SlideShare une entreprise Scribd logo
1  sur  94
Télécharger pour lire hors ligne
LOGO
ยินดีต้อนรับทุกท่ านสู่ …การนาเสนอของ โรงเรียนนนทรีวิทยา
LOGO
www.themegallery.com
โรงเรี ย นนนทรี วิ ท ยาได้ รั บ พิ จ ารณาคั ด เลื อ กให้ เป็ นโรงเรี ย น
มาตรฐานสากลตั้ ง แต่ ปี การศึ ก ษา 2552 เป็ นต้ นมา โดยเริ่ ม ต้ น
ในระดั บ ชั้ น มั ธ ยมศึ ก ษาปี ที่ 1 และปี ที่ 4 จนครบทุ ก ระดั บ ชั้ น ในปี
การศึ ก ษา 2554 ตลอดจนได้ ปรั บ ปรุ ง และพั ฒ นาทางหลั ก สู ตร
ส ถ า น ศึ ก ษ า โ ร ง เ รี ย น น น ท รี วิ ท ย า พุ ท ธ ศั ก ร า ช 2 5 5 2
ให้ เที ยบเคียงสู่ มาตรฐานสากล ด้ วยการบริ หารจัดการระบบคุ ณภาพ
(Quality) เพือสร้ างนักเรี ยนให้ มีคุณลักษณะพึงประสงค์ ในฐานะพลโลก
              ่
มี ค วามเป็ นเลิ ศ ทางวิ ช าการ สื่ อ สารสองภาษา ล้า หน้ า ทางความคิ ด
ผลิตงานอย่ างสร้ างสรรค์ ร่ วมกันรั บผิดชอบต่ อสั งคมโลกซึ่ งได้ มีการ
กาหนดเป็ นวาระแห่ งปี การศึกษา ดังนี้
โรงเรียนนนทรีวทยา   ิ
       มุ่งสู่ ความเป็ นเลิศ
                เชิดชู คุณธรรม
                        เลิศลาสิ่ งแวดล้ อม
                             ้
                                   น้ อมนาเศรษฐกิจพอเพียง
                                          ก้ าวสู่ มาตรฐานสากล
ปี 2553 ปี แห่ งมาตรฐานสากล และคณธรรมนาปัญญา
                                   ุ
ปี 2554 ปี แห่ งการขั บ เคลื่ อ นการปฏิ รู ป การศึ ก ษา พั ฒ นาการบริ หารจั ด การ
สู่ มาตรฐานสากล
ดาเนินการจัดทาและปรับแผนกลยุทธ์ ของโรงเรียนเพื่อดาเนินงานสู่ มาตรฐานสากล

     ประชุมสั มมนาหัวหน้ ากลุ่มสาระการเรียนรู้/หัวหน้ างาน เพือพัฒนาหลักสู ตรให้ สอดคล้ องกับ
                                                              ่
           คุณลักษณะของโรงเรียนมาตรฐานสากล และตัวชี้วัด โดยศึกษาเชิงเปรียบเทียบ
       หลักสู ตรแกนกลางการศึกษาขั้นพืนฐาน พุทธศักราช 2551 กับหลักสู ตรมาตรฐานสากล
                                      ้

               ประชุมสั มมนาบุคลากรเพือวางมาตรฐานครู ประจาวิชา ครู ที่ปรึกษา
                                        ่
               และสื่ อ/วัสดุอปกรณ์พืนฐานของห้ องเรียนคุณภาพสู่ มาตรฐานสากล
                              ุ      ้


    กาหนดให้ บุคลากรทุกคน และหน่ วยงานทุกหน่ วยงานมีเป้ าหมายในการดาเนินงานทีสอดคล้ องกับ
                                                                             ่
      มาตรฐาน ตัวชี้วัดที่กาหนดในมาตรฐานการศึกษาและมาตรฐานของโรงเรียนมาตรฐานสากล

                       จัดทาโครงสร้ างหลักสู ตรสถานศึกษามาตรฐานสากล

                             บริหารหลักสู ตรและจัดการเรียนการสอน

                     พัฒนาระบบการนิเทศ กากับ ติดตามให้ มีประสิ ทธิภาพยิ่งขึน
                                                                           ้

          ประเมินผลการปฏิบัติงานของบุคลากรและหน่ วยงานโดยเปรียบเทียบผลสั มฤทธิ์ของ
                               การดาเนินงานกับเป้ าหมายที่วางไว้

                                     ควรปรับปรุงหรือไม่                                         ปรับปรุง

วิเคราะห์ เปรียบเทียบผลการดาเนินงานกับเกณฑ์ ประเมินโรงเรียนมาตรฐานสากล เพือพัฒนาปรับปรุงงาน
                                                                                  ่
      ให้ ก้าวไปสู่ เป้ าหมายที่วางไว้ ตลอดจนเผยแพร่ และประชาสั มพันธ์ ผลงานเพื่อประโยชน์ ต่อไป
โรงเรียนนนทรีวทยาได้ ดาเนินการพัฒนาครู สร้ างความพร้ อมด้ านปัจจัยพืนฐาน และนิเทศติดตาม
                          ิ                                                     ้
เพือมุ่งมันพัฒนาคุณภาพ และเตรียมพร้ อมนักเรียนให้ มศักยภาพเป็ นพลโลก โดยมีรูปแบบดังนี้
   ่      ่                                        ี
                                                                                   กลุ่มสาระการเรียนรู้ วิทยาศาสตร์




                                                                                                                      ผู้เรียนมีศักยภาพเป็ นพลโลก (World Citizen)
                      ทฤษฎีความรู้




                                                                                                                                                                    เป็ นเลิศวิชาการ สื่ อสารสองภาษา ล้ าหน้าทางความคิด ผลิตงานอย่างสร้างสรรค์
                                                                                         คณิตศาสตร์ , ศิลปะ ,
                 (Theory of Knowledge :          บู ร ณาการในหน่ วยการเรี ย นรู้
                                                                                    การงานอาชีพและเทคโนโลยี,
                         TOK)                                                           สุ ขศึกษาและพลศึกษา
                                                 บู ร ณาการในหน่ วยการเรี ย นรู้
                 การเขียนความเรียงขั้นสู ง                                          กลุ่มสาระการเรียนรู้ ภาษาไทย
                 (Extended-Essay : EE)                เปิ ดรายวิช าเพิ่ มเติม            และภาษาต่ างประเทศ




                                                                                                                                                                                             ร่ วมกันรับผิดชอบต่อสังคมโลก
                โครงงานสร้ างสรรค์ประโยชน์       กิจ กรรม 1ห้ อ งเรี ย น 1ความดี
                  (Creativity,Action,Service :                                          กิจกรรมพัฒนาผู้เรียน
                                                        กิจ กรรมชุ ม นุ ม
                             CAS)

                         โลกศึกษา                บู ร ณาการในหน่ วยการเรี ย นรู้   กลุ่มสาระการเรียนรู้ สังคมศึกษา
                 (Global Education : GE)                                                ศาสนา และวัฒนธรรม

                 ภาษาต่ างประเทศที่ 2               เปิ ดรายวิช าเพิ่ มเติม              กลุ่มสาระการเรียนรู้
                     (ภาษาจีน)                                                            ภาษาต่ างประเทศ

                   การสอนวิทยาศาสตร์             บู ร ณาการในการเรี ย นการสอน
                                                                                   กลุ่มสาระการเรียนรู้ วิทยาศาสตร์
                คณิตศาสตร์ เป็ นภาษาอังกฤษ              (ห้ อ งเรี ย นพิเ ศษ)      กลุ่มสาระการเรียนรู้ คณิตศาสตร์
ทั้ ง นี้ เ พื่ อ เป็ นการขั บ เคลื่ อ นพั ฒ นาหลั ก สู ต รสถานศึ ก ษาโรงเรี ย นนนทรี วิ ท ยา
พุทธศั กราช 2552 ให้ เทียบเคียงสู่ มาตรฐานสากล ด้ วยการบริ หารจัดการระบบคุ ณภาพ
(Quality) สร้ างนักเรี ยนให้ มีคุณลักษณะพึงประสงค์ ในฐานะพลโลก มีความเป็ นเลิศทาง
วิชาการ สื่ อสารสองภาษา ลาหน้ าทางความคิด ผลิตงานอย่ างสร้ างสรรค์ ร่ วมกันรับผิดชอบ
                                    ้
ต่ อ สั ง คมโลก ตลอดจนเพื่ อ ให้ การจั ด การเรี ย นการสอนเป็ นไปในทิ ศ ทางเดี ย วกั น
กลุ่มบริ หารวิชาการ จึงได้ กาหนดแบบฟอร์ มของแผนการจัดการเรี ยนรู้ ให้ สอดคล้ องกับ
หลักสู ตรมาตรฐานสากล ดังตัวอย่ างต่ อไปนี้
        ตัวอย่ างแบบฟอร์ มของแผนการจัดการเรียนรู้ โรงเรียนนนทรีวิทยา
                    ที่สอดคล้ องกับหลักสู ตรมาตรฐานสากล

                               ตัวอย่ างแผนการจัดการเรียนรู้
กลุ่มสาระการ    รายวิชาที่บูรณาการ       ชื่อหน่วยการเรียนรู้ที่บูรณาการ
     เรียนรู้
 คณิตศาสตร์      คณิตศาสตร์พื้นฐาน    การแก้ปัญหาทางกระบวนการคณิตศาสตร์
 วิทยาศาสตร์     วิทยาศาสตร์พื้นฐาน     ความรู้ทางวิทยาศาสตร์ได้มาอย่างไร
    ศิลปะ             ทัศนศิลป์              ความรู้แห่งศาสตร์ศิลป์
การงานอาชีพและ   การงานอาชีพพื้นฐาน        ทฤษฎีความรู้คู่การงานอาชีพ
    เทคโนโลยี
 สุขศึกษาและพล     สุขศึกษาพื้นฐาน            หน่วยชีวิตและครอบครัว
      ศึกษา                                 เรื่องการล่วงละเมิดทางเพศ
LOGO
การวิเคราะห์ ตัวชี้วัด ทาค าอธิ บายรายวิ ชา ทาโครงสร้ างรายวิชา
ออกแบบหน่ วยการเรี ยนรู้ และจัดทาแผนการจัดการเรี ยนรู้ ที่มีบูรณาการ
สาระทฤษฎีความรู้
www.themegallery.com
LOGO
       ตอน “ครูหดบิน”
                ั
        ครูกอบวิทย์ พิรยะวัฒน์
                       ิ
กลุ่มสาระการเรียนรู้ ภาษาไทย   กลุ่มสาระการเรียนรู้ ภาษาต่ างประเทศ
กลุ่มสาระการเรียนรู้ ภาษาไทย

       กระบวนการจัดการเรี ยนรู้ การเขียนความเรี ยง ขั้นสู งโดยวิธีการบูรณาการ
สอดแทรกไว้ ในหน่ วยการเรียนรู้ ในรายวิชาพืนฐานทั้งระดับมัธยมศึกษาตอนต้ น
                                                    ้
และ มั ธ ยมศึ ก ษาตอนปลาย ในหน่ ว ยการเรี ย นรู้ เ รื่ อ ง การเขี ย นเรี ย งความ
ซึ่ ง จั ด อยู่ ใ นภาคเรี ย นที่ 2 โดยใช้ เ วลาส าหรั บ เรื่ องการเขีย นความเรี ย งขั้น สู ง
4 คาบ/ภาคเรี ยน แล้ วใช้ เวลาว่ างในการปรึ กษากับอาจารย์ ที่ปรึ กษาในเรื่ องการ
เขียนรายละเอียดทั่วไป
เนือหาสาระ ปี ที่ 1
   ้
(1) ศึกษาหลักเกณฑ์ องค์ ประกอบ และวิธีการเขียนเรียงความทั่วไปเรียบกับการเขียน
    ความเรียงขั้นสู ง
(2) ศึกษารู ปแบบแผนการเขียนความเรียง และเลือกเรื่ องที่สนใจเป็ นกรณีพิเศษบันทึก
    ความพิเศษเอาไว้ตามแบบบันทึก
เนือหาสาระ ปี ที่ 2
   ้
(1) ศึกษาความรู้ ตามที่สนใจเพิมเติม
                              ่
(2) พัฒนาการเขียนความเรียงขั้นสู งตามรู ปแบบการเขียนรายงาน การค้ นคว้าอิสระ
เนือหาสาระ ปี ที่ 3
   ้
(1) พัฒนาทักษะการคิดสร้ างสรรค์ การคิดวิเคราะห์ แล้ วเขียนความเรียง
    ตามหลักการเขียนรายงาน การค้ นคว้าอิสระที่เหมาะกับสาขาวิชาที่สนใจ
(2) เขียนความเรียงในเรื่องที่สนใจนั้นโดยใช้ สติปัญญาของตนเองอย่ างมีประสิ ทธิภาพ
กลุ่มสาระการเรียนรู้ ภาษาต่ างประเทศ

เปิ ดเป็ นรายวิชาเพิมเติม 0.5 หน่ วยกิต 1 ชั่วโมง/สั ปดาห์
                    ่
ในปี การศึกษา 2554 เปิ ดสอนในระดับชั้น ม. 1 , 2 , 4, 5
มัธยมศึกษาปี ที่ 1   อ21206   การเขียนความเรียงขั้นสู ง1
มัธยมศึกษาปี ที่ 1   อ21207   การเขียนความเรียงขั้นสู ง2
มัธยมศึกษาปี ที่ 2   อ22206   การเขียนความเรียงขั้นสู ง3
มัธยมศึกษาปี ที่ 2   อ22207   การเขียนความเรียงขั้นสู ง4
มัธยมศึกษาปี ที่ 4   อ31205   การเขียนความเรียงขั้นสู ง1
มัธยมศึกษาปี ที่ 4   อ31206   การเขียนความเรียงขั้นสู ง2
มัธยมศึกษาปี ที่ 5   อ32205   การเขียนความเรียงขั้นสู ง3
มัธยมศึกษาปี ที่ 5   อ32206   การเขียนความเรียงขั้นสู ง4
โดยมีแนวทางในการจัดการเรี ยนรู้ การเขียนความเรี ยงขั้นสู ง (Extended-Essay : EE)
ดังนี้
      (1) จัด ประชุ มชี้แจงครู ผู้สอน ในรายวิชาพื้นฐาน และรายวิชาเพิ่มเติ ม เพื่อ วิเคราะห์
ตัวชี้วัด/ผลการเรี ยนรู้ ทาคาอธิบายรายวิชา ทาโครงสร้ างรายวิชา ออกแบบหน่ วยการเรี ยนรู้
และจัดทาแผนการจัดการเรียนรู้ ในสาระการเขียนความเรียงขั้นสู ง(Extended-Essay: EE)
      (2) ครู ผู้ ส อนจั ด ท าสื่ อ และเอกสารประกอบการเรี ย นรู้ การเขี ย นความเรี ย งขั้ น สู ง
(Extended-Essay : EE)
      (3) ครู ผู้สอน จัดกิจกรรมการเรียนรู้ การเขียนความเรียงขั้นสู ง (Extended-Essay : EE)
      (4) ประเมินผล
กิจกรรมชุมนุม   กิจกรรม 1 ห้ องเรียน 1 ความดี
กิจกรรมชุมนุม
    เป็ นกิจ กรรมที่ เ ปิ ดโอกาสให้ นั กเรี ยน ที่ มี ค วามสนใจเดี ยวกัน ร่ ว มกัน ท า
กิจกรรมเพือบาเพ็ญประโยชน์ ต่อสั งคม โดยมีครู ท่ีปรึ กษาชุ มนุม คอยให้ การดูแล
            ่
และให้ คาปรึ กษาในการทากิจกรรมต่ างๆ ซึ่งนักเรี ยนสามารถดาเนินการได้ อย่ าง
อิสระ ภายใต้ ความเห็ นชอบของครู ท่ีปรึ กษาชุ มนุ ม โดยจัดเป็ นส่ วนหนึ่ งของ
กิจกรรมพัฒนาผู้เรียน ตามหลักสู ตรแกนกลางการศึกษาขั้นพืนฐาน พุทธศักราช
                                                                 ้
2551 ที่จะต้ องมีการตัดสิ นผลการเรียน ผ่ าน หรือไม่ ผ่าน ด้ วย

                     ตัวอย่ างการรายงานผลการจัดกิจกรรมชุมนุม
กิจกรรมชุมนุม
      ตัวอย่ าง ชุมนุมของโรงเรียนนนทรีวทยา ที่มีผลงานดีเด่ นเป็ นที่ประจักษ์ คือ ชุ มนุม
                                             ิ
นนทรี วิทยา สร้ างจิตอาสา พัฒนาสิ่ งแวดล้ อม ซึ่ งได้ จัดกิจกรรมต่ างๆ ขึนอย่ างต่ อเนื่อง
                                                                         ้
เช่ น วันสิ่ งแวดล้ อมโลก กิจกรรมปลูกป่ าชายเลน ฯลฯ จนส่ งผลให้ ได้ รับรางวัลมากมาย
เช่ น รางวัล กลุ่ ม เยาวชนดี เ ด่ น แห่ ง ชาติ สาขาทรั พ ยากรธรรมชาติ แ ละสิ่ ง แวดล้ อ ม
ประจาปี 2554 เป็ นต้ น
ชุมนุมนนทรีวทยา สร้ างจิตอาสา พัฒนาสิ่ งแวดล้ อม
            ิ
่
กิจกรรมที่ผานมา
ผลงานและความสาเร็ จ
ชุมนุมนนทรีวทยา สร้ างจิตอาสา พัฒนาสิ่ งแวดล้ อม
                 ิ




ได้ รับพระราชทานรางวัลเยาวชนดีเด่ นแห่ งชาติ ประเภทกลุ่มเยาวชน
       สาขาทรัพยากรธรรมชาติและสิ่ งแวดล้ อม ประจาปี 2554
กิจกรรม 1 ห้ องเรียน 1 ความดี
      เป็ นกิ จ กรรมสร้ า งสรรค์ ป ระโยชน์ ที่ แ ต่ ล ะห้ อ งเรี ย นจะด าเนิ น การใน กิ จ กรรม
หนึ่งห้ องเรี ย น หนึ่งความดี ซึ่ งในแต่ ละระดับชั้ นได้ มีกาหนดประเด็นไว้ ให้ ซึ่ งแต่ ล ะ
ห้ องเรียนสามารถดาเนินกิจกรรมต่ างๆได้ อย่ างอิสระ ภายใต้ ประเด็นที่กาหนด ดังต่ อไปนี้
      ระดับชั้น ม.1 เรื่อง สวนพฤกษศาสตร์ โรงเรียน
      ระดับชั้น ม.2 เรื่อง ลูกนนทรี รักษ์ สิ่งแวดล้ อม
      ระดับชั้น ม.3 เรื่อง เศรษฐกิจพอเพียง                           ตัวอย่ างแบบฟอร์ ม
      ระดับชั้น มั.4 เรื่อง สวนพฤกษศาสตร์ โรงเรียน กิจกรรม 1 ห้ องเรียน 1 ความดี
      ระดับชั้น ม.5 เรื่อง ลูกนนทรี รักษ์ สิ่งแวดล้ อม
      ระดับชั้น ม.6 เรื่อง พีนาน้ องทาดี
                              ่
      นักเรียนแต่ ละห้ องเรี ยนจะร่ วมกันวางแผน แบ่ งหน้ าที่ในการทางาน สารวจสภาพ
ปั ญ หาตามประเด็น ที่ ก าหนด โดยเน้ นการด าเนิ น งานภายในโรงเรี ย นเป็ นหลัก และ
คานึงถึงการใช้ งบประมาณอย่ างประหยัดเป็ นสาคัญ
โดยมีแนวทางในการจัดกิจกรรมสร้ างสรรค์ ประโยชน์ (Creativity,Action,Service : CAS)
ดังนี้
        (1) โรงเรี ย นจั ด ประชุ ม คณะกรรมการฯ เพื่อ วางแผนการจัด กิจ กรรมพัฒ นาผู้ เ รี ย น
กาหนดประเด็นหั วข้ อ ของกิ จกรรม และจัด ท าเอกสารประกอบการจัด กิ จกรรมสร้ างสรรค์
ประโยชน์ (Creativity,Action,Service : CAS)
        (2) จัดประชุ มครู ที่ปรึ กษา ครู ผู้สอน เพื่อชี้แจง เกี่ยวกับกิจกรรมสร้ างสรรค์ ประโยชน์
(Creativity,Action,Service : CAS) ในกิจกรรมพัฒนาผู้เรี ยน โดยบู รณาการเข้ ากับ กิจกรรม
บาเพ็ญสาธารณะประโยชน์ ตามหลักสู ตรแกนกลางการศึ ก ษาขั้นพื้นฐาน พุท ธศั ก ราช 2551
ซึ่ งดาเนินการใน 2 ลักษณะ คือ กิจกรรมชุ มนุ ม และ กิจกรรม 1 ห้ องเรียน 1 ความดี
      (3) ครู ที่ ป รึ ก ษา ครู ผู้ ส อน ประชุ ม นั ก เรี ย นเพื่ อ ชี้ แ จงและท าความเข้ า ใจ ให้ นั ก เรี ย น
ดาเนินการตามความสนใจ
      (4) นั ก เรี ย นแต่ ล ะชุ ม นุ ม และแต่ ล ะห้ อ งเรี ย นน าเสนอผลการด าเนิ น งานจั ด กิ จ กรรม
สร้ างสรรค์ ประโยชน์
      (5) ประเมินผล
ชั้นมัธยมศึกษา   รหัสวิชา   หน่ วยการเรียนรู้/สาระที่นามาบูรณาการ
       ปี ที่
      1          ส21101             สาระเศรษฐกิจพอเพียง ,
                                 การนับถือศาสนาในประเทศต่ างๆ
      2          ส22101      สาระประชาคมอาเซียน, เศรษฐกิจพอเพียง
      4          ส31101       สาระสิทธิมนุษยชน, เศรษฐกิจพอเพียง
      5          ส32101            สาระภัยพิบัตธรรมชาติ
                                               ิ
      5          ส32103            สาระภัยพิบัตธรรมชาติ
                                               ิ
โดยมีแนวทางในการจัดการเรียนรู้ สาระโลกศึกษา (Global Education : GE) ดังนี้
   (1) จัดประชุมชี้แจงครู ผู้สอน กลุ่มสาระการเรี ยนรู้ สังคมศึกษา ศาสนาและวัฒนธรรม
ในรายวิช าพื้น ฐาน เพื่ อ วิ เ คราะห์ ตั ว ชี้ วัด ท าค าอธิ บ ายรายวิ ช า ท าโครงสร้ างรายวิ ช า
ออกแบบหน่ วยการเรียนรู้ และจัดทาแผนการจัดการเรียนรู้ ที่มีบูรณาการสาระโลกศึกษา
   (2) ครู ผู้สอนจัดทาสื่ อและเอกสารประกอบการเรียนรู้ สาระโลกศึกษา
   (3) ครู ผู้สอน จัดกิจกรรมการเรียนรู้ สาระโลกศึกษา (Global Education : GE)
   (4) ประเมินผล
ได้ ส่งครู จานวน 2 คน เข้ ารับการอบรมหลักสู ตร Training
 the trainers ที่มหาวิทยาลัยเอเชียน (Asian University)
ได้ ส่งครู จานวน 2 คน เข้ ารับการอบรมหลักสู ตร Training
 the trainers ทีมหาวิทยาลัยเอเชียน (Asian University)
                ่
ได้ ส่ งครู เ ข้ า รั บ การอบรมหลั ก สู ต ร Training the trainers
ที่มหาวิทยาลัยเอเชียน (Asian University) และได้ ขยายผลจากการอบรม
ให้ คุณครู ในกลุ่มสาระการเรี ยนรู้ วิทยาศาสตร์ และคณิตศาสตร์ ส่ วนใน
การเรี ย นการสอน ได้ จั ด การเรี ย นการสอนเป็ นภาษาไทย แต่ เ น้ น
ศั พ ท์ เ ทคนิ ค เป็ นภาษาอั ง กฤษ ส าหรั บ ห้ อ งเรี ย นปกติ และ สอนเป็ น
ภาษาอั ง กฤษในบางหน่ ว ยการเรี ย นรู้ ส าหรั บ ห้ อ งเรี ย นพิ เ ศษ ที่ เ น้ น
ภาษาอั ง กฤษ (intensive              program) และห้ องเรี ย นพิ เ ศษที่ เ น้ น
วิทยาศาสตร์ -คณิตศาสตร์ (Science-Math Program)
ผลการจัดการเรียนรู้ (คุณลักษณะของผู้เรียน 5 ด้ าน)

เป็ นเลิศวิชาการ
ผลการจัดการเรียนรู้ (คุณลักษณะของผู้เรียน 5 ด้ าน)


                                 เป็ นเลิศวิชาการ
1) นักเรียนมีผลสั มฤทธิ์การเรียนผ่ านการ                  โรงเรียนเพิ่งดาเนินการตามหลักสู ตร
   ประเมินระดับชาติอยู่ในระดับดีเป็ นที่               มาตรฐานสากล เพียง 2 ปี จึงยังไม่ มีผลสัมฤทธิ์
   ยอมรับจากสถาบันนานาชาติ                                  การเรียนในระดับชาติ (O-NET)
2) นักเรียนมีความสามารถ ความถนัดเฉพาะ                   กีฬาเนตบอลและกีฬาแชร์ บอลระดับชาติ,
   ทางเป็ นที่ประจักษ์ สามารถแข่ งขัน                  การแข่ งขันหุ่นยนต์ , การแข่ งขัน Drum Line,
   ในระดับชาติและนานาชาติ                                          การแข่ งขันวาดภาพ
3) นักเรียนสามารถเข้ าศึกษาต่ อในระดับ
                                                          โรงเรียนเพิ่งดาเนินการตามหลักสู ตร
   ที่สูงขึนจนถึงระดับอุดมศึกษา ทั้งใน
           ้                                           มาตรฐานสากล เพียง 2 ปี จึงยังไม่ ปรากฏผลงาน
   ประเทศและนอกประเทศได้ ในอัตราสู ง
4) นักเรียนมีผลการเรียนที่สามารถถ่ ายโอนกับ               โรงเรียนเพิ่งดาเนินการตามหลักสู ตร
   สถานศึกษาระดับต่ างๆในนานาชาติได้                   มาตรฐานสากล เพียง 2 ปี จึงยังไม่ ปรากฏผลงาน
ผลการจัดการเรียนรู้ (คุณลักษณะของผู้เรียน 5 ด้ าน)
ผลการจัดการเรียนรู้ (คุณลักษณะของผู้เรียน 5 ด้ าน)

                          สื่ อสารสองภาษา
1) โรงเรียนเปิ ดสอนภาษาต่ างประเทศ ดังนี้
    - ภาษาจีน (นักเรียนทุกคนเรียน ยกเว้ น นักเรียนที่เรียนภาษาญี่ปุ่น และ
      ภาษาฝรั่งเศส)
    - ภาษาญี่ปุ่น (เฉพาะนักเรียนที่เรียนแผนการจัดการเรียนรู้ ภาษาญี่ปุ่น)
    - ภาษาฝรั่งเศส (เฉพาะนักเรียนที่เรียนแผนการจัดการเรียนรู้ ภาษาฝรั่งเศส)
    - ภาษาอังกฤษ (นักเรียนทุกคนเรียน)
ผลการจัดการเรียนรู้ (คุณลักษณะของผู้เรียน 5 ด้ าน)
    2. ผลการจัดการเรี ยนร้ ู (คณลัหน้ าทางความคิดาน)
                               ุ ลากษณะของผ้ เู รี ยน 5 ด้
                                  ้
1) นักเรียนสร้ างกิจกรรมแลกเปลียนเรียนรู้ และจัดทาโครงงานที่เสนอแนวคิดเพือสาธารณะประโยชน์
                               ่                                         ่
โดยมีการจัดเสนอโครงงานในวันนิทรรศการของโรงเรียน และงานกิจกรรมต่ างๆของโรงเรียน
2) นักเรียนมีความคิดสร้ างสรรค์ กล้ าเผชิญความเสี่ ยง สามารถใช้ ความคิดระดับสู ง มีเหตุผล
และวางแผนจัดการสู่ เปาหมายที่ต้ังไว้ได้ ในการจัดทาผลงานในรายวิชาต่ างๆตามที่ครู มอบหมาย
                      ้
3) นักเรียนสามารถสร้ างสรรค์ ความคิดใหม่ ๆเพือประโยชน์ ต่อตนเอง สั งคม และประเทศชาติ
                                              ่
ค่ านิยม และความเชื่อของตนเองและของผู้อื่น
ผลการจัดการเรียนรู้ (คุณลักษณะของผู้เรียน 5 ด้ าน)
                           ผลิตงานอย่ างสร้ างสรรค์
1) นักเรียนมีความสามารถประเมิน แสวงหา สั งเคราะห์ และ
ใช้ ข้อมูลข่ าวสารอย่ างมีประสิ ทธิภาพ โดยการนาเทคโนโลยีมา
ใช้ ในการดาเนินการให้ สาเร็จ
2) นักเรียนมีความรอบรู้ ด้านทัศนภาพ (ภาษาภาพ สั ญลักษณ์
สั ญรู ป) รู้ จักตีความ สร้ างสื่อในการพัฒนาการคิด การตัดสิ นใจ
และการเรียนรู้ ให้ ก้าวหน้ าขึน  ้
3) นักเรียนมีผลงานการประดิษฐ์ สร้ างสรรค์ และออกแบบ
ผลงานเข้ าแข่ งขันในเวทีระดับชาติและนานาชาติ อาทิ การ
แข่ งขันหุ่นยนต์
4) นักเรียนสามารถใช้ เทคโนโลยีในการเรียนรู้ ออกแบบ
สร้ างสรรค์ งาน สื่ อสาร นาเสนอ เผยแพร่ และแลกเปลี่ยน
ผลงานได้
ผลการจัดการเรียนรู้ (คุณลักษณะของผู้เรียน 5 ด้ าน)
                         ร่ วมกันรับผิดชอบต่ อสั งคมโลก
1) นักเรียนมีความตระหนักรู้ ในภาวการณ์ ของโลก สามารถเรียนรู้
และจัดการกับความซับซ้ อน
2) นักเรียนมีความรู้ ความเข้ าใจ และตระหนักในความหลากหลาย
ทางวัฒนธรรม ขนบธรรมเนียมประเพณีของนานาชาติ
3) นักเรียนมีความสามารถระบุประเด็นทางเศรษฐศาสตร์ วิเคราะห์
ผลกระทบของการเปลี่ยนแปลงทางเศรษฐกิจและนโยบายสาธารณะ
เปรียบเทียบค่ าใช้ จ่ายและผลตอบแทนได้
4) นักเรียนมีความรับผิดชอบต่ อสั งคมและเป็ นพลเมืองดี สามารถ
จัดการและควบคุมการใช้ เทคโนโลยี เพือส่ งเสริมให้ เกิดประโยชน์ ต่อ
                                     ่
สาธารณะและปกป้ องคุ้มครองสิ่ งแวดล้ อม และอุดมการณ์
ประชาธิปไตยสั งคมไทยและสั งคมโลก
1. การนาองค์ กร
        1) กาหนดวิสัยทัศน์
โรงเรียนนนทรีวทยา   ิ
       มุ่งสู่ ความเป็ นเลิศ
                เชิดชู คุณธรรม
                        เลิศลาสิ่ งแวดล้ อม
                             ้
                                   น้ อมนาเศรษฐกิจพอเพียง
                                          ก้ าวสู่ มาตรฐานสากล
การควบคุมแบบทดสอบ
                           การจัดกิจกรรมเสริม
                                 หลักสู ตร
                          การจัดการเรียนการสอน
      การรับนักเรียน      การดูแลความประพฤติ             การประเมินผล                     if            Yes

                                                           การเรียน


                       - การสารวจความพึ่งพอใจ              การประเมินผล                  No
                       - การบริหารงานบุคคล                     การเรียน                                         การออกเอกสาร
                       - การควบคุมกระบวนการจัดการ            การควบคุม
                                                                                                               หลักฐานการเรียน
                       เรียนการสอน                          แบบทดสอบ
                       - กิจกรรมนักเรียน                    การแก้ปัญหา           การแก้ ปัญหานักเรียนที่คาด
                       - โสตทัศนูปกรณ์และสื่อการสอน      นักเรียนทีคาดว่าจะ
                                                                   ่                 ว่ าจะไม่ จบหลักสู ตร
                       - การให้ บริการแหล่งเรียนรู้ ใน     ไม่จบหลักสู ตร
                       สถานศึกษา
                       - การบริหารเครือข่ ายข้ อมูลของ
                       โรงเรียน                                               การแก้ ปัญหานักเรียนที่คาดว่า
                       - กิจกรรมเสริมหลักสู ตร                                     จะไม่ จบหลักสู ตร
                       - งานแผนงาน
                       - ระบบการช่ วยเหลือนักเรียน
                       - การสอนซ่ อมเสริม

1. การนาองค์ กร
       2) มีการบริหารงานอย่างเป็ นระบบ มีการกากับ ติดตามและประเมินผล
1. การนาองค์ กร 3. การดาเนินงานบริหารจัดการด้ วยระบบคณภาพ (TQA)
                                                     ุ
       3) สร้ างบรรยากาศให้ มการพัฒนาบรรลุตามวิสัยทัศน์
                               ี
1. การนาองค์ กร 3. การดาเนินงานบริ หารจัดการด้ วยระบบคณภาพ (TQA)
                                                      ุ
       4) จัดระบบการทางานที่เอือต่ อการพัฒนาโรงเรียน
                               ้
2. การวางแผนเชิงยุทธศาสตร์ และกลยุทธ์ยระบบคณภาพ (TQA)
           3. การดาเนินงานบริ หารจัดการด้ ว ุ
      1) มีการจัดทาแผนกลยุทธ์ 3 ปี จากการมีส่วนร่ วมของผู้เกี่ยวข้ อง
      2) มีการวิเคราะห์ บริบทและศักยภาพโรงเรียน
      3) มีการกาหนดตัวชี้วด ระยะเวลาดาเนินการโครงการ /
                             ั
         กิจกรรมที่เป็ นรู ปธรรม
3. การให้ ความสาคัญกับผู้รับบริการและผู้มส่วนได้ ส่วนเสี ย
                                         ี
  1) โรงเรียนจัดทาระบบข้ อมูลสารสนเทศ
  2) โรงเรียนสารวจความต้ องการของนักเรียน ผู้ปกครอง และชุมชน เพือกาหนดทิศทางการศึกษา
                                                                       ่
   3) จัดทาหลักสู ตรสถานศึกษา
   4) จัดการเรียนการสอน กิจกรรมการเรียนรู้ เพือพัฒนานักเรียน
                                              ่
   5) จัดสภาพแวดล้ อม บรรยากาศ และแหล่ งเรียนรู้ที่เอือต่ อการเรียนรู้ของนักเรียน
                                                      ้
   6) จัดบริการแนะแนวเชิงรุก เพือมุ่งอนาคตและผลสัมฤทธิ์ของนักเรียน
                                ่
4. การวัด การวิเคราะห์ และการจัการด้วยระบบคณ้ ภาพ (TQA)
            3. การดาเนินงานบริ หารจัด ดการความรู
                                              ุ
      1) การวัดผลการดาเนินการที่ทันต่ อความต้ องการและทิศทางของโรงเรียน
      2) การวิเคราะห์ ผลการดาเนินการ เพือการปรับปรุ งอย่ างต่ อเนื่อง
                                        ่
      3) การจัดการความรู้ และสารสนเทศ มีข้อมูลสารสนเทศที่จาเป็ น
         มีคุณภาพพร้ อมใช้
3. การดาเนินงานบริ หารจัดการด้ วยระบบคณภาพ (TQA)
                                                 ุ
5. การมุ่งเน้ นทรัพยากรบุคคล
     1) มีการยกย่ อง ชมเชย ให้ รางวัล สร้ างแรงจูงใจ และส่ งเสริม
        ความก้ าวหน้ าในวิชาชีพของบุคลากร
     2) บุคลากรมีความเตรียมพร้ อมต่ อการเปลียนแปลงปรับปรุ ง
                                               ่
        บรรยากาศในสถานที่ทางานที่เอือต่ อการปฏิบัติงาน
                                       ้
7. ผลลัพธ์ การดาเนินการ
        โรงเรี ยนจัดทารายงานการดาเนินการทุกภาคเรี ยนในแต่ละปี การศึกษา
4. การสร้ างเครื อข่ ายและโรงเรียนร่ วมพัฒนา
 โครงการ Dreams and Teams โรงเรียนมีการจัดเครือข่ ายพัฒนา MOU กับ Angley
School 4. การสร้กฤษ และข่ ายและโรงเรี ยนร่ วมพัฒนาย
       ประเทศอัง างเครื อ Sabah School ประเทศมาเลเซี
 Cultural Exchange โครงการแลกเปลี่ยนวัฒนธรรม ณ ประเทศจีน




 โครงการ เปิ ดโลกกว้างสู่ ประชาคมอาเซียน : มาเลเซีย สิ งคโปร์
 โครงการแลกเปลี่ยนนักเรียน นักศึกษาจากกลุ่มประเทศอาเซียน : อินโดนีเซีย เวียดนาม
มาเลเซีย สิ งการสร้ไต้งเครื อและอินเดีย โดยร่ วมกัวมพัฒนา ยอัสสั มชัญ
       4. คโปร์ า หวัน ข่ ายและโรงเรียนร่ บ มหาวิทยาลั
 คณะผู้บริหารจากประเทศฟิ ลิปินส์ มาศึกษาดูงานด้ านการจัดการศึกษาและ
ศิลปวัฒนธรรม ณ โรงเรียนนนทรีวทยา   ิ




 โครงการการแข่ งขันบาสเกตบอลเชื่อมความสั มพันธ์ ระหว่างไทย – ปากีสถาน
 โครงการครู อาสาสมัครสอนภาษาจีน จากประเทศจีน ในโครงการของ สพฐ.
การขับเคลื่อนโรงเรียนนนทรีวิทยา สู่ระบบโรงเรียนมาตรฐานสากล โดย ครูกอบวิทย์ พิริยะวัฒน์
การขับเคลื่อนโรงเรียนนนทรีวิทยา สู่ระบบโรงเรียนมาตรฐานสากล โดย ครูกอบวิทย์ พิริยะวัฒน์

Contenu connexe

Tendances

P pt wpp สุราษฎร์ตอนที่4 เพิ่มโอกาสด้วย ict
P pt wpp สุราษฎร์ตอนที่4 เพิ่มโอกาสด้วย ictP pt wpp สุราษฎร์ตอนที่4 เพิ่มโอกาสด้วย ict
P pt wpp สุราษฎร์ตอนที่4 เพิ่มโอกาสด้วย ict
Kobwit Piriyawat
 
การประดิษฐ์สื่อการเรียนการสอนแบบจำลองน้ำตกจากวัสดุเหลือใช้
การประดิษฐ์สื่อการเรียนการสอนแบบจำลองน้ำตกจากวัสดุเหลือใช้การประดิษฐ์สื่อการเรียนการสอนแบบจำลองน้ำตกจากวัสดุเหลือใช้
การประดิษฐ์สื่อการเรียนการสอนแบบจำลองน้ำตกจากวัสดุเหลือใช้
Kobwit Piriyawat
 
แผนการพัฒนาตนเอง นายกอบวิทย์ พิริยะวัฒน์ ปีการศึกษา 2553
แผนการพัฒนาตนเอง นายกอบวิทย์  พิริยะวัฒน์ ปีการศึกษา 2553แผนการพัฒนาตนเอง นายกอบวิทย์  พิริยะวัฒน์ ปีการศึกษา 2553
แผนการพัฒนาตนเอง นายกอบวิทย์ พิริยะวัฒน์ ปีการศึกษา 2553
Kobwit Piriyawat
 
จุดสิ้นสุดของการเริ่มต้นบนถนนครุวิจัย ของครูกอบวิทย์ พิริยะวัฒน์
จุดสิ้นสุดของการเริ่มต้นบนถนนครุวิจัย ของครูกอบวิทย์ พิริยะวัฒน์จุดสิ้นสุดของการเริ่มต้นบนถนนครุวิจัย ของครูกอบวิทย์ พิริยะวัฒน์
จุดสิ้นสุดของการเริ่มต้นบนถนนครุวิจัย ของครูกอบวิทย์ พิริยะวัฒน์
Kobwit Piriyawat
 
แผนผังวิเคราะห์การจัดการเรียนรู้ ว21101 วิทยาศาสตร์1 ครูกอบวิทย์ พิริยะวัฒน์
แผนผังวิเคราะห์การจัดการเรียนรู้ ว21101 วิทยาศาสตร์1 ครูกอบวิทย์ พิริยะวัฒน์แผนผังวิเคราะห์การจัดการเรียนรู้ ว21101 วิทยาศาสตร์1 ครูกอบวิทย์ พิริยะวัฒน์
แผนผังวิเคราะห์การจัดการเรียนรู้ ว21101 วิทยาศาสตร์1 ครูกอบวิทย์ พิริยะวัฒน์
Kobwit Piriyawat
 
สรุปการปฏิบัติหน้าที่ครู นายกอบวิทย์ พิริยะวัฒน์
สรุปการปฏิบัติหน้าที่ครู นายกอบวิทย์  พิริยะวัฒน์สรุปการปฏิบัติหน้าที่ครู นายกอบวิทย์  พิริยะวัฒน์
สรุปการปฏิบัติหน้าที่ครู นายกอบวิทย์ พิริยะวัฒน์
Kobwit Piriyawat
 
การนำเสนอ Inspiring science ศน.วัชรากร
การนำเสนอ Inspiring science ศน.วัชรากรการนำเสนอ Inspiring science ศน.วัชรากร
การนำเสนอ Inspiring science ศน.วัชรากร
Ips UbonFive
 
แผนการจัดการเรียนรู้บูรณาการสาระทฤษฎีความรู้ (Tok) กลุ่มสาระฯวิทยาศาสตร์ นายก...
แผนการจัดการเรียนรู้บูรณาการสาระทฤษฎีความรู้ (Tok) กลุ่มสาระฯวิทยาศาสตร์ นายก...แผนการจัดการเรียนรู้บูรณาการสาระทฤษฎีความรู้ (Tok) กลุ่มสาระฯวิทยาศาสตร์ นายก...
แผนการจัดการเรียนรู้บูรณาการสาระทฤษฎีความรู้ (Tok) กลุ่มสาระฯวิทยาศาสตร์ นายก...
Kobwit Piriyawat
 
ประวัติมนตรี
ประวัติมนตรีประวัติมนตรี
ประวัติมนตรี
Montree Jareeyanuwat
 
รายงานการประเมินตนเอง 2 54
รายงานการประเมินตนเอง 2 54รายงานการประเมินตนเอง 2 54
รายงานการประเมินตนเอง 2 54
Jiraporn
 
แฟ้มสะสมผลงานดีเด่นระดับปริญญาเอก นายกอบวิทย์ พิริยะวัฒน์
แฟ้มสะสมผลงานดีเด่นระดับปริญญาเอก นายกอบวิทย์  พิริยะวัฒน์แฟ้มสะสมผลงานดีเด่นระดับปริญญาเอก นายกอบวิทย์  พิริยะวัฒน์
แฟ้มสะสมผลงานดีเด่นระดับปริญญาเอก นายกอบวิทย์ พิริยะวัฒน์
Kobwit Piriyawat
 
เอกสารประกอบการพิจารณาคัดเลือกเข้ารับรางวัล Obec award ครูกอบวิทย์ พิริยะวัฒน์
เอกสารประกอบการพิจารณาคัดเลือกเข้ารับรางวัล Obec award ครูกอบวิทย์  พิริยะวัฒน์เอกสารประกอบการพิจารณาคัดเลือกเข้ารับรางวัล Obec award ครูกอบวิทย์  พิริยะวัฒน์
เอกสารประกอบการพิจารณาคัดเลือกเข้ารับรางวัล Obec award ครูกอบวิทย์ พิริยะวัฒน์
Kobwit Piriyawat
 
โครงการจัดทำบัญชีครัวเรือน
โครงการจัดทำบัญชีครัวเรือนโครงการจัดทำบัญชีครัวเรือน
โครงการจัดทำบัญชีครัวเรือน
Chonlada078
 
ปรับการเรียนเปลี่ยนการสอนด้วย Inspiring science
ปรับการเรียนเปลี่ยนการสอนด้วย Inspiring scienceปรับการเรียนเปลี่ยนการสอนด้วย Inspiring science
ปรับการเรียนเปลี่ยนการสอนด้วย Inspiring science
Kobwit Piriyawat
 
จุดสิ้นสุดของการเริ่มต้นบนถนนครุวิจัย ของครูกอบวิทย์ พิริยะวัฒน์
จุดสิ้นสุดของการเริ่มต้นบนถนนครุวิจัย ของครูกอบวิทย์ พิริยะวัฒน์จุดสิ้นสุดของการเริ่มต้นบนถนนครุวิจัย ของครูกอบวิทย์ พิริยะวัฒน์
จุดสิ้นสุดของการเริ่มต้นบนถนนครุวิจัย ของครูกอบวิทย์ พิริยะวัฒน์
Kobwit Piriyawat
 
งานวิจัยเผยแพร่
งานวิจัยเผยแพร่งานวิจัยเผยแพร่
งานวิจัยเผยแพร่
Jiraporn
 
วิสัยทัศน์ของหลักสูตร
วิสัยทัศน์ของหลักสูตรวิสัยทัศน์ของหลักสูตร
วิสัยทัศน์ของหลักสูตร
nakkee
 

Tendances (20)

P pt wpp สุราษฎร์ตอนที่4 เพิ่มโอกาสด้วย ict
P pt wpp สุราษฎร์ตอนที่4 เพิ่มโอกาสด้วย ictP pt wpp สุราษฎร์ตอนที่4 เพิ่มโอกาสด้วย ict
P pt wpp สุราษฎร์ตอนที่4 เพิ่มโอกาสด้วย ict
 
ประเมินครูผู้ช่วย องค์ประกอบที่ 2 การปฏิบัติงาน (ประเมินครั้งที่ 7)
ประเมินครูผู้ช่วย องค์ประกอบที่ 2 การปฏิบัติงาน (ประเมินครั้งที่ 7)ประเมินครูผู้ช่วย องค์ประกอบที่ 2 การปฏิบัติงาน (ประเมินครั้งที่ 7)
ประเมินครูผู้ช่วย องค์ประกอบที่ 2 การปฏิบัติงาน (ประเมินครั้งที่ 7)
 
การประดิษฐ์สื่อการเรียนการสอนแบบจำลองน้ำตกจากวัสดุเหลือใช้
การประดิษฐ์สื่อการเรียนการสอนแบบจำลองน้ำตกจากวัสดุเหลือใช้การประดิษฐ์สื่อการเรียนการสอนแบบจำลองน้ำตกจากวัสดุเหลือใช้
การประดิษฐ์สื่อการเรียนการสอนแบบจำลองน้ำตกจากวัสดุเหลือใช้
 
แผนการพัฒนาตนเอง นายกอบวิทย์ พิริยะวัฒน์ ปีการศึกษา 2553
แผนการพัฒนาตนเอง นายกอบวิทย์  พิริยะวัฒน์ ปีการศึกษา 2553แผนการพัฒนาตนเอง นายกอบวิทย์  พิริยะวัฒน์ ปีการศึกษา 2553
แผนการพัฒนาตนเอง นายกอบวิทย์ พิริยะวัฒน์ ปีการศึกษา 2553
 
จุดสิ้นสุดของการเริ่มต้นบนถนนครุวิจัย ของครูกอบวิทย์ พิริยะวัฒน์
จุดสิ้นสุดของการเริ่มต้นบนถนนครุวิจัย ของครูกอบวิทย์ พิริยะวัฒน์จุดสิ้นสุดของการเริ่มต้นบนถนนครุวิจัย ของครูกอบวิทย์ พิริยะวัฒน์
จุดสิ้นสุดของการเริ่มต้นบนถนนครุวิจัย ของครูกอบวิทย์ พิริยะวัฒน์
 
แผนผังวิเคราะห์การจัดการเรียนรู้ ว21101 วิทยาศาสตร์1 ครูกอบวิทย์ พิริยะวัฒน์
แผนผังวิเคราะห์การจัดการเรียนรู้ ว21101 วิทยาศาสตร์1 ครูกอบวิทย์ พิริยะวัฒน์แผนผังวิเคราะห์การจัดการเรียนรู้ ว21101 วิทยาศาสตร์1 ครูกอบวิทย์ พิริยะวัฒน์
แผนผังวิเคราะห์การจัดการเรียนรู้ ว21101 วิทยาศาสตร์1 ครูกอบวิทย์ พิริยะวัฒน์
 
สรุปการปฏิบัติหน้าที่ครู นายกอบวิทย์ พิริยะวัฒน์
สรุปการปฏิบัติหน้าที่ครู นายกอบวิทย์  พิริยะวัฒน์สรุปการปฏิบัติหน้าที่ครู นายกอบวิทย์  พิริยะวัฒน์
สรุปการปฏิบัติหน้าที่ครู นายกอบวิทย์ พิริยะวัฒน์
 
การนำเสนอ Inspiring science ศน.วัชรากร
การนำเสนอ Inspiring science ศน.วัชรากรการนำเสนอ Inspiring science ศน.วัชรากร
การนำเสนอ Inspiring science ศน.วัชรากร
 
บันทึกความดีศิริวุฒิ 1 55
บันทึกความดีศิริวุฒิ 1 55บันทึกความดีศิริวุฒิ 1 55
บันทึกความดีศิริวุฒิ 1 55
 
แผนการจัดการเรียนรู้บูรณาการสาระทฤษฎีความรู้ (Tok) กลุ่มสาระฯวิทยาศาสตร์ นายก...
แผนการจัดการเรียนรู้บูรณาการสาระทฤษฎีความรู้ (Tok) กลุ่มสาระฯวิทยาศาสตร์ นายก...แผนการจัดการเรียนรู้บูรณาการสาระทฤษฎีความรู้ (Tok) กลุ่มสาระฯวิทยาศาสตร์ นายก...
แผนการจัดการเรียนรู้บูรณาการสาระทฤษฎีความรู้ (Tok) กลุ่มสาระฯวิทยาศาสตร์ นายก...
 
ประวัติมนตรี
ประวัติมนตรีประวัติมนตรี
ประวัติมนตรี
 
รายงานการประเมินตนเอง 2 54
รายงานการประเมินตนเอง 2 54รายงานการประเมินตนเอง 2 54
รายงานการประเมินตนเอง 2 54
 
แฟ้มสะสมผลงานดีเด่นระดับปริญญาเอก นายกอบวิทย์ พิริยะวัฒน์
แฟ้มสะสมผลงานดีเด่นระดับปริญญาเอก นายกอบวิทย์  พิริยะวัฒน์แฟ้มสะสมผลงานดีเด่นระดับปริญญาเอก นายกอบวิทย์  พิริยะวัฒน์
แฟ้มสะสมผลงานดีเด่นระดับปริญญาเอก นายกอบวิทย์ พิริยะวัฒน์
 
Sar ครูพิมพ์
Sar ครูพิมพ์Sar ครูพิมพ์
Sar ครูพิมพ์
 
เอกสารประกอบการพิจารณาคัดเลือกเข้ารับรางวัล Obec award ครูกอบวิทย์ พิริยะวัฒน์
เอกสารประกอบการพิจารณาคัดเลือกเข้ารับรางวัล Obec award ครูกอบวิทย์  พิริยะวัฒน์เอกสารประกอบการพิจารณาคัดเลือกเข้ารับรางวัล Obec award ครูกอบวิทย์  พิริยะวัฒน์
เอกสารประกอบการพิจารณาคัดเลือกเข้ารับรางวัล Obec award ครูกอบวิทย์ พิริยะวัฒน์
 
โครงการจัดทำบัญชีครัวเรือน
โครงการจัดทำบัญชีครัวเรือนโครงการจัดทำบัญชีครัวเรือน
โครงการจัดทำบัญชีครัวเรือน
 
ปรับการเรียนเปลี่ยนการสอนด้วย Inspiring science
ปรับการเรียนเปลี่ยนการสอนด้วย Inspiring scienceปรับการเรียนเปลี่ยนการสอนด้วย Inspiring science
ปรับการเรียนเปลี่ยนการสอนด้วย Inspiring science
 
จุดสิ้นสุดของการเริ่มต้นบนถนนครุวิจัย ของครูกอบวิทย์ พิริยะวัฒน์
จุดสิ้นสุดของการเริ่มต้นบนถนนครุวิจัย ของครูกอบวิทย์ พิริยะวัฒน์จุดสิ้นสุดของการเริ่มต้นบนถนนครุวิจัย ของครูกอบวิทย์ พิริยะวัฒน์
จุดสิ้นสุดของการเริ่มต้นบนถนนครุวิจัย ของครูกอบวิทย์ พิริยะวัฒน์
 
งานวิจัยเผยแพร่
งานวิจัยเผยแพร่งานวิจัยเผยแพร่
งานวิจัยเผยแพร่
 
วิสัยทัศน์ของหลักสูตร
วิสัยทัศน์ของหลักสูตรวิสัยทัศน์ของหลักสูตร
วิสัยทัศน์ของหลักสูตร
 

Similaire à การขับเคลื่อนโรงเรียนนนทรีวิทยา สู่ระบบโรงเรียนมาตรฐานสากล โดย ครูกอบวิทย์ พิริยะวัฒน์

วิจัยบทที่
วิจัยบทที่วิจัยบทที่
วิจัยบทที่
Natmol Thedsanabun
 
Slideshare
SlideshareSlideshare
Slideshare
paewwaew
 
Slideshare
SlideshareSlideshare
Slideshare
paewwaew
 
การบริหารการศึกษาPp
การบริหารการศึกษาPpการบริหารการศึกษาPp
การบริหารการศึกษาPp
KamjornT
 
Slideshare
SlideshareSlideshare
Slideshare
paewwaew
 
แผนการจัดการเรียนรู้ เรื่องสถานะของสาร รายการครูมืออาชีพ ตอนครูหัดบิน ครูกอบว...
แผนการจัดการเรียนรู้ เรื่องสถานะของสาร รายการครูมืออาชีพ ตอนครูหัดบิน ครูกอบว...แผนการจัดการเรียนรู้ เรื่องสถานะของสาร รายการครูมืออาชีพ ตอนครูหัดบิน ครูกอบว...
แผนการจัดการเรียนรู้ เรื่องสถานะของสาร รายการครูมืออาชีพ ตอนครูหัดบิน ครูกอบว...
Kobwit Piriyawat
 

Similaire à การขับเคลื่อนโรงเรียนนนทรีวิทยา สู่ระบบโรงเรียนมาตรฐานสากล โดย ครูกอบวิทย์ พิริยะวัฒน์ (20)

ร่างหลักสูตรสถานศึกษา เนื้อหาโรงเรียน
ร่างหลักสูตรสถานศึกษา เนื้อหาโรงเรียนร่างหลักสูตรสถานศึกษา เนื้อหาโรงเรียน
ร่างหลักสูตรสถานศึกษา เนื้อหาโรงเรียน
 
แบบรายงานการพัฒนานวัตกรรมการพัฒนาคุณภาพผู้เรียนตามจุด
แบบรายงานการพัฒนานวัตกรรมการพัฒนาคุณภาพผู้เรียนตามจุดแบบรายงานการพัฒนานวัตกรรมการพัฒนาคุณภาพผู้เรียนตามจุด
แบบรายงานการพัฒนานวัตกรรมการพัฒนาคุณภาพผู้เรียนตามจุด
 
Botkwam
BotkwamBotkwam
Botkwam
 
Botkwam
BotkwamBotkwam
Botkwam
 
Botkwam
BotkwamBotkwam
Botkwam
 
บทที่ 7
บทที่ 7บทที่ 7
บทที่ 7
 
บทที่ 7
บทที่ 7บทที่ 7
บทที่ 7
 
วิจัยบทที่
วิจัยบทที่วิจัยบทที่
วิจัยบทที่
 
Slideshare
SlideshareSlideshare
Slideshare
 
Slideshare
SlideshareSlideshare
Slideshare
 
Slideshare
SlideshareSlideshare
Slideshare
 
project
projectproject
project
 
การบริหารการศึกษาPp
การบริหารการศึกษาPpการบริหารการศึกษาPp
การบริหารการศึกษาPp
 
Slideshare
SlideshareSlideshare
Slideshare
 
หลักสูตรแกนกลาง
หลักสูตรแกนกลางหลักสูตรแกนกลาง
หลักสูตรแกนกลาง
 
B2
B2B2
B2
 
E book world-class
E book world-classE book world-class
E book world-class
 
แผนการจัดการเรียนรู้ เรื่องสถานะของสาร รายการครูมืออาชีพ ตอนครูหัดบิน ครูกอบว...
แผนการจัดการเรียนรู้ เรื่องสถานะของสาร รายการครูมืออาชีพ ตอนครูหัดบิน ครูกอบว...แผนการจัดการเรียนรู้ เรื่องสถานะของสาร รายการครูมืออาชีพ ตอนครูหัดบิน ครูกอบว...
แผนการจัดการเรียนรู้ เรื่องสถานะของสาร รายการครูมืออาชีพ ตอนครูหัดบิน ครูกอบว...
 
Learning by project
Learning by projectLearning by project
Learning by project
 
7 170819173524
7 1708191735247 170819173524
7 170819173524
 

Plus de Kobwit Piriyawat

P pt wpp สุราษฎร์ตอนที่5 ปรับวิถีการจัดการเรียนรู้่
P pt wpp สุราษฎร์ตอนที่5 ปรับวิถีการจัดการเรียนรู้่P pt wpp สุราษฎร์ตอนที่5 ปรับวิถีการจัดการเรียนรู้่
P pt wpp สุราษฎร์ตอนที่5 ปรับวิถีการจัดการเรียนรู้่
Kobwit Piriyawat
 
P pt wpp สุราษฎร์ตอนที่3 หลากกลเม็ดการสอนวิทย์
P pt wpp สุราษฎร์ตอนที่3 หลากกลเม็ดการสอนวิทย์P pt wpp สุราษฎร์ตอนที่3 หลากกลเม็ดการสอนวิทย์
P pt wpp สุราษฎร์ตอนที่3 หลากกลเม็ดการสอนวิทย์
Kobwit Piriyawat
 
P pt wpp สุราษฎร์ตอนที่2 ก้าวสู่ครูในศตวรรษที่ 21
P pt wpp สุราษฎร์ตอนที่2 ก้าวสู่ครูในศตวรรษที่ 21P pt wpp สุราษฎร์ตอนที่2 ก้าวสู่ครูในศตวรรษที่ 21
P pt wpp สุราษฎร์ตอนที่2 ก้าวสู่ครูในศตวรรษที่ 21
Kobwit Piriyawat
 
P pt wpp สุราษฎร์ตอนที่1 เตรียมพร้อมก่อนเรียนรู้
P pt wpp สุราษฎร์ตอนที่1 เตรียมพร้อมก่อนเรียนรู้P pt wpp สุราษฎร์ตอนที่1 เตรียมพร้อมก่อนเรียนรู้
P pt wpp สุราษฎร์ตอนที่1 เตรียมพร้อมก่อนเรียนรู้
Kobwit Piriyawat
 
รายงานการเยี่ยมบ้านนักเรียน ครูกอบวิทย์ พิริยะวัฒน์
รายงานการเยี่ยมบ้านนักเรียน  ครูกอบวิทย์ พิริยะวัฒน์รายงานการเยี่ยมบ้านนักเรียน  ครูกอบวิทย์ พิริยะวัฒน์
รายงานการเยี่ยมบ้านนักเรียน ครูกอบวิทย์ พิริยะวัฒน์
Kobwit Piriyawat
 
ปรับการเรียนเปลี่ยนการสอนด้วย Inspiring science
ปรับการเรียนเปลี่ยนการสอนด้วย Inspiring scienceปรับการเรียนเปลี่ยนการสอนด้วย Inspiring science
ปรับการเรียนเปลี่ยนการสอนด้วย Inspiring science
Kobwit Piriyawat
 
แบบฟอร์มแฟ้มสะสมผลงานนักเรียน 2555 โดยครูกอบวิทย์ พิริยะวัฒน์
แบบฟอร์มแฟ้มสะสมผลงานนักเรียน 2555 โดยครูกอบวิทย์ พิริยะวัฒน์แบบฟอร์มแฟ้มสะสมผลงานนักเรียน 2555 โดยครูกอบวิทย์ พิริยะวัฒน์
แบบฟอร์มแฟ้มสะสมผลงานนักเรียน 2555 โดยครูกอบวิทย์ พิริยะวัฒน์
Kobwit Piriyawat
 
การเตรียมความพร้อมเพื่อรับการประเมินผลนักเรียนนานาชาติ (Pisa)
การเตรียมความพร้อมเพื่อรับการประเมินผลนักเรียนนานาชาติ (Pisa)การเตรียมความพร้อมเพื่อรับการประเมินผลนักเรียนนานาชาติ (Pisa)
การเตรียมความพร้อมเพื่อรับการประเมินผลนักเรียนนานาชาติ (Pisa)
Kobwit Piriyawat
 
รูปแบบการจัดทำแผนการจัดการเรียนรู้รายวิชา ปรับปรุง 2555 ครูกอบวิทย์ พิริยะวัฒน์
รูปแบบการจัดทำแผนการจัดการเรียนรู้รายวิชา ปรับปรุง 2555 ครูกอบวิทย์ พิริยะวัฒน์รูปแบบการจัดทำแผนการจัดการเรียนรู้รายวิชา ปรับปรุง 2555 ครูกอบวิทย์ พิริยะวัฒน์
รูปแบบการจัดทำแผนการจัดการเรียนรู้รายวิชา ปรับปรุง 2555 ครูกอบวิทย์ พิริยะวัฒน์
Kobwit Piriyawat
 
จดหมายข่าวเทคโนโลยีชีวภาพ 3
จดหมายข่าวเทคโนโลยีชีวภาพ 3จดหมายข่าวเทคโนโลยีชีวภาพ 3
จดหมายข่าวเทคโนโลยีชีวภาพ 3
Kobwit Piriyawat
 
จดหมายข่าวเทคโนโลยีชีวภาพ 2
จดหมายข่าวเทคโนโลยีชีวภาพ 2จดหมายข่าวเทคโนโลยีชีวภาพ 2
จดหมายข่าวเทคโนโลยีชีวภาพ 2
Kobwit Piriyawat
 
จดหมายข่าวเทคโนโลยีชีวภาพ 1
จดหมายข่าวเทคโนโลยีชีวภาพ 1จดหมายข่าวเทคโนโลยีชีวภาพ 1
จดหมายข่าวเทคโนโลยีชีวภาพ 1
Kobwit Piriyawat
 
ตารางวิเคราะห์ข้อดีข้อเสียเทคโนโลยีชีวภาพ
ตารางวิเคราะห์ข้อดีข้อเสียเทคโนโลยีชีวภาพตารางวิเคราะห์ข้อดีข้อเสียเทคโนโลยีชีวภาพ
ตารางวิเคราะห์ข้อดีข้อเสียเทคโนโลยีชีวภาพ
Kobwit Piriyawat
 
รายงานผลการดำเนินงานกลุ่มสาระฯวิทยาศาสตร์ ร.ร.นนทรีวิทยา 1 2554
รายงานผลการดำเนินงานกลุ่มสาระฯวิทยาศาสตร์ ร.ร.นนทรีวิทยา 1 2554รายงานผลการดำเนินงานกลุ่มสาระฯวิทยาศาสตร์ ร.ร.นนทรีวิทยา 1 2554
รายงานผลการดำเนินงานกลุ่มสาระฯวิทยาศาสตร์ ร.ร.นนทรีวิทยา 1 2554
Kobwit Piriyawat
 

Plus de Kobwit Piriyawat (20)

แฟ้มสะสมงานการจัดการเรียนรู้ของครู นายกอบวิทย์ พิริยะวัฒน์
แฟ้มสะสมงานการจัดการเรียนรู้ของครู นายกอบวิทย์  พิริยะวัฒน์แฟ้มสะสมงานการจัดการเรียนรู้ของครู นายกอบวิทย์  พิริยะวัฒน์
แฟ้มสะสมงานการจัดการเรียนรู้ของครู นายกอบวิทย์ พิริยะวัฒน์
 
P pt wpp สุราษฎร์ตอนที่5 ปรับวิถีการจัดการเรียนรู้่
P pt wpp สุราษฎร์ตอนที่5 ปรับวิถีการจัดการเรียนรู้่P pt wpp สุราษฎร์ตอนที่5 ปรับวิถีการจัดการเรียนรู้่
P pt wpp สุราษฎร์ตอนที่5 ปรับวิถีการจัดการเรียนรู้่
 
P pt wpp สุราษฎร์ตอนที่3 หลากกลเม็ดการสอนวิทย์
P pt wpp สุราษฎร์ตอนที่3 หลากกลเม็ดการสอนวิทย์P pt wpp สุราษฎร์ตอนที่3 หลากกลเม็ดการสอนวิทย์
P pt wpp สุราษฎร์ตอนที่3 หลากกลเม็ดการสอนวิทย์
 
P pt wpp สุราษฎร์ตอนที่2 ก้าวสู่ครูในศตวรรษที่ 21
P pt wpp สุราษฎร์ตอนที่2 ก้าวสู่ครูในศตวรรษที่ 21P pt wpp สุราษฎร์ตอนที่2 ก้าวสู่ครูในศตวรรษที่ 21
P pt wpp สุราษฎร์ตอนที่2 ก้าวสู่ครูในศตวรรษที่ 21
 
P pt wpp สุราษฎร์ตอนที่1 เตรียมพร้อมก่อนเรียนรู้
P pt wpp สุราษฎร์ตอนที่1 เตรียมพร้อมก่อนเรียนรู้P pt wpp สุราษฎร์ตอนที่1 เตรียมพร้อมก่อนเรียนรู้
P pt wpp สุราษฎร์ตอนที่1 เตรียมพร้อมก่อนเรียนรู้
 
รูปแบบ/วิธีการนำสื่อการเรียนรู้ออนไลน์มาบูรณาการในการจัดการศึกษา โดยกอบวิทย์...
รูปแบบ/วิธีการนำสื่อการเรียนรู้ออนไลน์มาบูรณาการในการจัดการศึกษา  โดยกอบวิทย์...รูปแบบ/วิธีการนำสื่อการเรียนรู้ออนไลน์มาบูรณาการในการจัดการศึกษา  โดยกอบวิทย์...
รูปแบบ/วิธีการนำสื่อการเรียนรู้ออนไลน์มาบูรณาการในการจัดการศึกษา โดยกอบวิทย์...
 
The evolution of science curriculum in the United States (Thai Version) โดย ก...
The evolution of science curriculum in the United States (Thai Version) โดย ก...The evolution of science curriculum in the United States (Thai Version) โดย ก...
The evolution of science curriculum in the United States (Thai Version) โดย ก...
 
รายงานการเยี่ยมบ้านนักเรียน ครูกอบวิทย์ พิริยะวัฒน์
รายงานการเยี่ยมบ้านนักเรียน  ครูกอบวิทย์ พิริยะวัฒน์รายงานการเยี่ยมบ้านนักเรียน  ครูกอบวิทย์ พิริยะวัฒน์
รายงานการเยี่ยมบ้านนักเรียน ครูกอบวิทย์ พิริยะวัฒน์
 
ปรับการเรียนเปลี่ยนการสอนด้วย Inspiring science
ปรับการเรียนเปลี่ยนการสอนด้วย Inspiring scienceปรับการเรียนเปลี่ยนการสอนด้วย Inspiring science
ปรับการเรียนเปลี่ยนการสอนด้วย Inspiring science
 
แบบฟอร์มแฟ้มสะสมผลงานนักเรียน 2555 โดยครูกอบวิทย์ พิริยะวัฒน์
แบบฟอร์มแฟ้มสะสมผลงานนักเรียน 2555 โดยครูกอบวิทย์ พิริยะวัฒน์แบบฟอร์มแฟ้มสะสมผลงานนักเรียน 2555 โดยครูกอบวิทย์ พิริยะวัฒน์
แบบฟอร์มแฟ้มสะสมผลงานนักเรียน 2555 โดยครูกอบวิทย์ พิริยะวัฒน์
 
การเตรียมความพร้อมเพื่อรับการประเมินผลนักเรียนนานาชาติ (Pisa)
การเตรียมความพร้อมเพื่อรับการประเมินผลนักเรียนนานาชาติ (Pisa)การเตรียมความพร้อมเพื่อรับการประเมินผลนักเรียนนานาชาติ (Pisa)
การเตรียมความพร้อมเพื่อรับการประเมินผลนักเรียนนานาชาติ (Pisa)
 
รูปแบบการจัดทำแผนการจัดการเรียนรู้รายวิชา ปรับปรุง 2555 ครูกอบวิทย์ พิริยะวัฒน์
รูปแบบการจัดทำแผนการจัดการเรียนรู้รายวิชา ปรับปรุง 2555 ครูกอบวิทย์ พิริยะวัฒน์รูปแบบการจัดทำแผนการจัดการเรียนรู้รายวิชา ปรับปรุง 2555 ครูกอบวิทย์ พิริยะวัฒน์
รูปแบบการจัดทำแผนการจัดการเรียนรู้รายวิชา ปรับปรุง 2555 ครูกอบวิทย์ พิริยะวัฒน์
 
Partners in learning 2012 Report by Mr.Kobwit Piriyawat
Partners in learning 2012 Report by Mr.Kobwit PiriyawatPartners in learning 2012 Report by Mr.Kobwit Piriyawat
Partners in learning 2012 Report by Mr.Kobwit Piriyawat
 
Learning with ict, biotechnology issues mr.kobwit piriyawat
Learning with ict, biotechnology issues mr.kobwit piriyawatLearning with ict, biotechnology issues mr.kobwit piriyawat
Learning with ict, biotechnology issues mr.kobwit piriyawat
 
จดหมายข่าวเทคโนโลยีชีวภาพ 3
จดหมายข่าวเทคโนโลยีชีวภาพ 3จดหมายข่าวเทคโนโลยีชีวภาพ 3
จดหมายข่าวเทคโนโลยีชีวภาพ 3
 
จดหมายข่าวเทคโนโลยีชีวภาพ 2
จดหมายข่าวเทคโนโลยีชีวภาพ 2จดหมายข่าวเทคโนโลยีชีวภาพ 2
จดหมายข่าวเทคโนโลยีชีวภาพ 2
 
จดหมายข่าวเทคโนโลยีชีวภาพ 1
จดหมายข่าวเทคโนโลยีชีวภาพ 1จดหมายข่าวเทคโนโลยีชีวภาพ 1
จดหมายข่าวเทคโนโลยีชีวภาพ 1
 
ตารางวิเคราะห์ข้อดีข้อเสียเทคโนโลยีชีวภาพ
ตารางวิเคราะห์ข้อดีข้อเสียเทคโนโลยีชีวภาพตารางวิเคราะห์ข้อดีข้อเสียเทคโนโลยีชีวภาพ
ตารางวิเคราะห์ข้อดีข้อเสียเทคโนโลยีชีวภาพ
 
แผนการจัดการเรียนรู้ ที่ได้แรงบันดาลใจโทรทัศน์ครู ตอนพ่อมดกอบวิทย์
แผนการจัดการเรียนรู้ ที่ได้แรงบันดาลใจโทรทัศน์ครู ตอนพ่อมดกอบวิทย์แผนการจัดการเรียนรู้ ที่ได้แรงบันดาลใจโทรทัศน์ครู ตอนพ่อมดกอบวิทย์
แผนการจัดการเรียนรู้ ที่ได้แรงบันดาลใจโทรทัศน์ครู ตอนพ่อมดกอบวิทย์
 
รายงานผลการดำเนินงานกลุ่มสาระฯวิทยาศาสตร์ ร.ร.นนทรีวิทยา 1 2554
รายงานผลการดำเนินงานกลุ่มสาระฯวิทยาศาสตร์ ร.ร.นนทรีวิทยา 1 2554รายงานผลการดำเนินงานกลุ่มสาระฯวิทยาศาสตร์ ร.ร.นนทรีวิทยา 1 2554
รายงานผลการดำเนินงานกลุ่มสาระฯวิทยาศาสตร์ ร.ร.นนทรีวิทยา 1 2554
 

การขับเคลื่อนโรงเรียนนนทรีวิทยา สู่ระบบโรงเรียนมาตรฐานสากล โดย ครูกอบวิทย์ พิริยะวัฒน์

  • 5. โรงเรี ย นนนทรี วิ ท ยาได้ รั บ พิ จ ารณาคั ด เลื อ กให้ เป็ นโรงเรี ย น มาตรฐานสากลตั้ ง แต่ ปี การศึ ก ษา 2552 เป็ นต้ นมา โดยเริ่ ม ต้ น ในระดั บ ชั้ น มั ธ ยมศึ ก ษาปี ที่ 1 และปี ที่ 4 จนครบทุ ก ระดั บ ชั้ น ในปี การศึ ก ษา 2554 ตลอดจนได้ ปรั บ ปรุ ง และพั ฒ นาทางหลั ก สู ตร ส ถ า น ศึ ก ษ า โ ร ง เ รี ย น น น ท รี วิ ท ย า พุ ท ธ ศั ก ร า ช 2 5 5 2 ให้ เที ยบเคียงสู่ มาตรฐานสากล ด้ วยการบริ หารจัดการระบบคุ ณภาพ (Quality) เพือสร้ างนักเรี ยนให้ มีคุณลักษณะพึงประสงค์ ในฐานะพลโลก ่ มี ค วามเป็ นเลิ ศ ทางวิ ช าการ สื่ อ สารสองภาษา ล้า หน้ า ทางความคิ ด ผลิตงานอย่ างสร้ างสรรค์ ร่ วมกันรั บผิดชอบต่ อสั งคมโลกซึ่ งได้ มีการ กาหนดเป็ นวาระแห่ งปี การศึกษา ดังนี้
  • 6. โรงเรียนนนทรีวทยา ิ มุ่งสู่ ความเป็ นเลิศ เชิดชู คุณธรรม เลิศลาสิ่ งแวดล้ อม ้ น้ อมนาเศรษฐกิจพอเพียง ก้ าวสู่ มาตรฐานสากล
  • 7. ปี 2553 ปี แห่ งมาตรฐานสากล และคณธรรมนาปัญญา ุ ปี 2554 ปี แห่ งการขั บ เคลื่ อ นการปฏิ รู ป การศึ ก ษา พั ฒ นาการบริ หารจั ด การ สู่ มาตรฐานสากล
  • 8. ดาเนินการจัดทาและปรับแผนกลยุทธ์ ของโรงเรียนเพื่อดาเนินงานสู่ มาตรฐานสากล ประชุมสั มมนาหัวหน้ ากลุ่มสาระการเรียนรู้/หัวหน้ างาน เพือพัฒนาหลักสู ตรให้ สอดคล้ องกับ ่ คุณลักษณะของโรงเรียนมาตรฐานสากล และตัวชี้วัด โดยศึกษาเชิงเปรียบเทียบ หลักสู ตรแกนกลางการศึกษาขั้นพืนฐาน พุทธศักราช 2551 กับหลักสู ตรมาตรฐานสากล ้ ประชุมสั มมนาบุคลากรเพือวางมาตรฐานครู ประจาวิชา ครู ที่ปรึกษา ่ และสื่ อ/วัสดุอปกรณ์พืนฐานของห้ องเรียนคุณภาพสู่ มาตรฐานสากล ุ ้ กาหนดให้ บุคลากรทุกคน และหน่ วยงานทุกหน่ วยงานมีเป้ าหมายในการดาเนินงานทีสอดคล้ องกับ ่ มาตรฐาน ตัวชี้วัดที่กาหนดในมาตรฐานการศึกษาและมาตรฐานของโรงเรียนมาตรฐานสากล จัดทาโครงสร้ างหลักสู ตรสถานศึกษามาตรฐานสากล บริหารหลักสู ตรและจัดการเรียนการสอน พัฒนาระบบการนิเทศ กากับ ติดตามให้ มีประสิ ทธิภาพยิ่งขึน ้ ประเมินผลการปฏิบัติงานของบุคลากรและหน่ วยงานโดยเปรียบเทียบผลสั มฤทธิ์ของ การดาเนินงานกับเป้ าหมายที่วางไว้ ควรปรับปรุงหรือไม่ ปรับปรุง วิเคราะห์ เปรียบเทียบผลการดาเนินงานกับเกณฑ์ ประเมินโรงเรียนมาตรฐานสากล เพือพัฒนาปรับปรุงงาน ่ ให้ ก้าวไปสู่ เป้ าหมายที่วางไว้ ตลอดจนเผยแพร่ และประชาสั มพันธ์ ผลงานเพื่อประโยชน์ ต่อไป
  • 9. โรงเรียนนนทรีวทยาได้ ดาเนินการพัฒนาครู สร้ างความพร้ อมด้ านปัจจัยพืนฐาน และนิเทศติดตาม ิ ้ เพือมุ่งมันพัฒนาคุณภาพ และเตรียมพร้ อมนักเรียนให้ มศักยภาพเป็ นพลโลก โดยมีรูปแบบดังนี้ ่ ่ ี กลุ่มสาระการเรียนรู้ วิทยาศาสตร์ ผู้เรียนมีศักยภาพเป็ นพลโลก (World Citizen) ทฤษฎีความรู้ เป็ นเลิศวิชาการ สื่ อสารสองภาษา ล้ าหน้าทางความคิด ผลิตงานอย่างสร้างสรรค์ คณิตศาสตร์ , ศิลปะ , (Theory of Knowledge : บู ร ณาการในหน่ วยการเรี ย นรู้ การงานอาชีพและเทคโนโลยี, TOK) สุ ขศึกษาและพลศึกษา บู ร ณาการในหน่ วยการเรี ย นรู้ การเขียนความเรียงขั้นสู ง กลุ่มสาระการเรียนรู้ ภาษาไทย (Extended-Essay : EE) เปิ ดรายวิช าเพิ่ มเติม และภาษาต่ างประเทศ ร่ วมกันรับผิดชอบต่อสังคมโลก โครงงานสร้ างสรรค์ประโยชน์ กิจ กรรม 1ห้ อ งเรี ย น 1ความดี (Creativity,Action,Service : กิจกรรมพัฒนาผู้เรียน กิจ กรรมชุ ม นุ ม CAS) โลกศึกษา บู ร ณาการในหน่ วยการเรี ย นรู้ กลุ่มสาระการเรียนรู้ สังคมศึกษา (Global Education : GE) ศาสนา และวัฒนธรรม ภาษาต่ างประเทศที่ 2 เปิ ดรายวิช าเพิ่ มเติม กลุ่มสาระการเรียนรู้ (ภาษาจีน) ภาษาต่ างประเทศ การสอนวิทยาศาสตร์ บู ร ณาการในการเรี ย นการสอน กลุ่มสาระการเรียนรู้ วิทยาศาสตร์ คณิตศาสตร์ เป็ นภาษาอังกฤษ (ห้ อ งเรี ย นพิเ ศษ) กลุ่มสาระการเรียนรู้ คณิตศาสตร์
  • 10. ทั้ ง นี้ เ พื่ อ เป็ นการขั บ เคลื่ อ นพั ฒ นาหลั ก สู ต รสถานศึ ก ษาโรงเรี ย นนนทรี วิ ท ยา พุทธศั กราช 2552 ให้ เทียบเคียงสู่ มาตรฐานสากล ด้ วยการบริ หารจัดการระบบคุ ณภาพ (Quality) สร้ างนักเรี ยนให้ มีคุณลักษณะพึงประสงค์ ในฐานะพลโลก มีความเป็ นเลิศทาง วิชาการ สื่ อสารสองภาษา ลาหน้ าทางความคิด ผลิตงานอย่ างสร้ างสรรค์ ร่ วมกันรับผิดชอบ ้ ต่ อ สั ง คมโลก ตลอดจนเพื่ อ ให้ การจั ด การเรี ย นการสอนเป็ นไปในทิ ศ ทางเดี ย วกั น กลุ่มบริ หารวิชาการ จึงได้ กาหนดแบบฟอร์ มของแผนการจัดการเรี ยนรู้ ให้ สอดคล้ องกับ หลักสู ตรมาตรฐานสากล ดังตัวอย่ างต่ อไปนี้ ตัวอย่ างแบบฟอร์ มของแผนการจัดการเรียนรู้ โรงเรียนนนทรีวิทยา ที่สอดคล้ องกับหลักสู ตรมาตรฐานสากล ตัวอย่ างแผนการจัดการเรียนรู้
  • 11.
  • 12. กลุ่มสาระการ รายวิชาที่บูรณาการ ชื่อหน่วยการเรียนรู้ที่บูรณาการ เรียนรู้ คณิตศาสตร์ คณิตศาสตร์พื้นฐาน การแก้ปัญหาทางกระบวนการคณิตศาสตร์ วิทยาศาสตร์ วิทยาศาสตร์พื้นฐาน ความรู้ทางวิทยาศาสตร์ได้มาอย่างไร ศิลปะ ทัศนศิลป์ ความรู้แห่งศาสตร์ศิลป์ การงานอาชีพและ การงานอาชีพพื้นฐาน ทฤษฎีความรู้คู่การงานอาชีพ เทคโนโลยี สุขศึกษาและพล สุขศึกษาพื้นฐาน หน่วยชีวิตและครอบครัว ศึกษา เรื่องการล่วงละเมิดทางเพศ
  • 13.
  • 14.
  • 15. LOGO
  • 16. การวิเคราะห์ ตัวชี้วัด ทาค าอธิ บายรายวิ ชา ทาโครงสร้ างรายวิชา ออกแบบหน่ วยการเรี ยนรู้ และจัดทาแผนการจัดการเรี ยนรู้ ที่มีบูรณาการ สาระทฤษฎีความรู้
  • 17.
  • 18.
  • 19.
  • 20.
  • 21.
  • 22.
  • 23.
  • 24.
  • 25.
  • 26.
  • 27.
  • 28.
  • 29.
  • 30.
  • 31.
  • 32.
  • 33.
  • 34.
  • 35.
  • 36.
  • 38. LOGO ตอน “ครูหดบิน” ั ครูกอบวิทย์ พิรยะวัฒน์ ิ
  • 39.
  • 40. กลุ่มสาระการเรียนรู้ ภาษาไทย กลุ่มสาระการเรียนรู้ ภาษาต่ างประเทศ
  • 41. กลุ่มสาระการเรียนรู้ ภาษาไทย กระบวนการจัดการเรี ยนรู้ การเขียนความเรี ยง ขั้นสู งโดยวิธีการบูรณาการ สอดแทรกไว้ ในหน่ วยการเรียนรู้ ในรายวิชาพืนฐานทั้งระดับมัธยมศึกษาตอนต้ น ้ และ มั ธ ยมศึ ก ษาตอนปลาย ในหน่ ว ยการเรี ย นรู้ เ รื่ อ ง การเขี ย นเรี ย งความ ซึ่ ง จั ด อยู่ ใ นภาคเรี ย นที่ 2 โดยใช้ เ วลาส าหรั บ เรื่ องการเขีย นความเรี ย งขั้น สู ง 4 คาบ/ภาคเรี ยน แล้ วใช้ เวลาว่ างในการปรึ กษากับอาจารย์ ที่ปรึ กษาในเรื่ องการ เขียนรายละเอียดทั่วไป
  • 42. เนือหาสาระ ปี ที่ 1 ้ (1) ศึกษาหลักเกณฑ์ องค์ ประกอบ และวิธีการเขียนเรียงความทั่วไปเรียบกับการเขียน ความเรียงขั้นสู ง (2) ศึกษารู ปแบบแผนการเขียนความเรียง และเลือกเรื่ องที่สนใจเป็ นกรณีพิเศษบันทึก ความพิเศษเอาไว้ตามแบบบันทึก เนือหาสาระ ปี ที่ 2 ้ (1) ศึกษาความรู้ ตามที่สนใจเพิมเติม ่ (2) พัฒนาการเขียนความเรียงขั้นสู งตามรู ปแบบการเขียนรายงาน การค้ นคว้าอิสระ เนือหาสาระ ปี ที่ 3 ้ (1) พัฒนาทักษะการคิดสร้ างสรรค์ การคิดวิเคราะห์ แล้ วเขียนความเรียง ตามหลักการเขียนรายงาน การค้ นคว้าอิสระที่เหมาะกับสาขาวิชาที่สนใจ (2) เขียนความเรียงในเรื่องที่สนใจนั้นโดยใช้ สติปัญญาของตนเองอย่ างมีประสิ ทธิภาพ
  • 43. กลุ่มสาระการเรียนรู้ ภาษาต่ างประเทศ เปิ ดเป็ นรายวิชาเพิมเติม 0.5 หน่ วยกิต 1 ชั่วโมง/สั ปดาห์ ่ ในปี การศึกษา 2554 เปิ ดสอนในระดับชั้น ม. 1 , 2 , 4, 5 มัธยมศึกษาปี ที่ 1 อ21206 การเขียนความเรียงขั้นสู ง1 มัธยมศึกษาปี ที่ 1 อ21207 การเขียนความเรียงขั้นสู ง2 มัธยมศึกษาปี ที่ 2 อ22206 การเขียนความเรียงขั้นสู ง3 มัธยมศึกษาปี ที่ 2 อ22207 การเขียนความเรียงขั้นสู ง4 มัธยมศึกษาปี ที่ 4 อ31205 การเขียนความเรียงขั้นสู ง1 มัธยมศึกษาปี ที่ 4 อ31206 การเขียนความเรียงขั้นสู ง2 มัธยมศึกษาปี ที่ 5 อ32205 การเขียนความเรียงขั้นสู ง3 มัธยมศึกษาปี ที่ 5 อ32206 การเขียนความเรียงขั้นสู ง4
  • 44. โดยมีแนวทางในการจัดการเรี ยนรู้ การเขียนความเรี ยงขั้นสู ง (Extended-Essay : EE) ดังนี้ (1) จัด ประชุ มชี้แจงครู ผู้สอน ในรายวิชาพื้นฐาน และรายวิชาเพิ่มเติ ม เพื่อ วิเคราะห์ ตัวชี้วัด/ผลการเรี ยนรู้ ทาคาอธิบายรายวิชา ทาโครงสร้ างรายวิชา ออกแบบหน่ วยการเรี ยนรู้ และจัดทาแผนการจัดการเรียนรู้ ในสาระการเขียนความเรียงขั้นสู ง(Extended-Essay: EE) (2) ครู ผู้ ส อนจั ด ท าสื่ อ และเอกสารประกอบการเรี ย นรู้ การเขี ย นความเรี ย งขั้ น สู ง (Extended-Essay : EE) (3) ครู ผู้สอน จัดกิจกรรมการเรียนรู้ การเขียนความเรียงขั้นสู ง (Extended-Essay : EE) (4) ประเมินผล
  • 45.
  • 46. กิจกรรมชุมนุม กิจกรรม 1 ห้ องเรียน 1 ความดี
  • 47. กิจกรรมชุมนุม เป็ นกิจ กรรมที่ เ ปิ ดโอกาสให้ นั กเรี ยน ที่ มี ค วามสนใจเดี ยวกัน ร่ ว มกัน ท า กิจกรรมเพือบาเพ็ญประโยชน์ ต่อสั งคม โดยมีครู ท่ีปรึ กษาชุ มนุม คอยให้ การดูแล ่ และให้ คาปรึ กษาในการทากิจกรรมต่ างๆ ซึ่งนักเรี ยนสามารถดาเนินการได้ อย่ าง อิสระ ภายใต้ ความเห็ นชอบของครู ท่ีปรึ กษาชุ มนุ ม โดยจัดเป็ นส่ วนหนึ่ งของ กิจกรรมพัฒนาผู้เรียน ตามหลักสู ตรแกนกลางการศึกษาขั้นพืนฐาน พุทธศักราช ้ 2551 ที่จะต้ องมีการตัดสิ นผลการเรียน ผ่ าน หรือไม่ ผ่าน ด้ วย ตัวอย่ างการรายงานผลการจัดกิจกรรมชุมนุม
  • 48. กิจกรรมชุมนุม ตัวอย่ าง ชุมนุมของโรงเรียนนนทรีวทยา ที่มีผลงานดีเด่ นเป็ นที่ประจักษ์ คือ ชุ มนุม ิ นนทรี วิทยา สร้ างจิตอาสา พัฒนาสิ่ งแวดล้ อม ซึ่ งได้ จัดกิจกรรมต่ างๆ ขึนอย่ างต่ อเนื่อง ้ เช่ น วันสิ่ งแวดล้ อมโลก กิจกรรมปลูกป่ าชายเลน ฯลฯ จนส่ งผลให้ ได้ รับรางวัลมากมาย เช่ น รางวัล กลุ่ ม เยาวชนดี เ ด่ น แห่ ง ชาติ สาขาทรั พ ยากรธรรมชาติ แ ละสิ่ ง แวดล้ อ ม ประจาปี 2554 เป็ นต้ น
  • 49. ชุมนุมนนทรีวทยา สร้ างจิตอาสา พัฒนาสิ่ งแวดล้ อม ิ
  • 51.
  • 52.
  • 53.
  • 54.
  • 55.
  • 56.
  • 58.
  • 59.
  • 60.
  • 61. ชุมนุมนนทรีวทยา สร้ างจิตอาสา พัฒนาสิ่ งแวดล้ อม ิ ได้ รับพระราชทานรางวัลเยาวชนดีเด่ นแห่ งชาติ ประเภทกลุ่มเยาวชน สาขาทรัพยากรธรรมชาติและสิ่ งแวดล้ อม ประจาปี 2554
  • 62. กิจกรรม 1 ห้ องเรียน 1 ความดี เป็ นกิ จ กรรมสร้ า งสรรค์ ป ระโยชน์ ที่ แ ต่ ล ะห้ อ งเรี ย นจะด าเนิ น การใน กิ จ กรรม หนึ่งห้ องเรี ย น หนึ่งความดี ซึ่ งในแต่ ละระดับชั้ นได้ มีกาหนดประเด็นไว้ ให้ ซึ่ งแต่ ล ะ ห้ องเรียนสามารถดาเนินกิจกรรมต่ างๆได้ อย่ างอิสระ ภายใต้ ประเด็นที่กาหนด ดังต่ อไปนี้ ระดับชั้น ม.1 เรื่อง สวนพฤกษศาสตร์ โรงเรียน ระดับชั้น ม.2 เรื่อง ลูกนนทรี รักษ์ สิ่งแวดล้ อม ระดับชั้น ม.3 เรื่อง เศรษฐกิจพอเพียง ตัวอย่ างแบบฟอร์ ม ระดับชั้น มั.4 เรื่อง สวนพฤกษศาสตร์ โรงเรียน กิจกรรม 1 ห้ องเรียน 1 ความดี ระดับชั้น ม.5 เรื่อง ลูกนนทรี รักษ์ สิ่งแวดล้ อม ระดับชั้น ม.6 เรื่อง พีนาน้ องทาดี ่ นักเรียนแต่ ละห้ องเรี ยนจะร่ วมกันวางแผน แบ่ งหน้ าที่ในการทางาน สารวจสภาพ ปั ญ หาตามประเด็น ที่ ก าหนด โดยเน้ นการด าเนิ น งานภายในโรงเรี ย นเป็ นหลัก และ คานึงถึงการใช้ งบประมาณอย่ างประหยัดเป็ นสาคัญ
  • 63. โดยมีแนวทางในการจัดกิจกรรมสร้ างสรรค์ ประโยชน์ (Creativity,Action,Service : CAS) ดังนี้ (1) โรงเรี ย นจั ด ประชุ ม คณะกรรมการฯ เพื่อ วางแผนการจัด กิจ กรรมพัฒ นาผู้ เ รี ย น กาหนดประเด็นหั วข้ อ ของกิ จกรรม และจัด ท าเอกสารประกอบการจัด กิ จกรรมสร้ างสรรค์ ประโยชน์ (Creativity,Action,Service : CAS) (2) จัดประชุ มครู ที่ปรึ กษา ครู ผู้สอน เพื่อชี้แจง เกี่ยวกับกิจกรรมสร้ างสรรค์ ประโยชน์ (Creativity,Action,Service : CAS) ในกิจกรรมพัฒนาผู้เรี ยน โดยบู รณาการเข้ ากับ กิจกรรม บาเพ็ญสาธารณะประโยชน์ ตามหลักสู ตรแกนกลางการศึ ก ษาขั้นพื้นฐาน พุท ธศั ก ราช 2551 ซึ่ งดาเนินการใน 2 ลักษณะ คือ กิจกรรมชุ มนุ ม และ กิจกรรม 1 ห้ องเรียน 1 ความดี (3) ครู ที่ ป รึ ก ษา ครู ผู้ ส อน ประชุ ม นั ก เรี ย นเพื่ อ ชี้ แ จงและท าความเข้ า ใจ ให้ นั ก เรี ย น ดาเนินการตามความสนใจ (4) นั ก เรี ย นแต่ ล ะชุ ม นุ ม และแต่ ล ะห้ อ งเรี ย นน าเสนอผลการด าเนิ น งานจั ด กิ จ กรรม สร้ างสรรค์ ประโยชน์ (5) ประเมินผล
  • 64.
  • 65. ชั้นมัธยมศึกษา รหัสวิชา หน่ วยการเรียนรู้/สาระที่นามาบูรณาการ ปี ที่ 1 ส21101 สาระเศรษฐกิจพอเพียง , การนับถือศาสนาในประเทศต่ างๆ 2 ส22101 สาระประชาคมอาเซียน, เศรษฐกิจพอเพียง 4 ส31101 สาระสิทธิมนุษยชน, เศรษฐกิจพอเพียง 5 ส32101 สาระภัยพิบัตธรรมชาติ ิ 5 ส32103 สาระภัยพิบัตธรรมชาติ ิ
  • 66. โดยมีแนวทางในการจัดการเรียนรู้ สาระโลกศึกษา (Global Education : GE) ดังนี้ (1) จัดประชุมชี้แจงครู ผู้สอน กลุ่มสาระการเรี ยนรู้ สังคมศึกษา ศาสนาและวัฒนธรรม ในรายวิช าพื้น ฐาน เพื่ อ วิ เ คราะห์ ตั ว ชี้ วัด ท าค าอธิ บ ายรายวิ ช า ท าโครงสร้ างรายวิ ช า ออกแบบหน่ วยการเรียนรู้ และจัดทาแผนการจัดการเรียนรู้ ที่มีบูรณาการสาระโลกศึกษา (2) ครู ผู้สอนจัดทาสื่ อและเอกสารประกอบการเรียนรู้ สาระโลกศึกษา (3) ครู ผู้สอน จัดกิจกรรมการเรียนรู้ สาระโลกศึกษา (Global Education : GE) (4) ประเมินผล
  • 67.
  • 68. ได้ ส่งครู จานวน 2 คน เข้ ารับการอบรมหลักสู ตร Training the trainers ที่มหาวิทยาลัยเอเชียน (Asian University)
  • 69. ได้ ส่งครู จานวน 2 คน เข้ ารับการอบรมหลักสู ตร Training the trainers ทีมหาวิทยาลัยเอเชียน (Asian University) ่
  • 70. ได้ ส่ งครู เ ข้ า รั บ การอบรมหลั ก สู ต ร Training the trainers ที่มหาวิทยาลัยเอเชียน (Asian University) และได้ ขยายผลจากการอบรม ให้ คุณครู ในกลุ่มสาระการเรี ยนรู้ วิทยาศาสตร์ และคณิตศาสตร์ ส่ วนใน การเรี ย นการสอน ได้ จั ด การเรี ย นการสอนเป็ นภาษาไทย แต่ เ น้ น ศั พ ท์ เ ทคนิ ค เป็ นภาษาอั ง กฤษ ส าหรั บ ห้ อ งเรี ย นปกติ และ สอนเป็ น ภาษาอั ง กฤษในบางหน่ ว ยการเรี ย นรู้ ส าหรั บ ห้ อ งเรี ย นพิ เ ศษ ที่ เ น้ น ภาษาอั ง กฤษ (intensive program) และห้ องเรี ย นพิ เ ศษที่ เ น้ น วิทยาศาสตร์ -คณิตศาสตร์ (Science-Math Program)
  • 71.
  • 73. ผลการจัดการเรียนรู้ (คุณลักษณะของผู้เรียน 5 ด้ าน) เป็ นเลิศวิชาการ 1) นักเรียนมีผลสั มฤทธิ์การเรียนผ่ านการ โรงเรียนเพิ่งดาเนินการตามหลักสู ตร ประเมินระดับชาติอยู่ในระดับดีเป็ นที่ มาตรฐานสากล เพียง 2 ปี จึงยังไม่ มีผลสัมฤทธิ์ ยอมรับจากสถาบันนานาชาติ การเรียนในระดับชาติ (O-NET) 2) นักเรียนมีความสามารถ ความถนัดเฉพาะ กีฬาเนตบอลและกีฬาแชร์ บอลระดับชาติ, ทางเป็ นที่ประจักษ์ สามารถแข่ งขัน การแข่ งขันหุ่นยนต์ , การแข่ งขัน Drum Line, ในระดับชาติและนานาชาติ การแข่ งขันวาดภาพ 3) นักเรียนสามารถเข้ าศึกษาต่ อในระดับ โรงเรียนเพิ่งดาเนินการตามหลักสู ตร ที่สูงขึนจนถึงระดับอุดมศึกษา ทั้งใน ้ มาตรฐานสากล เพียง 2 ปี จึงยังไม่ ปรากฏผลงาน ประเทศและนอกประเทศได้ ในอัตราสู ง 4) นักเรียนมีผลการเรียนที่สามารถถ่ ายโอนกับ โรงเรียนเพิ่งดาเนินการตามหลักสู ตร สถานศึกษาระดับต่ างๆในนานาชาติได้ มาตรฐานสากล เพียง 2 ปี จึงยังไม่ ปรากฏผลงาน
  • 75. ผลการจัดการเรียนรู้ (คุณลักษณะของผู้เรียน 5 ด้ าน) สื่ อสารสองภาษา 1) โรงเรียนเปิ ดสอนภาษาต่ างประเทศ ดังนี้ - ภาษาจีน (นักเรียนทุกคนเรียน ยกเว้ น นักเรียนที่เรียนภาษาญี่ปุ่น และ ภาษาฝรั่งเศส) - ภาษาญี่ปุ่น (เฉพาะนักเรียนที่เรียนแผนการจัดการเรียนรู้ ภาษาญี่ปุ่น) - ภาษาฝรั่งเศส (เฉพาะนักเรียนที่เรียนแผนการจัดการเรียนรู้ ภาษาฝรั่งเศส) - ภาษาอังกฤษ (นักเรียนทุกคนเรียน)
  • 76. ผลการจัดการเรียนรู้ (คุณลักษณะของผู้เรียน 5 ด้ าน) 2. ผลการจัดการเรี ยนร้ ู (คณลัหน้ าทางความคิดาน) ุ ลากษณะของผ้ เู รี ยน 5 ด้ ้ 1) นักเรียนสร้ างกิจกรรมแลกเปลียนเรียนรู้ และจัดทาโครงงานที่เสนอแนวคิดเพือสาธารณะประโยชน์ ่ ่ โดยมีการจัดเสนอโครงงานในวันนิทรรศการของโรงเรียน และงานกิจกรรมต่ างๆของโรงเรียน 2) นักเรียนมีความคิดสร้ างสรรค์ กล้ าเผชิญความเสี่ ยง สามารถใช้ ความคิดระดับสู ง มีเหตุผล และวางแผนจัดการสู่ เปาหมายที่ต้ังไว้ได้ ในการจัดทาผลงานในรายวิชาต่ างๆตามที่ครู มอบหมาย ้ 3) นักเรียนสามารถสร้ างสรรค์ ความคิดใหม่ ๆเพือประโยชน์ ต่อตนเอง สั งคม และประเทศชาติ ่ ค่ านิยม และความเชื่อของตนเองและของผู้อื่น
  • 77. ผลการจัดการเรียนรู้ (คุณลักษณะของผู้เรียน 5 ด้ าน) ผลิตงานอย่ างสร้ างสรรค์ 1) นักเรียนมีความสามารถประเมิน แสวงหา สั งเคราะห์ และ ใช้ ข้อมูลข่ าวสารอย่ างมีประสิ ทธิภาพ โดยการนาเทคโนโลยีมา ใช้ ในการดาเนินการให้ สาเร็จ 2) นักเรียนมีความรอบรู้ ด้านทัศนภาพ (ภาษาภาพ สั ญลักษณ์ สั ญรู ป) รู้ จักตีความ สร้ างสื่อในการพัฒนาการคิด การตัดสิ นใจ และการเรียนรู้ ให้ ก้าวหน้ าขึน ้ 3) นักเรียนมีผลงานการประดิษฐ์ สร้ างสรรค์ และออกแบบ ผลงานเข้ าแข่ งขันในเวทีระดับชาติและนานาชาติ อาทิ การ แข่ งขันหุ่นยนต์ 4) นักเรียนสามารถใช้ เทคโนโลยีในการเรียนรู้ ออกแบบ สร้ างสรรค์ งาน สื่ อสาร นาเสนอ เผยแพร่ และแลกเปลี่ยน ผลงานได้
  • 78. ผลการจัดการเรียนรู้ (คุณลักษณะของผู้เรียน 5 ด้ าน) ร่ วมกันรับผิดชอบต่ อสั งคมโลก 1) นักเรียนมีความตระหนักรู้ ในภาวการณ์ ของโลก สามารถเรียนรู้ และจัดการกับความซับซ้ อน 2) นักเรียนมีความรู้ ความเข้ าใจ และตระหนักในความหลากหลาย ทางวัฒนธรรม ขนบธรรมเนียมประเพณีของนานาชาติ 3) นักเรียนมีความสามารถระบุประเด็นทางเศรษฐศาสตร์ วิเคราะห์ ผลกระทบของการเปลี่ยนแปลงทางเศรษฐกิจและนโยบายสาธารณะ เปรียบเทียบค่ าใช้ จ่ายและผลตอบแทนได้ 4) นักเรียนมีความรับผิดชอบต่ อสั งคมและเป็ นพลเมืองดี สามารถ จัดการและควบคุมการใช้ เทคโนโลยี เพือส่ งเสริมให้ เกิดประโยชน์ ต่อ ่ สาธารณะและปกป้ องคุ้มครองสิ่ งแวดล้ อม และอุดมการณ์ ประชาธิปไตยสั งคมไทยและสั งคมโลก
  • 79.
  • 80. 1. การนาองค์ กร 1) กาหนดวิสัยทัศน์ โรงเรียนนนทรีวทยา ิ มุ่งสู่ ความเป็ นเลิศ เชิดชู คุณธรรม เลิศลาสิ่ งแวดล้ อม ้ น้ อมนาเศรษฐกิจพอเพียง ก้ าวสู่ มาตรฐานสากล
  • 81. การควบคุมแบบทดสอบ การจัดกิจกรรมเสริม หลักสู ตร การจัดการเรียนการสอน การรับนักเรียน การดูแลความประพฤติ การประเมินผล if Yes การเรียน - การสารวจความพึ่งพอใจ การประเมินผล No - การบริหารงานบุคคล การเรียน การออกเอกสาร - การควบคุมกระบวนการจัดการ การควบคุม หลักฐานการเรียน เรียนการสอน แบบทดสอบ - กิจกรรมนักเรียน การแก้ปัญหา การแก้ ปัญหานักเรียนที่คาด - โสตทัศนูปกรณ์และสื่อการสอน นักเรียนทีคาดว่าจะ ่ ว่ าจะไม่ จบหลักสู ตร - การให้ บริการแหล่งเรียนรู้ ใน ไม่จบหลักสู ตร สถานศึกษา - การบริหารเครือข่ ายข้ อมูลของ โรงเรียน การแก้ ปัญหานักเรียนที่คาดว่า - กิจกรรมเสริมหลักสู ตร จะไม่ จบหลักสู ตร - งานแผนงาน - ระบบการช่ วยเหลือนักเรียน - การสอนซ่ อมเสริม 1. การนาองค์ กร 2) มีการบริหารงานอย่างเป็ นระบบ มีการกากับ ติดตามและประเมินผล
  • 82. 1. การนาองค์ กร 3. การดาเนินงานบริหารจัดการด้ วยระบบคณภาพ (TQA) ุ 3) สร้ างบรรยากาศให้ มการพัฒนาบรรลุตามวิสัยทัศน์ ี
  • 83. 1. การนาองค์ กร 3. การดาเนินงานบริ หารจัดการด้ วยระบบคณภาพ (TQA) ุ 4) จัดระบบการทางานที่เอือต่ อการพัฒนาโรงเรียน ้
  • 84. 2. การวางแผนเชิงยุทธศาสตร์ และกลยุทธ์ยระบบคณภาพ (TQA) 3. การดาเนินงานบริ หารจัดการด้ ว ุ 1) มีการจัดทาแผนกลยุทธ์ 3 ปี จากการมีส่วนร่ วมของผู้เกี่ยวข้ อง 2) มีการวิเคราะห์ บริบทและศักยภาพโรงเรียน 3) มีการกาหนดตัวชี้วด ระยะเวลาดาเนินการโครงการ / ั กิจกรรมที่เป็ นรู ปธรรม
  • 85. 3. การให้ ความสาคัญกับผู้รับบริการและผู้มส่วนได้ ส่วนเสี ย ี 1) โรงเรียนจัดทาระบบข้ อมูลสารสนเทศ 2) โรงเรียนสารวจความต้ องการของนักเรียน ผู้ปกครอง และชุมชน เพือกาหนดทิศทางการศึกษา ่ 3) จัดทาหลักสู ตรสถานศึกษา 4) จัดการเรียนการสอน กิจกรรมการเรียนรู้ เพือพัฒนานักเรียน ่ 5) จัดสภาพแวดล้ อม บรรยากาศ และแหล่ งเรียนรู้ที่เอือต่ อการเรียนรู้ของนักเรียน ้ 6) จัดบริการแนะแนวเชิงรุก เพือมุ่งอนาคตและผลสัมฤทธิ์ของนักเรียน ่
  • 86. 4. การวัด การวิเคราะห์ และการจัการด้วยระบบคณ้ ภาพ (TQA) 3. การดาเนินงานบริ หารจัด ดการความรู ุ 1) การวัดผลการดาเนินการที่ทันต่ อความต้ องการและทิศทางของโรงเรียน 2) การวิเคราะห์ ผลการดาเนินการ เพือการปรับปรุ งอย่ างต่ อเนื่อง ่ 3) การจัดการความรู้ และสารสนเทศ มีข้อมูลสารสนเทศที่จาเป็ น มีคุณภาพพร้ อมใช้
  • 87. 3. การดาเนินงานบริ หารจัดการด้ วยระบบคณภาพ (TQA) ุ 5. การมุ่งเน้ นทรัพยากรบุคคล 1) มีการยกย่ อง ชมเชย ให้ รางวัล สร้ างแรงจูงใจ และส่ งเสริม ความก้ าวหน้ าในวิชาชีพของบุคลากร 2) บุคลากรมีความเตรียมพร้ อมต่ อการเปลียนแปลงปรับปรุ ง ่ บรรยากาศในสถานที่ทางานที่เอือต่ อการปฏิบัติงาน ้
  • 88. 7. ผลลัพธ์ การดาเนินการ โรงเรี ยนจัดทารายงานการดาเนินการทุกภาคเรี ยนในแต่ละปี การศึกษา
  • 89.
  • 90. 4. การสร้ างเครื อข่ ายและโรงเรียนร่ วมพัฒนา
  • 91.  โครงการ Dreams and Teams โรงเรียนมีการจัดเครือข่ ายพัฒนา MOU กับ Angley School 4. การสร้กฤษ และข่ ายและโรงเรี ยนร่ วมพัฒนาย ประเทศอัง างเครื อ Sabah School ประเทศมาเลเซี  Cultural Exchange โครงการแลกเปลี่ยนวัฒนธรรม ณ ประเทศจีน  โครงการ เปิ ดโลกกว้างสู่ ประชาคมอาเซียน : มาเลเซีย สิ งคโปร์
  • 92.  โครงการแลกเปลี่ยนนักเรียน นักศึกษาจากกลุ่มประเทศอาเซียน : อินโดนีเซีย เวียดนาม มาเลเซีย สิ งการสร้ไต้งเครื อและอินเดีย โดยร่ วมกัวมพัฒนา ยอัสสั มชัญ 4. คโปร์ า หวัน ข่ ายและโรงเรียนร่ บ มหาวิทยาลั  คณะผู้บริหารจากประเทศฟิ ลิปินส์ มาศึกษาดูงานด้ านการจัดการศึกษาและ ศิลปวัฒนธรรม ณ โรงเรียนนนทรีวทยา ิ  โครงการการแข่ งขันบาสเกตบอลเชื่อมความสั มพันธ์ ระหว่างไทย – ปากีสถาน  โครงการครู อาสาสมัครสอนภาษาจีน จากประเทศจีน ในโครงการของ สพฐ.