SlideShare une entreprise Scribd logo
1  sur  6
Télécharger pour lire hors ligne
คําช่วยพื้นฐานในภาษาญี่ปุ่น
คําช่วยพื้นฐาน
คําช่วยในบทเรียนนี้ประกอบไปด้วย คําช่วยพื้นฐานดังนี้
は も の か
เป็นคําพ่วง (zokugo) ที่ไม่ผันรูป ใช้ตามหลังคําอิสระ (jiritsugo) เพื่ออธิบาย
ความสัมพันธ์กับคํานั้นกับคําอื่นในประโยค หรือเพื่อเติมความหมายให้กับคําอิสระ
แบ่งเป็น 4 ประเภทคือ 1)คําช่วยสถานะ 2)คําช่วยเชื่อม 3)คําช่วยเกี่ยวเนื่อง 4)คําช่วย
วิเศษณ์
คําช่วย は
 คําช่วย は เป็นคําช่วยที่ชี้ให้เห็นว่า คํานามที่อยู่ข้างหน้าเป็นหัวข้อเรื่อง
ของประโยค เมื่อผู้พูดต้องการจะพูดเรื่องอะไร ก็จะใช้คํานามนั้น ตามด้วย
คําช่วย は และตามด้วยประโยคที่ต้องการ
เช่น わたしは がくせいです。
แปลว่า ฉัน เป็น นักเรียน
*คําช่วย は อ่านว่า Wa
เมื่อเราแปลความหมาย ก็ให้แปลคํานามที่อยู่หน้าคําช่วย は ก่อนเสมอ
คําช่วย も
 คําช่วย も เป็นคําช่วยที่พรรณนาเกี่ยวกับคํานามที่เป็นหัวข้อเรื่อง
ของเรื่องราวนั้น ๆ ซึ่งเป็นเรื่องราวที่เคยกล่าวมาแล้ว เราจะใช้คําช่วย も
แทนคําช่วย は
เช่น わたしは がくせいです。 ฉัน เป็น นักเรียน
きらさんも かくせいです。 ฉัน ก็เป็น นักเรียน
*คําช่วย は อ่านว่า Wa
เมื่อเราแปลความหมาย ก็ให้แปลคํานามที่อยู่หน้าคําช่วย は ก่อนเสมอ
คําช่วย の
 คําช่วย の เป็นคําช่วยที่ใช้เชื่อมคํานามกับคํานาม ทําหน้าที่บอกถึง
ความสัมพันธ์ของคํานามที่ 1 และ คํานามที่ 2 ว่าเกี่ยวข้องกันและสามารถ
แสดงความเป็นเจ้าของได้อีกด้วย
เช่น わたしは コンケンだいがくの がくせいです。
ฉัน เป็นนักศึกษา ของ มหาวิทยาลัยขอนแก่น
*สังเกตว่า ภาษาญี่ปุ่น จะแปลคํานามที่อยู่หน้าคําช่วย は ก่อน แล้วจึงแปล
ความหมายจากท้ายประโยคมาข้างหน้า ดังนี้
わたしは コンケンだいがくの がくせいです。
ฉัน เป็นนักศึกษา ของ มหาวิทยาลัยขอนแก่น
คําช่วย か
 คําช่วย か เป็นคําช่วยที่ใช้แสดงความรู้สึกสงสัย หรือไม่แน่ใจเป็น
คําช่วยที่ใช้เติมไว้หลังประโยคบอกเล่า หรือประโยคปฏิเสธ เพื่อทําให้
ประโยคนั้นเป็นคําถาม และจะออกเสียง か สูงที่ท้ายประโยค
เช่น あなたは コンケンだいがくの がくせいですか。
คุณ เป็นนักศึกษา ของ มหาวิทยาลัยขอนแก่นใช่ไหม
• ตัวอย่างการถามและการตอบคําถาม
あなたは がくせいですか。
ตอบ แบบบอกเล่า
はい、わたしは がくせいです。ใช่ ฉันเป็นนักเรียน
ตอบแบบปฏิเสธ
いいえ、わたしは かくせいではありません。ไม่ใช่ ฉันไม่ใช่นักเรียน
หรือ いいえ、しゃいんです。ไม่ใช่ ฉันเป็นพนักงานบริษัท

Contenu connexe

Tendances

ตัวชี้วัด ม.๑ ม.๒ ม.๓
ตัวชี้วัด ม.๑ ม.๒ ม.๓ตัวชี้วัด ม.๑ ม.๒ ม.๓
ตัวชี้วัด ม.๑ ม.๒ ม.๓
Mameaw Mameaw
 
ธรรมชาติของภาษา
ธรรมชาติของภาษาธรรมชาติของภาษา
ธรรมชาติของภาษา
wattanaka
 
วิเคราะห์ ป.๒ อังกฤษ
วิเคราะห์ ป.๒ อังกฤษวิเคราะห์ ป.๒ อังกฤษ
วิเคราะห์ ป.๒ อังกฤษ
Aoyly Aoyly
 
เอกสารทางการบัญชี
เอกสารทางการบัญชีเอกสารทางการบัญชี
เอกสารทางการบัญชี
Attachoke Putththai
 

Tendances (20)

หนังสือเรียนภาษาไทยสำหรับชาวต่างชาติ
หนังสือเรียนภาษาไทยสำหรับชาวต่างชาติหนังสือเรียนภาษาไทยสำหรับชาวต่างชาติ
หนังสือเรียนภาษาไทยสำหรับชาวต่างชาติ
 
ก-ฮ
ก-ฮก-ฮ
ก-ฮ
 
โวหารการเขียน ม.6
โวหารการเขียน ม.6โวหารการเขียน ม.6
โวหารการเขียน ม.6
 
ตัวชี้วัด ม.๑ ม.๒ ม.๓
ตัวชี้วัด ม.๑ ม.๒ ม.๓ตัวชี้วัด ม.๑ ม.๒ ม.๓
ตัวชี้วัด ม.๑ ม.๒ ม.๓
 
กลุ่มที่ ๒
กลุ่มที่ ๒กลุ่มที่ ๒
กลุ่มที่ ๒
 
วิธีจับใจความสำคัญ
วิธีจับใจความสำคัญวิธีจับใจความสำคัญ
วิธีจับใจความสำคัญ
 
โครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์
โครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์โครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์
โครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์
 
การเขียนบันทึก
การเขียนบันทึกการเขียนบันทึก
การเขียนบันทึก
 
บันทึกข้อความขออนุญาตจัดทำสารประชาสัมพันธ์ข่าวสารสภานักเรียน
บันทึกข้อความขออนุญาตจัดทำสารประชาสัมพันธ์ข่าวสารสภานักเรียนบันทึกข้อความขออนุญาตจัดทำสารประชาสัมพันธ์ข่าวสารสภานักเรียน
บันทึกข้อความขออนุญาตจัดทำสารประชาสัมพันธ์ข่าวสารสภานักเรียน
 
คู่มือสนทนาภาษาอังกฤษ(แบบพกพา)สำหรับข้าราชการตำรวจ
คู่มือสนทนาภาษาอังกฤษ(แบบพกพา)สำหรับข้าราชการตำรวจคู่มือสนทนาภาษาอังกฤษ(แบบพกพา)สำหรับข้าราชการตำรวจ
คู่มือสนทนาภาษาอังกฤษ(แบบพกพา)สำหรับข้าราชการตำรวจ
 
ห้องสีขาว 1.1
ห้องสีขาว 1.1ห้องสีขาว 1.1
ห้องสีขาว 1.1
 
หนังสือขอความอนุเคราะห์ ค่ายต้นกล้าครูพันธุ์ดี ครั้งที่ 5
หนังสือขอความอนุเคราะห์ ค่ายต้นกล้าครูพันธุ์ดี ครั้งที่ 5หนังสือขอความอนุเคราะห์ ค่ายต้นกล้าครูพันธุ์ดี ครั้งที่ 5
หนังสือขอความอนุเคราะห์ ค่ายต้นกล้าครูพันธุ์ดี ครั้งที่ 5
 
พิธีไหว้ครู
พิธีไหว้ครูพิธีไหว้ครู
พิธีไหว้ครู
 
แผนพอเพียงอ21101
แผนพอเพียงอ21101แผนพอเพียงอ21101
แผนพอเพียงอ21101
 
D2 งานชิ้นที่2 การสอนภาษาไทยในฐานะภาษาต่างประเทศ (มหาวิทยาลัยคอร์เนล)
D2 งานชิ้นที่2 การสอนภาษาไทยในฐานะภาษาต่างประเทศ (มหาวิทยาลัยคอร์เนล)D2 งานชิ้นที่2 การสอนภาษาไทยในฐานะภาษาต่างประเทศ (มหาวิทยาลัยคอร์เนล)
D2 งานชิ้นที่2 การสอนภาษาไทยในฐานะภาษาต่างประเทศ (มหาวิทยาลัยคอร์เนล)
 
ธรรมชาติของภาษา
ธรรมชาติของภาษาธรรมชาติของภาษา
ธรรมชาติของภาษา
 
วิเคราะห์ ป.๒ อังกฤษ
วิเคราะห์ ป.๒ อังกฤษวิเคราะห์ ป.๒ อังกฤษ
วิเคราะห์ ป.๒ อังกฤษ
 
คู่มือการสนทนาภาษาอังกฤษเพื่อการสื่อสาร สู่ประชาคมอาเซียน
คู่มือการสนทนาภาษาอังกฤษเพื่อการสื่อสาร สู่ประชาคมอาเซียน คู่มือการสนทนาภาษาอังกฤษเพื่อการสื่อสาร สู่ประชาคมอาเซียน
คู่มือการสนทนาภาษาอังกฤษเพื่อการสื่อสาร สู่ประชาคมอาเซียน
 
เอกสารทางการบัญชี
เอกสารทางการบัญชีเอกสารทางการบัญชี
เอกสารทางการบัญชี
 
แบบฝึกการอ่านเขียน เล่ม ๕
แบบฝึกการอ่านเขียน เล่ม ๕แบบฝึกการอ่านเขียน เล่ม ๕
แบบฝึกการอ่านเขียน เล่ม ๕
 

Plus de bass hyde

คำศัพท์
คำศัพท์คำศัพท์
คำศัพท์
bass hyde
 
ตัวอย่างบทสนทนา
ตัวอย่างบทสนทนาตัวอย่างบทสนทนา
ตัวอย่างบทสนทนา
bass hyde
 
คำกริยารูปปฏิเสธธรรมดา
คำกริยารูปปฏิเสธธรรมดาคำกริยารูปปฏิเสธธรรมดา
คำกริยารูปปฏิเสธธรรมดา
bass hyde
 
แหล่งการเรียนรู้ บทสนทนา
แหล่งการเรียนรู้ บทสนทนาแหล่งการเรียนรู้ บทสนทนา
แหล่งการเรียนรู้ บทสนทนา
bass hyde
 
สรรพนามบ่งชี้สิ่งของ
สรรพนามบ่งชี้สิ่งของสรรพนามบ่งชี้สิ่งของ
สรรพนามบ่งชี้สิ่งของ
bass hyde
 
สรรพนามบ่งชี้สถานที่
สรรพนามบ่งชี้สถานที่สรรพนามบ่งชี้สถานที่
สรรพนามบ่งชี้สถานที่
bass hyde
 

Plus de bass hyde (6)

คำศัพท์
คำศัพท์คำศัพท์
คำศัพท์
 
ตัวอย่างบทสนทนา
ตัวอย่างบทสนทนาตัวอย่างบทสนทนา
ตัวอย่างบทสนทนา
 
คำกริยารูปปฏิเสธธรรมดา
คำกริยารูปปฏิเสธธรรมดาคำกริยารูปปฏิเสธธรรมดา
คำกริยารูปปฏิเสธธรรมดา
 
แหล่งการเรียนรู้ บทสนทนา
แหล่งการเรียนรู้ บทสนทนาแหล่งการเรียนรู้ บทสนทนา
แหล่งการเรียนรู้ บทสนทนา
 
สรรพนามบ่งชี้สิ่งของ
สรรพนามบ่งชี้สิ่งของสรรพนามบ่งชี้สิ่งของ
สรรพนามบ่งชี้สิ่งของ
 
สรรพนามบ่งชี้สถานที่
สรรพนามบ่งชี้สถานที่สรรพนามบ่งชี้สถานที่
สรรพนามบ่งชี้สถานที่
 

คำช่วยพื้นฐานในภาษาญี่ปุ่น.Pdf

  • 2. คําช่วยพื้นฐาน คําช่วยในบทเรียนนี้ประกอบไปด้วย คําช่วยพื้นฐานดังนี้ は も の か เป็นคําพ่วง (zokugo) ที่ไม่ผันรูป ใช้ตามหลังคําอิสระ (jiritsugo) เพื่ออธิบาย ความสัมพันธ์กับคํานั้นกับคําอื่นในประโยค หรือเพื่อเติมความหมายให้กับคําอิสระ แบ่งเป็น 4 ประเภทคือ 1)คําช่วยสถานะ 2)คําช่วยเชื่อม 3)คําช่วยเกี่ยวเนื่อง 4)คําช่วย วิเศษณ์
  • 3. คําช่วย は  คําช่วย は เป็นคําช่วยที่ชี้ให้เห็นว่า คํานามที่อยู่ข้างหน้าเป็นหัวข้อเรื่อง ของประโยค เมื่อผู้พูดต้องการจะพูดเรื่องอะไร ก็จะใช้คํานามนั้น ตามด้วย คําช่วย は และตามด้วยประโยคที่ต้องการ เช่น わたしは がくせいです。 แปลว่า ฉัน เป็น นักเรียน *คําช่วย は อ่านว่า Wa เมื่อเราแปลความหมาย ก็ให้แปลคํานามที่อยู่หน้าคําช่วย は ก่อนเสมอ
  • 4. คําช่วย も  คําช่วย も เป็นคําช่วยที่พรรณนาเกี่ยวกับคํานามที่เป็นหัวข้อเรื่อง ของเรื่องราวนั้น ๆ ซึ่งเป็นเรื่องราวที่เคยกล่าวมาแล้ว เราจะใช้คําช่วย も แทนคําช่วย は เช่น わたしは がくせいです。 ฉัน เป็น นักเรียน きらさんも かくせいです。 ฉัน ก็เป็น นักเรียน *คําช่วย は อ่านว่า Wa เมื่อเราแปลความหมาย ก็ให้แปลคํานามที่อยู่หน้าคําช่วย は ก่อนเสมอ
  • 5. คําช่วย の  คําช่วย の เป็นคําช่วยที่ใช้เชื่อมคํานามกับคํานาม ทําหน้าที่บอกถึง ความสัมพันธ์ของคํานามที่ 1 และ คํานามที่ 2 ว่าเกี่ยวข้องกันและสามารถ แสดงความเป็นเจ้าของได้อีกด้วย เช่น わたしは コンケンだいがくの がくせいです。 ฉัน เป็นนักศึกษา ของ มหาวิทยาลัยขอนแก่น *สังเกตว่า ภาษาญี่ปุ่น จะแปลคํานามที่อยู่หน้าคําช่วย は ก่อน แล้วจึงแปล ความหมายจากท้ายประโยคมาข้างหน้า ดังนี้ わたしは コンケンだいがくの がくせいです。 ฉัน เป็นนักศึกษา ของ มหาวิทยาลัยขอนแก่น
  • 6. คําช่วย か  คําช่วย か เป็นคําช่วยที่ใช้แสดงความรู้สึกสงสัย หรือไม่แน่ใจเป็น คําช่วยที่ใช้เติมไว้หลังประโยคบอกเล่า หรือประโยคปฏิเสธ เพื่อทําให้ ประโยคนั้นเป็นคําถาม และจะออกเสียง か สูงที่ท้ายประโยค เช่น あなたは コンケンだいがくの がくせいですか。 คุณ เป็นนักศึกษา ของ มหาวิทยาลัยขอนแก่นใช่ไหม • ตัวอย่างการถามและการตอบคําถาม あなたは がくせいですか。 ตอบ แบบบอกเล่า はい、わたしは がくせいです。ใช่ ฉันเป็นนักเรียน ตอบแบบปฏิเสธ いいえ、わたしは かくせいではありません。ไม่ใช่ ฉันไม่ใช่นักเรียน หรือ いいえ、しゃいんです。ไม่ใช่ ฉันเป็นพนักงานบริษัท