.30 - 16.30 น. จัดทําสาระการเรี ยนรู ้ /โปสเตอร์ /นิทรรศการ/รู ปเล่มรายงาน วันที 28 เมษายน 2553 18.30 - 21.30 น. Party สั งสรรค์ อาลา อาลัยครุ วจัย ศูนย์ นวัตกรรมฯ รุ่ น 1 ํ ิ กิจกรรมสั งสรรค์ ฮาเฮ เกมส์ /เพลง ********************************************************** วันพฤหัสบดีที 29 เมษายน 2553 8.30 - 9.30 น. จัดของและเตรี ยม check out ออกจากโรงแรม 9.30 น. - 10.00 น. ขึนรถเดินทางไป กทม. เพือจัดนิทรรศการแสดงผลงาน 12.00 น. ถึงโรงแรมทีพัก 12.00 - 13.00 น. พักรับประทานอาหารกลางวัน ********************************************************** วันศุกร์ ที 30 เมษายน 2553 - วันเสาร์ ที 1 พฤษภาคม 2553 9.00 - 16.30 น. นําเสนอผลงานวิจย ั หมายเหตุ: รอกําหนดการและแจ้ งรายละเอียดของทีพักจากส่ วนกลางอีกครัง ่ ั รายละเอียดกิจกรรมอาจมีการเปลียนแปลงตามความเหมาะสม ทังนีขึนอยูกบสถานการณ์ปัจจุบน ั
  • 15.
  • 16. ภาควิชาเทคโนโลยีอาหาร คณะวิศวกรรมศาสตรและเทคโนโลยีอุตสาหกรรม มหาวิทยาลัยศิลปากร วิทยาเขตพระราชวังสนามจันทร อําเภอเมือง จังหวัดนครปฐม กุมภาพันธ 2553 อารัมภบท กอนอื่นขอบอกกอนวาขอมูลที่จะไดอานตอไปนี้ "ลับเฉพาะ" สุดๆ สําหรับชาวครุวิจัยทุกคน แนนอน วาสวนหนึ่งเปนขอมูลที่ไดมาจากภาควิชาเทคโนโลยีอาหารสําหรับทําความรูจักมักจี่ อีกสวนหนึ่งเปนลายแทง มหาสมบัติ สําหรับใชชีวิตอยูบนภาควิชาฯ แหงนี้อยางผาสุก ดังนั้นขอจงโปรดอานสิ่งที่จะบังเกิดขึ้นตอจากนี้ ใหดี เพราะนี่คือที่มาแหงโชคลาภที่อาจไดรับจากครุวิจัยครั้งนี้ ... ขอความโชคดีจงอยูเคียงคุณ หนวย SWAT ชาวครุวิจัยที่มีความฉงนสงสัย อยากไดขอมูลเพิ่มเติมเกี่ยวกับการใชชีวิตในภาควิชาเทคโนโลยีอาหาร แหงนี้สามารถสงสัญญาณเพื่อเรียกหนวย SWAT ไดทาง 080-581-4610 เรียก คุณหมู รับรองวาจะไดรับการ ชวยเหลืออยางรวดเร็วที่สุด จึงขอแจงมา ณ โอกาสนี้ รูจักกับเรา ในป พ.ศ. 2530 มหาวิทยาลัย ศิลปากรไดมีนโยบายในการจัดตั้ งคณะเทคโนโลยีอุตสาหกรรมขึ้ น พรอมทั้งพิจารณาหลักสูตรสาขาวิชาตางๆ ที่ควรเปดสอนในคณะเทคโนโลยีอุตสาหกรรม โดยคํานึงถึงความ เหมาะสม ความสอดคลองกับการพัฒนาอุตสาหกรรมของภูมิภาคตะวันตก การตอบสนองตอความตองการ ของประเทศที่เนนการพึ่งตนเองในดานเทคโนโลยี และความมีศักยภาพสําหรับการพัฒนาประเทศในปจจุบัน และอนาคต ในป พ.ศ. 2532 จึงไดดําเนินการรางหลักสูตรสาขาวิชาเทคโนโลยีอาหาร ซึ่งหลักสูตรดังกลาว ได ดําเนินการแลวเสร็จในป พ.ศ. 2533 ในป พ.ศ. 2535 ภาควิชาเทคโนโลยีอาหารไดเปดรับนักศึกษารุนแรกเขา ศึกษา จํานวน 20 คน ในป พ.ศ. 2544 ภาควิชาเทคโนโลยีอาหารไดเริ่มเปดรับนักศึกษาระดับปริญญาโทใน สาขาวิชา เทคโนโลยีอาหาร และภายในป 2554 คาดวาจะเปดรับนักศึกษาระดับปริญญาเอก สาขาเทคโนโลยี อาหาร
  • 17. ปณิธานของเรา ภาควิ ช าเทคโนโลยีอาหารมี ป ณิ ธ านที่ มุงมั่ น ในการจั ดโปรแกรมการเรี ย นการสอน การวิ จั ย การ ใหบริการวิชาการ และการจัดกิจกรรมสรางสรรคทางดานวิทยาศาสตรและวิศวกรรมศาสตรที่เนน คุณภาพ ของแตละภารกิจเปนพิเศษ ทั้งนี้เพื่อสงเสริมและสนับสนุนการพัฒนาทรัพยากรมนุษย การพัฒนาเศรษฐกิจ และสังคมของภูมิภาคตะวันตก และของประเทศใหสามารถแขงขัน ไดอยางสมศักดิ์ศรีทั้งในระดับภูมิภาค และ ระดับสากล เปาหมายของเรา 1. มุงเนนการผลิตบัณฑิตใหเปนผูมีความรูความสามารถทั้ง ดานทฤษฎีและปฏิบัติควบคูกัน เปนบัณฑิต ที่มีคุณธรรม จริยธรรม มีวินัย มีความสํานึกทางสังคม สามารถรับฟงความคิดเห็นที่แตกตางกันของ ผูอื่น และสามารถทํางานรวมกับผูอื่นไดอยางมีความสุข 2. สงเสริมและสนับสนุนทั้งงานวิจัยที่สรางองคความรูใหม และงานวิจัยและพัฒนาที่สามารถนําไปใช ประโยชนในการพัฒ นาชุมชนและประเทศชาติ ได รวมทั้ งสงเสริมและสนั บสนุน ใหมีการวิ จัย และ พัฒนาในลักษณะพหุสาขา 3. สงเสริมและสนับสนุนใหมีการบริการวิชาการแกชุมชนและ สังคมตามศักยภาพของภาควิชาฯ และให มีการเผยแพรผลงานทางวิชาการทั้งในระดับประเทศและนานาชาติ 4. สนับสนุนและสงเสริมการระดมความคิด เพื่อนําแนวคิดและศักยภาพของบุคลากรขององคกรมาสราง ความแข็งแกรงทางวิชาการ และการบริหารจัดการของภาควิชา 5. จัดหาบุคลากรที่มีความรูความสามารถใหเพียงพอกับความตองการ และจัดสวัสดิการใหเหมาะสมตาม ศักยภาพของภาควิชาฯ เพื่อจูงใจใหบุคลากรที่มี ความรูความสามารถเขามาทํางานในภาควิชาฯ และ จะพัฒนาบุคลากรประจําใหมีความรูความสามารถ โดยการจัดหาทุนไปฝกอบรม ดูงาน และศึกษาตอ ทั้งในและตางประเทศ 6. ดํ า เนิ น การพั ฒ นาคุ ณภาพการศึ กษาโดยการจั ด หาวั ส ดุ ครุ ภั ณฑที่ ทั น สมั ย และเพี ย งพอตอความ ตองการใชงานทั้งในดานการเรียนการสอน และงานสนับสนุนวิชาการ 7. สรางบรรยากาศการทํางานรวมกันภายในภาควิชาฯ เพื่อใหทุกคนรูจักบทบาทหนาที่ของตนเอง มี ความรับผิดชอบ และใชเหตุผลในการดําเนินงาน 8. สงเสริมใหอาจารย นักศึกษา และบุคลากรของภาควิชาฯ มีสวนรวมในการสรางสภาวะแวดลอมทาง กายภาพภายในบริเวณภาควิชาฯ มหาวิทยาลัย และชุมชนใหรมรื่นนาอยู
  • 18. มาหาเราไดอยางไร จากแผนที่นี้สามารถมาไดหลายชองทาง ทั้งจากกรุงเทพมหานคร ราชบุรี หรือ สุพรรณบุรี อยางไรก็ ตามหากมี ขอสงสั ย ในการเดิ น ทางมาสามารถโทรศั พทหา "คุ ณ หมู " ไดที่ เ บอร 080-581-4610 ตลอด 24 ชั่วโมงเลยนะครับ
  • 19. คณาจารยประจําภาควิชาเทคโนโลยีอาหาร ผศ.ดร.สุเชษฐ สมุหเสนีโต1 อ.ดร.ดวงใจ ถิรธรรมถาวร (กบ) ผศ.ดร.ประสงค ศิริวงศวิไลชาติ (เดียร) ผศ.ดร.ปริญดา เพ็ญโรจน (ปริ๊นซ) ผศ.ดร.อรุณศรี ลีจีรจําเนียร (ออย) ผศ.ดร.บุศรากรณ มหาโยธี (กี้) ผศ.ดร.บัณฑิต อินณวงศ (หนึ่ง) ผศ.ดร.โสภาค สอนไว (เบน) ผศ.ดร.เอกพันธ แกวมณีชัย (เอ) ผศ.ดร.ปราโมทย คูวิจิตรจารุ อ.อุกฤษฏ สายสิทธิ์ (ออง) อ.วิญ ู โชครุงกาญจน (ฟุย) อ.สินี หนองเตาดํา2 อ.ธัชพงศ ชูศรี2 (เอ) หมายเหตุ: 1 - หัวหนาภาคฯ, 2 - ลาศึกษาตอ
  • 20. บุคลากรสายสนับสนุนประจําภาควิชาเทคโนโลยีอาหาร คุณกัญรณี จันทิพยวงษ (ณี) คุณสายทอง แซตัน (นุช) คุณธนรัตน พวงพรอม (เดี่ยว) นักวิชาการศึกษา เจาหนาที่บริหารงานทั่วไป คนงานหองทดลอง คุณปยะฉัตร ใจเอื้อ (โจ) คุณทิพยดนยา ทิพนาถศิริสกุล (แกว) คุณฉัตรชัย วัฒนไพโรจน (ปน) นักวิทยาศาสตรชํานาญการ นักวิทยาศาสตร นักวิทยาศาสตร ลายแทงแผนที่บนภาควิชาเทคโนโลยีอาหาร เมื่อมาถึงคณะวิศวกรรมศาสตรและเทคโนโลยีอุตสาหกรรม แลวขึ้นลิฟทมายังชั้น 3 แลว หลังจากที่ ลิฟทเปดออก จะพบกับตัวอักษร "ภาควิชาเทคโนโลยีอาหาร DEPARTMENT OF FOOD TECHNOLOGY" ซึ่ง นั่นแสดงวาไดมาถึงจุดหมายปลายทางแลว (ไมหลงแนๆ :-)
  • 21. นับจากนี้ตอไปโปรดจงตั้งสติ ;-< เมื่อกาวเดินตรงออกมาจากลิฟท ดานซายมือ คือ ทางขึ้นลงบันได ระหวางชั้นของตัวอาคาร สวนดานขวาจะเห็นเปนระเบียงที่สามารถนั่งได เอาหละ แนนอนวาคงไมเดินไป ทางซายมือแนนอน เพราะสถานที่ทําวิจัยนั้นจะอยูภายในอัครสถานแหงนี้ ดังนั้น อันดับแรกหลังออกมาจาก ลิฟทใหเดินไปทางขวา ไดเลย (เดินนิดเดียวจริงๆ นะ) จากนั้นจะเห็นเปนทางเดินทอดยาวเต็มบริเวณของภาควิชาฯ โดยหากเดินไปทางขวามือ จะพบ กั บ ทางสามแพรง  ซึ่ ง ถาตรงไป คื อ เสนทางสู สํ า นั ก งานภาควิ ช าเทคโนโลยี อ าหาร / หอง คอมพิวเตอร / และหองพักคณาจารยของภาควิชาฯ ซึ่งแนนอนวาสามารถพบเจอ คุณณี / คุณนุช / คุณ เดี่ยว ไดที่หองสํานักงานภาควิชาฯ ที่สําคัญไปกวานั้น 3 คนนี้แหละ คือ ผูชวยเหลือที่นารัก และใจดีของ ภาควิชาฯ หากตองการสอบถามขอมูลอะไรเกี่ยวกับภาควิชาฯ ละก็ เปนอันสมหวังทุกครั้งไป ครั้นถาจะเลี้ยว ขวา จะพบกับสุขาวดี (หองน้ํา ) สวนเลี้ยวซาย  จะเปนทางเดินเชื่อมไปยังโซนหองปฏิบัติการ ทางดานจุลชีววิทยา (เกี่ยวกับเชื้อจุลินทรีย) / หองปฏิบัติการทางดานเคมี  ทางเดินเชื่อม สํานัก ทางไปสุขาวดี งานภาคฯ แตถาเดินไปทางซายมือ  จะเห็นเปนทางเดินทอดยาวไป โดยดานขวาเปนเวิ้งอากาศกลางคณะอัน สวยงาม โดยเมื่อมองไปดานลางจะเห็นสวนหยอม และบอน้ําที่จัดแตงขึ้นอยางเปนธรรมชาติ ในขณะที่ดาน ซายมือเปนหองตางๆ ของภาควิชา โดยมีชื่อเรียกหองเปน "ท 3XX" โดย "ท" หมายถึง เทคโนโลยีอุตสาหกรรม (...แตกอนคณะนี้มีชื่ อวา คณะเทคโนโลยี อุต สาหกรรม แลวมาเปลี่ ยนชื่ อเปน คณะวิ ศวกรรมศาสตรและ เทคโนโลยีอุตสาหกรรม ภายหลัง) สวนเลข "3" หมายถึง ชั้น 3 ของอาคาร และเลข "XX" 2 ตัวสุดทาย หมายถึง ลําดับเลขหอง โดยหองแรกดานซายมือที่เห็น คือหอง ท 311
  • 22. เรื่อยไปจนกระทั่งถึงหอง ท 314 ก็จะพบทางเดินเล็กๆ ดานซายมือสําหรับเดินออกไปลานกิจกรรม ของภาควิชาฯ (ขอบอกวาภาควิชาเทคโนโลยีอาหาร เปนภาควิชาเดียวที่มีพื้นที่ดานขางสําหรับจัดกิจกรรมของ ภาควิชาฯ ... :-) แตหากเดินตอไปอีกสักนิด (จนเลยหอง ท 315) จะพบกับทางแยกซาย-ขวา  โดย หากเลี้ยวซายจะเปนหอง ท 316 เรื่อยไปจนถึงหอง ท 319 ซึ่งตรงหอง ท 316 นี้จะพบกับบันไดเวียนขึ้นลง ระหวางชั้น 2 และ 4 ในขณะที่เมื่อเดินไปจนสุดทางคือ หอง ท 319 จะพบกับบันไดดานหลังสําหรับเดินขึ้นลง ระหวางชั้น 2 และ 4 และจะพบลานกิจกรรมเล็กๆ ดานขางหอง ท 319 บันไดเวียน  ทางเดินเบี่ยง ทางเดินเชื่อม
  • 23.  ลานกิจกรรม ทางเดินไป หอง ท 319  หอง ท 319 ทั้งนี้จากทางแยกซาย-ขวา  ดังกลาว หากเลี้ยวขวาก็จะพบทางเดินเชื่อมตอไปยังอีกโซนหนึ่ง ของตึก ซึ่งตรงนี้แหละจะเขาสูบริเวณหลักที่จะใชในการทํากิจกรรมรวมกันของทุกคน โดยเมื่อผานทางเดิน เชื่อมนี้แลวจะเห็นหองทํากิจกรรมหองแรกคือหอง ท 333 (หรืออาจเรียกวา "หองมานเขียว") หอง ท 333 (หองมานเขียว) เมื่อเลี้ยวขวาจะ พบทางเดินเชื่อม รวมถึงจะเห็นทางแยกเปนทางเดินสี่เหลี่ยม ซึ่งบริเวณตรงกลางคือชองอากาศขนาดใหญของอาคาร โดยเมื่อมองลงไปดานลางจะเห็นบริเวณลานใตคณะฯ ทั้งนี้หากเลี้ยวซายตรงแยกหอง ท 333 (หองมานเขียว) แลวเดินตรงมาอีกเล็กนอยจะพบกับหองทํางานของทีมงานครุวิจัย คือ หอง ท 326 และ ท 327 สวนที่ติดๆ กันคือ หองพักสําหรับนักศึกษาปริญญาโทของภาควิชา ซึ่งเมื่อเดินมาแลวสามารถเดินวนเปนสี่เหลี่ยม (อยางที่ ไดบอกไวขางตน)
  • 24. หอง ท 326 หอง ท 326 แตถาหากไมเลี้ยวไปทางไหนแลวเดินตรงไปตอจากหอง ท 333 (หองมานเขียว) จะพบกับหองสําหรับ ทํากิจกรรมหลักอีกหองหนึ่ง นั่นคือหอง ท 330 (หรือมักเรียกวา "หองมานฟา") ซึ่งเมื่อเดินถัดไปจากหอง ท 330 นี้จะพบกับอีกโซนหนึ่งของอาคาร (จําไดหรือเปลา...วาก็คือ โซนเดียวกับที่เคยบอกไวตั้งแตตนวา สามารถไปไดโดยเลี้ยวซายตรงทางสามแพรงกอนเขาสูสํานักภาคฯ นั่นเอง) โดยถาอยูตรงหอง ท 330 (หอง มานฟา) แลวเดินตรงออกไปเล็กนอยจะเห็นหองสุขาวดี (หองน้ํา ) อยูทางดานซายมือ สวนดานขวามือ เมื่อมองลงไปจะเห็นสวนสีเขียวสวยงามอยูดานลาง หอง ท 330 สุขาวดี (หองมานฟา) แตถาเดินตรงไปอีกจะพบลิฟททางดานซายมือ (แตปกติจะไมไดเปดใหใชงาน :-( และดานขวามือ คือ หองปฏิบัติการ (หองแล็บ) ตางๆ ไดแก หองเครื่องมือกลาง (ท 343) หองปฏิบัติการขนมอบ (ท 344 และ ท 345) หองปฏิบัติการเคมีอาหาร (ท 348) หองปฏิบัติการจุลชีววิทยาทางอาหาร (ท 351) โดยเมื่อเดินถึง หองปฏิบัติการขนมอบ (ท 344 และ ท 345) จะเห็นทางแยกที่สามารถเลี้ยวซายเพื่อเดินผานทางเชื่อมระหวาง อาคารไปยังสํานักงานภาคฯ (ยังจําไดหรือเปลา...) ซึ่งทางเดินเชื่อมนี้จะอยูตรงหองปฏิบัติการเคมีอาหาร (ท 348) พอดี และตรงบริเวณนี้จะมีลิฟท ซึ่งปกติจะใชงานไดเฉพาะวันและเวลาราชการเทานั้น :-S ถัดจากนั้น ไปอีกเล็กนอยจะเปนบริเวณหองปฏิบัติการจุลชีววิทยาทางอาหาร (ท 351) ซึ่งจะมีบันไดขึ้นลงระหวางชั้น 2 และ 4 ดวย
  • 25. หองปฏิบัติการเคมีอาหาร ลิฟท ทางเดินเชื่อมไปสํานักงานภาคฯ ทางเดินไป หองปฏิบัติการ หองมานเขียว หองมานฟา บรรยากาศหนาหองปฏิบัติการขนมอบ บันไดขึ้นลง ลิฟท บริเวณหนาหองปฏิบัติการจุลชีววิทยาทางอาหาร
  • 26. ข้ อมูลทัวไปจังหวัดนครปฐม “ส้ มโอหวาน ข้ าวสารขาว ลูกสาวงาม ข้ าวหลามหวานมัน สนามจันทร์ งามล้ น พุทธมณฑลคู่ธานี พระปฐมเจดีย์เสี ยดฟา” ้ ข้ อมูลทัวไป : ่ นครปฐมจังหวัดเล็กๆ ซึ งอยูไม่ไกลจากกรุ งเทพฯ ด้วยระยะทางประมาณ 56 กิโลเมตร เป็ น เมืองแห่งปูชนียสถานเก่าแก่ทีสําคัญคือ “พระปฐมเจดีย” ซึ งนับเป็ นร่ องรอยแห่งแรก ของการเผยแผ่ ์ อารยธรรมพุทธศาสนา เข้ามาในประเทศไทย ทังยังเป็ นเมืองทีอุดมสมบูรณ์ มากมายไปด้วยผลไม้ และอาหารขึนชื อนานาชนิด ประวัติความเป็ นมา : เมืองนครปฐม เดิมตังอยูริมทะเลเคยเป็ นเมืองเก่าแห่ งหนึ งซึ งเจริ ญรุ่ งเรื องมาก ในสมัยทวา ่ ราวดี เพราะเป็ นราชธานี ทีสําคัญ มีหลักฐานเชื อว่า ศาสนาพุทธและอารยธรรม จากประเทศอินเดีย เผยแผ่เข้ามาทีนครปฐม เป็ นแห่ งแรก โดยสันนิ ษฐาน จากองค์พระปฐมเจดีย ์ และซากโบราณวัตถุ ต่างๆ ทีค้นพบทีจังหวัดนครปฐม นครปฐม จึงเป็ นศูนย์กลาง ของความเจริ ญ มีชนชาติต่างๆ อพยพ เข้ามาตังถินฐาน อยูเ่ ป็ นจํานวนมาก ต่อมาเกิดความแห้งแล้งขึน ในเมืองนครปฐม เพราะกระแสนํา ทีไหลผ่านตัวเมือง เปลี ยนเส้นทาง ประชาชนจึงอพยพไปตังหลักแหล่ง อยู่ริมนํา และสร้ างเมือง ใหม่ขึน ชือว่า “นครชั ยศรี” หรื อ “ศิริชัย” นครปฐมจึงกลายเป็ นเมืองร้างมาหลายร้อยปี ่ ั จนกระทังในสมัยพระบาทสมเด็จพระจอมเกล้าเจ้าอยูหว ขณะทียังทรงผนวชได้เสด็จธุ ดงค์ ไปพบพระปฐมเจดีย ์ และทรงเห็นว่าเป็ นเจดียองค์ใหญ่ ไม่มีทีไหนจะเทียบเท่า เมือพระบาทสมเด็จ ์ พระจอมเกล้าเจ้าอยูหว ขึนครองราชย์ จึงโปรดเกล้าฯ ให้ก่อเจดียแบบลังกา ครอบเจดียองค์เดิมไว้ ่ ั ์ ์ ทรงปฏิสังขรณ์ สิงต่าง ๆ ในบริ เวณองค์พระปฐมเจดีย ์ ให้มีสภาพดี และโปรดเกล้าฯ ให้ขุดคลอง เจดียบูชา เพือให้การคมนาคมสะดวกขึน ต่อมา ในสมัยพระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยูหัว ์ ่ รัชกาลที 5 ได้เริ มทําทางรถไฟสายใต้ แต่ตอนนัน เมืองนครปฐม ยังเป็ นป่ ารกอยู่ จึงโปรดเกล้าฯ ให้ ย้ายเมืองจากตําบลท่านา อําเภอนครชัยศรี มาตังทีบริ เวณพระปฐมเจดีย ์ เหมือนทีเคยตังมาแล้วใน สมัยโบราณ เมืองนครปฐม จึงอยูต่อมาจนตราบเท่าทุกวันนี ่ ่ ั ในรัชสมัยของพระบาทสมเด็จพระมงกุฎเกล้าเจ้าอยูหว ได้โปรดเกล้าฯ ให้สร้างพระราชวัง ขึน ทีตําบลสนามจันทร์ เป็ นทีเสด็จแปรพระราชฐาน และ โปรดเกล้าฯ ให้ตดถนน เพิมขึนอีกหลาย ั สาย ให้สร้างสะพานใหญ่ ข้ามคลองเจดียบูชา ขึน ทรงพระราชทานนามว่า “สะพานเจริ ญศรัทธา” ์ ต่อมาให้เปลียนชื อเมือง “นครชัยศรี ” เป็ น “นครปฐม” แต่ชือมณฑลยังคงเรี ยกว่า “มณฑลนครชัย
  • 27. ศรี ” อยู่ จนกระทังยุบเลิก ในสมัยพระบาทสมเด็จพระปกเกล้าเจ้าอยูหว ในปั จจุบน นครชัยศรี มี ่ ั ั ่ ั ฐานะเป็ นอําเภอหนึงขึนอยูกบจังหวัดนครปฐม การเดินทาง : ทางรถยนต์ จากกรุ งเทพฯ ใช้เส้นทางสายเก่า สายถนนเพชรเกษม (ทางหลวงหมายเลข 4) ผ่านอ้อมน้อย อ้อมใหญ่ สามพราน ไปจนถึงจังหวัดนครปฐม หรื อ เส้นทางสายใหม่ จากกรุ งเทพฯ ถนนบรมราช ชนนี ผ่านพุทธมณฑล นครชัยศรี ไปจนถึงตัวจังหวัดนครปฐม ทางรถไฟ การรถไฟแห่ งประเทศไทย มีบริ การรถไฟไปจังหวัดนครปฐมทุกวัน วันละหลายเทียว ใช้ เวลาประมาณ 1 ชัวโมง สอบถามรายละเอี ยดเพิมเติมได้ที สถานี รถไฟหัวลําโพง โทร. 1690, 02-220-4334, 02-220-4444 และทีสถานีรถไฟธนบุรี โทร. 02-411-3102 หรื อ www.railway.co.th ทางรถโดยสารประจําทาง การเดินทางไปจังหวัดนครปฐม สามารถเดินทางได้จากสถานี ขนส่ งสายใต้ ถนนบรมราช ชนนี ตังแต่เวลา 05.30-23.15 น. ซึ งมีรถโดยสารประจําทางปรับอากาศวิง 2 เส้นทาง คือ สายเก่ า (กรุ งเทพฯ-อ้อมใหญ่-สามพราน-นครปฐม) มีรถโดยสารประจําทางปรับอากาศ ชัน 2 สายกรุ งเทพฯ-นครปฐม, กรุ งเทพฯ-ราชบุรี, กรุ งเทพฯ-บางลี สายใหม่ (กรุ งเทพฯ-พุทธมณฑล-นครชัยศรี -นครปฐม) สามารถใช้บริ การรถโดยสาร ประจํา ทางปรั บ อากาศชัน 1 สายกรุ ง เทพฯ-นครปฐม, กรุ ง เทพฯ-ด่ า นช้า ง (สี นาเงิ น) หรื อ ํ รถโดยสารปรับอากาศชัน 2 สายกรุ งเทพฯ-นครปฐม, สายกรุ งเทพฯ-ดําเนิ นสะดวก, กรุ งเทพฯ- เพชรบุรี ตังแต่เวลา 05.30-23.00 น. รถออกทุก 15 นาที สอบถามรายละเอียดเพิมเติมได้ทีสถานี ขนส่ งสายใต้ ถนนบรมราชชนนี โทร. 02-435-1199, 02-435-5605, 02-434-7192 และ นครปฐม ทัวร์ กรุ งเทพฯ โทร. 02-435-4971 นครปฐม โทร.034-243-113 หรื อทีเว็บไซต์ www.transport.co.th
  • 28. การเดินทางจากนครปฐมไปยังจังหวัดใกล้ เคียง ราชบุรี 41 กิโลเมตร สมุทรสาคร 48 กิโลเมตร นนทบุรี 65 กิโลเมตร สุ พรรณบุรี 105 กิโลเมตร กาญจนบุรี 112 กิโลเมตร หมายเลขโทรศัพท์ ทสํ าคัญ ี สถานที เบอร์ โทรศัพท์ ตํารวจภูธรภาค 7 โทร. 034-243-751-2, 034-241-426 ทีทําการไปรษณี ยนครปฐม ์ โทร. 034-251-986, 034-242-356 เทศบาลเมืองนครปฐม โทร. 034-253-850-4 โทรศัพท์จงหวัดนครปฐม ั โทร. 034-251-070, 034-242-356 ประชาสัมพันธ์จงหวัดนครปฐม ั โทร. 034-340-011-2 พิพิธภัณฑ์หุ่นขีผึงไทย โทร. 034-332-061, 034-332-067, 034-332-109 โรงพยาบาลศูนย์นครปฐม โทร. 034-254-150-4 สถานีเดินรถโดยสารประจําทาง โทร. 034-251-155, 034-514-438 สถานีตารวจภูธร จังหวัดนครปฐม ํ โทร. 034-242-886, 034-511-560 สถานีรถไฟจังหวัดนครปฐม โทร. 034-242-305 สํานักงานขนส่ งนครปฐม โทร. 034-241-378 สํานักงานจังหวัดนครปฐม โทร. 034-243-811, 034-258-678 สํานักงาน ททท. ภาคกลาง เขต 1 โทร. 034-512-500, 034-623-691 ศูนย์การท่องเทียวกีฬาและนันทนาการ จังหวัด โทร. 034-340-065-6 นครปฐม หอการค้าจังหวัดนครปฐม โทร. 034-254-231, 034-254-647, 034-210-230 ตํารวจท่องเทียว โทร. 1155 ตํารวจทางหลวง โทร. 1193
  • 29. มารู้ จักมหาวิทยาลัยศิลปากร มหาวิ ท ยาลัย ศิ ล ปากรเป็ นสถาบัน การศึ ก ษา ระดับ อุ ด มศึ ก ษาของรั ฐ ในสั ง กั ด ทบวงมหาวิทยาลัย เดิมคือโรงเรี ยนประณี ตศิลปกรรมสังกัดกรมศิลปากร เปิ ดสอนวิชาจิตรกรรม และประติมากรรมให้แก่ขาราชการและนักเรี ยนในสมัยนันโดยไม่เก็บค่าเล่าเรี ยน ศาสตราจารย์ ้ ศิลป์ พีระศรี (เดิมชือ Corrado Feroci) ชาวอิตาเลียนซึ งเดินทางมารับราชการในประเทศ ไทยในรัช สมัยพระบาทสมเด็จพระมงกุฎเกล้าเจ้าอยู่หว รัชกาลที 6 เป็ นผูก่อตังโรงเรี ยน แห่ งนี ขึน และได้ ั ้ เจริ ญเติบโตเป็ นลําดับเรื อยมา จนกระทังได้รับการยกฐานะขึนเป็ น มหาวิทยาลัยศิลปากร เมือวันที 12 ตุ ลาคม พ.ศ. 2486 คณะจิ ตรกรรมและประติ มากรรม ได้รับการจัดตังขึ นเป็ นคณะวิชาแรก (ปั จจุบนคือคณะจิตรกรรมประติมากรรมและภาพพิมพ์) ในปี พ.ศ. 2498 จัดตังคณะสถาปั ตยกรรม ั ไทย (ซึ งต่อมาได้ปรับหลักสู ตรและเปลียน ชื อเป็ นคณะสถาปั ตยกรรมศาสตร์ ) และคณะโบราณคดี หลังจากนันได้จดตังคณะมัณฑนศิลป์ ขึนในปี ต่อมา ั ปี พ.ศ. 2509 มหาวิทยาลัยศิลปากร มีนโยบายทีจะเปิ ดคณะวิชา และสาขาวิชาที หลากหลายขึน แต่เนื องจากบริ เวณพืนทีในวังท่าพระคับ แคบมาก ไม่สามารถจะขยายพืนทีออกไปได้ จึงได้ขยายเขตการศึกษาไป ยังพระราชวังสนามจันทร์ จังหวัดนครปฐม โดยจัดตังคณะอักษรศาสตร์ พ.ศ. 2511 คณะศึกษาศาสตร์ พ.ศ. 2513 และคณะวิทยาศาสตร์ พ.ศ. 2515 ตามลําดับ หลังจากนัน จัดตังคณะเภสัชศาสตร์ พ.ศ. 2529 คณะเทคโนโลยี อุตสาหกรรม พ.ศ. 2535 และจัดตังคณะดุ ริ ยางคศาสตร์ ขึน เมือ พ.ศ. 2542 เพือให้เป็ น มหาวิทยาลัยทีมีความสมบูรณ์ ทางด้านศิลปะมากยิงขึน พ.ศ. 2540 มหาวิทยาลัยศิ ลปากรได้ขยายเขตการศึ กษาไปจัดตัง วิทยาเขตแห่ งใหม่ ที จังหวัดเพชรบุรี เพือกระจายการศึกษาไปสู่ ภูมิภาค ใช้ชือว่า "วิทยาเขตสารสนเทศเพชรบุรี" จัดตัง คณะสัตวศาสตร์ และเทคโนโลยีการเกษตร ในปี พ.ศ. 2544 คณะวิทยาการจัดการ ในปี พ.ศ. 2545 คณะเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื อสาร ในปี พ.ศ. 2546 และวิทยาลัยนานาชาติ ในปี พ.ศ. 2546 มหาวิทยาลัยศิลปากรได้ขยายงานในระดับบัณฑิตศึกษา พ.ศ. 2515 โดยการจัดตัง บัณฑิต วิทยาลัยขึน เพือรับผิดชอบในการดําเนินการ
  • 30. สถานทีตังของมหาวิทยาลัยศิลปากร สํ านักงานอธิการบดี ตลิงชั น สถานทีตัง 22 ถนนบรมราชชนนี เขตตลิงชัน กรุ งเทพฯ 10170 โทรศัพท์ กลาง: 02-880-7374, 02-880-9925-36 โทรสาร: 02-880-7372 วังท่ าพระ สถานทีตัง 31 ถนนหน้าพระลาน แขวงพระบรมมหาราชวัง เขตพระนคร กรุ งเทพฯ 10200 โทรศัพท์ กลาง: 02-623-6115-22 โทรสาร : 02-225-7258 วิทยาเขตพระราชวังสนามจันทร์ สถานทีตัง ถนนราชมรรคาใน อําเภอเมือง จังหวัดนครปฐม 73000 โทรศัพท์ กลาง: 034-253-910-9, 034-253840-1, 034-270-222-4 โทรสาร: 034-255-099 วิทยาเขตสารสนเทศเพชรบุรี สถานทีตัง เลขที 1 หมู่ที 3 ถนนชะอํา-ปราณบุรี ตําบลสามพระยา อําเภอชะอํา จังหวัดเพชรบุรี 76120 โทรศัพท์ กลาง: 032-594-026, 032-594-030 โทรสาร: 032-594-026
  • 31.
  • 32.
  • 33. สะพานสระแก้ วภายในมหาวิทยาลัยศิลปากร อาหารการกินภายในมหาวิทยาลัยศิลปากร มหาวิทยาลัยศิลปากรจะมีโรงอาหารหลักใหญ่ ๆ อยู่ 2 โรงอาหาร คือ 1.Union (ยูเนี ยน) จะ ่ เป็ นโรงอาหารกลางของมหาวิทยาลัยอยูติดกับหอประชุ มใหญ่ ส่ วน 2. เพชรชอป จะอยูใกล้คณะ ่ วิศวกรรมศาสตร์ และเทคโนโลยีอุตสาหกรรมมากทีสุ ด สามารถเดินเท้าได้ แต่โรงอาหารทังสองจะ มีร้านค้าเปิ ดน้อยถ้าเป็ นช่วงปิ ดเทอม อาหารการกินภายในตัวเมือง นครปฐม อาหารการกินภายในตัวจังหวัดนครปฐมมีให้เลือกกินหลากหลายมากมาย เราสามารถแบ่ง ได้เป็ นช่วงเวลา คือ - ช่ ว งเช้ า จะเป็ นอาหารประเภทขนมปั ง ข้า วเหนี ย วหมู โจ๊ ก เป็ นต้น สามารถหา รั บประทานได้ทีแนะนําคื อ โจ๊กโรงเรี ยนสว่าง ข้าวเหนี ยวหมูเจ๊ง้อ หรื อถ้าต้องการ อาหารทีมีความหลากหลายก็ทีตลาดซอย 2 จะมีให้เลือกมากมายทุกอย่างทังของคาว ของหวาน - ช่วงเวลากลางวัน ก็เช่นก๋ วยเตียว ข้าวหมูแดง ข้าวมันไก่ ข้าวหน้าเป็ ด หรื ออาหารตาม ่ สังเป็ นต้น อาหารตามสังก็เช่นร้านป้ าวรรณ อยูในโรงเรี ยนตํารวจภูธรภาค 7 แต่จะเปิ ด เฉพาะวันเวลาราชการเท่านัน ร้านข้าวมันไก่ ข้าวหน้าเป็ ด ข้าวหมูแดงก็ร้านตุมทอง อยู่ ้ บริ เวณสนามพระภายในบริ เวณองค์พระปฐมเจดีย ์ ส่ วนร้ านก๋ วยเตียวก็ร้านซอยร้านคี ่ เซ่ งเฮง หรื อซอยถังขยะ อยูถนนต้นสน ใกล้วงเวียนสนามจันทร์ หรื ออาจจะเป็ นร้ าน ่ สวัสดีซึงอยูถนนเส้นเดียวกันแต่ใกล้องค์พระปฐมเจดียหน่อยก็อร่ อยไม่แพ้กน ์ ั
  • 34. บรรยากาศ ถนนต้นสน (สังเกตจะมีตนสนสองข้างทาง) ้ - ช่ วงเวลาเย็นถึ งกลางคื น ถ้าคิดไม่ออกว่าจะไปทีไหน เห็ นยอดองค์พระปฐมเจดี ยอยู่ ์ ตรงไหน ไปตามนันเลย เพราะว่า ภายในบริ เวณองค์พ ระปฐมเจดี ยจะมี ร้านอาหาร ์ จํา หน่ า ยอยู่เริ มเปิ ดร้ า นกันก็ ป ระมาณ 17.00 น. จํา หน่ า ยไปเรื อย ๆช่ วงประมาณ 23.00 น.ก็จะเริ มร้านค้าน้อยแล้ว เพราะว่าของหมด นักท่องเทียวมักจะนิ ยมมาทานกัน ทีนี รวมถึ งคนนครปฐมเองก็มกทานที นี เหมื อนกัน อาหารแนะนําก็คือ หอยนางรม ั ทอด บะหมีจอนยาว บูราดหน้า ขนมเบืองสู ตรโบราณ ลองถามร้านค้าทุกร้านจะรู ้หมด ้ แต่ตองอดทนนิดนึงนะ เพราะบางร้านคนจะเยอะมาก ต้องรอนานหน่อย ้ อาหารการกิ นเรี ยบร้ อยแล้วเรามาต่อกันเรื องทีท่องเทียวเลยดี กว่าสถานทีท่องเทียวภายในตัว เมืองนครปฐมมีไม่มากนัก การเดิ นทางด้วยระยะเวลาสัน ๆ ก็คงเทียวได้ไม่กีที แต่ถาต้องการเทียว้ ไกลหน่อยคงต้องมียานพาหนะ 1. องค์ พระปฐมเจดีย์ อยูห่างจากมหาวิทยาลัยศิลปากรประมาณ 1 กิ โลเมตร เท่านัน ถ้าให้ ่ แนะนําสําหรั บท่านที ไม่เคยมานครปฐม ก็เรี ยกรถมอเตอร์ ไซค์รับจ้าง (คนนครปฐมจะ ่ เรี ยกว่า เมล์เครื อง)ได้เลย ราคาจะอยูทีประมาณ 25 -30 บาท ไม่เกินนี ถ้าราคาเกินนี แสดง ว่าโก่งราคาอย่านัง สําหรับข้อมูลขององค์พระปฐมเจดียโดยละเอียดก็มีดงนี ์ ั
  • 35. พระปฐมเจดียสร้างขึนเมือใด และใครเป็ นผูสร้างนันจะต้องย้อนกล่าวตังแต่ พระพุทธองค์เสด็จ ์ ้ ่ ดับขันธนิ พพาน พระพุทธศาสนาได้แพร่ หลายอยูในมัชฌิมประเทศ หรื ออินเดียตอนกลาง ในสมัย พระเจ้าอโศกมหาราชขึนครองราชสมบัติ ทรงเป็ นกษัตริ ยทีมีพระเดชานุ ภาพใหญ่หลวง พระองค์ ์ สลดพระทัย ในการพุ่ ง รบ แต่ มุ่ ง หมายจะแผ่ พ ระเดชานุ ภ าพทางธรรมเพราะทรงเห็ น ว่ า พระพุทธศาสนามีคติธรรมลําเลิศ กว่าศาสนาอืน ๆ จึงทรงอุปถัมภ์และเผยแผ่ในนานาประเทศ โดย ส่ งพระสงฆ์เป็ นสมณฑูตออกไปยังประเทศต่าง ๆ โดยพระโสณเถระกับพระอุตรได้เดินทางไปเผย แผ่พระพุทธศาสนายังดินแดนสุ วรรณภูมิ องค์พระปฐมเจดี ย ์ สันนิ ษฐานว่าสร้ างในสมัยเดียวกับครังพระเจ้าอโศกมหาราชยังครองราช สมบัติอยู่แน่ นอนเพราะลักษณะองค์เจดี ยนน เดิ มเป็ นสถู ปกลมรู ปทรงคล้ายบาตรควํา (โอควํา) ์ ั แบบสัญจิเจดีย ์ ในประเทศอินเดียทีพระเจ้าอโศกมหาราชสร้างไว้ มีผรู้หลายท่านได้สันนิ ษฐานว่า ู้ องค์พระปฐมเจดียมีการสร้างและปฏิสังขรณ์มาอย่างน้อย 3 ครังแล้ว ์ • สมัยสุ วรรณภูมิ คือ ระยะการสร้างครังแรก ราวพุทธศักราช 300-1000 • สมัยทวารวด◌ี มีการสร้างเพิมเติม ประมาณช่วงพุทธศักราช 1000-1600 • ครังที 3 ก็คือสมัยทีมีการบูรณะปฏิสังขรณ์ใน สมัยรัตนโกสิ นทร์ ่ ใน เรื องการสร้ างองค์ เจดีย์แต่ เดิมนัน มีการเล่าสื บ ๆ กันมาเป็ นตํานานอยูหลายตํานานด้วยกัน เช่น "ตํานานพระยากง พระยาพาน" ได้ เล่ าไว้ ว่า พระยากงได้ครองเมืองศรี วิชยหรื อนครชัยศรี แทน ั ท้าวสิ การาช พระบิดาพระมเหสี ประสู ติพระกุมารพระองค์หนึ ง โหรทํานายว่ากุมารี บุญญาธิ การ มากแต่จะทําปิ ตุฆาต พระองค์จึงรับสังให้นากุมารไปทิง ก็มียายหอมมาเก็บกุมารได้แล้วเลียงจนเติบ ํ ใหญ่ เมือเติบใหญ่กุมารจึงลายายหอมขึนไปเมืองเหนื อถึงสุ โขทัย บังเอิญไปพบช้างพระเจ้าแผ่นดิน สุ โขทัยอาละวาดสลัดหมอควาญหลุ ดและสาละวนไล่แทงผูคน กุมารจึงจับช้างกดลงกับดินคนทัง ้
  • 36. ปวงจึงจับช้างได้ ความทราบถึงพระเจ้าแผ่นดิน จึงชุ บเลียงกุมารเป็ นบุตรบุญธรรมจนกระทังกุมาร ั ได้ยกทับมารบกับพระยากง โดยกระทํายุทธหัตถีกน พระยากงเสี ยทีกุมารถูกฟั นด้วยของ้าวคอขาด หลังจากนันกุมารจึงยกรี พลเข้าไปตังอยูในเมืองและต้องการได้พระมเหสี พระยากงเป็ นภรรยา แต่ก็ ่ มีเหตุดลใจให้ทราบว่าเป็ นพระมารดา โดยเทพยดาเนรมิตเป็ นแพะแม่ลูกอ่อน นอนขวางบันได ปราสาทของมเหสี กุมารจึงข้ามไปขณะนันก็ได้ยินลูกแพะพูดกับแม่แพะว่า "เราเป็ นสั ตว์ เดรั จฉาน ท่ านจึ งข้ ามเราไป" แม่แพะเสริ มว่า "นับประสาอะไร กับท่ านแม้ มารดายังจะเอาเป็ นเมีย" กุมารได้ ฟังจึงเกิดความละอายใจ จึงตังสัจอธิ ษฐานว่า ถ้าหญิงผูนีเป็ นมารดาจริ งขอให้นานมไหลออกจากถัน ้ ํ ทังคู่ ถ้าไม่ใช่จงอย่าปรากฏเลย แต่แล้วก็เกิดมีนานมไหลออกมาจากถันทังคู่จริ ง ํ เมือแม่ลูกรู ้จกกันแล้วและทราบว่าพระยากงเป็ นพระบิดาก็เสี ยใจ และโกรธยายหอมมาก จึงจับ ั ยายหอมฆ่าเสี ยทันทีดวยเหตุนีเอง คนทังปวงจึงเรี ยกกุมารนันว่า พระยาพาล ครันเมือฆ่าพระบิดา ้ และยายหอมแล้วก็เกิ ดความรู ้ สึกว่าจะเป็ นเวรต่อกันจึงทําบุญให้ทานไม่ขาด ต่อมาเมือพระมเหสี ของพระองค์ให้ประสู ติพระโอรสพระยาพานจึ งเกิ ดความรู ้ สึกถึ งความรั กทีพ่อมี ต่อลูก และเกิ ด สํานึ กในสิ งทีกระทําไปจึงให้อามาตย์นิมนต์พระอรหันต์มาบิณฑบาตในวัง เมือได้โอกาสก็ถามถึง ํ การแก้ไขสิ งทีตนได้ทาปิ ตุฆาต พระอรหันต์ตอบว่า "สิ งนีเป็ นกรรมหนักนักต้ องตกมหานรกอเวจี มี ํ แต่ ทางผ่ อนหนักให้ เป็ นเบาได้ เท่ านัน คื อสร้ างพระเจดี ย์สูงเท่ ากับนกเขาเหิ น กรรมอาจจะลดลงไป ได้ สัก 1 ในสิ บส่ วน" พระยาพานจึงสังให้สร้างเจดียดงกล่าวแล้วบรรจุพระบรมธาตุพระเขียวแก้วไว้ ์ั ในเจดียใหญ่ดวย ์ ้ นีคือตํานานหนึงทีชาวนครปฐมรู้ จักเป็ นอย่ างดี ส่ วนถ้าท่านไหนต้องการเห็นรู ปปั นพญากงก็ สามารถไปดูได้ทีถนนพญากง อยูบริ เวณ “ตลาดบน” ของจังหวัดนครปฐม ยืนชีนิ วอยู่ ไม่ไกลมาก ่ จากองค์พระปฐมเจดีย ์ แต่ทีเราทราบกันดีก็ เมือครังพระบาทสมเด็จพระจอมเกล้าเจ้าอยูหว เมือครังยังทรงผนวช ่ ั ่ อยูได้เสด็จธุ ดงค์ทีเมืองนครปฐมพร้ อมด้วยคณะสงฆ์ และทรงปั กกลดประทับ ณ โคนต้นตะคร้ อ ได้สังเกตลักษณะขององค์พระเจดียทรงเห็นว่า ไม่มีพระเจดียใดทีเก่าแก่ และยิงใหญ่เท่าเจดียองค์นี ์ ์ ์
  • 37. ต่อมาเมือพระบาทสมเด็จพระจอมเกล้าฯ เสวยราชย์ได้ 2 ปี โปรดให้เริ มลงมือก่อสร้ าง ปฏิสังขรณ์องค์พระปฐมเจดียเ์ ป็ นการใหญ่ในปี แรก พ.ศ. 2395 โปรดให้ สมเด็จเจ้าพระยาพระบรม มหาประยูรวงศ์ ควบคุมการสร้าง ต่อมาถึงแก่พิราลัย จึงโปรดเกล้าฯให้ เจ้าพระยาทิพากรวงศ์มหา โกษาธิ บดี เป็ นแม่กองเจ้าของการ จัดทําต่อไปเมือวันอังคารที 23 มีนาคม พ.ศ. 2400 (เดือน 5 ขึน 9 คํา ปี มะเมีย) พระบาทสมเด็จพระจอมเกล้าฯ ได้เสด็จพระราชดําเนิ นมายังวัดปฐมเจดีย ์ และทรงก่อ พระปฐมเจดียเ์ ป็ นปฐมฤกษ์ ตามรู ปแบบทีช่างได้จดทํารู ปถวาย โดยจัดทําครอบองค์ไว้ภายใน การ ั เสด็จครังนีนับเป็ นครังแรกตังแต่เสด็จขึนครองราชย์ การปฏิ สังขรณ์พระปฐมเจดี ย ์ สร้างเป็ นเจดียใหญ่หุ้มองค์เดิมเปลียนจากบาตรควํามีพุทธ ์ บัลลังก์ ฐานสี เหลียมซ้อนระฆัง มียอดนพศูลและมีพระมหามงกุฎสวมไว้บนยอดองค์พระเจดีย ์ มี ขนาดสู ง 3 เส้น 1 คืบ 6 นิว (120.5 เมตร) ฐานโดยรอบยาว 5 เส้น 17 วา 3 ศอก (233 เมตร) รอบฐาน องค์ปฐมเจดี ยสร้างเป็ นวิหารคตล้อมรอบเป็ น 2 ชันทัง 4 ทิศ พระบาทสมเด็จพระจอมเกล้าฯ ยัง ์ โปรดให้สร้างพระราชวังทีประทับไว้คู่กนกับวัดชือว่า วังปฐมนคร ปั จจุบนพระตําหนักได้ปรับปรุ ง ั ั เป็ นทีทําการเทศบาลจังหวัดนครปฐม เมือ พ.ศ. 2413 ได้เสด็จพระราชดําเนิ นมายกยอดพระปฐมเจดี ยโปรดให้ สั งกระเบือง ์ เคลือบสี เหลืองทอง จากเมืองจีนมาประดับมหาสถูปทังองค์ ซึ งมาแล้วเสร็ จในรัชกาลที 6 แต่ก็ยง ั เป็ นป่ ารกอยู่ จนกระทังในสมัยรัชกาลที 6 เมือมีการตัดถนนมากขึน และสร้างทีทําการของรัฐบาล สร้างสถานทีพักของข้าราชการ สร้างตลาดบริ เวณพระปฐมเจดียกลายเป็ นศูนย์กลางของเมือง และ ์